You are on page 1of 116

MACROMEDIA

DREAMWEAVER MX
FUNDAMENTALS

ฉบับภาษาไทย
Macromedia Dreamweaver MX : Fundamentals
ฉบับภาษาไทย

ผูเขียน กฤษ เกษมโอสถ krit@marianasgraphix.com


ผูชวยเขียน วีรพล สุเภากิจ vrapol@marianasgraphix.com
บรรณาธิการ วีรพล สุเภากิจ vrapol@marianasgraphix.com
รูปแบบการออกแบบ วีรพล สุเภากิจ vrapol@marianasgraphix.com

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537


ใชในการศึกษาหาความรูโดยสวนตัว หามจําหนายจายแจกเพื่อการคา
หามลอกเลียนไมวาสวนใดสวนหนึ่งของเอกสารนี้ ไมวาในรูปแบบใดๆ
เวนแตไดรับอนุญาตเปนลายลักษณอักษรจากผูจัดทําเทานั้น

จัดทําครั้งที่ 1 เมื่อ 1 พฤศจิกายน 2545

ผูจัดทํา

บริษัท มาริอานาส กราฟค จํากัด


9/2 ชั้น6 อาคารวรสิน ถนนวิภาวดี-รังสิต ลาดยาว จตุจักร กทม 10900
โทร. 0 2690 0192-3
http://www.marianasgraphix.com
info@marianasgraphix.com

ชื่อ,โลโก, สัญลักษณ และ โปรแกรม Dreamweaver MX, Fireworks MX, Flash MX เปนลิขสิทธิ์ของ
บริษัท Macromedia, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา
http://www.macromedia.com
Dreamweaver MX : Fundamentals Content

CONTENT
บทที่ 1
อินเตอรเน็ตและ เวิรล ไวด เว็บ 1-1
แนะนําอินเตอรเน็ต 1-1
World Wide Web (WWW) 1-1
รูปแบบของชื่อที่อยูของแหลงขอมูล 1-1
โปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol) 1-2
เอกสาร HTML (Hypertext Markup Language) 1-2
เว็บเพจ (Web Page) และ เว็บไซต (Web Site) 1-3

บทที่ 2
รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX 2-1
การติดตั้งระบบภาษาไทย 2-1
สวนการทํางานเบื้องตนในโปรแกรม Dreamweaver 2-2
มุมมองของ Document Window 2-8
การวางแผนและ ออกแบบเว็บไซต 2-9
การกําหนด Dreamweaver Site 2-11

บทที่ 3
การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซต 3-1
การเพิ่มขอความลงในเว็บเพจ 3-1
การเพิ่มชองวางระหวางตัวอักษร 3-2
การเพิ่มยอหนาและ ตัวขึ้นบรรดทัดใหม 3-2
การกําหนดฟอนตและ ลักษณะของฟอนต 3-2
การแกไขและ เพิ่มรายการของฟอนต 3-3
รูปแบบ Paragraph 3-4
การจัดวางขอความ 3-4
การเยื้องยอหนา (Indent) 3-5
การเปลี่ยนสีขอความ 3-5
การสรางรายการแบบมีหัวขอ 3-5
การเพิ่มอักขระพิเศษ 3-6
การเพิ่มเสนแบงเนื้อหา 3-6
การนําเขาเนื้อหาจาก Microsoft Word HTML 3-6

บทที่ 4
การเชื่อมโยงเอกสาร 4-1
การอางถึงที่อยูของไฟลในการเชื่อมโยง 4-1
การสรางการเชื่อมโยงหรือ ลิงค 4-2

บทที่ 5
การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก 5-1
ภาพกราฟฟกบนเว็บไซต 5-1
การวางรูปภาพลงในหนาเอกสาร 5-1
การปรับคาของรูปภาพ 5-2
การเรียกโปรแกรม Fireworks MX มาแกไขรูปภาพใน Dreamweaver MX 5-3
การทํา Image Maps 5-7
การใส Flash ลงในเอกสาร 5-8

www.marianasgraphix.com 1
Dreamweaver MX : Fundamentals Content

บทที่ 6
การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง 6-1
ตาราง (Table) 6-1
การจัดวางเนื้อหาของเว็บเพจในมุมมองเลยเอาท (Layout View) 6-8
การใช Tracing Image ในการออกแบบเว็บเพจ 6-16

บทที่ 7
การใชงาน Templates และ Libraries 7-1
เกี่ยวกับ Template 7-1
การกําหนดพื้นที่แกไขไดใน Template 7-1
การสราง Template 7-2
ไลบรารี (Libraries) 7-6

บทที่ 8
การสรางแบบฟอรม (Form) 8-1
เกี่ยวกับแบบฟอรม (Form) 8-1
การสรางแบบฟอรม 8-2
การปรับแตงคุณสมบัติของแบบฟอรม 8-3
การสราง Text Fileds 8-4
การสราง File Field 8-6
การสราง Hidden Field 8-6
การสราง Checkbox 8-7
การสรางปุม Radio 8-8
การสราง Scrolling List 8-9
การสรางปอปอัพเมนู (Popup menu) 8-11
การสรางปุม (Button) 8-11
การสรางปุมที่เปนภาพกราฟฟก (Image Field) 8-12

บทที่ 9
การสรางเฟรม (Frames) 9-1
เฟรม (Frame) และ เฟรมเซต (Frameset) 9-1
การสรางเฟรมเซต 9-1
การเลือกเฟรมเซตและ เฟรม 9-5
การบันทึกเฟรมและ การบันทึกเฟรมเซต 9-8
การปรับแตงคุณสมบัติของเฟรม 9-9
การปรับแตงคุณสมบัติของเฟรมเซต 9-9
การใชลิงคเปลี่ยนเนื้อหาภายในเฟรม 9-10

บทที่ 10
Cascading Style Sheets (CSS) 10-1
รูจักกับ Cascading Style Sheets (CSS) 10-1
การใช CSS Style Panel 10-2
การสราง CSS Style ใหม 10-3
การใช Class Style 10-5
การสรางและ เชื่อมโยงไปยัง CSS Style Sheet 10-5
การแกไข CSS Style 10-6

www.marianasgraphix.com 2
Dreamweaver MX : Fundamentals Content

บทที่ 11
การใส Interactive Page Elements 11-1
การใช JavaScript Behavior 11-1
การใช Behavior Panel 11-1
การนํา Behavior ไปใชกับวัตถุในเว็บเพจ 11-2
การสราง Rollover image 11-3
การสราง Disjointed Rollovers 11-4
Jump Menu 11-6
การใสเลเยอร (Layer) สําหรับงาน Interactive 11-8

บทที่ 12
การทดสอบ อัพโหลดและ ดูแลรักษาเว็บไซต 12-1
การทดสอบการแสดงผลเว็บเพจในเว็บบราวเซอร 12-1
การเปดเว็บเพจในเว็บบราวเซอรผานทาง Dreamweaver 12-2
การตรวจสอบลิงคภายในเว็บเพจหรือ ไซต 12-3
การแกไขลิงคที่ผิดพลาด 12-4
การเชื่อมตอไปยังเว็บเซิรฟเวอรดวยโปรโตคอล FTP ใน Dreamweaver 12-5
การคนหาและ แทนที่ขอความในไฟล 12-7

www.marianasgraphix.com 3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 1 : อินเตอรเน็ตและ เวิรล ไวด เว็บ

บทที่ 1
อินเตอรเน็ตและ เวิรล ไวด เว็บ

1.1 แนะนําอินเตอรเน็ต
อิ น เตอร เน็ ต เป น เครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร ข นาดใหญ ที่ เกิ ด จากการเชื่ อ มโยงเครื อ ข า ย
คอมพิวเตอรขนาดเล็กทั่วโลกเขาไวดวย โดยคอมพิวเตอรแตละเครื่องที่เชื่อมโยงเขาดวยกันนั้นอาจ
จะใชอุป กรณ ห รือ ระบบปฏิ บัติก ารที่แตกตางกัน ก็ได การที่ เครื่องที่ มีคุณ ลักษณะที่ แตกตางกัน
สามารถเชื่อมตอกันไดก็เพราะ มีการกําหนดมาตรฐานในการเชื่อมตอเขาหากัน ซึ่งมาตรฐานที่ใชก็
คือ TCP / IP (Transmission Control Protocol and Internet Protocol)
อินเตอรเน็ตทําใหเราสามารถติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่นๆ ที่เชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตไดทั่ว
โลก ดวยขอดีดังกลาวนี้จะทําใหการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารหรือ ความรูทําไดอยางกวางขวาง
และ รวดเร็วมากขึ้น
การเชื่อมตอเครื่องคอมพิวเตอรเขาสูอินเตอรเน็ตในเบื้องตนนั้นเราสามารถทําได 2 วิธีคือ
ทําโดยการใชโมเด็ม(Modem) เชื่อมตอผานสายโทรศัพทไปยังผูในบริการอินเตอรเน็ตหรือ เชื่อมตอ
กับเครือขายยอยที่ทําการเชื่อมตอกับอินเตอรเน็ตอีกที ซึ่งวิธีนี้จะตองมีการดอีเทอรเน็ต (Ethernet
Card) หรือที่มักจะเรียกวา การดเน็ตเวิรค (Network Card) ในการเชื่อมตอกับเครือขายยอย

1.2 World Wide Web (WWW)


WWW หรือในบางครั้งก็เรียกสั้นๆ วา เว็บ (Web) เปนเครือขายของแหลงขอมูลขนาดใหญ
บนอินเตอรเน็ตที่สามารถเขาถึงไดทั่วโลก ซึ่งการเขาถึงขอมูลในแหลงขอมูลดังกลาว สามารถทําได
โดยการใหชื่อที่อยูของแหลงขอมูลที่เราตองการเขาถึงผานโปรโตคอลที่กําหนดและ ใชโปรแกรมที่
สามารถแสดงผลเอกสาร HTML (Hypertext Markup Language) ได

1.3 รูปแบบของชื่อที่อยูของแหลงขอมูล
เมื่อใดก็ตามที่เราตองการจะเขาถึงแหลงขอมูลใน WWW เราจะตองใหชื่อที่อยูของแหลงขอ
มูล ซึ่งรูปแบบของชื่อที่อยูของแหลงขอมูลที่ใชใน WWW คือ URL(Uniform Resource Locator) ซึ่ง
โครงสรางของมันประกอบไปดวย 3 สวนดวยกันคือ
1. โปรโตคอลที่ใชเขาถึงแหลงขอมูล
2. ชื่อเครื่องคอมพิวเตอรที่เปนแหลงขอมูลที่เราตองการเขาถึง
3. path ของขอมูลในเครื่องคอมพิวเตอรที่เปนแหลงขอมูล

www.marianasgraphix.com 1-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 1 : อินเตอรเน็ตและ เวิรล ไวด เว็บ

จากตั ว อย า งต อ ไปนี้ เ ป น URL ที่ ใ ช เ ข า ถึ ง ข อ มู ล ที่ อ ยู ใ นเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร ที่ ชื่ อ
www.marianasgraphix.com โดยผานโปรโตคอล HTTP และ มี path ของขอมูลเปน /aboutus
http://www.mariansgraphix.com/aboutus

1.4 โปรโตคอล HTTP (Hypertext Transfer Protocol)


เปนโปรโตคอลที่ใชในการกระจายและ ทํางานรวมกันของขอมูลที่อยูในรูปของสื่อที่สามารถ
เชื่อมโยงถึงกันได เนื่องจากโปรโตคอล HTTP สามารถที่จะใชในการรับสงขอมูลที่เปนขอความ รูป
ภาพ หรือ แมแตภาพเคลื่อนไหว ได จึงทําใหแหลงขอมูลสวนใหญใน WWW อนุญาตใหเขาถึงไดโดย
ผานโปรโตคอล HTTP

1.5 เอกสาร HTML (Hypertext Markup Language)


เอกสาร HTML เปนเอกสารที่ประกอบไปดวยขอมูลที่เราตองการเผยแพรผาน WWW และ
ภาษา HTML ที่ใชการกําหนดการแสดงผลของขอมูลดังกลาว
ภาษา HTML เปนภาษาที่อยูในรูปของ แทก (Tag) ที่ใชหุมขอมูลที่เราตองการเผยแพรผาน
WWW ซึ่ ง การแสดงผลของเอกสาร HTML เราสามารถที่ จ ะดู ได โดยใช โปรแกรมที่ เรีย กว า เว็ บ
บราวเซอร (Web Browser)
โครงสรางเบื้องตนของเอกสาร HTML ดังรูปที่ จะประกอบไปดวย 3 สวนดังนี้
1. สวนที่ใชบอกจุดเริ่มตนและ สิ้นสุดของเอกสาร HTML คือ แทก <html></html>
2. ส ว นหั ว ของเอกสาร HTML คื อ แท ก <head></head> ซึ่ ง เราจะแสดงหั ว เรื่ อ งของ
เอกสาร HTML ไวในสวนนี้
3. สวนที่ใชบอกจุดเริ่มตนและ สิ้นสุดของสวนที่ใชแสดงเนื้อหาคือ แทก <body></body>

<html>
<head><title>Marianasgraphix</title></head>
<body>
<b>Hello World</b>
</body>
</html>

รูปที่ โครงสรางเบื้องตนของเอกสาร HTML

www.marianasgraphix.com 1-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 1 : อินเตอรเน็ตและ เวิรล ไวด เว็บ

จากโครงสรางของเอกสาร HTML ขางตนเนื้อหาตางๆ ที่เราตองการแสดงผลจะอยูในแทก


<body></body> และ แตละเนื้อหาจะถูกหุมดวยแทกที่ใชกําหนดการแสดงผลอีกที ดังตัวอยางใน
รูปที่ เราจะเห็นไดวาขอความ Hello World จะถูกหุมดวยแทก <b></b> ซึ่งเปนการกําหนดใหแสดง
ขอความ Hello World เปนตัวหนาเมื่อเปดในเว็บ

1.6 เว็บเพจ (Web Page) และ เว็บไซต (Web Site)


ใน WWW ขอมูลตางๆ ที่เราตองการเขาถึงสวนใหญจะถูกแสดงอยูในรูปของ เว็บเพจ (Web
Page) ซึ่งเว็บเพจ จะเกิดจากการประมวลผลเอกสาร HTML แลวแสดงผลเอกสาร HTML ดังกลาว
ในเว็บบราวเซอร
เมื่อเรานํากลุมของเว็บเพจที่สัมพันธกันมารวมและ เชื่อมโยงเขาไวดวยกัน เราจะเรียกกลุม
ของเว็บเพจดังกลาววา เว็บไซต (Web Site) ในแตละเว็บไซตนอกจากจะประกอบไปดวยกลุมของ
เว็บเพจแลวก็อาจจะมีไฟลตางๆ ที่เว็บเพจทําการเชื่อมโยงเพื่อนํามาแสดงผลบนเว็บเพจรวมอยูดวย
อยางเชน ไฟลรูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เปนตน

www.marianasgraphix.com 1-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

บทที่ 2
รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

2.1 รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX


Dreamweaver MX (ซึ่งตอไปเราเรียกสั้นๆ วา
Dreamweaver) เปนโปรแกรมของบริษัท Macromedia Inc. ที่ใช
สําหรับออกแบบและ พัฒนาเว็บไซต เว็บเพจและ เว็บ
แอปพลิเคชั่น ดวยโปรแกรม Dreamweaver เราสามารถที่จะออก
แบบและ พัฒนาเว็บไซตโดยการเขียนโคดภาษา HTML หรือ ใช
เครื่องมือที่โปรแกรม Dreamweaver มีให ซึ่งเครื่องมือเหลานี้จะ
สรางโคดภาษา HTML ใหเราโดยอัตโนมัติ โดยที่เราไมจําเปนตอง
เขียนโคดภาษา HTML เอง
ในปจจุบันโปรแกรม Dreamweaver นอกจากจะสนับสนุนการใชงานกับภาษา HTML
แลวยังสนับสนุนการใชงานรวมกับเทคโนโลยีทางดานเว็บเพจอื่นๆ ดวย เชน CSS และ จาวา
สคริปต เปนตน การสรางเว็บแอปพลิเคชั่น (Web Application) ดวยโปรแกรม Dreamweaver นั้น
ก็สามารถทําไดอยางสะดวกและ รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ดวยเครื่องมือตางๆ ที่โปรแกรมมีใหทําใหเรา
สามารถที่จะสราง การติดตอกับฐานขอมูล และ ดึงขอมูลจากฐานขอมูลโดยไมจําเปนที่ตองเขียน
โคดของเซิรฟเวอรสคริปต (Server Script) เลย ตัวโปรแกรมจะสรางใหเองโดยอัตโนมัติ ซึ่งจะทํา
ใหเวลาที่ใชในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นนั้นนอยลง

การติดตั้งระบบภาษาไทย
Dreamweaver MX เปนโปรแกรมที่ไมได Support ภาษาไทยโดยตรง เพราะฉะนั้นหากจําตองใช
Font ที่เปนภาษาไทย จึงตองใชโปรแกรมชวยเหลือการใชภาษาไทย Dreamweaver MX Thai
Addon ซึ่งจะสามารถไป Download ไดที่เว็บไซท Thaiware.com หรือที่เว็บไซท ของบริษัท ที่
marianasgraphix.com โดยตองติดตั้งโปแกรมนี้กอนที่เปด Dreamweaver MX ขึ้นมาใชงาน โดย
จะมีคุณสมบัติดังนี้
- เพิ่ม encoding windows-874 ทําให support ภาษาไทย
- เพิ่ม encoding tis-620 ทําให support ภาษาไทย
- แกไข Inspectors ให support ภาษาไทย
- แกไข Objects ให support ภาษาไทย
- แกไข การแสดงผลภาษาไทยตาม menu ใหใหญขึ้น

www.marianasgraphix.com 2-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

Menu Bar Insert Bar Document Toolbar Document Window Panel

Tag Selector Property Inspector Launcher Bar

รูปที่ 2-1 หนาจอการทํางานของโปรแกรม Dreamweaver

2.2 สวนการทํางานเบื้องตนในโปรแกรม Dreamweaver


ในโปรแกรม Dreamweaver จะประกอบไปดวยสวนการทํางานหลายสวนดวยกัน ดังรูปที่
2-1 ซึ่งในแตละสวนมีหนาที่ดังตอไปนี้
2.2.1 Document Window
อยูดานลางของ Document Toolbar ดังรูปที่ 2-2 เปนสวนที่ใชแสดงเนื้อหาของเว็บเพจที่
เราสรางขึ้นและ กําลังทํางานอยูในขณะนั้น

www.marianasgraphix.com 2-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

รูปที่ 2-2 Document Window

2.2.2 Launcher Bar


เปนแถบสีเทาที่ประกอบไปดวยปุมตางๆ อยูดานลางทางขวาของ Document Window
ดังรูปที่ 2-3 โดยแตละปุมจะใชเปดและ ปด Property Inspector และ พาเนล (Panel) ที่ใชบอยๆ
ในโปรแกรม

รูปที่ 2-3 Launcher Bar

การทํางานของปุมตางๆ มีดังนี้
1. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Site
2. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Assets
3. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล CSS Style
4. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Behavior
5. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล History
6. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Blindings
7. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Server Behavior
8. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Components
9. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Databases

www.marianasgraphix.com 2-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

2.2.3 Insert Bar


ประกอบไปดวยปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กต (Object) ชนิดตางๆ เชน รูปภาพ ตาราง และ เล
เยอร เปนตน ลงในเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยูในขณะนั้น

Tab

รูปที่ 2-4 Insert Bar

Insert Bar จะประกอบไปดวยแทป (Tab) ที่ใชแยกกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตลงใน


เว็บเพจ ดังนี้
1. Common เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชงานบอยในการสรางเว็บเพจ เชน
ตาราง (Table) รูปภาพ (Image) หรือ ลิงค (Link) เปนตน
2. Layout เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชจัดการโครงสรางรูปรางหนาตาของ
เว็บเพจ เชน ตาราง เลเยอร (Layer) หรือ มุมมองเลยเอาท (Layout View) เปนตน
3. Text เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชกําหนดรูปแบบของขอความในเว็บเพจ
เชน ตัวเอียง ตัวหนา หรือ ขีดเสนใตขอความ เปนตน
4. Table เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชสรางตารางในเว็บเพจ เชน ตาราง
แถว (Row) หรือ คอลัมน (Column) เปนตน
5. Frame เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชสรางเฟรม (Frame) ในเว็บเพจ
6. Forms เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชสรางฟอรม (Form) ในเว็บเพจ
7. Templates เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่ใชสราง เทมเพลต (Template) ใน
เว็บเพจ
8. Characters เปนกลุมของปุมที่ใชแทรกอ็อบเจ็กตที่เปนอักขระพิเศษลงในเว็บเพจ เชน
,  และ ตัวขึ้นบรรทัดใหม (Line break) เปนตน
2.2.4 Property Inspector
ใชแสดงคุณสมบัติของวัตถุหรือ ขอความที่เราเลือกในว็บเพจ โดยเราสามารถที่จะเปลี่ยน
แปลงแกไขคุณสมบัติตางๆ ของวัตถุที่เราเลือกผานทาง Property Inspector ได

www.marianasgraphix.com 2-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

รูปที่ 2-5 Property Inspector

2.2.5 Tag Selector


อยูใน Status Bar ที่อยูทางดานลางของ Document Window เมื่อเราคลิกวัตถุในเอกสาร
จะปรากฎ Tag Selector ใน Status Bar ขึ้นมา เมี่อเราคลิกเลือก Tag Selector แลวแทกตางๆ ที่
ถูกลอมดวยแทกที่เราเลือกจะถูกเลือกดวย

รูปที่ 2-6 Tag Selector

2.2.6 Site Panel


ใชในการจัดการไฟลและ โฟลเดอรที่ใชในการสรางเว็บไซต นอกจากนี้ยังสามารถใชดูไฟล
ตางๆ ในเครื่องไดอีกดวย

รูปที่ 2-7 Site Panel

2.2.7 Docment Toolbar

www.marianasgraphix.com 2-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

ประกอบไปดวยปุมและ ปอปอัพเมนูที่ใชกําหนดรูปแบบมุมมองของ Document Window


ที่เรากําลังทํางานอยูและ คําสั่งตางๆที่ใชทํางานกับ Document Window อยางเชน การแสดงเว็บ
เพจที่สรางขึ้นในเว็บบราวเซอรหรือ การกําหนดออปชั่นของ Document Window เปนตน

รูปที่ 2-8 Document Toolbar

ซึ่งการทํางานขององคประกอบตางๆ ที่อยูใน Document Toolbar มีดังนี้


1. เปนปุมที่ใชสลับมุมมองของ Document Window จากมุมมองอื่นๆ มาเปนมุม
มองโคด
2. เปนปุมที่ใชสลับมุมมองของ Document Window จากมุมมองอื่นๆ มาเปนมุม
มองโคดและ มุมมองออกแบบ
3. เปนปุมที่ใชสลับมุมมองของ Document Window จากมุมมองอื่นๆ มาเปนมุม
มองออกแบบ
4. เปนปุมที่ใชทดสอบการทํางานของเซิรฟเวอรสคริปตที่อยูในเว็บเพจบนเว็บ
เซิรฟเวอร
5. เปนปุมที่ใชแสดงเนื้อหาในเว็บเพจที่ถูกดึงขึ้นมาจากฐานขอมูลดวยเซิรฟเวอร
สคริปต
6. เปนฟลดที่ใหกรอกชื่อของเว็บเพจ ซึ่งจะถูกแสดงใน
Title Bar ของเว็บบราวเซอร
7. เปนปุมที่ใชเปดไดอะล็อก Design Note ที่ใชเก็บขอมูลของเว็บเพจที่เราสราง
ขึ้น เชน ชื่อไฟล ที่อยูของไฟล และ รุนของไฟล เปนตน
8. เปนปุมที่ใชเปดปอปอัพเมนูเพื่อเลือกเว็บบราวเซอรที่จะเปดไฟลที่เราทํางานอยู
มาแสดงผล
9. เปนปุมที่ใชปรับการแสดงผลของเว็บเพจใหมหลังจากที่เราแกไขโคด HTML ใน
มุมมองโคดของ Document Window แลว
10. เปนปุมที่ใชเปดพาเนล Referance
11. เปนปุมที่ใชแสดงปอปอัพเมนูที่เก็บคําสั่งที่ใชทดสองการทํางานของจาวาสริปต
ที่อยูในเว็บเพจ

www.marianasgraphix.com 2-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

12. เปนปุมที่ใชแสดงปอปอัพเมนูที่เก็บคําสั่งที่ใชปรับการแสดงผลของ Document


Window

2.2.8 Context Menu


ใชเรียกคําสั่งที่เราตองการทํางานโดยขึ้นอยูกับพื้นที่ที่เราเลือกในเว็บเพจที่เราทํางานอยู
ซึ่งการเรียก Context Menu ทําไดโดยคลิกเมาสปุมขวาบนพื้นที่ที่เราตองการทํางานดวย ดังรูปที่
2-8

รูปที่ 2-8 Context Menu

2.2.9 ชองปรับขนาดวินโดว
เปนสวนที่ใชปรับขนาดของDocument Window ตามที่เราตองการโดยสวนนี้จะสามารถ
ใชงานไดในมุมมองออกแบบของ Document Window เทานั้น ดังรูปที่ 2-9

ชองปรับขนาดวินโดว

รูปที่ 2-9 ชองปรับขนาดวินโดว

2.2.10 ชองแสดงขนาดของไฟลและ ระยะเวลาในการดาวโหลด


เปนสวนที่ใชแสดงขนาดของไฟลเว็บเพจและ ระยะเวลาที่ใชในการดาวโหลดเว็บเพจโดย
ประมาณ

ชองแสดงขนาดไฟลและ ระยะเวลาในการดาวโหลด

www.marianasgraphix.com 2-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

รูปที่ 2-10 ชองแสดงขนาดไฟลและ ระยะเวลาในการดาวโหลด


2.3 มุมมองของ Document Window
Document Window ใชแสดงเว็บเพจที่เราทํางานอยูโดยที่เราสามารถเลือกมุมมองของ
Document Window ได 3 รูปแบบดังนี้
2.3.1 มุมมองออกแบบ (Design view)
ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงใหเห็นถึงหนาตาของเว็บเพจเหมือนกับที่เรา
เห็นในเว็บบราวเซอร โดยที่เราสามารถแกไขเนื้อหาตางๆ บนเอกสารไดดวย ดังรูปที่ 2-11

รูปที่ 2-11 Document Window ในมุมมองออกแบบ

2.3.2 มุมมองโคด (Code view)


ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงเว็บเพจในรูปของโคดภาษา HTML ที่ถูกสราง
ขึ้นโดยโปรแกรม Dreamweaver หรือ เราเขียนขึ้นเองโดยโคดภาษา HTML ที่แสดงเราสามารถที่
จะเพิ่มหรือ แกไขได ดังรูปที่ 2-12

รูปที่ 2-12 Document Window ในมุมมองโคด

www.marianasgraphix.com 2-8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

2.3.3 มุมมองออกแบบและ โคด (Design and Code View)


ในมุมมองนี้ Document Window จะแสดงเว็บเพจทั้งในรูปของหนาตาของเว็บเพจและ
โคดภาษา HTML โดยแสดงเว็บเพจในสวนหนึ่งและ แสดงโคดภาษา HTML ในอีกสวนหนึ่ง ดังรูป
ที่ 2-13

รูปที่ 2-13 Document Window ในมุมมองออกแบบและ มุมมองโคด

2.4 การวางแผนและ ออกแบบเว็บไซต


เว็บไซตคือ กลุมของเว็บเพจที่มีคุณลักษณะคลายกันทั้งในดานการออกแบบ เนื้อหา ที่ถูก
นํามารวมและ เชื่อมโยงเขาดวยกัน
ดวยโปรแกรม Dreamweaver MX เราสามารถที่จะทําการสรางและ จัดเว็บเพจที่มีอยูใน
เว็บไซตของเราไดอยางงายและ มีประสิทธิภาพโดยผานเครื่องมือที่โปรแกรมมีให ดังนั้นเพื่อที่จะ
ใหเว็บไซตที่เราสรางขึ้นสมบูรณและ ตรงตามที่ตองการแลว การวางแผน ออกแบบเว็บไซตกอนที่
สรางเว็บไซตจึงเปนสิ่งที่จําเปน
ซึ่งการวางแผนและ ออกแบบเว็บไซตมีขึ้นตอนตางๆ ดังตอไปนี้
2.4.1 กําหนดเปาหมายของเว็บไซตที่เราจะสราง
การกําหนดเปาหมายกอนที่เราจะสรางเว็บไซต ก็เพื่อที่จะชวยใหเราทราบถึงเนื้อหาตางๆ
ที่จะตองใช รูปรางหนาของเว็บไซต ความซับซอนของเว็บไซต และ เครื่องมือตางๆ ที่จะใชการ
พัฒนาเว็บไซต ซึ่งจะทําใหการพัฒนาเว็บไซตของเราทําไดอยางรวดเร็วและ ถูกตองมากยิ่งขึ้น

2.4.2 กําหนดกลุมเปาหมายที่จะเขามาชมเว็บไซต
หลังที่เรากําหนดเปาหมายในการพัฒนาเว็บไซตแลว ตอมาเราก็จําเปนที่จะตองกําหนด
กลุมของผูชมเว็บไซตดวย เนื่องจากผูที่เขามาชมเว็บไซตนั้นสามารถมาไดจากทุกมุมของโลก ดัง
นั้นเว็บบราวเซอรที่ใชเปดเว็บไซต ความเร็วในการติดตอมายังเว็บไซต อาจจะแตกตางกันไดซงึ่ การ

www.marianasgraphix.com 2-9
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

ที่เราจะสรางเว็บไซตที่สามารถดูไดโดยผูชมทุกคนที่อยูในสภาพแวดลอมแตกตางกันนั้นเปนไปได
ยาก นอกจากนี้การกําหนดกลุมเปาหมายก็จะชวยใหการออกแบบเว็บไซตของเราทําไดอยางถูก
ตองและ สมบูรณ

2.4.3 จัดโครงสรางเว็บไซต
การจัดโครงสรางเว็บไซตเราทําเพื่อที่จะใหไฟลตางๆ ที่ใชในเว็บไซตถูกจัดเก็บเปนสัดสวน
และ คนหาไดงายขึ้น ถาเราไมมีการจัดโครงสรางกอนที่จะสรางเว็บไซตแลวอาจจะทําใหมีไฟลที่
ซ้ําซอนกันอยูในเว็บไซตไดและ การคนหาไฟลก็ทําไดยาก
ในเบื้ อ งต น เราสามารถที่ จ ะจั ด โครงสร า งเว็ บ ไซต ข องเราในฮาร ด ดิ ส ก ใ นเครื่ อ ง
คอมพิวเตอรที่เราทํางานอยูได หลังจากที่เราจัดโครงสรางเสร็จเรียบรอยแลวก็ทําการอัพโหลด
(Upload) ไฟลตางๆ ที่ใชในการสรางเว็บไซตไปเก็บไวในเว็บเซริฟวเวอรเมื่อเราตองการที่จะใหอื่น
มาชมเว็บไซตของเรา

2.4.4 ออกแบบหนาตาเว็บไซต
หนาตาเว็บไซตของเรานั้น ควรจะออกแบบโดยใหองคประกอบตางๆ ในแตละหนาอยู
บริเวณเดี่ยวกันอยางเชน เมนูที่ใชเชื่อมโยงไปยังหนาหลักของเว็บไซต ถาเราวางไวทางซายในเว็บ
เพจแลวก็ควรจะวางเมนูไวตําแหนงดังกลาวในทุกๆ หนาของเว็บไซต การออกแบบหนาตาของ
เว็บไซตเราอาจจะใชโปรแกรมที่ใชวาดรูปอยางเชน Free Hand ในการวางองคประกอบตางๆ ใน
เว็บเพจก็ไดนอกจากที่เราจะเขียนลงในกระดาษ

2.4.5 สรางและ รวบรวมไฟลตางๆ ที่ใชในการสรางเว็บเพจ


กอนจะสรางเว็บไซตเราควรจะสรางและ รวบรวมไฟลตางๆ ไมวาจะเปนรูปภาพ ภาพ
เคลื่อนไหวหรือ ไฟลเสียงที่ใชในการสรางเว็บเพจใหครบเสียกอนเพราะวาถาในขณะที่เรากําลัง
สรางเว็บไชตเกิดพบวาไมมีไฟลบางตัวที่เราตองการใชก็อาจจะทําใหเราตองเสียเวลาในการคนหา
หรือ สรางขึ้นใหม ซึ่งจะทําใหการสรางเว็บไซตเปนไปไมตอเนื่องและ ลาชาได
ใน Dreamweaver MX เราสามารถที่จะสรางแมแบบที่ใชในการสรางเว็บเพจในแตละ
หนาไดซึ่งเราเรียกแมแบบดังกลาววา เทมปเพลต (Template)
เราจะสรางเทมปเพลตก็ตอเมื่อเราพบวาในเว็บไซตของเรามีเว็บเพจหลายหนาที่มีการวาง
องคประกอบของเนื้อหาในบางสวนเหมือนกัน เราจะใชสวนที่เหมือนกันมาสรางเปนเทมปเพลตไว

www.marianasgraphix.com 2 - 10
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

เมื่อใดก็ตามที่เราตองการสรางเว็บเพจที่มีการจัดวางองคประกอบเหมือนกับเว็บเพจเดิมที่มีอยู
เราก็ใชเทมปเพลตที่เราสรางไวในการสรางเว็บเพจใหมและ แกไขบางสวนที่ตองการ ซึ่งการใช
เทมปเพลตจะชวยใหเราสรางเว็บเพจไดงายขึ้นและ เมื่อใดที่มีการแกไขเทมปเพลต เว็บเพจทั้ง
หมดที่ถูกสรางจากเทมปเพลตดังกลาวก็จะเปลี่ยนแปลงดวย ทําใหเราไมตองแกไขเว็บเพจทุก
หนาๆ ที่ใชเทมปเพลตดังกลาวดวยตัวเอง ซึ่งจะทําใหเวลาที่ใชในการพัฒนาเว็บเพจนอยลง

2.5 การกําหนด Dreamweaver Site


หลังจากที่เราวางโครงสรางเว็บไซตของเราแลว ตอมาเราจะใช Dreamweaver Site เขา
มาชวยในการสรางและ จัดการเว็บไซตของเรา การนํา Dreamweaver Site เขามาจัดการเว็บไซต
ของเราจะทําใหเราสามารถที่จะทําการอัพโหลดไฟลที่ใชในการสรางเว็บไซตไปไวในเว็บเซริฟเวอร
ได งายขึ้น นอกจากนี้ Dreamweaver Site ยังชวยในการตรวจสอบการเชื่อมโยงของไฟลตางๆ ให
อีกดวยเมื่อเวลามีการแกไขไฟลตางๆ ในเว็บไซต ซึ่ง Dreamweaver Site ประกอบไปดวย 3 สวน
ดังนี้
• Local folder เปนไดเรกเทอรี่ที่เราเก็บเว็บไซตที่เราสรางไวในเครื่องคอมพิวเตอรของ
เรา ซึ่งใน Dreamweaver จะเรียกไดเรกเทอรี่ที่เราทํางานวา Local Site
• Remote folder เปนไดเรกเทอรี่ที่เราเก็บเว็บไซตที่เราสรางไวในเว็บเซิรฟเวอร ซึ่งใน
Dreamweaver จะเรียกไดเรกเทอรี่ที่อยูในเว็บเซิรฟเวอรวา Remote Site
• Folder for dynamic page เปนไดเรกเทอรี่ที่ใชเก็บและ ประมวลผล dynamic page
(หรือ เซิรฟเวอรสคริปต) ที่เราสรางขึ้นในเว็บไซตของเรา
ในเบื้องตนถาเรายังไมมีเว็บเซิรฟเวอรที่ไวใชเก็บเว็บไซตของเรา ก็ใหกําหนด Local floder
อยางเดียวกอน ซึ่งขั้นตอนการกําหนด Dreamweaver Site มีดังนี้
1. เลื อ กคํ า สั่ ง Site -> New Site หลั ง จากเลื อ กคํ า สั่ ง แล ว จะปรากฎไดอะล็ อ ก Site
Definition
2. ในไดอะล็อก Site Definition ใหคลิกที่ Basic Tab
3. ในขั้ น ตอน Editing Files หน า แรกในฟ ล ด What would you like to name your
site? ใหพิมพชื่อไซตของเราแลวคลิกที่ปุม Next
4. จะปรากฎหนาที่สองของขั้นตอน Editing Files ใหเลือกที่ No, I do not want to use
server technology แลวคลิกที่ปุม Next
5. จะปรากฎหนาที่สามของขั้นตอน Editing Files ใหเลือกที่ Edit local copies on my
machine, then upload to server when ready? และ กรอกที่อยูของไดเรกเทอรี่หรือ

www.marianasgraphix.com 2 - 11
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 2 : รูจักกับโปรแกรม Dreamweaver MX

ใช ไอคอนโฟลเดอร ในการเลื อ กไดเรกเทอรี่ภ ายในเครื่อ งคอมพิ ว เตอร ข องเรา ที่


ต อ งการให เป น ที่ เก็ บ เว็ บ ไซต ข องเราในฟ ล ด Where on your computer do you
want to store your files? แลวคลิกที่ปุม Next
6. หลังจากที่คลิกปุม Next แลวจะปรากฎหนาจอของขั้นตอน Sharing Files ในปอปอัพ
เมนูใหเลือก None แลวคลิกที่ปุม Next
7. จะปรากฎหนาจอ Summary ซึ่งจะแสดงรายการสรุปขอมูลของไซตที่เราสรางขึ้นให
คลิกปุม Done เพื่อทําการจบสรางไซต
8. Dreamweaver จะเปดพาเนล Site และ แสดงไซตที่เราสรางขึ้นในพาเนล

www.marianasgraphix.com 2 - 12
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

บทที่ 3
การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซต

ดวย Dreamweaver การเพิ่มเนื้อหาตางๆ ของเว็บเพจทําไดงาย ไมวาจะเปนขอความ รูป


ภาพ ตารางและ เสียง เปนตน ซึ่งเนื้อหาที่สามารถเพิ่มเขาไปในเว็บเพจไดมีดังตอไปนี้
3.1 การเพิ่มขอความลงในเว็บเพจ
ใน Dreamweaver การเพิ่มขอความลงในเว็บเพจสามารถทําไดหลายวิธี ซึ่งในบทนี้จะ
อธิบายวิธีการเพิ่มขอความลงเว็บเพจ การกําหนดสี ขนาด ชนิดของฟอนต (Font) และการจัดขอ
ความ รวมไปถึ งการกํ า หนดรูป แบบของข อ ความโดยผู ใช เองโดยใช Cascading Style Sheet
(CSS)
การเพิ่มและ กําหนดรูปแบบของขอความ
การเพิ่มขอความลงในเว็บเพจเราสามารถพิมพโดยตรงลงไปที่ Document Window หรือ
คัดลอกจากเอกสารอื่นๆ แลวนํามาวางใน Document Window ก็ได การวางขอความที่คัดลอกมา
จากเอกสารอื่นสามารถทําไดโดยเลือกเมนู Edit -> Paste
การกําหนดรูปแบบของขอความใน Dreamweaver คลายกับการใชโปรแกรมเวิรดในการ
พิมพขอความ การกําหนดรูปแบบของขอความใน Dreamweaver สามารถทําไดโดยเลือกเมนู
Text -> Paragraph หรือ เลือกจากปอปอัพเมนู Format ที่อยูใน Property Inspector ดังรูปที่ 3-1
ซึ่งรูปแบบของขอความที่กําหนดไดก็จะมี รูปแบบยอหนา (Paragraph) หรือ หัวเรื่อง (Heading)
เปนตน

รูปแบบของขอความ ชนิดฟอนต ขนาดฟอนต สี ตัวหนา, ตัวเอียง การจัดวาง

เยื้องหนา

รูปที่ 3-1 คุณสมบัติของขอความใน Property Inspector

www.marianasgraphix.com 3-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

การกําหนดสี ขนาด ชนิดฟอนตและ การจัดขอความ สามารถทําไดโดยผานเมนู Text


หรือ Property Inspector สวนการกําหนดตัวหนา ตัวเอียง ตัวขีดเสนใต สามารถทําไดโดยเลือก
เมนู Text-> Style หรือ ใช Property Inspector ดังรูปที่ 3-1
ใน Dreamweaver เราสามารถที่จะบันทึกรูปแบบของขอความที่เกิดจากการรวมกันของ
รูปแบบหลายๆ รูปแบบได เมื่อเราตองการที่จะใชรูปแบบดังกลาวอีกครั้งเราก็สามารถที่จะเรียกใช
งานได การบันทึกและ เรียกใชงานรูปแบบที่บันทึกไวสามารถทําไดโดยเลือกผานพาเนล HTML
การกําหนดรูปแบบโดยใช CSS ใน Dreamweaver เราสามารถที่จะกําหนด CSS ในไฟล
เดียวกันกับเว็บเพจหรือ สรางไฟลแยกและ เชื่อมโยงไฟลดังกลาวมายังเว็บเพจที่ใชงาน CSS ก็ได
การใช CSS มีประโยชนคือ เมื่อเราใช CSS กําหนดรูปแบบใหกับขอความใดๆ เมื่อเราเปลี่ยนรูป
แบบของ CSS แลว ขอความที่ถูกกําหนดโดย CSS ดังกลาวก็จะเปลี่ยนแปลงดวย

3.2 การเพิ่มชองวางระหวางตัวอักษร
การเพิ่มชองวางระหวางตัวอักษรสามารถทําได 3 วิธีดังนี้
1. ใน Insert Bar เลื อก Character และ คลิ ก เมาปุ ม ซ ายที่ ปุ ม Non-Breaking Space

2. เลือกเมนู Insert -> Special Character -> Non-Breaking Space


3. กดปุม Control+Shift+Space bar

3.3 การเพิ่มยอหนาและ ตัวขึ้นบรรดทัดใหม


1. ถาตองการเพิ่มยอหนาใหกดปุม Enter
2. ถาตองการเพิ่มตัวขึ้นบรรทัดใหมทําได 2 วิธีคือ
• กดปุม Shift+Enter
• ใน Insert Bar เลือก Character แลวคลิกเมาปุมขวาที่ไอคอน Line Break
• เลือกเมนู Insert -> Special Character -> Line Break

3.4 การกําหนดฟอนตและ ลักษณะของฟอนต


การกําหนดฟอนตและ ลักษณะของฟอนตสามารถทําไดโดยผาน Property Inspector
หรือ เลือกเมนูคําสั่งที่อยูในเมนู Text ซึ่งขั้นตอนการเปลี่ยนฟอนตและ คุณลักษณะของฟอนตมีดัง
ตอไปนี้
1. เลือกขอความที่ตองการจะกําหนดฟอนตและ ลักษณะของฟอนต

www.marianasgraphix.com 3-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

2. การกํ า หนดฟอนต ทํ า ได โ ดยเลื อ กฟอนต จ ากป อ ปอั พ เมนู Font ใน Property
Inspector หรือ เลือกเมนู Text -> Font แลวเลือกฟอนตที่ตองการ
3. การกําหนดรูปแบบของฟอนตวาเปน ตัวเอียง ตัวหนา หรือ ตัวขีดเสนใตทํ าไดโดย
กํ า หนดใน Property Inspector หรื อ เลื อ กเมนู Text -> Style แล ว เลื อ ก Style ที่
ตองการ
4. การกําหนดขนาดฟอนตทําไดโดยเลือกขนาดของฟอนตจากปอปอัพเมนู Size ใน
Property Inspector หรือ เลือกเมนู Text -> Size โดยขนาดที่กําหนดไดมีคาตั้งแต 1
ถึง 7 สวนขนาดที่ขึ้นตนดวยเครื่องหมาย + และ – หมายความวาให เพิ่ มหรือ ลด
ขนาดของฟอนตจากฟอนตพื้นฐานที่ใชในเว็บเพจ ตัวอยางเชน ถาฟอนตพื้นฐานเปน
3 แลว +3 หมายความวาใหเพิ่มขนาดของฟอนตไปอีก 3 หนวยซึ่งก็คือ 6

3.5 การแกไขและ เพิ่มรายการของฟอนต


เราจะใชคําสั่ง Edit Font List ในการแกไขและ เพิ่มรายการของฟอนต ที่แสดงในปอปอัพ
เมนู Font ของ Property Inspector และ เมนู Text -> Font ซึ่ ง รายการของฟอนต จ ะใช ในการ
กําหนดการแสดงผลของขอความในเว็บเบราเซอร
การแกไขและ เพิ่มรายการของฟอนตมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกเมนู Text -> Font -> Edit Font List จะปรากฎไดอะล็อก Edit Font List ดังรูป
ที่ 3-2

รูปที่ 3-2 ไดอะล็อก Edit Font List

www.marianasgraphix.com 3-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

2. เลือกรายการฟอนตจากชองรายการที่อยูดานบนสุดของไดอะลอก หลังจากที่เลือก
แลวจะปรากฎรายการของฟอนตที่เลือกในชองที่อยูทางมุมซายของไดอะลอก เมื่อ
ตองการที่จะเพิ่มหรือ ลบฟอนตในรายการใหคลิกที่ปุม << และ >> ตามลําดับ แตถา
ตองการที่จะลบทั้งรายการฟอนตก็ใหคลิกที่ปุม – และ คลิกที่ปุม + เมื่อตองการเพิ่ม
รายการฟอนตใหม
3. ถาไมมีรายการฟอนตที่ตองการในระบบก็สามารถที่จะเพิ่มเองไดพิมพชื่อฟอนตที่
ตองการเพิ่มในรายการฟอนตในชองที่อยูทางมุมขวาลางของไดอะลอก
4. หากตองการใหเว็บไซทใชภาษาไทยได แนะนําใหสรางรายการ Font ที่มี Font MS
Sans Serif, Tahoma อยู เพราะ Font ที่ ก ล า วไปนั้ น จะเป น Font ที่ เมื่ อ ตั้ ง ค า ให มี
ขนาดเล็กแลวก็ยังจะสามารถอานออกไดชัดเจน แต Font ไทยอื่นๆเชน Angsana
หรือ Cordia ก็สามารถใชไดเหมือนกัน แตที่ไมแนะนําเพราะ Font พวกนี้ เมื่อตั้งคา
ใหตัวเล็กแลว จะทําให อานยากและไมคอยมีความสวยงาม และ ไมแนะนําให ใช
Font ภาษาไทยที่ใชเพื่อออกแบบดาน Graphic เชนพวก DSS, PSL, JS, ฯลฯ เพราะ
Font บนเว็บไซทจะเปนเพียงดึง Font ที่มีอยูในเครื่องของผูใชมาแสดง หากเครือ่ งไหน
ไมมี Font พวกนี้ก็จะไมสามารถแสดงออกมาได

3.6 รูปแบบ Paragraph


ใน Dreamweaver เราจะใชปอปอัพเมนู Format ใน Property Inspector หรือ เลือก เมนู
Text -> Paragraph ในการกําหนดรูปแบบยอหนาหรือ หัวเรื่อง โดยขั้นตอนการกําหนดรูปแบบ
ยอหนาหรือ หัวเรื่องมีดังนี้
1. คลิกเมาปุมซายบริเวณขอความที่ตองการกําหนดรูปแบบยอหนาหรือ หัวเรื่อง
2. เลือกรูปแบบยอหนาและ หัวเรื่องที่ตองการในปอปอัพเมนู Format
3. เมื่อตองการยกเลิกรูปแบบที่ใชใหเลือก none ในปอปอัพเมนู Format

3.7 การจัดวางขอความ
การกําหนดการจัดวางขอความเราสามารถกําหนดไดใน Property Inspector หรือ เลือก
เมนู Text -> Align โดยขั้นตอนการกําหนดการจัดวางขอความมีดังนี้
1. เลือกขอความที่ตองการหรือ คลิกเมาปุมซายหนาขอความที่ตองการกําหนดการจัด
วาง

www.marianasgraphix.com 3-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

2. เลื อ กไอคอน Align ไอคอนใดไอคอนหนึ่ ง ใน Property Inspector


หรือ เลือกเมนู Text -> Align โดยการจัดวางที่เลือกไดมี ชิดซาย กึ่งกลาง ชิดขวาและ
กระจาย

3.8 การเยื้องยอหนา (Indent)


การกําหนดเยื้องยอหนามีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกเมาปุมซายบนยอหนาที่เราตองการกําหนดเยื้องยอหนาไปทางขวา
2. ใน Property Inspector คลิกที่ไอคอน Indent เมื่อตองการเยื้องยอหนาไปทาง
ขวาหรือ เลือกเมนู Text -> Indent
3. ถ า เราต อ งการเยื้ อ งย อ หน า มาทางซ า ย ใน Property Inspector คลิ ก ที่ ไ อคอน
Outdent หรือ เลือกเมนู Text -> Outdent

3.9 การเปลี่ยนสีขอความ
การเปลี่ยนสีขอความทําโดยเลือกขอความที่ตองการเปลี่ยนสีแลว กรอกรหัสสีที่ตองการ
ในชอง Color หรือ คลิก ที่ ไอคอนรูปสี่เหลี่ ยมที่อยูห นาชองกรอกรหัสสี ใน Property Inspector
จะปรากฎพาเนล Color ดังรูปที่ 3-3 ใหเราเลือกสีที่ตองการ ในพาเนลจะประกอบไปดวยตารางสี
และ ไอคอนที่ใชกําหนดออฟชั่นและ สีมาตราฐาน เลือกสีที่ตองการ เมื่อเลือกแลวในชองรหัสสีก็
จะปรากฎรหัสของสีที่เราเลือก

รูปที่ 3-3 พาเนล Color

3.10 การสรางรายการแบบมีหัวขอ
เราสามารถที่จะสรางรายการแบบมีหัวขอจากขอความที่มีอยูได โดยขั้นตอนการสรางราย
การแบบหัวขอมีดังนี้

www.marianasgraphix.com 3-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

3.10.1 การสรางรายการแบบมีหัวขอใหม
1. กําหนดจุดเพิ่มรายการใน Document Window
2. คลิกที่ไอคอน List เมื่อตองการสรางรายการแบบมีหัวขอที่ไมมีลําดับหรือ ไอคอน
เมื่อตองการสรางรายการแบบมีหัวขอที่เรียงลําดับ ใน Property Inspector หรือ
เลือกเมนู Text -> List
3. พิมพขอความที่ตองการแลวกดปุม Enter
4. เมื่อตองการจบการสรางรายการแบบมีหัวขอใหกดปุม Enter 2 ครั้ง

3.10.2 การสรางรายการแบบมีหัวขอจากขอความเดิมที่มีอยู
1. เลือกกลุมของยอหนาที่ตองการสรางรายการแบบมีหัวขอ
2. คลิกที่ไอคอน List เมื่อตองการสรางรายการแบบมีหัวขอที่ไมมีลําดับหรือ ไอคอน
เมื่อตองการสรางรายการแบบมีหัวขอที่เรียงลําดับ ใน Property Inspector หรือ
เลือกเมนู Text -> List

3.11 การเพิ่มอักขระพิเศษ
อักขระพิ เศษใน HTML จะถูก แทนที่ ดวยตั วเลขหรือ ชื่ อ อย างเช น  เราจะแทนดว ย
&copy หรือ < เราจะแทนดวย &gt เปนตน ใน Dreamweave เราสามารถที่จะเพิ่มอักขระพิเศษได
โดยใชปุมที่อยูใน Character Tab ของ Insert Bar หรือ เลือกเมนู Insert -> Special Character
ก็ได

3.12 การเพิ่มเสนแบงเนื้อหา
ใน HTML เราสามารถที่จะเพิ่มเสนแบงเนื้อหาไดโดยใชปุมที่อยูใน Common Tab ของ
Insert Bar หรื อ เลื อ กเมนู Insert -> Horizontal Rule หลั ง จากที่ เพิ่ ม เส น แบ ง เนื้ อ หาแล ว เรา
สามารถที่จะกําหนดความกวางและ ความหนาของมันไดดวย โดยกําหนดคาดังกลาวใน Property
Inspector

3.13 การนําเขาเนื้อหาจาก Microsoft Word HTML


ใน Dreamweaver เราสามารถที่ จ ะเป ด และ นํ า เข า เอกสาร HTML ที่ ถู ก สร า งโดย
โปรแกรม Microsoft Word (หรือเรียกสั้นๆ วา Word) ไดแลวใชคําสั่ง Clean up Word HTML ใน

www.marianasgraphix.com 3-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

การลบโคด HTML ที่ถูกสรางโดย Word ออก ซี่งโคดที่ถูกลบออกดังกลาวจะเปนโคดที่ใชกําหนด


รูปแบบของเนื้อหาใน Word ซึ่งไมสามารถแสดงในเว็บบราวเซอรได
ขั้นตอนการนําเขาเนื้อหาจาก Microsoft Word HTML มีดังนี้
1. เปดไฟล HTML ที่ถูกสรางดวย Word โดยทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• เลื อ ก คํ า สั่ ง Import -> Import Word HTML ห ลั งจ าก ที่ เลื อ ก คํ าสั่ งแ ล ว
Dreamweaver จะเปดไฟลดังกลาวและ เปดไดอะล็อก Clean up Word HTML
ขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ดังรูปที่ 3-4
• เลื อ กคํ าสั่ ง File -> Open แล วเลือ กไฟล เพื่ อ เป ด หลั งเป ด ไฟล แล วเลื อกคํ าสั่ ง
Command -> Clean up Word HTML
2. Dreamweaver จะพยายามตรวจสอบรุ น ของ Word ที่ ใช บั น ทึ ก ไฟล ดั ง กล า ว ถ า
Dreamweaver ไมสามารถตรวจสอบไดวาเปน Word รุนใด ใหเราเลือกรุนที่ถูกตอง
ในปอปอัพเมนู
3. เลือกออปชั่นที่ตองการใชใน Basic Tab ซึ่งมีออปชั่นตางๆ ดังนี้
• Remove all Word Specific Markup กํ า หนดให ล บแท็ ก HTML เฉพาะที่ ถู ก
สรางโดย Word
• Clean up CSS กําหนดใหลบ CSS เฉพาะที่ถูกสรางโดย Word
• Clean up <font> Tags กํ า หนดให ล บแท็ ก HTML ที่ อ ยู ในแท็ ก <body> แล ว
กําหนดคาขนาดของตัวอักษรในแทก <body> ใหเทากับ 2
• Fix Invalidly Nested Tags กําหนดใหลบแท็ ก font ที่ถู กสรางโดย Word ที่ อยู
นอกแท็กที่อยูในระดับบลอกออก เชน แทก <p>, <h1> และ <h2> เปนตน
• Set Background Color เปนฟลดที่ใหพิมพรหัสของสีที่เปนเลขฐาน 16 ในการ
กําหนดสีพื้นหลังใหกับเว็บเพจ
• Apply Source Formatting กําหนดใหใชรูปแบบของซอรสโคดตามที่กําหนดไว
ใน HTML Format Preference
• Show Log on Completion กําหนดใหแสดงกลองขอความที่แสดงรายละเอียด
ของการเปลี่ยนแปลงที่ไดทํากับเอกสาร HTML ที่สรางจาก Word ในขณะที่นํา
เขาเนื้อหาใน Dreamweaver

www.marianasgraphix.com 3-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 3 : การเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บไซท

รูปที่ 3-4 ไดอะล็อก Clean Up Word HTML

www.marianasgraphix.com 3-8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 4 : การเชื่อมโยงเอกสาร

บทที่ 4
การเชื่อมโยงเอกสาร

จากที่เราทราบกันดีอยูแลววาเว็บไซตที่เราสรางขึ้นนั้นเกิดจากการนําเว็บเพจหรือ ไฟลที่
สัมพันธกันมารวมกันและ เชื่อมโยงเว็บเพจหรือ ไฟลเหลานั้นเขาดวยกัน ดังนั้นในบทนี้เราอธิบาย
ถึ ง วิ ธี ก ารสร า งการเชื่ อ มโยงหรื อ ที่ เ รี ย กว า ลิ ง ค (Link) ระหว า งเว็ บ เพ จในโปรแกรม
Dreamweaver วาสามารถทําไดอยางไรและ มีการเชื่อมโยงแบบใดบาง

4.1 การอางถึงที่อยูของไฟลในการเชื่อมโยง
การทําความเขาใจกับการอางที่อยูของไฟลจะชวยใหการสรางการเชื่อมโยงระหวางไฟล
ตางๆ ในเว็บไซตที่เราสรางขึ้นทําไดอยางถูกตองมากขึ้น
ในอินเทอรเน็ตแตละไฟลหรือ เว็บเพจที่เราสรางขึ้นจะมีที่อยูที่ไมซ้ํากันที่เราสามารถอาง
ถึงได ซึ่งเราเรียกวา Uniform Resource Locator (URL) รูปแบบของ URL จะประกอบไปดวย 3
สวนดวยกันคือ โปรโตคอล (Protocol) โดเมน (Domain) และ ที่อยูของไฟลในโดเมน (Path)
รูปแบบในการอางถึงที่อยูของไฟลมีอยู 3 แบบดังนี้
4.1.1 แบบสมบูรณ (Absolute Path)
เปนการอางถึงไฟลแบบเต็มรูป คือ ใช URL ในการอางถึงไฟลที่อยูในเว็บไซต อยางเชน
http://www.yahoo.com/index.php จะเป น การอ า งถึ ง ไฟล index.php ที่ อ ยู ในเว็ บ ไซต Yahoo
เปนตน การอางถึงไฟลดวยรูปแบบนี้จะนิยมใชกับการเชื่อมโยงระหวางเว็บไซตมากกวาที่จะใชกับ
การเชื่อมโยงภายในเว็บไซต เพราะวา ถาเว็บไซตของเรามีการเปลี่ยนโดเมนเมื่อไร การเชื่อมโยงที่
เราทําไวในเว็บเพจจะตองมีการแกไขทั้งหมด

4.1.2 แบบสัมพัทธ (Document Relative Path)


เปนการอางถึงไฟลโดยใชความสัมพันธระหวางไฟลที่ทําการเชื่อมโยงกับ ไฟลที่ถูกเชื่อม
โยง ในโครงสรางไดเรกเทอรี่ของเว็บไซต ซึ่งการอางถึงไฟลดวยวิธีนี้จะมี 3 กรณีดวยกันดังนี้
1. ในกรณีที่ไฟลที่ทําการเชื่อมโยงอยูไดเรกเทอรี่ดวยกับไฟลที่ถูกเชื่อมโยงใหใชเพียงชื่อ
ไฟลเทานั้น
2. ในกรณีที่ไฟลที่ถูกเชื่อมโยงอยูไดเรกเทอรี่ยอยของไดเรกเทอรี่ที่ไฟลที่ทําการเชื่อมโยง
อยู ใหใชชื่อไดเรกเทอรี่ยอยตามดวยเครื่องหมาย “/” และชื่อไฟล

www.marianasgraphix.com 4-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 4 : การเชื่อมโยงเอกสาร

3. ในกรณีที่ไฟลที่ถูกเชื่อมโยงอยูในไดเรกเทอรี่ที่อยูเหนือไดเรกเทอรี่ที่ไฟลที่ทําการเชื่อม
โยงหนี่งชั้น ใหใช “../” นําหนาชื่อไฟล
4.1.3 แบบสัมพันธกับรูทไดเรกเทอรี่ของไซต (Site Root Relative Path)
เปนการอางถึงไฟลโดยใชรูทไดเรกเทอรี่หรือ ไดเรกเทอรี่ชั้นนอกสุดของเว็บไซตเปนจุดเริ่ม
ตน ซึ่งการอางถึงไฟลดวยวิธีนี้เราจะแทนรูทไดเรกเทอรรี่ดวย “/” และที่อยูของไฟลโดยเริ่มจากรูท
ไดเรกเทอรรี่

4.2 การสรางการเชื่อมโยงหรือ ลิงค


ใน HTML เราจะใชแท ก “<a></a>” ในการเชื่อมโยงเอกสาร ซึ่ งการเชื่ อมโยงต างๆ ที่
สามารถทําไดมีดังตอไปนี้
4.2.1 การเชื่อมโยงไปยังไฟลหรือ เอกสาร
ใน Dreamweaver เราสามารถที่ จ ะสร า งการเชื่ อ มโยงได โดยทํ า ผ า น Property
Inspector หรือไอคอน Point-to-file ซึ่งขั้นตอนการเชื่อมโยงดวยวิธีตางๆ มีดังตอไปนี้
4.2.1.1 การเชื่อมโยงโดยใช Link Text Box ใน Property Inspector
1. เลือกขอความหรือ วัตถุที่เราตองการจะสรางการเชื่อมโยง
2. คลิกไอคอนโฟลเดอร ใน Property Inspector เพื่อคนหาไฟลที่ตองการเชื่อมโยง
โดยเราสามารถที่จะกําหนดไดวาหลังจากที่เลือกไฟลแลวจะใหสรางขอความที่ใชอาง
ที่ อ ยู ข องไฟล ในลั ก ษณะ Document Relative Path หรือ Site Root Relative Path
ไดในปอปอัพเมนูในไดอะล็อก Select File ดังรูปที่ 4-1

รูปที่ 4-1 ไดอะล็อก Select File

www.marianasgraphix.com 4-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 4 : การเชื่อมโยงเอกสาร

3. หรือ พิมพที่อยูของไฟลลงใน Link Text Box ซึ่งที่อยูของไฟลที่พิมพลงไปจะเปนไป


ตามรูปแบบการอางถึงไฟล 3 รูปแบบที่กลาวมาขางตน
4. เราสามารถที่จะกําหนดตําแหนงที่จะใหเอกสารที่ถูกเชื่อมโยงแสดงผลไดดวยโดย
เลือกที่ Target popup menu โดยความหมายของคาตางๆ ที่อยู popup menu มีดัง
นี้
• _blank สั่งใหเว็บเราเซอรเปดหนาตางใหมพรอมกับแสดงเอกสารที่ถูกเชื่อมโยง
• _parent แสดงผลเอกสารที่ถูกเชื่อมโยงใน parent frame หรือ parent window
ของ frame
• _self แสดงผลเอกสารที่ถูกเชื่อมโยงในหนาเดียวกับที่สวนเชื่อมโยงอยู
• _top แสดงผลเอกสารที่ถูกเชื่อมโยงในหนาตางของเว็บเบราเซอรโดยเอาเฟรมทั้ง
หมดออก

4.2.1.2 การเชื่อมโยงโดยใชไอคอน Point-to-File


1. เลือกขอความหรือ วัตถุที่ตองการสรางการเชื่อมโยง
2. คลิกเมาสปุมซายที่ไอคอน Point-to-File คางไวแลวลากเมาสไปวางยังเอกสารที่
เปดอยูหรือ แสดงอยูใน Site Panel
3. เมื่อไดไฟลที่ตองการเชื่อมโยงแลวปลอยเมาสปุมขวา

www.marianasgraphix.com 4-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 4 : การเชื่อมโยงเอกสาร

4.2.2 การเชื่อมโยงภายในเอกสารเดียวกัน
เราสามารถสรางการเชื่อมโยงภายเอกสารเดียวกันได โดยการกําหนดตําแหนงที่ถูกเชื่อม
โยงภายในเอกสารที่ เราเรีย กว า named anchor หลั ง จากนั้ น ก็ ทํ า การเชื่ อ มโยงไปยั ง named
anchor ดังกลาว ซึ่งการสราง named anchor ทําไดดังนี้
1. เลือกตําแหนงที่ตองการแทรก named anchor ในเอกสาร
2. เลือกเมนู Insert -> Named Anchor หรือ ใน Common Tab ของ Insert Bar คลิกที่
ปุม Named Anchor
3. หลังจากขั้นตอนที่ 2 จะปรากฎไดอะล็อก Named Anchor ดังรูปที่ 4-2 ใหกรอกชื่อ
ของ named anchor ซึ่งชื่อนี้เราจะใชในตอนที่สรางการเชื่อมโยงภายในเอกสาร
หลังจากที่เราสราง named anchor ในเอกสารแลว การเชื่อมโยงมายัง named anchor มี
ขั้นตอนดังนี้
1. เลือกขอความหรือ วัตถุที่ตองการเชื่อมโยงไปยัง named anchor
2. พิมพเครื่องหมาย “#” ตามดวยชื่อของ named anchor ที่ตองการเชื่อมโยงลงใน Link
Text Box ใน Property Inspector
3. ถาเราตองการที่จะเชื่อมโยงไปยัง named anchor ที่อยูคนละเอกสารกันก็สามารถทํา
ไดโดยพิมพที่อยูของไฟลตามดวยเครื่องหมาย “#” และ ชื่อของ named anchor

รูปที่ 4-2 ไดอะล็อก Named Anchor

4.2.3 การสรางอีเมลลิงค
อีเมลลิงคเปนลิงคที่เมื่อเราคลิกแลวจะเปดหนาตางใหมพรอมกับเรียกโปรแกรมสงอีเมลที่
เรากําหนดไวในเว็บเบราเซอร ซึ่งในชองที่ใหกรอกที่อยูของผูรับของโปรแกรมสงอีเมลจะแสดง
อีเมลแอดเดรส (Email Address) ที่กําหนดไวในอีเมลลิงค ซึ่งการแทรกอีเมลลิงคในเอกสารทําได
ดังนี้

www.marianasgraphix.com 4-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 4 : การเชื่อมโยงเอกสาร

1. เลือกตําแหนง ที่ตองการเพิ่มอีเมลลิงคลงในเอกสาร
2. เลือกเมนู Insert -> E-mail Link หรือ คลิกที่ปุม Email Link ใน Common Tab
ใน Insert Bar
3. หลังจากขั้นตอนที่ 2 จะปรากฎไดอะล็อก Email Link ดังรูปที่ 4-3 ใหพิมพขอความที่
แสดงในเอกสารและ อีเมลแอดเดรสที่ใชตอนคลิกอีเมลลิงค

รูปที่ 4-3 ไดอะล็อก Email Link

4. ซึ่ ง จริ ง ๆแล ว การ Link ไปยั ง email เราก็ ส ามารถใส เองได โดยในช อ ง Link ให ใ ส
mailto: ตรงขางหนา email ที่ตองการ ดังรูป 4-4

รูปที่ 4-4 Email Link ใน Properties Inspector

www.marianasgraphix.com 4-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

บทที่ 5
การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

5.1 ภาพกราฟฟกบนเว็บไซต
ภาพกราฟฟกที่นิยมใชในเว็บเพจมี 3 ชนิดดวยกันคือ GIF, JPG และ PNG
5.1.1 GIF (Graphic Interchange Format)
เปนไฟลภาพที่ใชสีสูงสุดไดเพียง 256 สี ซึ่งจะเหมาะกับภาพที่มีสีเรียบๆ อยาง เชนภาพปุม
ไอคอนหรือ ภาพการตูน เปนตน
5.1.2 JPG (Joint Photographic Experts Group)
เปนไฟลภาพที่ใชสีสูงสุดไดหลายลานสี ซึ่งจะเหมาะกับภาพที่มีการไลเฉดสีมากๆ อยางเชน
ภาพถายหรือ ภาพสามมิติ เปนตน
5.1.3 PNG (Portable Network Group)
เปนไฟลภาพที่สามารถนํามาใชแทนไฟลภาพชนิด GIF ไดซึ่งสนับสนุน indexed-cololr,
grayscale และ true-color image และ มี alpha channel ซึ่งสนับสนุนการทําภาพโปรงใส
ไฟลภาพ PNG ถือวาเปนไฟลพื้นฐานในการทํางานของโปรแกรม Firework ซึ่งไฟล PNG
จะประกอบไปดวย เลเยอร (layer), เวกเตอร (vector), สี และ แอฟเฟกตางๆ ที่ใชกับภาพ เชน แสง
เงา เปนตน และ สวนประกอบที่วานั้นเราสามารถที่จะแกไขไดในทุกๆ สวน

5.2 การวางรูปภาพลงในหนาเอกสาร
เมื่อเราวางรูปภาพลงในเอกสารโปรแกรม Dreamweaver จะสรางโคด HTML ที่อางถึงไฟล
รูปภาพดังกลาวใหเราโดยอัตโนมัติ เพื่อที่จะใหการทํางานเปนไปอยางถูกตองรูปภาพที่เราวางลงใน
เอกสารควรจะอยูในเว็บไซตดวย
ขั้นตอนการวางรูปภาพลงในเอกสารมีดังนี้
1. เลือกจุดที่ตองการวางรูปภาพใน Document Window
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• คลิกที่ปุม Image ใน Common Tab ของ Insert Bar
• คลิกเมาสปุมซายขางไวที่ปุม Image ใน Common Tab ของ Insert Bar แลวลาก
เมาสมาวางไวบริเวณที่ตองการใน Document Window
• คลิกลากรูปภาพจากพาเนล Assest มาวางไวที่ Document Window
• คลิกลากรูปภาพจากพาเนล Site มาวางไวที่ Document Window

www.marianasgraphix.com 5-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

3. จะปรากฎไดอะล็อก Select Image Source ดังรูปที่ 5-1 ใน Select File Name From
ใหเลือก File System ในกรณีที่รูปภาพที่เราตองการจะวางในเอกสารเปนไฟลรูปภาพ
ทั่วไป แตถารูปภาพไดจากฐานขอมูลแลว ใหเลือก Data Source
4. เมื่อคนหารูปภาพที่ตองการไดแลวกดปุม OK เพื่อจบการแทรกภาพลงในเอกสาร
คุณสมบัติตางๆ ของรูปภาพเราสามารถที่จะแกไขไดโดยแกไขผาน Property Inspector

รูปที่ 5-1 ไดอะล็อก Select Image Source

5.3 การปรับคาของรูปภาพ
คุณสมบัติตางๆ ของรูปภาพที่สามารถปรับคาไดมีดังนี้
5.3.1 ความกวางและ ความสูง
การปรับคาความกวางและ ความสูงของรูปภาพสามารถทําไดทํา 2 วิธีดังนี้
1. คลิ ก ที่ รูป ภาพที่ ต อ งการแก ไขใน Document Window แล ว พิ ม พ ค า ความกว า งและ
ความสูงใน Property Inspector
2. คลิกที่รูปภาพที่ตองการแกไขใน Document Window หลังจากที่คลิกแลวจะปรากฎ
กรอบสีดําลอมรอบรูปภาพพรอมกับรูปสี่เหลี่ยมสีดําทางดานลาง ทางขวาและ มุมขวา
ลาง ดังรูปที่ 5-2 ใหเราเลื่อนเมาสพ อยตเตอรไปวางไวที่รูปสี่เหลี่ยมสีดําดังกลาวจน
เมาสพอยตเตอรเปลี่ยนเปนรูปลูกศรสองทาง ใหคลิกลากรูปสี่เหลี่ยมสีดําดังกลาวไป

www.marianasgraphix.com 5-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

ทางดานลางถาตองการขยายความสูงของรูป ทางดานขวาถาตองการขยายความกวาง
ของรูปและ ทางมุมขวาลางถาตองการขยายทั้งความสูงและ ความกวางพรอมๆ กัน

รูปที่ 5-2 การเปลี่ยนความกวางและ ความสูงของรูปภาพ

5.3.2 การจัดวางรูปภาพ
การจัดวางรูปภาพในเอกสารจะสัมพันธกับองคประกอบอื่นๆ ที่อยูในแถวหรือ ยอหนาเดียว
กันกับรูปภาพ การจัดวางเราสามารถกําหนดไดโดยใช Property Inspector ซึ่งการจัดวางที่กําหนด
ไดมีดังนี้
1. Baseline และ Bottom จัดวางรูปภาพโดยอยูบนแนวเสนบรรทัดของขอความ
2. Top จัดวางสวนบนสุดของรูปภาพไวที่สวนบนของตัวอักษรหรือ วัตถุที่สูงที่สุด
3. Middel จัดวางจุดกึ่งกลางของรูปใหอยูตรงกับเสนบรรทัด
4. TextTop จัดวางสวนบนสุดของรูปภาพไวที่สวนบนของตัวอักษรที่สูงที่สุด
5. Absolute Middle จัดวางกึ่งกลางของรูปภาพใหตรงกับกึ่งกลางของขอความ

5.4 การเรียกโปรแกรม Fireworks MX มาแกไขรูปภาพใน Dreamweaver MX


Dreamweaver และ Fireworks สามารถที่จะทํางานรวมกันไดในการแกไขรูปภาพที่อยูใน
เว็บเพจ โดยการกําหนดให Dreamweaver เรียก Fireworks มาทํางานเปนอันดับแรกเมื่อมีการเรียก
โปรแกรมจากภายนอกโดย Dreamweaver มาแกไขรูปภาพ โดยขั้นตอนการกําหนดมีดังนี้
1. เลือกคําสั่ง Edit -> Preferances -> File Types / Editors
2. ในคอลัมน Extensions เลือก .png
3. คลิกที่ปุม + เหนือคอลัมน Editors หลังจากที่คลิกจะปรากฎไดอะล็อก Select External
Editor ดังรูปที่ 5-3
4. ในไดอะล็อก Select External Editor คนหาโปรแกรม Fireworks MX เมื่อพบแลวคลิก
ที่ปุม Open เพื่อจบการทํางาน

www.marianasgraphix.com 5-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

รูปที่ 5-3 ไดอะล็อก Select External Editor

ในโปรแกรม Fireworks เราก็ตองมีการกําหนดการจัดการกับไฟลรูปภาพ PNG ดวยเมื่อมัน


ถูกเรียกจากโปรแกรมภายนอกในการแกไขรูปภาพ โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกคําสั่ง Edit -> Preferances แลวคลิกที่แทบ Launch and Edit ดังรูปที่ 5-4

รูปที่ 5-4 ไดอะล็อก Preferences

www.marianasgraphix.com 5-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

2. เลือกขอกําหนดที่จะใชเมื่อมีการแกไขรูปภาพดวย Fireworks ซึ่งถูกเรียกจากโปรแกรม


อื่น ซึ่งมีขอกําหนดตางๆ ดังนี้
• Always Use Source PNG กําหนดใหเปดไฟล PNG ที่กําหนดไวใน Design Note
ซึ่งเปนไฟลที่ใชสรางรูปภาพที่วางอยูบนเว็บเพจที่เราทํางานอยู เมื่อเราแกไขเปลี่ยน
แปลงรูปภาพที่วางอยูบนเว็บเพจแลวไฟล PNG จะเปลี่ยนแปลงดวย
• Never Use Source PNG กําหนดใหแกไขรูปภาพ ที่วางอยูบนเว็บเพจไมวาจะมี
ไฟล PNG ที่ใชสรางรูปภาพดังกลาวหรือไม การแกไขเปลี่ยนแปลงจะเกิดกับรูป
ภาพที่วางอยูบนเว็บเพจเทานั้น
• Ask When Launching กํ าหนดให เราต องระบุ ขอกํ าหนด 2 ข อข างต น ใหม ทุ ก ๆ
ครั้งที่ Fireworks ถูกเรียกจากโปรแกรมอื่น เพื่อแกไขรูปภาพ

การสรางรูปภาพใหมมาแทนที่รูปภาพ Placeholder ใน Dreamweaver ดวย Fireworks


ใน Dreamweaver เราสามารถที่สรางรูปภาพใหมเพื่อนํามาใชแทนที่รูปภาพ Placeholder
ได โดยใช Fireworks ซึ่งคุณสมบัติตางๆ ของรูปภาพ Placeholder ที่เรากําหนดไวในขณะที่สราง
เว็บเพจดวย Dreamweaver จะเปนขอมูลพื้นฐานใหกับ Fireworks ในการสรางรูปภาพใหม
ใน Fireworks เมื่ อเราสรางรูป ภาพที่จะใชแทนรูป ภาพ Placeholder เสร็จแล วคลิ ก ที่ ปุ ม
Done ดังรูปที่ 5-5 โปรแกรม Fireworks จะใหเราบันทึกไฟลสองครั้งดวยกันในครั้งแรกจะใหบันทึก
ไฟลนามสกุล .png เพื่อใชเปนไฟลหลักเมื่อมีการแกไขภาพที่สรางใหมดังกลาว ในครั้งที่สองจะให
บันทึกไฟลน ามสกุลที่สามารถแสดงผลบนเว็บเพจทั่วไปไดคือ GIF และ JPEG ซึ่งไฟลรูปภาพที่
บันทึกในครั้งที่สองนี้จะถูกนําไปใชแทนรูปภาพ Placeholder ที่มีการสรางรูปภาพใหมมาแทนที่

รูปที่ 5-5 การสรางรูปภาพที่ใชแทนรูปภาพ Placeholder ใน Fireworks

www.marianasgraphix.com 5-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

ขั้นตอนการสรางรูปภาพใหมที่ใชแทนที่รูปภาพ Placeholder ดวย Fireworks มีดังนี้


1. เลื อกรูป ภาพ Placeholder ที่ตองการแทนที่ ดวยรูป ภาพใหม หรือเลื อกที่ ปุม Image
Placeholder
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• ใน Property Inspector คลิกที่ปุม Create
• กดปุม Control แลวดับเบิ้ลคลิกที่รูปภาพ Placeholder ใน Document Window
• คลิกเมาสปุมขวาที่รูป Placeholder แลวเลือก Create Image

3. หลังจากที่ทําตามขั้นตอนที่ 2 แลว Dreamweaver จะเปดโปรแกรม Fireworks ขึ้นมา


แลวสรางพื้นที่ใชในการสรางรูปภาพซึ่งมีขนาดเทากับรูปภาพ Placeholder
4. สรางรูปภาพตามความตองการเมื่อไดรูปภาพที่ตองการแลวคลิกที่ปุม Done เหนือรูป
ภาพ จะปรากฎไดอะล็อกใหบันทึกไฟลนามสกุล PNG
5. ในฟลด Save In ใหเลือกโฟลเดอรที่เรากําหนดให เปนโฟลเดอรของ Local site และ
พิมพชื่อไฟลรูปภาพลงในฟลด File Name แลวกดปุม Save เพื่อบันทึกไฟลเปนนาม
สกุล PNG
6. หลั ง จากขั้ น ตอนที่ 5 จะปรากฎไดอะล็ อ ก Export เพื่ อ ให เราบั น ทึ ก ไฟล รู ป ภาพที่
สามารถแสดงผลบนเว็บบราวเซอรทั่วไปไดคือ GIF และ JPEG

www.marianasgraphix.com 5-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

7. ใหพิมพชื่อไฟลรูปภาพและ เลือกชนิดของไฟลในฟลด Save As type และ กดปุม Save


เพื่อทําการบันทึกไฟล

5.5 การทํา Image Maps


Image Maps คือรูปภาพที่ถูกแบงออกเปนพื้นที่ยอยๆ หรือ ที่เรียกวา Hotspot เมื่อผูใชคลิก
Hotspot เหลานั้นแลวเราอาจจะใหมีการทํางานบางอยางเกิดขึ้น อยางเชน เปดไฟลใหม หรือ ลิงค
ไปยังเว็บเพจอื่น เปนตน
5.5.1 การสราง Image Maps
การสรางพื้นที่ของ Image Maps เราจะใชเครื่องมือที่อยูใน Property Inspector ดังรูปที่ 5-
6 ในการสราง ซึ่งมีขั้นตอนในการสรางดังนี้

รูปที่ 5-6 เครื่องมือที่ใชสราง Image Maps ใน Property Inspector

1. ใน Document Window เลือกรูปภาพที่เราตองการสราง Image Maps


2. ใน Property Inspector ให ค ลิ ก ที่ ไอคอนรู ป ลู ก ศรทางมุ ม ขวาล า งเพื่ อ ให Property
Inspector แสดงเครื่องมือในการสรางพื้นที่ของ Image Maps และ คุณสมบัติอื่นๆ เพิ่ม
เติมของรูปภาพ
3. กรอกชื่อของ Image Maps ในฟลด Map ซึ่งชื่อนี้จะตองไมซ้ํากับ Image Maps เดิมทีม่ ี
อยูแลว
4. กําหนดพื้นที่ใน Image Maps ซึ่งทําไดดังนี้
• เมื่อตองการสรางพื้นที่วงกลมใน Image Maps ใหคลิกที่ไอคอน Circle Tool
แลวคลิกลากเมาสพอยตเตอรเพื่อสรางพื้นที่เหนือรูปภาพที่ตองการ

www.marianasgraphix.com 5-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

• เมื่อตองการสรางพื้นที่สี่เหลี่ยมใน Image Maps ใหคลิกที่ไอคอน Rectangle Tool


แลวคลิกลากเมาสพอยเตอรเพื่อสรางพื้นที่เหนือรูปภาพที่ตองการ
• เมื่ อตองการสรางพื้ น ที่หลายเหลี่ยมใน Image Maps ใหคลิกที่ไอคอน Polygon
Tool แลวคลิกลากเมาสพอยเตอรเพื่อสรางพื้นที่เหนือรูปภาพที่ตองการ โดย
การสรางพื้นที่หลายเหลี่ยมเราจะใชการเชื่อมจุดตอจุดไปเรื่อยจนวนกลับมาจุดเริ่ม
ตน ก็จะทําใหไดรูปหลายเหลี่ยมที่ตองการ

5.5.2 การแกไข Image Maps


การแกไข Image Maps เราสามารถที่จะเคลื่อนยาย เปลี่ยนแปลงขนาดและ สําเนาพื้นที่
จากรูปหนึ่งไปวางอีกรูปหนึ่งไดดวย
การยายพื้นที่สามารถทําไดโดยเลือกเครื่องมือที่ใชสรางพื้นที่ของ Image Maps รูปแบบใดก็
ไดใน Property Inspector แลวคลิกเมาสปุมซายที่พื้นที่ใน Image Maps ที่ตองการจะเคลื่อนยาย
คางไวแลวลากเมาสสพอยเตอรไปยังตําแหนงใหมที่ตองการ
การเปลี่ยนแปลงขนาดของพื้นที่ของ Image Maps สามารถทําไดโดยคลิกที่ไอคอนรูปลูกศร
ทางดานมุมลางซายของ Image Maps แลวคลิกลากดานใดดานหนึ่งของพื้ นที่เพื่อเปลี่ยนแปลง
ขนาด

5.6 การใส Flash ลงในเอกสาร


เมื่ อเราใส Flash Movie ลงในเอกสาร Dreamweaver จะใชทั้ งแท ก object และ embed
รวมกัน เพื่อใหการแสดงผล Flash Movie เปนไปไดอยางถูกตองในทุกเว็บบราวเซอร เมื่อเราเปลี่ยน
แปลงค า ของ Flash Movie ใน Property Inspector แล ว Dreamweaver ก็ จ ะเปลี่ ย นแปลงค า ที่
เหมาะสมในแทก object และ embed ใหดวย
ขั้นตอนการใส Flash Movie ลงในเอกสาร
1. ในมุมมองออกแบบของ Document Window เลือกจุดที่ตองการเพิ่ม Flahs Movie แลว
ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• ใน Insert Bar เลือก Media Tab แลวคลิกปุม Insert Flash
• ใน Insert Bar เลือก Media Tab แลวคลิกลากไอคอน Insert Flash มาวางลงบน
Document Window
• เลือกเมนู Insert -> Media –> Flash
2. จะปรากฎไดอะลอก Select File ใหเราเลือกไฟล Flash ที่จะเพิ่มในเอกสาร

www.marianasgraphix.com 5-8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 5 : การทํางานกับรูปภาพกราฟฟก

3. หลั ง จากที่ เ ลื อ กไฟล Flash แล ว Flash placeholder จะถู ก แสดงใน Document
Window เพื่อบอกวาตําแหนงดังกลาวไดมีการแทรก Flash object เขามา ดังรูปที่ 5-7

รูปที่ 5-7 Flash placeholder หลังจากที่แทรก Flash ลงในเอกสาร

นอกจากนี้เรายังสามารถดู Flash Movie ใน Document Window ไดดวยโดยเลือก Flash


placeholder ที่ตองการดู Flash Movie ใน Property Inspector กดปุม Play เพื่อเลน Flash Movie
และ กดปุม Stop เพื่อหยุดเลน Flash Movie แต Flash Movie นั้นจะตอง Link ในแบบ Document
เทานั้น

www.marianasgraphix.com 5-9
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

บทที่ 6
การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

6.1 ตาราง (Table)


ตารางเปนเครื่องมือที่เราใชในการแสดงขอมูลที่อยูในลักษณะของตารางและ จัดตําแหนง
การแสดงผลของขอความหรือ รูปภาพ โดยตารางจะประกอบไปดวยแถว (Row) ตั้งแต 1 แถวขึ้นไป
และ ในแตละแถวก็จะประกอบไปดวยเซล (Cell) ตั้งแต 1 เซลขึ้นไป ซึ่งในแตละแถวตําแหนงของเซล
ที่ตรงกันเราจะเรียกวา คอลัมน (Column) ดังรูปที่ 6-1

รูปที่ 6-1 สวนประกอบของตาราง

หลังจากที่เราสรางตารางแลวเราสามารถที่จะเปลี่ยนคุณสมบัติและ โครงสรางของมันได ซึ่ง


การดําเนินการตางๆ กับตารางที่ทําไดมีดังตอไปนี้
1. เพิ่มเนื้อหาลงในตาราง
2. เพิ่ม ลบ แยกและ รวมแถวหรือ คอลัมนในตาราง
3. แกไขคุณสมบัติของตาราง เชน สีพื้นหลัง ความกวางของเซลหรือ การจัดวางขอความ
ภายในเซล เปนตน
4. สําเนาและ วางเซลในตาราง
6.1.1 การเพิ่มตารางลงในเอกสาร
การเพิ่มตารางในเอกสารมีขั้นตอนดังตอไปนี้

www.marianasgraphix.com 6-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

1. เลือกตําแหนงที่ตองการจะแทรกตารางในเอกสาร
2. คลิกที่ไอคอน Table ใน Common Tab ของ Insert Bar หรือเลือกเมนู Insert ->
Table จะปรากฎไดอะล็อก Insert Table ดังรูปที่ 6-1

รูปที่ 6-1 ไดอะล็อก Insert Table

3. พิมพคาของคุณสมบัติตางๆ ของตารางดังนี้
• Rows เปนจํานวนแถวของตาราง
• Columns เปนจํานวนคอลัมนของตาราง
• Width เปนความกวางของตาราง
• Border เปนความหนาของขอบตาราง
• Cell Padding เปนความกวางชองวางระหวางขอความที่อยูในเซลกับดานแตละ
ดานในเซล
• Cell Spacing เปนความกวางของชองวางระหวางเซลในตาราง
4. คลิกที่ปุม OK เพื่อจบการสรางตาราง

6.1.2 การเพิ่มเนื้อหาลงในตาราง
ในตารางเราสามารถที่จะเพิ่มขอความหรือ รูปภาพลงในเซลไดเชนเดียวกับการเพิ่มเนื้อหา
ลงในเอกสาร ดังรูปที่ 6-2 เมื่อเราเพิ่มหรือ แกไขเนื้อหาในตาราง เราสามารถที่จะใชคียบอรดเปลี่ยน
ไปแตละเซลของตารางได ซึ่งจะทําใหเราทํางานไดงายขึ้นในการเพิ่มเนื้อหาในแตละเซลของตาราง
การเปลี่ยนไปแตละเซลของตารางโดยใชคียบอรดทําไดดังนี้
1. กดปุม Tab เพื่อยายไปเซลถัดไปในตาราง แตถาอยูในเซลสุดทายของตารางแลวกดปุม
Tab จะเปนการเพิ่มแถวใหมในตาราง
2. กดปุม Shift + Tab จะเปนการยายไปเซลกอนหนาของตาราง

www.marianasgraphix.com 6-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

3. กดปุมลูกศรเพื่อยายไปเซลขางบน ขางลาง ทางซายและ ทางขวา

รูปที่ 6-2 การเพิ่มเนื้อหาลงในตาราง

6.1.3 การนําเขาขอมูลที่อยูในรูปของตาราง
ขอมูลที่ถูกจัดอยูในรูปของตารางที่ถูกสรางขึ้นโดยโปรแกรมอื่นๆ เชน MS Excel และถูก
บันทึกในรูปของไฟลขอความที่แยกขอมูลออกจากกันดวยตัวแบง อยางเชน คอมมา (Comma) หรือ
โคลอน (Colon) เปนตน เราสามารถที่จะนําเขามาใชงานในโปรแกรม Dreamweaver และ จัดใหอยู
ในตารางได โดยขั้นตอนตางๆ ในการนําเขาขอมูลและ จัดใหอยูในตารางมีดังตอไปนี้
1. เลือกเมนู File -> Import -> Tabular Data หรือ เลือกเมนู Insert -> Table Object ->
Import Tabular Data
2. หลังจากขั้นตอนที่ 1 จะปรากฎไดอะล็อก Import Tabular Data ดังรูปที่ 6-3 ใหกรอก
ขอมูลเพื่อใชในการสรางตารางจากขอมูลที่นําเขาจากภายนอก ซึ่งขอมูลที่ใหกรอกมีดัง
นี้
• Data File เป น ไฟล ขอ ความที่ ขอมู ลภายในไฟล ถู ก จั ด เก็ บ ในรูป ของตารางและ
ตองการนําเขามาใชใน Dreamweaver
• Delimiter เป น อั ก ขระที่ ใ ช แ บ ง ข อ มู ล ในแต ล ะแถวที่ อ ยู ใ น Data File ออกเป น
คอลัมน เชน แทป (Tab), คอมมา (Comma) เปนตน
• Table Width เปนสวนที่ไวใชกําหนดความกวางของตารางวาจะใหกวางพอดีกับขอ
มูลในตาราง (Fit to Data) หรือ กวางตามที่เรากําหนด (Set)
• Cell Padding เปนความกวางของชองวางระหวางขอมูลภายในเซลกับดานแตละ
ดานของเซล
• Cell Spacing เปนความกวางของชองวางระหวางเซลในตาราง
• Format Top Row กําหนดลักษณะของขอความในแถวแรกสุดของตารางวาเปนตัว
หนา ตัวเอียงหรือ ทั้งตัวหนาและ ตัวเอียง

www.marianasgraphix.com 6-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

• Border เปนความหนาของขอบตาราง
3. เมื่อกรอกขอมูลครบแลวกดปุม OK เพื่อจบการนําเขาขอมูล

รูปที่ 6-3 ไดอะล็อก Import Tabular Data

6.1.4 การเลือกสวนตางๆ ของตาราง


แตละตารางที่เราสรางขึ้นเราสามารถที่จะเลือกทั้งตาราง เฉพาะแถวหรือ เซลได นอกจากนี้
เรายังสามารถเลือกแถวหรือ เซลในลักษณะตอเนื่องกันไดดวย หลังที่จากเลือกตาราง แถวหรือ เซลที่
ตองการไดแลวเราสามารถที่จะแกไขคุณสมบัติตางๆ หรือ สําเนาและ วางเซลที่เราเลือกทั้งหมดได
6.1.4.1 การเลือกทั้งตาราง
การเลือกทั้งตารางทําได 3 วิธีดังนี้
1. เลื่อนเมาสพอยตเตอรไปที่มุมใดมุมหนึ่งของตารางจนเมาสพอยตเตอรเปลี่ยนเปนรูป
แลวคลิกที่ตารางจะเกิดกรอบสีดํารอบตารางเพื่อบอกวาตารางถูกเลือกอยู ดังรูปที่
6-4

รูปที่ 6-4 การเลือกตารางโดยคลิกที่มุมใดมุมหนึ่งของตาราง

2. คลิกในเซลของตารางแลวเลือกแทก Table ใน Tag Selector ดังรูปที่ 6-5

www.marianasgraphix.com 6-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

รูปที่ 6-6 การเลือกตารางโดยใช Tag Selector

3. คลิกในเซลของตารางแลวเลือกเมนู Modify -> Table -> Select Table

6.1.4.2 การเลือกแถวคอลัมนหรือ เซล


1. เลื่อนเมาสพอยตเตอรไปที่มุมซายของแถว คอลัมนหรือ เซล
2. เมื่ อ เมาส พ อยต เตอร เปลี่ ย นเป น Selection Arrow แล ว คลิ ก เพื่ อ เลื อ กแถวหรื อ
คอลัมน ดังรูปที่ 6-7

รูปที่ 6-7 การเลือกแถวหรือ คอลัมนในตาราง

3. เมื่ อ ต อ งการเลื อ กแถว คอลั ม น ห รือ เซล มากกว า หนึ่ ง ขึ้ น ไปให ค ลิ ก ลากไปยั ง แถว
คอลัมนหรือ เซลที่ตองการ

6.1.5 การ กําหนดคุณสมบัติของตาราง


การ กําหนดคุณสมบัติของตารางเราจะทําผาน Property Inspector ซึ่งมีขั้นตอนตางๆ ดังนี้
1. เลือกตารางที่ตองการ
2. ถ า Property Inspector ยั ง ไม เ ป ด เลื อ ก Window -> Property เพื่ อเป ด Property
Inspector

www.marianasgraphix.com 6-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

3. แกไขคุณสมบัติตางๆ ของตารางที่ตองการใน Property Inspector ซึ่งคุณสมบัติที่แกไข


ไดมีดังนี้

• Table Id เปนชื่อของตาราง
• Row เปนจํานวนแถวของตาราง
• Column เปนจํานวนคอลัมนของตาราง
• W เปนความกวางของตารางซึ่งเราสามารถกําหนดคาเปนเปอรเซ็นตหรือ พิกเซลได
• H เปนความสูงของตารางซึ่งเราสามารถกําหนดคาเปนเปอรเซ็นตหรือ พิกเซลได
• CellPade เปนความกวางของชองวางระหวางเนื้อหาภายในเซลกับดานแตละดาน
ของเซลในตาราง
• CellSpace เปนความกวางของชองวางระหวางเซลแตละเซลในตาราง
• Align เปนการจัดวางตารางในเอกสารซึ่งการจัดวางที่กําหนดไดคือ ชิดซาย ชิดขวา
และ ตรงกลาง
• Border เปนความหนาของขอบตาราง
• Bg Color เปนสีพื้นหลังของตาราง
• Brdr เปนสีของขอบตาราง
• Bg Image เปนรูปภาพที่ใชเปนพื้นหลังของตาราง

6.1.6 การเปลี่ยนความกวาง ความสูงของแถวและ คอลัมน


เราสามารถเปลี่ ย นความกวา ง ความสู ง ของแถวและ คอลั ม น ได โดยทํ า ผ า น Property
Inspector หรือ คลิกลากที่กรอบของแถวหรือ คอลัมนที่ตองการ โดยขั้นตอนการเปลี่ยนขนาด แถว
และ คอลัมนมีดังนี้
6.1.6.1 การเปลี่ยนขนาดแถวหรือ คอลัมนผานทาง Document Window
1. เมื่อตองการเปลี่ยนความกวางของคอลัม น ใหเลือกคอลัม นที่ตองการแลวคลิกลาก
กรอบทางดานขวาของคอลัมน ดังรูปที่ 6-8

www.marianasgraphix.com 6-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

รูปที่ 6-8 การปรับความกวางของคอลัมน

2. เมื่อตองการเปลี่ยนความสูงของแถว เลือกแถวที่ตองการแลวคลิกลากกรอบทางดาน
ลางของแถว ดังรูปที่ 6-9

รูปที่ 6-9 การปรับความสูงของแถว

6.1.6.2 การเปลี่ยนขนาดของแถวหรือ เซลผานทาง Property Inspector


1. เลือกเซลหรือ แถวที่ตองการ
2. เลือกเมนู Window -> Property เพื่อเปด Property Inspector
3. กรอกความกวางและ ความสูงที่ตองการใน Property Inspector

6.1.6.3 การยกเลิกความกวางและ ความสูงของเซลทั้งหมดในตาราง


1. เลือกตารางที่ตองการยกเลิกความกวางและ ความสูงของเซลทั้งหมด
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• เมื่ อ ต อ งการยกเลิ ก ความกว า งให เ ลื อ กเมนู Modify -> Table -> Clear Cell
Widths
• เมื่อตองการยกเลิกความสูงใหเลือกเมนู Modify -> Table -> Clear Cell Heights

6.1.7 การเพิ่มแถวและ คอลัมนในตาราง


การเพิ่มแถวและ คอลัมนในตารางมีขั้นตอนตางๆ ดังตอไปนี้
1. คลิกเซลในแถวหรือ คอลัมนที่ตองการเพิ่มแถวหรือ คอลัมน
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งดังตอไปนี้

www.marianasgraphix.com 6-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

• เมื่อตองการลบแถวใหเลือกเมนู Modify -> Table -> Delete Row


• เมื่อตองการลบคอลัมนเลือก Modify -> Table -> Delete Column
• เมื่อตองการเพิ่มหลายแถวหรือ คอลัมนในครั้งเดียวใหเลือก Modify -> Table ->
Insert Rows or Columns จะปรากฎไดอะล็อก Insert Rows or Columns ดังรูปที่
6-10 ใหกรอกจํานวนแถวหรือ คอลัมนที่จะเพิ่ม เมื่อกรอกขอมูลเสร็จแลว กดปุม
OK เพื่อจบการทํางาน

รูปที่ 6-10 ไดอะล็อก Inser Rows or Columns

6.1.8 การลบแถวและ คอลัมนในตาราง


การลบแถวและ คอลัมนในตารางมีขั้นตอนตางๆ ดังตอไปนี้
1. คลิกเซลที่อยูในแถวหรือ คอลัมนที่เราตองการลบ
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งดังตอไปนี้
• เมื่อตองการลบแถวใหเลือกเมนู Modify -> Table -> Delete Row
• เมื่อตองการลบคอลัมนใหเลือกเมนู Modify -> Table -> Delete Column

6.2 การจัดวางเนื้อหาของเว็บเพจในมุมมองเลยเอาท (Layout View)

วิธีการเบื้องตนในการจัดวางเนื้อหาของเว็บเพจคือ ใชตารางมาชวยในการจัดตําแหนงขอความและ
รูปภาพในเอกสาร แตวาการนําตารางมาใชก็ยังมีปญหาอยู เนื่องจากตารางใชแสดงขอมูลทีอ่ ยูใ นรูป
ของตาราง ดังนั้นการนํามาใชในการจัดวางเนื้อหาทําไดไมสะดวกเทาที่ควร

www.marianasgraphix.com 6-8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

เพื่ อ ให ก ารนํ า ตารางมาใช ใ นการจั ด วางเนื้ อ หาต า งๆ ในเอกสารทํ า ได ง า ยขึ้ น ใน
Dreamweaver จึงมีสวนที่เรียกวา มุมมองเลยเอาท เขามาชวยในการจัดวางเนื้อหาตางๆ ในเอกสาร
ในมุมมองเลยเอาทเราสามารถที่จะออกแบบเว็บเพจของเราโดยใชการวาดและ เคลื่อนยาย Layout
Table และ Layout Cell บนเอกสาร ในขณะที่โครงสรางภายใตมุมมองเลยเอาทก็ยังคงเปนตาราง
เชนเดิม
6.2.1 การสลับจากมุมมองปกติเปนมุมมองเลยเอาท (Layout View)
กอนที่เราจะวาด Layout Table และ Layout Cell เราควรจะสลับจากมุมมองปกติไปเปน
มุมมองเลยเอาทเสียกอน ซึ่งขั้นตอนการสลับมุมมองมีดังนี้
6.2.1.1 การสลับไปมุมมองเลยเอาท
1. ถา Document Window อยูในมุมมองโคดใหเปลี่ยนไปเปนมุมมองออกแบบกอนโดย
เลือกคําสั่ง View -> Design View หรือ View -> Code and Design หลังจากที่เลือก
คําสั่งแลว Document Window จะเปลี่ยนเปนมุมมองเลยเอาท ดังรูปที่ 6-11

รูปที่ 6-11 Dcoument Window ในมุมมองเลยเอาท

2. เลื อ ก คํ า สั่ ง View -> Table View -> Layout View ห รื อ ค ลิ ก ปุ ม Layout View
ใน Layout Tab ของ Insert Bar

6.2.1.2 การสลับไปมุมมองปกติ
1. ถา Document Window อยูในมุมมองโคดใหเปลี่ยนไปเปนมุมมองออกแบบกอนโดย
เลือกเมนู View -> Design View หรือ View -> Code and Design
2. เลือกเมนู View -> Table View -> Standard View

6.2.2 การวาด Layout Cell และ Layout Table


6.2.2.1 การวาด Layout Cell
1. คลิ ก ที่ ปุ ม Draw Layout Cell ใน Layout Tab ของ Insert Bar หลั ง จากที่ ค ลิ ก
เมาสพอยเตอรจะเปลี่ยนเปนเครื่องหมาย +

www.marianasgraphix.com 6-9
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

2. เลื่อนเมาสพอยเตอรไปยังตําแหนงที่ตองการเริ่มวาด Layout Cell ในเอกสารแลวคลิก


ลากเพื่อสราง Layout Cell ดังรูปที่ 6-12

รูปที่ 6-12 การวาด Layout Cell

6.2.2.2 การวาด Layout Table


1. คลิ ก ที่ ปุ ม Draw Layout Table ใน Layout Tab ของ Insert Bar หลังจากที่ ค ลิก
เมาสพอยเตอรจะเปลี่ยนเปนเครื่องหมาย +
2. เลื่อนเมาสพอยเตอรไปยังตําแหนงที่ตองการเริ่มวาด Layout Table ในเอกสารแลวคลิก
ลากเพื่อสราง Layout Table ดังรูปที่ 6-13

รูปที่ 6-13 การวาด Layout Table

6.2.3 การเพิ่มเนื้อหาลงใน Layout Cell


การเพิ่มเนื้อหาลงใน Layout Cell เราสามารถทําไดเชนเดียวกับการเพิ่มเนื้อหาลงในเซล
ของตาราง ในมุมมองเลยเอาทการเพิ่มเนื้อหาจะทําไดเฉพาะใน Layout Cell เทานั้น ดังนั้นทุกครั้งที่
ตองการเพิ่มเนื้อหาเราควรจะตองสราง Layout Cell เสียกอน
Layout Cell จะขยายออกเมื่อเราเพิ่มเนื้อหาที่กวางกวาความกวางของ Layout Cell รวมไป
ถึงคอลัมนของ Layout Cell ดังกลาวดวยและ สวนหัวของคอลัมนจะแสดงความกวางที่อยูในโคด
ตามดวยความกวางที่เห็นในมุมมองเลยเอาทในวงเล็บเปดและ วงเล็บปด ดังรูปที่ 6-14

www.marianasgraphix.com 6 - 10
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

รูปที่ 6-14 ความกวางของคอลัมนที่แสดงในสวนหัวของคอลัมน

6.2.4 การยายและ เปลี่ยนขนาดของ Layout Cell และ Layout Table


เราสามารถที่ จ ะย า ยและ เปลี่ ย นขนาดของ Layout Cell และ Layout Table ที่ อ ยู ใ น
Layout Table อีกทีได เพื่อใหเราสามารถแกไขการจัดวางเนื้อหาในเอกสารได
เนื่องจาก Layout Cell ไมสามารถวางทับ Layout Cell และ Layout Table อื่นๆได ดังนั้น
เราไมสามารถที่จะยายหรือ เปลี่ยนขนาดจนไปทับกับ Layout Cell และ เกินขอบเขตของ Layout
Table เดิมที่มีอยูได นอกจากนี้ Layout Table ก็ไม ส ามารถเปลี่ ย นขนาดให เล็ ก กวา Layout
Cell ที่อยูในตัวมันไดหรือ เปลี่ยนขนาดจนไปทับกับ Layout Table อื่นๆ ได
6.2.4.1 การเปลี่ยนขนาดของ Layout Cell
1. คลิกที่ดานใดดานหนึ่งของ Layout Cell หลังจากที่เลือกจะปรากฎ Selection Handle
รอบ Layout Cell ดังรูปที่ 6-15

รูปที่ 6-15 Selection Handle ของ Layout Cell

2. คลิกลากที่รูปสี่เหลี่ยมของ Selection Handle เพื่อเปลี่ยนขนาด

6.2.4.2 การยาย Layout Cell


1. เลือกดานใดดานหนึ่งของ Layout Cell

www.marianasgraphix.com 6 - 11
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

2. คลิกลาก Layout Cell ไปวางยังตําแหนงที่ตองการหรือ กดปุ ม ขึ้น ลง ซาย ขวา เพื่ อ


เลื่อนไปที่ละ 1 พิกเซล

6.2.4.3 การเปลี่ยนขนาดของ Layout Table


1. เลื อ ก Layout Table โดยคลิ ก ที่ Tab ที่ อ ยู เ หนื อ Table หลั ง จากที่ ค ลิ ก จะปรากฎ
Selection Handle รอบ Layout Table ดังรูปที่ 6-16
2. คลิกลากรูปสี่เหลี่ยมของ Selection Handle เพื่อเปลี่ยนขนาด

รูปที่ 6-16 Selection Handle ของ Layout Table

6.2.4.4 การยาย Layout Table


1. เลื อ ก Layout Table โดยคลิ ก ที่ Tab ที่ อ ยู เ หนื อ Table หลั ง จากที่ ค ลิ ก จะปรากฎ
Selection Handle รอบ Layout Table
2. คลิกลาก Layout Table ไปยังตําแหนงที่ตองการ (การยาย Layout Table จะทําไดใน
กรณีที่ Layout Table ซอนอยูใน Layout Table อีกทีหนึ่งเทานั้น)

6.2.5 การกําหนดรูปแบบของ Layout Cell และ Layout Table


เราสามารถที่จะกําหนดรูปแบบของ Layout Cell และ Layout Table ไดโดยการแกไขคุณ
สมบัติตางๆ ของ Layout Cell และ Layout Table ใน Property Inspector

6.2.5.1 การกําหนดรูปแบบของ Layout Cell


ใน Property Inspector เราสามารถที่จะแกไขความกวาง ความสูง สีพื้นหลังและ การจัด
วางเนื้อหาของ Layout Cell ได ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

www.marianasgraphix.com 6 - 12
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

1. เลือกดานใดดานหนึ่งของ Layout Cell หรือ กดปุม Control คางไวพรอมกับคลิกใน


Layout Cell ที่ตองการเลือก
2. เปด Property Inspector โดยเลือกคําสั่ง Window -> Properties
3. แกไขคุณสมบัติตางๆ ของ Layout Cell ตามตองการใน Property Inspector ซึ่งคุณ
สมบัติที่แกไขไดมีดังนี้

• Width เปนความกวางของ Layout Cell ซึ่งเราสามารถกําหนดใหความกวางคงที่


หรือ ขยายตามเนื้อหาได โดยเลือกที่ Fixed หรือ Autostretch ตามลําดับ
• Height เปนความสูงของ Layout Cell
• Bg เปนสีพื้นหลังของ Layout Cell
• Horz เปนการจัดวางตามแนวนอนของ Layout Cell ใน Layout Table
• Vert เปนการจัดวางตามแนวตั้งของ Layout Cell ใน Layout Table
• No Warp เปนการกําหนดใหมีการขึ้นบรรทัดใหมอัตโนมัติถาเนื้อหายาวเกินกวา
ความกวางของ Layout Cell

6.2.5.2 การกําหนดรูปแบบของ Layout Table


ใน Property Inspector เราสามารถที่จะแกไข ความสูง สีพื้นหลัง ชองวางภายในเซลและ
ชองวางระหวางเซลใน Layout Table ได ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้

1. เลือกดานใดดานหนึ่งของ Layout Table หรือ เลือกแทก <table> ใน Tag Selector


2. เปด Property Inspector โดยเลือกคําสั่ง Window -> Properties

www.marianasgraphix.com 6 - 13
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

3. แกไขคุณสมบัติตางๆ ของ Layout Cell ตามตองการใน Property Inspector ซึ่งคุณ


สมบัติที่แกไขไดมีดังนี้
• Width เปนความกวางของ Layout Table ซึ่งเราสามารถกําหนดใหความกวางคงที่
หรือ ขยายตามเนื้อหาได โดยเลือกที่ Fixed หรือ Autostretch ตามลําดับ
• Height เปนความสูงของ Layout Table
• Bg เปนสีพื้นหลังของ Layout Table
• CellPad เปนความกวางของชองวางระหวางเนื้อหากับ ดานแตละดานของ Layout
Table
• CellSpace เปนความกวางของชองวางระหวาง Layout Cell ใน Layout Table

6.2.6 การกําหนดความกวางของคอลัมนมุมมองเลยเอาท
ความกวางของคอลัมนในมุมมองเลยเอาทเราสามารถที่จะกําหนดใหคงที่หรือ ขยายออก
อัตโนมัติ (Autostrech) ตามเนื้อหาที่อยูในคอลัมนจนเทากับความกวางสูงสุดของเว็บบราวเซอร
สามารถแสดงผลได ซึ่งความกวางของแตละคอลัมนจะถูกแสดงในสวนหัวของคอลัมนของตารางที่
เราเลือก
เมื่อเรากําหนดใหความกวางของคอลัมนเปนคาคงที่ในสวนหัวของคอลัมนจะแสดงคาความ
กวางเปนตัวเลขที่เรากําหนด ดังรูปที่ 6-17(1) แตถาเรากําหนดใหความกวางของคอลัมนขยายออก
อัตโนมัติ ในสวนหัวของคอลัมนจะแสดงเสนคลื่นแทนที่จะเปนตัวเลขความกวาง ดังรูปที่ 6-17(2)

รูปที่ 6-17 ความกวางคงที่และ ขยายออกไดอัตโนมัติของ Layout Table

เราสามารถที่จะกําหนดใหความกวางของคอลัมนคงที่ไดเพียงหนึ่งคอลัมนเทานั้นในแตละ
ตาราง หลังจากที่เรากําหนดใหคอลัมนสามารถขยายออกไดอัตโนมัติแลว Dreamweaver จะเพิ่มรูป

www.marianasgraphix.com 6 - 14
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

ภาพที่ใชแทนพื้นที่วางในคอลัมนที่มีความกวางคงที่เพื่อใหรับประกันไดวาคอลัมนดังกลาวจะเปนไป
ตามที่ไดกําหนดได
6.2.6.1 การกําหนดใหความกวางของคอลัมนขยายอัตโนมัติ
การกําหนดใหความกวางของคอลัมนขยายอัตโนมัติมี 2 วิธีดังนี้
• ในส ว นหั ว ของคอลั ม น ที่ มี ค วามกว า งคงที่ ใ ห ค ลิ ก ที่ ตั ว เลขและ เลื อ กคํ า สั่ ง Make
Column Autostrech
• หรือเลือกเซลในคอลัมนโดยคลิกที่ดานใดดานหนึ่งของของเซลหรือ กดปุม Control คาง
ไวแลวคลิกภายในเซลที่ตองการหลังจากนั้น ใน Property Inspector เลือก Autostrech

6.2.6.2 การกําหนดใหความกวางของคอลัมนคงที่
การกําหนดใหความกวางของคอลัมนคงที่มี 2 วิธีดังนี้
• ในสวนหัวของคอลัมนที่มีความกวางแบบขยายไดอัตโนมัติใหคลิกที่รูปคลื่นและ เลือก
คําสั่ง Make Column Fixed Width
• หรือเลือกเซลในคอลัมนโดยคลิกที่ดานใดดานหนึ่งของเซลหรือ กดปุม Control คางไว
แลวคลิกภายในเซลที่ตองการหลังจากนั้นใน Property Inspector เลือก Fixed

6.2.7 การใชรูปภาพที่ใชแทนพื้นที่วาง (Spacer Image)


Spacer Image คือ รูปภาพโปรงใสที่ใชในการควบคุมพื้นที่วางในตารางที่สามารถขยาย
ขนาดไดโดยอัตโนมัติตามเนื้อหาในตาราง เนื่องจากเว็บบราวเซอรไมสามารถแสดงคอลัมนของตา
รางให กวางกวาความกวางของรูปภาพที่อยูในเซลของคอลัมนดังกลาวได ดังนั้น การใช Spacer
Image จะทําใหเราสามารถควบคุมความกวางสูงสุดของแตละคอลัมนไดโดยขึ้นอยูกับความกวาง
ของ Spacer Image

6.2.8 การกําหนด Spacer Image ที่จะใชในเอกสาร


1. กํ า หนดให ค วามกว า งของคอลั ม น ส ามารถขยายอั ต โนมั ติ ได ห รือ เลื อ กคํ า สั่ ง Add
Spacer Image จากหัวคอลัมน ดังรูปที่ 6-18

www.marianasgraphix.com 6 - 15
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

รูปที่ 6-18 การเพิ่ม Spacer Image โดยใชปอปอัพเมนูในสวนหัวของคอลัมน

2. หลังจากที่เลือกคําสั่งจะปรากฎไดอะล็อกพรอมออปชั่นใหเลือกดังนี้
• Create spacer image file เปนออปชั่นที่กําหนดให Dreamweaver สรางรูปภาพ
ชนิด GIF ขึ้นใหมเพื่อใชเปน Spacer Image
• Use and existing spacer image file เปนออปชั่นที่กําหนดให Dreamweaver ใช
Spacer Image ที่มีอยูแลวซึ่งเราเปนคนสรางเอง ถาเลือกออปชั่นนี้แลวกดปุม Ok
จะปรากฎไดอะล็อกใหคนหาและ เลือกไฟลภาพที่ใชเปน Spacer Image
• Don’t use spacer image for autostretch table เ ป น อ อ ป ชั่ น ที่ บ อ ก ใ ห
Dreamweaver ไมตองเพิ่ม Spacer Image ลงในตาราง
3. กดปุม OK เพื่อจบการทํางาน

6.2.9 การลบ Spacer Image ออกจากคอลัมน


เลือกคําสั่ง Remove Spacer Image ในหัวคอลัมนที่ตองการลบ Spacer Image ออก

6.2.10 การลบ Spacer Image ออกจากตารางทั้งหมด


เลื อ กคํ า สั่ ง Remove Spacer Image ในทุ ก หั ว คอลั ม น ที่ อ ยู ใ นตารางหรื อ คลิ ก ที่ ปุ ม
Remove All Spacer ใน Property Inspector ของ Layout Table

6.3 การใช Tracing Image ในการออกแบบเว็บเพจ


Tracing Image เปนรูปภาพที่เราใชเปนโครงรางในการออกแบบเว็บเพจ ซึ่งจะถูกวางไวเปน
พื้นหลังของ Document Window ดังรูปที่ 6-19โดยที่เราสามารถซอน แสดง กําหนดความโปรงใส
และ ตําแหนงของมันได ชนิดของภาพที่เราสามารถใชเปน Tracing Image ไดคือ JPEG, GIF และ
PNG

www.marianasgraphix.com 6 - 16
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

รูปที่ 6-19 Document Window เมื่อมีการใช Tracing Image

Tracing Image จะแสดงผลเฉพาะใน Document Window เทานั้น เมื่อเราเปดเว็บเพจที่


สรางในเว็บบราวเซอร Tracing Image จะไมถูกแสดงผล เมื่อเราใช Tracing Image และ กําหนดให
มันแสดงผลใน Document Window สีพื้นหลังหรือ รูปภาพพื้นหลังที่เรากําหนดไวของเว็บเพจจะถูก
ซอนการแสดงผลชั่วคราวเมื่อเรากําหนดให Tracing Image ซอนการแสดงผล สีพื้นหลังหรือ รูป
ภาพพื้นหลัง ก็จะแสดงผลเหมือนเดิม
ขั้นตอนการใช Tracing Image มีดังนี้
1. เลือกคําสั่ง View -> Tracing Image -> Load หรือ เลือก Modify -> Page Propertis
แลวจะปรากฎไดอะล็อก Page Properties ใหกดปุม Browse ที่อยูติดกับฟลด Tracing
Image ดังรูปที่ 6-20(1) เพื่อคนหาและ เลือกไฟลภาพที่จะใชเปน Tracing Image
2. ในไดอะล็อก Select Image Source เลือกไฟลภาพที่ตองการและ คลิกที่ปุม Select
3. ในไดอะล็ อ ก Page Properties กํ า หนดความโปรงใสของ Tracing Image โดยคลิ ก
ลากที่ Image Transparency slider ดังรูปที่ 6-20(2) และ คลิกปุม OK เพื่อจบการใช
Tracing Image
4. ถาตองการแสดงและ ซอน Tracing Image ใหเลือกคําสั่ง View -> Tracing Image ->
Show
5. ถ า ต อ งการเปลี่ ย นตํ า แหน ง ของ Tracing Image ให เ ลื อ กคํ า สั่ ง View -> Tracing
Image -> Adjust Position จะปรากฎไดอะล็ อ กที่ ให กํ า หนดตํ า แหน ง ของ Tracing
Image ตามแนวแกน X และ Y ตามลําดับ

www.marianasgraphix.com 6 - 17
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 6 : การออกแบบเอกสารโดยใชตาราง

6. ถาตองการจัดวาง Tracing Image ใหสัมพันธกับวัตถุที่อยูใน Document Window ให


เลือกวัตถุใน Document Window ที่ใชอางอิงแลวเลือกคําสั่ง View -> Tracing Image
-> Align With Selection

รูปที่ 6-20 การใชงาน Tracing Image โดยกําหนดในไดอะล็อก Page Properties

www.marianasgraphix.com 6 - 18
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

บทที่ 7
การใชงาน Templates และ Libraries

7.1 เกี่ยวกับ Template


Template เปนเอกสารพิเศษที่ใชเปนแมแบบในการสรางเว็บเพจ โดยใน Template จะ
ประกอบไปดวยพื้นที่ 2 ชนิดดวยกัน ดังรูปที่ 7-1 คือ
1. พื้นที่คงที่ (Non Editable Region) จะเปนสวนของเว็บเพจที่เหมือนกันในทุกหนาซึ่ง
ในสวนนี้จะไมสามารถแกไขไดในเว็บเพจที่สรางจาก Template ดังกลาว
2. พื้นที่ที่แกไขได (Editable Region) จะเปนสวนของเว็บเพจที่ไมเหมือนกันในแตละ
หนา ซึ่งในสวนนี้จะสามารถทําการแกไขเนื้อหาที่มีอยูไดในเว็บเพจที่ใช Template ดัง
กลาวได

รูปที่ 7-1 ประเภทของพื้นที่ใน Template

ประโยชน ของ Template ก็คื อเมื่ อเราแกไข Template ใดก็ตามแลวเว็บ เพจที่ถูก สราง
โดยมีพื้นฐานจาก Template ดังกลาวจะถูกแกไขดวย

7.2 การกําหนดพื้นที่แกไขไดใน Template


จากที่กลาวไวขางตนถึงพื้นที่ 2 ชนิดที่อยูใน Template คือ พื้นที่คงที่และ พื้นที่ที่แกไขได
ตอนที่ เราสร า ง Template พื้ น ที่ ทั้ ง 2 ชนิ ด เราสามารถจะแก ไขได แต ใ นเอกสารที่ ส ร า งจาก
Template ดังกลาวจะแกไขเนื้อหาบนพื้นที่ที่แกไขไดอยางเดียว ซึ่งรูปแบบของพื้นที่ที่แกไขไดจะมี
4 ชนิดดวยกันดังนี้
1. Editable Region เปนพื้นที่ที่สามารถแกไขไดในเอกสารที่ถูกสรางจาก Template ซึ่ง
ในหนึ่ง Template เราสามารถที่จะสราง Editable Region ไดหลายอัน

www.marianasgraphix.com 7-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

2. Repeating Region เปนพื้นที่ในเอกสารที่มีเราสามารถสรางซ้ําได อยางเชน แถวของ


ตาราง เปนตน พื้นที่ที่สามารถสรางซ้ําไดจะทําใหผูใชสามารถสรางวัตถุในเว็บเพจที่มี
ลักษณะรายการไดในขณะที่สิ่งที่ออกแบบไวไมเปลี่ยนแปลง
3. Option Region เปนพื้นที่ใน Template ที่ผูออกแบบสามารถกําหนดใหเปนตัวเลือก
ที่ใชใสเนื้อหาที่อาจจะแสดงหรือ ไมแสดงในเอกสารที่ใช Template ดังกลาวได
4. Editable Tag Attribute เป น พื้ น ที่ ที่ อยู ในแท็ ก ของ HTML ที่ อยู ใน Template ที่ เรา
สรางขึ้นทําใหเราสามารถแกไขคุณสมบัติของวัตถุผานทาง Template Properties ได
ซึ่งมีประโยชนในกรณีที่เราตองการใหแสดงวัตถุดังกลาวแตสามารถเปลี่ยนแปลงคุณ
สมบัติของมันได เชน การจัดวาง หรือ ขนาดเปนตน

7.3 การสราง Template


การสราง Template เราสามารถสรางจากเอกสารที่มีอยูในปจจุบันหรือ สรางขึ้นใหมก็ได
Dreamweaver จะบันทักไฟล Template ที่เราสรางขึ้นในโฟลเดอรชื่อ Templates โดยมีนามสกุล
ของไฟลเปน .dwt
7.3.1 การบันทึกเอกสารใหเปน Template
1. เปดเอกสารที่ตองการบันทึกเปน Template ใน Document Window
2. เลือกคําสั่ง File -> Save as Template
3. จะปรากฎไดอะล็ อ ก Save As Template ดั ง รู ป ที่ 7-2 ให เลื อ กไซต ที่ ต อ งการบั น ทึ ก
Template ในปอปอัพเมนู Site แลวพิมพชื่อไฟลที่จะบันทึกในฟลด Save As

รูปที่ 7-2 ไดอะล็อก Save As Template

www.marianasgraphix.com 7-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

4. คลิกปุม Save เพื่อบันทึกไฟล


7.3.2 การสราง Template ดวย Assets Panel
1. เปด Assets Panel
2. เลือกหมวด Template
3. คลิกที่ปุม New Template ที่อยูทางดานลางของ Assets Panel แลว ชื่อเอกสารใหม
จะถูกเพิ่มเขาไปใน List Box ที่ใชแสดงรายชื่อของ Assets พรอมกับแสดงแถบสีบนชื่อ
เอกสารใหม ดังรูปที่ 7-3

รูปที่ 7-3 พาเนล Assests เมื่อมีการสราง Template ใหม

4. พิมพชื่อเอกสารใหมที่ตองการ
5. เลื อ กปุ ม Edit ใน Assets Panel แล ว เอกสารที่ เราสร า งใหม จ ะถู ก เป ด ใน Document
Window

7.3.3 การสราง Editable Region ใน Template


ขั้นตอนการสราง Editable Region มีดังนี้
1. ใน Document Window เลื อ กข อ ความที่ ต อ งการให อ ยู ใน Editable Region หรื อ
เลือกจุดที่ตองการเพิ่ม Editable Region ใหม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Template Object -> New Editable Region
3. ในฟ ล ด Name พิ ม พ ชื่ อ ของ Editable Region ซึ่ ง ต อ งไม ซ้ํ า กั บ Editable Region
อื่นๆ ที่มีอยูใน Template
4. กดปุม OK เพื่อสราง Editable Region

www.marianasgraphix.com 7-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

7.3.4 การแกไข Editable Region


ถาเราตองการแกไข Editable Region ใหเปนพื้นที่ที่ไมสามารถแกไขไดใหทําดังนี้
1. เลือก Editable Region ที่ตองการแกไข
2. เลือกคําสั่ง Modify -> Template -> Remove Template Markup

7.3.5 การสราง Repeating Region


Repeating Region เปน พื้น ที่ที่เราสามารถทําการสรางซ้ําได เมื่อเราใช Template ที่มี
Repeation Region ในการสรางเอกสารใหมหรือ ใชกับเอกสารเดิมที่มีอยูแลว Dreamweave จะ
แสดงกรอบที่ใชบอกขอบเขตของ Repeating Region พรอมกับปุมที่ใชสราง ลบและ เลือกพื้นที่
ตองการสรางซ้ําได ดังรูปที่ 7-4

รูปที่ 7-4 Repeation Region

ขั้นตอนการสราง Repeation Region


1. เลือกขอความหรือ เนื้อหาที่ตองการกําหนดใหเปน Repeating Region
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Template Object -> Repeating Region
3. ในฟ ลด Name พิ มพ ชื่ อ ของ Repeating Region ซึ่ ง ต อ งไม ซ้ํ า กั บ Repeating
Region เดิมที่มีอยูใน Template
4. คลิกปุม OK เพื่อสราง

7.3.6 การสราง Repeating Table


เราจะใช Repeating Table ในการสรางตารางที่มีการกําหนด Repeating Region ใหกับ
มั น และ กํ า หนด Editable Region ให แ ต ล ะเซลที่ อ ยู ในตาราง ดั ง รูป ที่ 7-5 โดยที่ เราสามารถ
กําหนดคุณสมบัติตางๆ ของตารางไดดวย

www.marianasgraphix.com 7-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

รูปที่ 7-5 Repeating Table

ขั้นตอนการสราง Repeating Table


1. ใน Document Window เลือกจุดที่ตองการเพิ่ม Repeating Table
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Template Object -> New Repeating Table
3. จะปรากฎไดอะล็ อก ให ก รอกคุ ณ สมบั ติข องตารางและ ลัก ษณะของ Repeating
Table ซึ่งมีดังนี้
• Starting Row เปนแถวเริ่มตนที่สามารถสรางใหมได
• Ending Row เปนแถวสุดทายที่สามารถสรางใหมได
• Region Name เปนชื่อของ Repeating Table ซึ่งเปนชื่อที่ไมซ้ํากับที่มีใน
Template

7.3.7 การกําหนดใหคุณสมบัติในแทก HTML แกไขไดใน Template


การกําหนดใหคุณสมบัติในแท็ก HTML แกไขไดใน Template มีขั้นตอนดังนี้
1. ใน Document Window เลือกวัตถุหรือ ขอความที่ตองการกําหนดใหแกไขคุณสมบัติ
ในแทก HTML ได
2. เลือกคําสั่ง Modify -> Templates -> Make Attribute Editable
3. จะปรากฎไดอะล็อก Editable Tag Attributes ดั งรูป ที่ 7-5 ในฟอรม เมนู Attribute
เลือกคุณ สมบัติที่ตองการหรือ ถาไมมีคุณ สมบัติที่ตองการใหกดปุม Add เพื่ อคุณ
สมบัติที่ไมมีเขาไปใหม
4. เลือก Make Attribute Editable

www.marianasgraphix.com 7-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

5. ในฟลด Label พิมพชื่อสําหรับคุณสมบัติ


6. ในปอปอัพเมนู Type เลือกชนิดของขอมูลที่สามารถใชไดกับคุณสมบัติที่เลือก
7. ในฟลด Default พิมพคาของคุณสมบัติที่จะถูกใชในเวลาที่ผูใชไมไดกําหนดคาใหกับ
คุณสมบัติ
8. ถาตองการเปลี่ยนไปกําหนดคุณสมบัติอื่น ใหทําตามขั้นตอนที่ 3 ถึง 7 ซ้ําอีกครั้ง
9. กดปุม OK เพื่อจบการทํางาน

รูปที่ 7-5 ไดอะล็อก Editable Tag Attributes

7.4 ไลบรารี (Libraries)


ไลบรารี เปนสวนที่ใชจัดเก็บสิ่งที่ใชในการสรางเว็บเพจ ที่เรานํากลับมาใชใหมบอยๆ ซึ่ง
อาจจะเปนรูปภาพ ขอความหรือ ปุม ก็ได โดยสิ่งที่เก็บในไลบรารีเราจะเรียกวา ไลบรารีไอเท็ม
(Library Item)
Dreamweaver จะเก็บไลบรารีไอเท็มไวในโฟลเดอร Libraries ซึ่งจะอยูในไดเรกทอรี่เริ่ม
ตนของแตละไซต ประโยชนของการนําไลบรารีไปใชก็คือ เมื่อเราวางไลบรารีไอเท็มไวในเว็บเพจใด
ก็ตามเมื่อเราแกไขไลบรารีไอเท็มที่เปนตัวตนแบบแลวทุกๆ เว็บเพจที่ใชไลบรารีไอเท็มดังกลาวจะ
เปลี่ยนแปลงดวย

7.4.1 การสรางไลบรารีไอเท็ม
เราสามารถสรางไลบรารีไอเท็มจากทุกๆ อีลีเมนตที่อยูในแท็ก body ของ HTML ไดอยาง
เชน ขอความ รูปภาพหรือ ตาราง เปนตน

www.marianasgraphix.com 7-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 7 : การใชงาน Templates และ Libraries

สําหรับลิงคไอเท็มอยางเชน รูปภาพในไลบรารีจะเก็บเฉพาะคาที่ใชอางถึงไอเท็มเทานั้น
ดังนั้นไฟลที่ถูกอางถึงควรจะอยูในที่ ที่ตรงกับลิงคไอเท็มอางถึง
ขั้นตอนการสรางไลบรารีไอเท็ม
1. เลือกอีลีเมนตที่ตองการบันทึกเปนไลบรารีไอเท็มในเอกสาร
2. เลือกคําสั่ง Modify -> Library -> Add Object to Library จะปรากฎพาเนล Assets
พรอมกับแสดงแถบสีเพื่อใหเราพิมพชื่อของไลบรารีไอเท็มที่เราเพิ่มเขาไปใหม ดังรูปที่ 7-6

รูปที่ 7-6 พาเนล Assets เมื่อเพิ่มไลบรารีไอเท็มเขาไปใหม

3. พิมพชื่อของไลบรารีไอเท็มที่เราสรางใหมใน Assets Panel

7.4.2 การเพิ่มไลบรารีไอเท็มลงในเอกสาร
1. เลือกจุดที่ตองการเพิ่มไลบรารีไอเท็มใน Document Window
2. เลือกคําสั่ง Window -> Library
3. ดับเบิลคลิกไลบรารีไอเท็มที่ตองการใน Assets Panel
4. ไลบรารีไอเท็มจะถูกเพิ่มใน Document Window

7.4.3 การแกไขไลบรารีไอเท็ม
1. เลื อ กคํ า สั่ ง Window -> Library จะปรากฎ Assets Panel พร อ มกั บ แสดง Library ใน
Assets Panel
2. เลือกไลบรารีไอเท็มแลวคลิกที่ปุม Edit ทางดานของ Asset Panel
3. แกไขไลบรารีไอเท็มตามตองการแลวบันทึกการแกไขโดยเลือกคําสั่ง File -> Save
4. จะปรากฎไดอะล็อกใหเลือกวาจะแกไขเอกสารที่ใชไลบรารีไอเท็มดังกลาวดวยหรือไม

www.marianasgraphix.com 7-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

บทที่ 8
การสรางแบบฟอรม (Form)

เว็บไซตโดยทั่วไปในปจจุบันนอกจากจะใหเราเขาเยี่ยมชมไดแลว ในบางครั้งทางเว็บไซตก็
อาจจะมีสวนที่ใหผูชมใหขอมูลบางอยางกับทางเว็บไซต เพื่อทางเว็บไซตจะนําไปใชโตตอบกับผู
ชมหรือ เก็บขอมูลดังกลาวเพื่อนําไปใชประโยชนอื่นๆ อยางเชน เว็บบอรดที่ใชแสดงความคิดเห็น
ของผูมาเยี่ยมชมเว็บไซตหรือ การสมัครเปนสมาชิกกับทางเว็บไซต เปนตน ซึ่งสิ่งที่ใชในการเก็บ
ขอมูลจากผูมาเยี่ยมชมก็คือ แบบฟอรม (Form)

8.1 เกี่ยวกับแบบฟอรม (Form)


แบบฟอรม เปนสวนประกอบหนึ่งบนเว็บเพจที่ใชรับขอมูลจากผูชมและ สงขอมูลดังกลาว
ไปยังเว็บเซิรฟเวอรเพื่อทําการประมวลผลอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งภายในแบบฟอรมจะประกอบไป
ด ว ยส ว นที่ ใช รับ ข อ มู ล หลายรูป แบบด ว ยกั น อั น ได แ ก Text Field, Button, Checkbok, Radio
Button, List, Menu, File Field และ Image Field ดังรูปที่ 8-1

รูปที่ 8-1

ในแทก <form></form> จะมีพารามิเตอรที่ใหเราสามารถกําหนดชื่อเซิรฟเวอรสคริปต


หรือ แอพพลิเคชั่นที่ใชประมวลผลขอมูลในฟอรมและ HTTP Method ที่ใชในการสงขอมูลจากเว็บ
บราวเซอรไปยังเว็บเซิรฟเวอรได
เมื่อผูชมกรอกขอมูลในแบบฟอรมของเว็บไซตและ กดปุมสับมิท (Submit) ฟอรมแลว ขอ
มูลที่กรอกลงในฟอรมก็จะถูกสงไปที่เว็บเซิรฟเวอร เซิรฟเวอรสคริปตหรือ แอพพลิเคชั่นที่ประมวล
ผลขอมูลดังกลาวอยู หลังจากนั้นเว็บเซิรฟเวอรก็จะโตตอบกับผูชมโดยสงขอมูลกลับมายังผูชม
หรือ ทํางานบางอยางโดยมีพื้นฐานอยูบนขอมูลที่สงมาจากแบบฟอรมที่ผูชมกรอก

8.1.1 สวนประกอบของแบบฟอรม
สวนที่ใชรับขอมูลภายในแบบฟอรมเราจะเรียกวา ฟอรมออปเจ็ก (Form Object) ซึ่งการ
เพิ่มฟอรมออปเจ็กลงในแบบฟอรมเราสามารถทําไดโดยเลือกคําสั่ง Insert -> Form Object หรือ
กดปุมใน Form Tab ของ Insert Bar

www.marianasgraphix.com 8-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

ฟอรมออปเจ็กที่ใชใน Dreamweave มีดังนี้


1. Text Field เปนสวนที่ใชรับขอมูลที่เปนตัวอักษรและ ตัวเลข โดยเราสามารถ
กําหนดบรรทัดของ Text Field วาเปนบรรทัดเดียวหรือ หลายบรรทัดไดและ กําหนด
ใหขอมูลที่ผูชมกรอกแสดงผลเปนจุดหรือ ดาวไดสําหรับขอมูลที่กรอกเปนขอมูลสวน
ตัว เชน รหัสผาน เปนตน
2. Hidden Fields เป น ส ว นที่ ใ ช เก็ บ ข อ มู ล ที่ ไม ต อ งการแสดงให ผู ช มเห็ น และ
แบบฟอรมสงขอมูลดังกลาวไปยังเว็บเซิรฟเวอรเมื่อผูชมกดปุมสับมิทฟอรม
3. Button เปนสวนที่ผูชมคลิกแลวจะดําเนินกิจกรรมบางอยาง ซึ่งโดยปกติจะเปน
การสับมิทฟอรมและ รีเซ็ตฟอรม
4. Check Box เป น ส ว นรับ ข อ มู ล ที่ อ ยู ในรู ป ของหั ว ข อ ที่ ให ผู ช มเลื อ กโดยผู ช ม
สามารถเลือกไดที่ละหลายๆ หัวขอในแตละครั้ง
5. Radio Button เปนสวนรับขอมูลที่อยูในรูปของหัวขอที่ใหผูชมเลือก โดยผูชม
สามารถเลื อ กได เพี ย งข อ ใดข อ หนึ่ ง เท า นั้ น ในแต ล ะครั้ง ซึ่ งการกํ า หนดให Radio
Button สามารถเลือกไดเพียงอันเดียวในแตละกลุมสามารถทําไดโดยกําหนดชื่อของ
Radio Button ใหเหมือนกัน
6. List / Menu เปนสวนรับขอมูลที่มีการกําหนดขอมูลใหอยูแลวในรูปของรายการ
หรือ เมนู ผูชมเพียงแตเลือกขอมูลที่ตองการเทานั้น
7. Jump Menu เปนสวนรับขอมูลที่อยูในรูปของเมนูที่เมื่อผูใชคลิกเลือกแลวจะทํา
การลิงคไปยังหนาเว็บเพจอื่นๆ ที่กําหนดไวในแตละรายการที่อยูในเมนู
8. File Fields เปนสวนรับขอมูลที่ใชคนหาไฟลในเครื่องที่เปดเว็บเพจที่มีฟอรมอ
อปเจ็กดังกลาวและ ทําการอัพโหลดไฟลดังกลาวผานแบบฟอรม
9. Image Fields เปนสวนรับขอมูลที่ทําใหเราสามารถใสรูปเขาไปไดและ ใชมันได
เหมือนกับ Button

8.2 การสรางแบบฟอรม
การสรางแบบฟอรมในเอกสารมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกตําแหนงที่ตองการสรางแบบฟอรมในเอกสาร
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form หรือ กดปุม Form ใน Form Tab ของ Insert Bar

www.marianasgraphix.com 8-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

3. แบบฟอรมที่ถูกเพิ่มในเอกสารจะถูกแสดงดวยสี่เหลี่ยมที่มีเสนรอบรูปเปนเสนประสี
แดง ดังรูปที่ 8-2

รูปที่ 8-2 เสนประสีแดงที่ใชแสดงขอบเขตของแบบฟอรม

8.3 การปรับแตงคุณสมบัติของแบบฟอรม
1. เลือกฟอรมที่ตองการใน Document Window
2. เปด Property Inspector โดยเลือกคําสั่ง Window -> Properties
3. ปรับแตงคุณสมบัติของแบบฟอรมตามตองการ โดยคุณสมบัติที่ปรับแตงไดมีดังนี้
• Form Name เปนสวนที่ใชกําหนดชื่อของแบบฟอรม
• Action เปนสวนที่ใชกําหนดชื่อของไฟลที่ใชประมวลผลขอมูลที่อยูในแบบฟอรม
เมื่อกดปุมซับมิท
• Method เปนสวนที่ใชกําหนดวิธีการสงขอมูลจากแบบฟอรมไปยังเว็บเซิรฟเวอร
ซี่งมี 3 วิธีดวยกัน
- POST เปนการสงขอมูลไปยังเว็บเซิรฟเวอรโดยการฝงขอมูลที่ถูกกรอกลงใน
แบบฟอรมไปกับ HTTP Request ดวย
- GET เปนการสงขอมูลไปยังเว็บเซิรฟเวอรโดยการนําขอมูลที่ถูกกรอกลงใน
แบบฟอร ม ต อ ท า ย URL ของเซิ ร ฟ เวอร ส คริ ป ต ห รื อ แอพพลิ เคชั่ น ที่ ใ ช
ประมวลผลขอมูลในฟอรมดังกลาว
- Default ใชวิธีการสงขอมูลที่กําหนดไวในเว็บบราวเซอรซึ่งโดยทั่วไปจะเปน
GET
• Enctyp เป น ส ว นที่ ใ ช กํ า หนดประเภทของการเข า รหั ส ข อ มู ล ที่ ส ง ไปยั ง เว็ บ
เซิรฟเวอรเพื่อการประมวลผล
• Target เป น สวนที่ใช กํา หนดหน าตางที่ใชแสดงผลขอมู ล ที่ถู ก ส งกลั บ โดยเว็บ
เซิรฟเวอรหลังจากที่ประมวลผลขอมูลในแบบฟอรมที่สงมาเรียบรอยแลว ซึ่งจะใช
ชื่อของเฟรมหรือ คามาตราฐานที่ HTML มีใหในการกําหนดหนาตางที่ใชแสดง
ผลก็ได โดยคามาตราฐานตางๆ มีดังนี้

www.marianasgraphix.com 8-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

- _blank กําหนดใหเปดหนาตางใหมพรอมกับแสดงผลขอมูลในหนาตางนั้น
- _parent ถาแบบฟอรม ที่ทําการซับมิท ขอมูลอยูในเฟรมแลวขอมูลที่ ถูกสง
กลับมาจากเว็บเซิรฟเวอรจะถูกแสดงในหนาตางที่มีการแบงเฟรม
- _self แสดงผลขอมูลในหนาตางเดียวกันกับหนาตางที่แบบฟอรมถูกซับมิท
- _top แสดงผลขอมูลในหนาตางปจจุบันโดยนําเฟรมที่มีอยูทั้งหมดออก

8.4 การสราง Text Fileds


Text Fields เปนฟอรมออปเจ็กที่ใชรับขอมูลจากผูชมโดยการพิมพ ซึ่งแบงได 3 ประเภท
ดังนี้

• Single-Line Text Fields เป น Text Fields ที่ มี เพี ย งบรรทั ด เดี ย วสํ า หรั บ กรอกข อ
ความสั้นๆ อยางเชน ชื่อ รหัสไปรษณียหรือ อีเมล เปนตน
• Multiple-Line Text Fields เปน Text Fields ที่มีหลายบรรทัดโดยเราสามารถกําหนด
จํานวนบรรทัดและ ความกวางของบรรทัดไดดวย
• Password Fields เปน Text Fields พิเศษที่เมื่อผูชมพิมพขอความลงไปแลวขอความ
ดังกลาวจะถูกแทนที่ดวยดาวหรือ จุด เพื่อปองการเห็นขอความดังกลาวโดยตรง
8.4.1 การสราง Single-Line หรือ Password Text Field
1. เลือกจุดที่ตองการวาง Text Field ในเสนกรอกของแบบฟอรม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> Text Field หลังจากที่เลือกคําสั่ง Text Field
จะถูกเพิ่มลงใน Document Window ดังรูปที่ 8-3

รูปที่ 8-3 Document Window หลังจากที่เพิ่ม Text Field

www.marianasgraphix.com 8-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

3. ใน Property Inspector กรอกชื่อของ Text Field ลงในฟลด TextField ซึ่งตองเปนชื่อ


ที่ไมซ้ํากับ Text Field อื่นที่มีอยูในแบบฟอรม
4. ในฟลด Char Width ใสความกวางของ Text Field ถาไมใสแลวความกวางมาตรา
ฐานของ Text Field เปน 20 อักขระ
5. ในฟลด Max Char ใสจํานวนสูงสุดของอักขระที่ผูชมสามารถพิมพไดใน Text Field
6. เลือก Single-Line หรือ Password เพื่อกําหนดประเภทของ Text Field ที่เราจะสราง
7. ถาตองการแสดงขอความเริ่มตนใน Text Field ใหพิมพขอความในฟลด Init Value

8.4.2 การสราง Mulitple-Line Text Field


1. เลือกจุดที่ตองการวาง Text Field ในเสนกรอกของแบบฟอรม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> Text Field
3. ใน Property Inspector พิมพชื่อของ Text Field ในฟลด TextField
4. ในฟลด Char Width ใสความกวางของ Text Field ถาไมใสแลวความกวางมาตรา
ฐานของ Text Field จะเปน 20 อักขระ
5. เลือก Multi line เพื่อกําหนดประเภทของ Text Field ที่เราจะสรางใหมีหลายบรรทัด
ดังรูปที่ 8-4

รูปที่ 8-4 Text Field หลังจากที่เลือก Multi line

6. ในฟลด Num Line กําหนดจํานวนแถวสูงสุดที่จะแสดงในแบบฟอรม


7. ใน Wrap เลือกคาที่ตองการเพื่อกําหนดให Text Field ทําการตัดแถวใหอัตโนมัติเมื่อ
พิมพขอความกวางกวาความกวางของ Text Field ซึ่งมีคาใหเลือกทั้งหมด 4 คาคือ
• Off ไม ตองตัดแถวเมื่อความยาวของขอความที่พิม พ เกิน ความกวางของ Text
Field
• Default กําหนดใหเทากับ Off

www.marianasgraphix.com 8-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

• Virtual ตัดแถวเมื่อความยาวของขอความที่พิมพเกินความกวางของ Text Field


ซึ่งจะแสดงใหเห็นใน Text Field เทานั้นไมไดมีการตัดแถวกับขอมูลจริง
• Physical มีการตัดแถวของขอความกับขอมูลจริงและ ที่แสดงใน Text Field ดวย

8.5 การสราง File Field


เราสราง File Field เพื่อใชเลือกไฟลที่อยูในเครื่องของผูชมและ อัพโหลดไฟลดังกลาวไป
ไวที่เว็บเซิรฟเวอร File Field จะคลายกับ Text Field แตตางกันที่ File Field จะมีปุม Browse
เพิ่มขึ้นมา ใน File Field เราสามารถที่จะพิมพ path ของไฟลหรือ ใชปุม Browse ในการเลือก
ไฟลก็ได
เมื่ อเราใช File Field ในแบบฟอรม ใดแบบฟอรม นั้ นจะต องกํ าหนดใหวิธีการส งขอมู ล
(Method) เปนแบบ POST เทานั้น
ขั้นตอนการสราง File Field มีดังนี้
1. เลื อ กแบบฟอร ม ที่ ต อ งการเพิ่ ม File Field แล ว กํ า หนด Method ใน Property
Inspector ของแบบฟอรมใหเปนแบบ POST
2. ในฟลด Enctype ใหเลือก multipart / form-data
3. เลือกจุดที่ตองการเพิ่ม File Field ในกรอบของแบบฟอรม
4. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> File Field หลังจากที่เลือกคําสั่ง File Field จะ
ถูกเพิ่มลงใน Document Window ดังรูปที่ 8-5

รูปที่ 8-5 Document Window หลังจากเพิ่ม File Field

5. ใน Property Inspector พิมพชื่อของ Field Field ลงในฟลด FileField


6. ในฟลด Char Width พิมพจํานวนสูงสุดของอักขระที่จะใหแสดงใน File Field
7. ในฟลด Max Char พิมพจํานวนสูงสุดของอักขระที่พิมพลงใน File Field ได

8.6 การสราง Hidden Field


Hidden Field เป น ฟ ลดที่เก็ บขอมูลที่ไมตองการแสดงให ผูช มเห็น และ ขอมู ลที่ เก็บใน
Hidden Field จะถูกสงไปยังเว็บเซิรฟเวอรเมื่อฟอรมถูกสับมิท

www.marianasgraphix.com 8-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

ขั้นตอนการสราง Hidden Field


1. เลือกจุดที่ตองการเพิ่ม Hidden Field ในกรอบของแบบฟอรม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> Hidden Field หลังจากที่เลือกคําสั่ง Hidden
Field จะถูกเพิ่มลงใน Document Window ดังรูปที่ 8-6

รูปที่ 8-6 Document Window หลังจากที่เพิ่ม Hidden Field

3. จะปรากฎสัญลักษณะที่ใชแทน Hidden Field ในเอกสาร


4. พิมพชื่อของ Hidden Field ในฟลด HiddenField
5. ในฟลด Value พิมพคา ที่ใชสงไปใหเว็บเซิรฟเวอรเมื่อมีการสับมิทฟอรม

8.7 การสราง Checkbox


Checkbox เปนฟอรมออปเจ็กที่ใชสรางกลุมของหัวขอที่ผูชมสามารถเลือกไดมากกวา
หนึ่งหัวขอในกลุมเดียวกัน
ขั้นตอนการสราง Checkbox มีดังนี้
1. เลือกจุดที่ตองการเพิ่ม Checkbox ในกรอบของแบบฟอรม
2. เลื อ กคํ า สั่ ง Insert -> Form Object -> Check Box หลั ง จากที่ เลื อ กคํ า สั่ ง Check
Box จะถูกเพิ่มลงใน Document Window ดังรูปที่ 8-7

รูปที่ 8-7 Document Window หลังจากที่เพิ่ม Check Box

3. ในฟ ล ด Checked Value ใน Property Inspector ของ Checkbox ให พิ ม พ ค า ที่


ตองการสงไปยังเว็บเซิรฟเวอรเมื่อสับมิทฟอรม
4. คลิกที่ Checked เมื่อตองการให Checkbox ถูกเลือกในครั้งแรกที่แสดงในเว็บเพจ

www.marianasgraphix.com 8-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

8.8 การสรางปุม Radio


เราจะใชปุม Radio เมื่อตองการสรางกลุมของหัวขอที่ใหผูชมเลือกหัวขอภายในกลุมได
เพียงขอเดียว โดยปุม Radio ที่อยูในกลุมเดียวกันควรจะมีชื่อที่เหมือนกันแตมีคาที่แตกตางกันได
8.8.1 การสรางปุม Radio แบบกลุม
1. เลือกจุดที่ตองการเพิ่มปุม Radio ในแบบฟอรม
2. เพิ่มกลุมของปุม Radio โดยเลือก Insert -> Form Object -> Radio Group
3. จะปรากฎไดอะล็อก Radio Group ดังรูปที่ 8-8 ใหกรอกขอมูลเพื่อใชสรางกลุมของ
ปุม Radio
4. ในฟลด Name พิมพชื่อของกลุมของปุม Radio
5. ใน Radio Buttons คลิกที่ปุม + เพื่อเพิ่มรายการใหม ซึ่งแตละรายการจะประกอบไป
ดวย Label ซึ่งเปนขอความที่ใชแสดงหลังปุม Radio และ Value ซึ่งเปนคาที่จะถูกสง
ไปยังเว็บเซิรฟเวอรเมื่อปุม Radio ถูกเลือกและ ฟอรมถูกซับมิท
6. พิมพขอความและ คาที่ตองการใน Label และ Value ตามลําดับ
7. ถาตองการเพิ่มรายการใหมอีกใหทําตั้งแตขั้นตอนที่ 5 ถึง 6 อีกรอบ
8. ใน Lay Out Using เลื อ ก Line Breaks เมื่ อ ต องการให แต ล ะรายการแยกจากกั น
ดวยการขึ้นบรรทัดใหมหรือ เลือก Table ถาตองการใหแตละรายการถูกแยกออกจาก
กันดวยตาราง
9. คลิกที่ปุม OK เมื่อตองการจบการสรางกลุมของปุม Radio

รูปที่ 8-8 ไดอะล็อก Radio Group

www.marianasgraphix.com 8-8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

10. หลั ง จากที่ ค ลิ ก ปุ ม OK แล ว รายการของปุ ม Radio ที่ เราสร า งไว จ ะถู ก เพิ่ ม ลงใน
เอกสารดังรูปที่ 8-9

รูปที่ 8-9 กลุมของปุม Radio ที่เพิ่มลงในเอกสาร

8.8.2 การสรางปุม Radio แบบเดี่ยว


1. เลือกจุดที่ตองการเพิ่มปุม Radio ในแบบฟอรม
2. เลือก Insert -> Form Object -> Radio Button
3. พิมพชื่อของปุม Radion ลงในฟลด RadioButton
4. ในฟลด Value กรอกคาที่ตองการใหสงไปยังเว็บเซิรฟเวอรเมื่อผูใชคลิกที่ปุม Radio นี้
5. คลิกที่ Checked เมื่อตองการใหปุม Radio ถูกเลือกเมื่อแสดงในเว็บเพจครั้งแรก

8.9 การสราง Scrolling List


Scrolling List เปนฟอรมออปเจ็กที่ทําใหเราสามารถแสดงหัวขอที่ใหผูชมเลือกในพื้นที่ที่
จํ า กั ด ได เมื่ อ หั วข อมี จํา นวนมากขึ้น โดย Scrolling List จะมี ตั ว เลื่ อ นขึ้ น ลงทางขวาเพื่ อ ให เรา
สามารถเลื่อนผานรายการของหัวขอตางๆ ที่อยูใน Scrolling List
ขั้นตอนการหสราง Scrolling List มีดังนี้
1. เลือกจุดที่ตองการสราง Scrolling List ในกรอบของฟอรม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> List/Menu
3. ใน Property Inspector พิมพชื่อของ Scrolling List ลงในฟลด List/Menu
4. ที่ Type เลือก List
5. คลิกที่ Allow Multiple เมื่อตองการใหผูชมเลือกหัวขอที่อยูใน List ไดมากกวาหนึ่งหัว
ขอ

www.marianasgraphix.com 8-9
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

6. คลิกที่ปุม List Values จะปรากฎไดอะล็อกขึ้นมา ดังรูปที่ 8-10 เพื่อไวใชเพิ่มหัวขอ

รูปที่ 8-10 ไดอะล็อก List Values

7. ในฟลด Item Label พิมพขอความที่ตองการใหแสดงใน Scrolling List


8. ในฟลด Value พิมพคาที่ตองการสงไปใหเว็บเซิรฟเวอรเมื่อเลือกหัวขอดังกลาว
9. เมื่อตองการเพิ่มหัวขอใหมใน Scrolling List อีกใหคลิกที่ปุม + แลวทําตามขั้นตอนที่
7 ถึง 8 อีกรอบ
10. เมื่อตองการจบการเพิ่มหัวขอใหกดปุม OK
11. ในฟลด Height ของ Property Inspector พิมพจํานวนแถวที่ตองการแสดงของ List
ถาจํานวนแถวที่พิมพนอยกวาจํานวนรายการที่มีอยูแลว Scroll Bar จะปรากฎขึน้ ทาง
ขวาของ List เพื่อใชในการเลื่อนไปยังรายการอื่นที่มองไมเห็นใน List ดังรูปที่ 8-11

รูปที่ 8-11 List Field พรอมกับ Scroll Bar เมื่อจํานวนรายการมากกวาจํานวนแถวที่ใชแสดงราย


การ

12. เราสามารถใหหัวขอใน Scrolling List ถูกเลือกเปนคาเริ่มตนไดเมื่อมันถูกโหลดมา


แสดงผลในเว็บบราวเซอรในตอนแรก โดยเลือกหัวขอที่ตองการใน Initally Selected

www.marianasgraphix.com 8 - 10
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

8.10 การสรางปอปอัพเมนู (Popup menu)


ปอปอัพเมนูจะทําใหผูชมสามารถที่จะเลือกหัวขอที่ตองการจากรายการจํานวนมากได
โดยปอปอัพเมนูจะแสดงหัวขอที่ถูกเลือกเทานั้น เมื่อผูชมตองการดูหัวขออื่นๆ ก็เพียงแตคลิกที่ป
อปอัพเมนูเพื่อใหมันแสดงรายการอื่นๆ ออกมา ดังรูปที่ 8-12

รูปที่ 8-12 ปอปอัพเมนู

ขั้นตอนการสรางปอปอัพเมนู
1. เลือกจุดที่ตองการสรางปอปอัพเมนูในกรอบของแบบฟอรม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> List/Menu
3. ในฟลด List/Menu พิมพชื่อของปอบอัพเมนู
4. ที่ Type เลือก Menu
5. คลิกที่ปุม List Values จะปรากฎไดอะลอกขึ้นมา ดังรูปที่ 8-9 เพื่อไวใชเพิ่มหัวขอ
6. ในฟลด Item Label พิมพขอความที่ตองการใหแสดงใน Scrolling List
7. ในฟลด Value พิมพคาที่ตองการสงไปใหเว็บเซิรฟเวอรเมื่อเลือกหัวขอดังกลาว
8. เมื่อตองการเพิ่มหัวขอใหมใน Scrolling List อีกใหคลิกที่ปุม + แลวทําตามขั้นตอนที่
8 ถึง 9 อีกรอบ
9. เมื่อตองการจบการเพิ่มหัวขอใหกดปุม OK
8.11 การสรางปุม (Button)
ปุมเปนฟอรมออปเจ็กที่เมื่อเวลาผูชมคลิกแลวเรามีการกําหนดใหการทํางานบางอยาง
เกิ ด ขึ้ น ได ปุ ม ทุ ก ปุ ม จะมี ขอ ความที่ ใช แ สดงบนปุ ม ซึ่งปุ ม โดยทั่ ว ไปที่ นิ ย มใช คื อ ปุ ม Submit,
Reset หรือ Login เปนตน
ขั้นตอนการสรางปุมมีดังนี้
1. เลือกจุดที่ตองการสรางปุมในกรอบของแบบฟอรม
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> Button หลังจากที่เลือกคําสั่งแลว Button จะ
ถูกเพิ่มลงในเอกสารดังรูปที่ 8-13

www.marianasgraphix.com 8 - 11
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

รูปที่ 8-13 Document Window หลังจากที่เพิ่มปุม

3. ใน Property Inspector พิมพชื่อของปุมในฟลด Button Name


4. พิมพขอความที่ตองการแสดงบนปุมในฟลด Label
5. เลือกคาใน Action เพี่อกําหนดการทํางานของปุม ซึ่งมี 3 การทํางานคือ
• Submit เมื่ อ ปุ ม ถู ก คลิ ก แล ว ข อ มู ล ในฟอร ม จะถู ก ส ง ไปประมวลผลยั ง เว็ บ
เซิรฟเวอร
• Reset เมื่อปุมถูกคลิกแลวคาตางๆ ที่ผูชมกรอกลงในแบบฟอรมจะถูกกําหนด
กลับไปเปนคาเริ่มตน
• None เมื่อปุมถูกคลิกแลวไมตองใหมีการทํางานใดๆ เกิดขึ้น

8.12 การสรางปุมที่เปนภาพกราฟฟก (Image Field)


ปุมนอกจากจะอยูในรูปของปุมทั่วไปแลว เรายังสามารถที่จะสรางปุมที่มีลักษณะเปน
ภาพกราฟฟกได โดยอาจจะใชปุมดังกลาวในการสั่งสับมิทแบบฟอรมหรือ ทํางานบางอยางในเว็บ
เพจก็ ได ซึ่ งการกํ าหนดการทํ างานใหกับ ปุ มเราจะใช Behavior ที่ อยู ในพาเนล Behavior หรือ
ภาษาจาวาสคริปตที่เราเขียนขึ้นเองก็ได
ขั้นตอนการสรางปุมภาพกราฟฟก
1. เลือกจุดที่ตองการสรางปุมภาพกราฟฟกในกรอบของแบบฟอรม
2. เลื อ กคํ า สั่ ง Insert -> Form Object -> Image Field s หลั ง จากที่ เลื อ กคํ า สั่ ง แล ว
Image Field จะถูกเพิ่มลงในเอกสาร ดังรูปที่ 8-14

รูปที่ 8-14 Document Window หลังจากที่เพิ่ม Image Field

www.marianasgraphix.com 8 - 12
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 8 : การสรางแบบฟอรม (Form)

3. ใน Property Inspector ของ Image Field ในฟ ล ด ImageField พิ ม พ Submit เมื่ อ


ตองการใหปุมทําการสับมิทฟอรมเมื่อถูกคลิก แตถาตองการใหปุมทํางานอยางอื่นก็
พิมพชื่อที่ตองการ
4. เลือกรูปภาพที่ตองการใชเปนปุมโดยคลิกที่ไอคอนโฟลเดอรตรงฟลด Src แลวเลือก
ไฟลรูปภาพที่ตองการ
5. ในฟลด Alt พิมพขอความที่ตองการแสดงแทนรูปภาพในกรณีที่เว็บบราวเซอรที่เปด
เว็บเพจไมสามารถแสดงผลรูปภาพได

www.marianasgraphix.com 8 - 13
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

บทที่ 9
การสรางเฟรม (Frames)

9.1 เฟรม (Frame) และ เฟรมเซต (Frameset)


เฟรมเปนการแบงหนาตางของเว็บบราวเซอรออกเปนพื้นที่หลายๆ สวนซึ่งแตละสวน
สามารถที่จะแสดงผลเอกสาร HTML ที่แตกตางกันได ดังรูปที่ 9-1 ซึ่งโดยทั่วไปแลวจะนิยมแบง
เฟรมออกเป น 2 ส ว นคื อ ส ว นที่ เป น เนื้ อ หากั บ ส ว นที่ เป น การเชื่อ มโยงไปยั งหน า ต างๆ ของ
เว็บไซต
เฟรมเซต คือ ไฟล HTML ที่มีการกําหนดการจัดวางและ คุณสมบัติของกลุมของเฟรม
ไว รวมไปถึงจํานวน ขนาด ตําแหนง ของแตละเฟรมและ เอกสาร HTML ที่แตละเฟรมเชื่อมโยง
ดวย

รูปที่ 9-1 เว็บเพ็จที่นําเฟรมมาใชในการแบงเนื้อหา

9.2 การสรางเฟรมเซต
ในโปรแกรม Dreamweaver เราสามารถที่จะสรางเฟรมเซตได 2 วิธีดวยกันคือ
1. ใชแมแบบที่โปรแกรมมีใหอยูแลวในการสราง

www.marianasgraphix.com 9-1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

2. สรางเฟรมเซตดวยตัวเอง

9.2.1 การสรางเฟรมเซตดวยแมแบบที่โปรแกรมมีให
การสรางเฟรมเซตด วยวิธีนี้ทํ าโดยคลิกปุ ม ที่อยูใน Frame Tab ของ Insert Bar หรือ
กําหนดตอนที่สรางเอกสาร HTML ใหมใน New Document Dialog

การสรา งเฟรมเซตโดยคลิ ก ที่ ปุ ม ใน Insert Bar นั้ น โปรแกรมจะทํ าการแบ งเฟรมใน
Document Window ปจจุบันที่เราทํางานอยูแลวทําการเชื่อมโยงและ แสดงเอกสารที่เราทํางาน
อยูในเฟรมใดเฟรมหนึ่งโดยอัตโนมัติ สวนการสรางเฟรมเซตโดยการกําหนดตอนที่สรางเอกสาร
ใหมนั้นจะทําใหเราได Document Window ที่มีการแบงเฟรมแลวแตยังไมมีการเชื่อมโยงและ
แสดงผลเอกสารใดๆ บนเฟรมดังกลาว

9.2.2 การสรางและ แกไขเฟรมเซตโดยไมใชแมแบบที่โปรแกรมมีให


ทุกๆ ครั้งกอนที่เราจะสรางหรือ แกไขเฟรมเซตและ เฟรมดวยตัวเอง เราควรจะเปดการ
แสดงผลของกรอบของเฟรมใน Document Window เสียกอนเพื่อใหการแบงเฟรมทําไดงายขึ้น
โดยเลือกคําสั่ง View -> Visual Aids -> Frame Borders หลังจากที่เลือกคําสั่งแลวจะปรากฎ
กรอบของเฟรมดังรูปที่ 9-2

รูปที่ 9-2 Document Window เมื่อเปดการแสดงผลกรอบของเฟรม

9.2.2.1 การสรางเฟรม
1. คลิกเมาลงบน Document Window

www.marianasgraphix.com 9-2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

2. เลือกคําสั่งในเมนู Modify -> Frameset เชน Split Left เมื่อตองการแบงเฟรมทาง


ซายหรือ Split Right เมื่อตองการแบงเฟรมทางขวา เปนตน
3. หลังจากที่เลือกคําสั่งในขอที่ 2 แลว Document Window จะถูกแบงเฟรมตามที่เรา
เลือก ดังตัวอยางในรูปที่ 9-3 ซึ่งเปนการแบงเฟรมตามแนวนอนออกเปนสองสวน
คือ สวนบนและ สวนลาง

รูปที่ 9-3 Document Window เมื่อแบงเฟรมออกเปน 2 สวนตามแนวนอน

9.2.2.2 การแบงเฟรมที่สรางไวออกเปนเฟรมยอย
1. คลิกลงบนพื้นที่ที่อยูในขอบเขตของเฟรมที่เราตองการจะแบงเปนเฟรมยอยดังรูปที่
9-4 แลวเลือกคําสั่งในเมนู Modify -> Frameset เพื่อกําหนดการแบงเฟรมวาจะ
แบงทางซาย ทางขวา ขางลาง หรือ ขางบน

รูปที่ 9-4 การเลือกเฟรมที่ตองการแบงเฟรมออกเปนเฟรมยอย

2. เมื่อตองการแบงเฟรมตามแนวนอนหรือ แนวตั้งตลอดทั้งแนวใหคลิกลากกรอบของ
เฟรมจากดานใดดานหนึ่งของ Document Window ในมุมมองออกแบบมาวางไว
บนพื้นที่ที่อยูใน Document Window ดังรูปที่ 9-5

www.marianasgraphix.com 9-3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

รูปที่ 9-5 การแบงเฟรมโดยใชกรอบของเฟรมที่อยูทางดานซายของ Document Window

3. เมื่อตองการแบงเฟรมตามแนวนอนหรือ แนวตั้งโดยใชกรอบของเฟรมที่ไมไดอยูใน
แตละดานของ Document Window ใหกดปุม Alt คางไวพรอมกับคลิกลากกรอบ
ของเฟรมที่เราตองการทางดานซาย มาวางบนพื้นที่ที่อยูในเฟรมดังกลาว ดังรูปที่ 9-
6

รูปที่ 9-6 การแบงเฟรมโดยใชกรอบของเฟรมที่ไมไดอยูในแตละดานของ Document Window

4. เมื่อตองการแบงเฟรมออกเปน 4 เฟรมใหคลิกลากที่มุมของกรอบของเฟรมมาวาง
ไวที่พื้นที่ที่อยูใน Document Window ดังรูปที่ 9-7

รูปที่ 9-7 การแบงเฟรมโดยใชมุมของกรอบของเฟรมใน Document Window

9.2.2.1 การลบเฟรม

www.marianasgraphix.com 9-4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

ใหคลิกลากกรอบของเฟรมที่ตองการลบ จนกระทั้งชนกับกรอบของเฟรมทางขวาที่อยู
ใน Document Window หรือกรอบของเฟรมที่ ลอมรอบเฟรมดั งกลาวอยูในกรณี ที่เฟรมที่เรา
ตองการลบเปนเฟรมที่ซอนอยูในเฟรมอื่น ดังรูปที่ 9-8

รูปที่ 9-8 การลบเฟรมโดยใชการคลิกลากกรอบของเฟรมที่ตองการลบไปชนกรอบของเฟรมทาง


ดานขวา

9.2.3 การสรางเฟรมซอนเฟรม
เมื่อเราตองการแบงเฟรมโดยในแตละแถวหรือ คอลัมนของการแบงเฟรมมีจํานวนเฟรม
ไมเทากันแลว เรามีความจําเปนที่จะตองใชการสรางเฟรมซอนเฟรมเขามาชวยในการแบงเฟรม
การสรางเฟรมซอนเฟรมใน Dreamweave เราสามารถที่จะใชแมแบบที่โปรแกรมมีให
หรื อ ใช คํ า สั่ ง ในเมนู Modify -> Frameset ก็ ได โดยขั้ น ตอนการสร า งเฟรมซ อ นในเฟรมจะ
เหมือนกับการสรางเฟรมปกติ

9.3 การเลือกเฟรมเซตและ เฟรม


เมื่อเราตองการที่จะเปลี่ยนคุณสมบัติตางๆ ของเฟรมเซตหรือ เฟรม เราจะตองทําการ
เลือกเฟรมเซตหรือ เฟรมที่ตองการเสียกอน ซึ่งการเลือกเฟรมเซตหรือ เฟรม เราสามารถทําได
โดยการเลือกผาน Document Window หรือ พาเนล Frames เมื่อเราเลือกเฟรมเซตหรือ เฟรม
จะปรากฎเสนแถบที่กรอบของเฟรมทั้งใน Document Window และพาเนล Frame เพื่อบอกวา
ตอนนี้เราเลือกเฟรมเซตหรือ เฟรมใดอยู ดังรูปที่ 9-9

9.3.1 การเลือกเฟรมเซตและ เฟรมในพาเนล Frames


พาเนล Framesใชแสดงเฟรมเซตและ เฟรม โดยเราสามารถที่จะคลิกเฟรมเซตหรือ เฟ
รมในพาเนล Frames เพื่อเลือกเฟรมเซตหรือ เฟรมในเอกสารแลว แกไขคุณสมบัติตางๆ ของเฟ
รมเซตหรือ เฟรมผานทาง Property Inspector ได

www.marianasgraphix.com 9-5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

ในพาเนล Frames จะแสดงลําดับชั้นของเฟรมเซตที่ไมสามารถเห็นไดใน Document


Window โดยจะแสดงแตละเฟรมเซตลอมรอบดวยกรอบหนาและ แสดงแตละเฟรมลอมรอบ
ดวยเสนสีเทา และ ตรงกลางของแตละเฟรมจะมีชื่อของเฟรมแสดงอยู
• การแสดงพาเนล Frames เลือกคําสั่ง Window -> Other -> Frames Panel
• การเลือกเฟรมเซตในพาเนล Frames ใหคลิกที่กรอบเฟรมเซตดังรูปที่ 9-10(1)
• การเลือกเฟรมในพาเนล Frames ใหคลิกที่ภายในเฟรมที่ตองการดังรูปที่ 9-10(2)

รูปที่ 9-9 Document Window และ พาเนล Frames เมื่อ Frame ถูกเลือก

www.marianasgraphix.com 9-6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

รูปที่ 9-10 การเลือกเฟรมและ เฟรมเซตในพาเนล Frames

9.3.2 การเลือกเฟรมและ เฟรมเซตใน Document Window


เมื่อเราเลือกเฟรมใน Document Window แลวจะปรากฎเสนประรอบกรอบของเฟรม
แตถาเราเลือกเฟรมเซตก็จะปรากฎเสนประทับกรอบของเฟรมเซต เมื่อเราเลือกเฟรมหรือ เฟรม
เซตแล ว คุ ณ สมบั ติ ต างๆ ของเฟรมและ เฟรมเซตจะถู ก แสดงใน Property Inspector ซึ่ งเรา
สามารถแกไขได
• การเลื อกเฟรมเซตใน Document Window ทํ า โดยคลิ ก ที่ ก รอบของเฟรมเซตใน
Document Window ดังรูปที่ 9-10(1)
• การเลือกเฟรมใน Document Window ทําโดยกดปุม Alt คางไวแลวคลิกเฟรมที่
ตองการใน Document Window ดังรูปที่ 9-10(2)

9.3.3 การเปดเอกสารภายในเฟรม
ใน Dreamweave MX เราสามารถที่จะกําหนดเนื้อหาที่จะแสดงในเฟรมที่วางเปลาโดย
การเพิ่มเนื้อหาเขาไปโดยตรงหรือ เปดไฟลที่มีอยูแลวได โดยมีขั้นตอนดังตอไปนี้
1. เลือกเฟรมที่ตองการเปดไฟล
2. เลือกคําสั่ง File -> Open in Frame
3. เลือกไฟลที่ตองการเปดแลวคลิกที่ปุม OK เพื่อทําการเปดไฟลในเฟรม

www.marianasgraphix.com 9-7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

4. ถ า ต อ งการให เอกสารที่ เราเป ด ถูก แสดงในเว็บ บราวเซอรให เลื อ กคํ า สั่ ง File ->
Save Frameset

9.4 การบันทึกเฟรมและ การบันทึกเฟรมเซต


กอนที่เราจะแสดงผลเฟรมเซตในเว็บบราวเซอรเราควรจะบันทึกเฟรมเซตและ เอกสาร
อื่นๆ ที่ใชแสดงภายในเฟรมทั้งหมดกอน
การบั น ทึ ก เอกสารที่ แสดงภายในเฟรมเราสามารถที่ จะแยกบั น ทึ ก ที่ ละไฟลห รือ สั่ ง
บันทึกไฟลทั้งหมดในครั้งเดียวก็ได ซึ่งวิธีการบันทึกมีดังนี้
9.4.1 การบันทึกเฟรมเซต
1. เลือกเฟรมเซตใน Frame Panel หรือ Document Window
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• เมื่อตองการบันทึกเฟรมเซตลงไฟลเดิมเลือกคําสั่ง File -> Save Frameset
• เมื่อตองการบันทึกไฟลใหมเลือกคําสั่ง File -> Save Frame As

9.4.2 การบันทึกเอกสารที่ปรากฎในเฟรม
เลื อ กเฟรมที่ ต องการแลวเลื อกคําสั่ง File -> Save Frame หรือ File -> Save Frame
As

9.4.3 การบันทึกทุกไฟลที่อยูในเฟรม
เลือกคําสั่ง File -> Save All File

9.5 การปรับแตงคุณสมบัติของเฟรม
การปรับแตงคุณสมบัติของเฟรมเราจะทําผาน Property Inspector ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกเฟรมโดยกดปุม Alt คางไวแลวคลิกเฟรมที่ตองการใน Document Window
หรือ คลิกที่เฟรมใน Frame Panel
2. เปด Property Inspector โดยเลือกคําสั่ง Window -> Properties
3. ปรับ แต งคุ ณ สมบั ติของเฟรมตามตองการใน Property Inspector ซึ่ งคุ ณ สมบั ติ
ตางๆ ที่สามารถปรับแตงไดมีดังนี้

www.marianasgraphix.com 9-8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

• Frame Name เปนชื่อของเฟรมซึ่งอาจจะถูกใชโดยลิงคหรือ สคริปต


• Src ชื่อไฟล HTML ที่ใชแสดงภายในเฟรม
• Scroll ใชกําหนดวาจะใหมี Scroll Bar ในเฟรมหรือไม เมื่อความยาวของเนื้อ
หามากกวาขนาดของเฟรม
• No Resize ใชกําหนดใหไมสามารถคลิกลากกรอบของเฟรมเพื่อเปลี่ยนแปลง
ขนาดได
• Border ใชกําหนดการแสดงผลกรอบของเฟรมวาจะใหแสดงผลหรือไมแสดง
ผล
• Border Color ใชกําหนดสีของกรอกของเฟรม
• Margin Width ใชกําหนดความกวางของชองวางจากทางซายและ ทางขวา
ระหวางเนื้อหาภายในเฟรมกับกรอบของเฟรม
• Margin Height ใชกําหนดความกวางของชองวางจากขา งบนและ ขางลา ง
ระหวางเนื้อหาภายในเฟรมกับกรอบของเฟรม
เมื่อเราตองการเปลี่ยนสีพื้นหลังในแตละเฟรมใหคลิกเฟรมที่ตองการแลวเลือกคําสั่ง
Modify -> Page Properties จะปรากฎไดอะลอกใหปรับแตงคุณ สมบัติตางๆ รวมไปถึงสีพื้น
หลัง เปลี่ยนสีพื้นหลังที่ตองการแลวกดปุม Ok เพื่อจบการทํางาน

9.5 การปรับแตงคุณสมบัติของเฟรมเซต
เราจะใช Property Inspector ในการปรับแตงคุณสมบัติของเฟรมเซต ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกเฟรมเซตโดยเลือกที่กรอบระหวางเฟรมในเฟรมเซตหรือ คลิกที่กรอบของเฟรม
เซตใน Frame Panel
2. เปด Property Inspector โดยเลือกคําสั่ง Window -> Properties
3. ปรับแตงคุณสมบัติตางๆ ของเฟรมเซตตามตองการ โดยคุณสมบัติที่ปรับแตงไดมี
ดังนี้

www.marianasgraphix.com 9-9
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 9 : การสรางเฟรม (Frames)

• Border ใชกําหนดการแสดงผลของกรอบของเฟรมเซตวาจะแสดงผลหรือไม
• Border Width ใชกําหนดความกวางของกรอกของเฟรม
• RowCol Selection เป น ส ว นที่ ใ ช เลื อ กเฟรมตามแถวหรื อ คอลั ม น เพื่ อ จะ
กําหนดความกวางกับ ความสูง
• Value ใชกําหนดความสูงหรือ ความกวางของเฟรมโดยขึ้นอยูกับเฟรมที่ถูก
เลือกใน RowCol Selection
• Unit เป น หน ว ยของค า ที่ ก รอกในช อ ง Value ซึ่ ง มี 3 หน ว ยด ว ยกั น คื อ พิ ก
เซล(pixel) เปอรเซ็นต (Percent) และ Relative ซึ่งหนวย Relative จะเปนการ
กําหนดคาที่สัมพันธกับคาที่กําหนดใหกับแถวหรือ คอลัมนของเฟรมกอนหนานี้
เมื่อเราตองการที่จะกําหนดชื่อเรื่องของเอกสารใหคลิกเลือกเฟรมเซตแลวกรอกชื่อเรื่อง
ลงในชอง Title บน Document Window

9.6 การใชลิงคเปลี่ยนเนื้อหาภายในเฟรม
การใชลิงคในเฟรมหนึ่งไปเปดเอกสารในอีกเฟรมหนึ่ง สามารถทําไดโดยการกําหนดชื่อ
เฟรมใหกับคุณสมบัติ target ของลิงค ซึ่งขั้นตอนการกําหนดคาใหกับ target ทําไดดังนี้
1. ในมุมมองออกแบบเลือกขอความหรือ วัตถุที่ตองการสรางลิงค
2. กรอกชื่อไฟลที่ตองการลิงค ในชอง Link ของ Property Inspector
3. ในชอง Target เลือกชื่อเฟรมหรือ วินโดวที่จะใชแสดงเอกสารที่ถูกลิงค ถาเราตั้งชื่อ
ใหกับเฟรมแลว ชื่อเฟรมจะถูกแสดงในชอง Target

www.marianasgraphix.com 9 - 10
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 10 : Cascading Style Sheets (CSS)

บทที่ 10
Cascading Style Sheets (CSS)

10.1 รูจักกับ Cascading Style Sheets (CSS)


CSS เปนกลุมของรูปแบบการแสดงผลที่เราไดสรางไวเพื่อใชกําหนดการแสดงผลของเนื้อ
หาในเว็บเพจ การนํา CSS เขามากําหนดการแสดงผลจะชวยใหการกําหนดการแสดงผลของเนื้อ
หาที่อยูในเว็บเพจทําไดงายและ ถูกตองมากขึ้น นอกจากนี้ CSS ยังสามารถควบคุมการแสดงผล
บางอยางที่ HTML ไมสามารถควบคุมไดดวย อยางเชน ขนาดของตัวอักษรบนเว็บเพจใน CSS จะ
กําหนดขนาดเปนพิกเซล ซึ่งจะทําใหการแสดงผลของตัวอักษรในทุกๆ เว็บเบราเซอรเหมือนกัน
หรือ ตําแหนงของเลเยอรซึ่งดวย CSS เราสามารถที่จะกําหนดตําแหนงการแสดงผลของมันได
เปนตน
CSS จะประกอบดวย 2 สวนดวยกันคือ Selector และ Declaration ดังรูปที่ 10-1

.FormStyle { font-family:MS Sans Serif;font-size:12px}

Selector Declaration

รูปที่ 10-1 สวนประกอบของ CSS

1. Selector เปนชื่อของ CSS


2. Declaration เปนสวนที่ใชกําหนดวา CSS นี้มีรูปแบบอะไรบาง ซึ่งประกอบไปดวย
คุณสมบัติและ คาของคุณสมบัติ
ประโยชนที่สําคัญของการนํา CSS มาใชก็คือ เมื่อเราเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่กําหนดไวใน
CSS เมื่อใดแลวรูปแบบการแสดงผลของขอความหรือ วัตถุทั้งหมดที่ใช CSS ดังกลาวจะเปลี่ยน
แปลงดวย ซึ่งประเภทของ CSS มีดังนี้
1. Customer CSS Style หรือ Class Style เปน CSS ที่สรางขึ้นและ สามารถใชไดทุกที่
ของเว็บเพจ
2. HTML Tag Style เปน CSS ที่มีการกําหนดรูปแบบใหกับ HTML เดิมที่มีอยูแลว

www.marianasgraphix.com 10 - 1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 10 : Cascading Style Sheets (CSS)

3. CSS Sector Style เปน CSS ที่มีการกําหนดรูปแบบใหกับแท็กที่มีการผสมกันหรือ


ทุกแท็กที่มี id ตรงกับที่เรากําหนดใน CSS
10.2 การใช CSS Style Panel
เราใช CSS Style Panel ในการสราง CSS ใหม แสดง CSS ที่มีอยูและ กําหนด CSS ให
กับขอความหรือ วัตถุในเว็บเพจ เมื่อเราตองการที่จะใช CSS Style Panel ใหเลือกเมนู Window -
> CSS Styles
ใน CSS Style Panel จะมี ปุ ม radio อยู 2 ปุ ม ด ว ยกั น ซึ่ ง ใช ส ลั บ มุ ม มองใน CSS Style
Panel ซึ่งมี 2 มุมมองดวยกันคือ Apply Style และ Edit Style ดังรูปที่ 10-2

รูปที่ 10-2 ปุม Apply Style และ Edit Style

มุมมอง Apply Style เปนมุมมองที่ใชดู CSS Style ที่มีอยูและ กําหนด CSS Style เหลา
นั้นใหกับขอความหรือ วัตถุที่ตองการในเว็บเพจ ในมุมมองนี้จะแสดง CSS Style ประเภท Class
Style เท านั้ น เนื่องจาก HTML Tag Style และ Selector Style จะถูก ใชกับขอความหรือ วัตถุ ที่
ตรงกับที่กําหนดไวใน Style ทั้งสองดังกลาวอยูแลว
มุมมอง Edit Style เปนมุมมองที่ใชดูและ แกไข CSS Style ที่มี อยูในเอกสาร ซึ่งในมุ ม
มองนี้จะแสดง CSS Style ทั้ง 3 ประเภท
ใน CSS Style Panel ทางมุมขวาลางจะประกอบไปดวยปุมตางๆ ที่ใชดําเนินการ ดังตอ
ไปนี้
1. ปุ ม Attach Style Sheet เปดไดอะล็อก External Style Sheet เพื่อคน หาไฟลที่
เก็บ Style Sheet ไวแลวเชี่อมโยงไฟลดังกลาวกับเอกสารหรือ นําเขา Style Sheet ดัง
กลาวในเอกสารที่เราทํางานอยู
2. ปุม New CSS Style ใชเปดไดอะล็อก New CSS Style ซี่งใชในการสราง Style
ใหม

www.marianasgraphix.com 10 - 2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 10 : Cascading Style Sheets (CSS)

3. ปุม Edit Style Sheet ใชเปดไดอะล็อก CSS Style Definition ซึ่งใชในการแกไข


Style ที่มีอยูในเอกสารที่เราทํางานอยูหรือ เอกสารที่เชื่อมโยงจากภายนอก
4. ปุม Delete CSS Style ใชลบ CSS Style ที่อยูใน Panel และ ขอความหรือ วัตถุที่
ใช Style ดังกลาว
10.3 การสราง CSS Style ใหม
1. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• เป ด CSS Panel คลิ ก ที่ ปุ ม + ใน Panel หรือ ใน Property Inspector คลิ ก ที่ ไอ
คอน ที่ อ ยู ท างมุ ม บนขวาแล ว เลื อ ก CSS Mode เพื่ อ เปลี่ ย น Property
Inspector ใหอยูใน CSS Mode ดังรูปที่ 10-3

รูปที่ 10-3 Property Inspector เมื่อเปลี่ยนเปน CSS Mode

• ในปอปอัพเมนู CSS Style เลือก New CSS Style


• เลือกที่เมนู Text -> CSS -> New CSS จะปรากฎไดอะล็อกที่ใหกรอกขอมูลเพื่อ
สราง CSS ใหม ดังรูปที่ 10-4

รูปที่ 10-4 ไดอะล็อก New CSS Style

2. พิมพชื่อของ Style ในฟลด

www.marianasgraphix.com 10 - 3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 10 : Cascading Style Sheets (CSS)

3. ใน Type เลือกประเภทของ Style ที่จะสรางซึ่งมี 3 ประเภทดังที่กลาวไวขางตน


4. ใน Define In เลือกไฟลที่จะเก็บ Style ที่สรางไว ซึ่งมีดังนี้
• เลื อ ก This Document Only เมื่ อ ต อ งการเก็ บ Style ไว ใ นไฟล เดี ย วกั บ ไฟล ที่
กําลังทํางานอยู
• เลือก New Style Sheet File ในปอปอัพเมนูเมื่อตองการเก็บ Style ในไฟลภาย
นอกที่สรางขึ้นมาใหม
• เลือกรายการไฟลที่ อยู ในปอปอัพ เมนู เพื่อเก็บ Style ที่สรางขึ้นใหม ในไฟลดัง
กลาว
5. กดปุม OK เพื่อดําเนินการในขั้นตอนตอไป
6. จะปรากฎไดอะล็อก CSS Style Definition ดังรูปที่ 10-4 ซึ่งในไดอะล็อกจะแสดงคุณ
สมบั ติ ต า งๆ ที่ เราสามารถเลื อ กใช กั บ Style ได เมื่ อ เราเลื อ กคุ ณ สมบั ติ ต า งๆ ที่
ตองการเสร็จแลวกดปุม OK เพื่อจบการสราง CSS Style

รูปที่ 10-4 ไดอะล็อก CSS Style definition

www.marianasgraphix.com 10 - 4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 10 : Cascading Style Sheets (CSS)

10.3 การใช Class Style


Class Style เปน Style ชนิดเดียวที่สามารถใชกับขอความหรือ วัตถุใดๆ ที่อยูในเอกสาร
ไดทั้งหมด เมื่อเราใช Class Style กับขอความหรือ วัตถุ จะมีบางคุณสมบัติที่ไมสามารถแสดงผล
ใน Document Window ไดจําเปนตองดูผานเว็บเบราเซอรเทานั้น
ขั้นตอนการใช Class Style มีดังนี้
1. เลือกขอความหรือ วัตถุที่ตองการ
2. เป ด CSS Style Panel เปลี่ ย นมุ ม มองเป น มุ ม มอง Apply Style แล ว เลื อก Style ที่
ตองการในรายการ CSS Style ที่แสดงอยูในกลองแสดงรายการดังรูปที่ 10-5 หรือ ใน
Property Inspector เปลี่ยนเปน CSS Mode แลวเลือก Style ที่ตองการในปอปอัพ
เมนู CSS Style หรือ เลือกเมนู Text -> CSS Styles และ เลิก Style ที่ตองการในเมนู
ยอย

รูปที่ 10-5 รายการ CSS Style ในพาเนล CSS Styles

3. การยกเลิกใช Style ทําไดโดยเลือกขอความหรือ วัตถุที่ตองการยกเลิกใช Style แลว


ในCSS Style Panel เลื อ ก No CSS Style หรื อ ใน Property Inspector ใน CSS
Mode เลือก none ในปอปอัพเมนู CSS

10.4 การสรางและ เชื่อมโยงไปยัง CSS Style Sheet


CSS Style Sheet เปนไฟลที่เก็บรูปแบบของ CSS ที่เราสรางไว เมื่อเราตองการใช CSS ที่
อยูในไฟลดังกลาว ก็เพียงแคนําเขาหรือ เชื่อมโยงไฟลดังกลาวเขากับไฟลที่เราทํางานอยู เมื่อใดก็
ตามที่ เราแก ไข Style ที่ อยู ใน CSS Style Sheet แลว ไฟลอื่น ๆ ที่ ทํ าการเชื่ อมโยงมายั งไฟล ดั ง
กลาวและ ใช Style ที่อยูในไฟลก็จะเปลี่ยนการแสดงผลตามที่เราแกไขดวย
ขั้นตอนการเชื่อมโยงและ นําเขา CSS Style Sheet มีดังนี้

www.marianasgraphix.com 10 - 5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 10 : Cascading Style Sheets (CSS)

1. เปด CSS Style Panel


2. คลิกที่ปุม Attach Style
3. คลิกที่ปุม Browse เพื่อหา CSS Style Sheet ที่ตองการ
4. เลือก Link เพื่อทําการเชื่อมโยง CSS Style Sheet เขากับไฟลที่เรากําลังทํางานอยู

10.5 การแกไข CSS Style


การแกไข CSS Style เราสามารถทําไดกับ CSS Style ทั้งที่อยูในไฟลเดียวกันกับไฟลที่เรา
กําลังทํางานอยูและ ไฟลภายนอกที่เราเชื่อมโยงดวย โดยขั้นตอนการแกไขมีดังนี้
1. ใน CSS Style Panel เปลี่ยนมุมมองเปนแบบ Edit Style
2. เลือก Style ที่ตองการแกไขในกลองรายการแลวดับเบิลคลิกที่เมาปุมซาย
3. จะปรากฎไดอะล็อก CSS Style Definition ใหแกไข Style เมื่อแกไขเสร็จแลวกด OK
เพื่อจบการแกไข

www.marianasgraphix.com 10 - 6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

บทที่ 11
การใส Interactive Page Elements

ในบางครั้งการเพิ่มการโตตอบระหวางผูมาเยี่ยมชมกับเว็บเพจ ก็เปนปจจัยที่สําคัญอยาง
หนึ่งที่ทําใหเว็บไซตของเราดูนาสนใจมากขึ้น ใน Dreamweaver เราสามารถที่จะสรางสิ่งที่โตตอบ
กับผูชมไดโดยใชสิ่งที่เรียกวา Behaviors และ Animation

11.1 การใช JavaScript Behavior


ใน Dreamweaver มี คุ ณ สมบั ติ ห นึ่ ง ที่ เรีย กวา Behavior ซึ่ งใช ในการสรา งการโต ต อบ
ระหวางวัตถุตางๆ ที่อยูเว็บเพจกับผูมาเยี่ยมชม ทุกครั้งที่เรากําหนด Behavior ใหกับวัตถุในเว็บ
เพจจะมีสิ่งที่เขามาเกี่ยวของกับวัตถุ 2 สิ่งดวยกันคือ อีเวนต (Event) และ แอ็คชั่น (Action)
อีเวนต (Event) คือเหตุการณที่เราสนใจที่เกิดขึ้นกับวัตถุในเว็บเพจ อยางเชน การเลื่อน
เมาสพอยเตอรผานรูปภาพ การคลิกที่ลิงค หรือ การคลิกที่ปุม เปนตน ซึ่งแตละวัตถุที่อยูในเว็บ
เพจจะมีจํานวนและ ลักษณะของอีเวนตที่ไมเทากัน อีเวนตที่นิยมใชกันก็จะมี onClick (เปน อี
เวนตที่เกิดเมื่อคลิกที่วัตถุ), onMouseOut (เปนอีเวนตที่เกิดเมื่อเมาสพอยเตอรถูกเลื่อนออกจาก
วัตถุ), onMouseOver (เปนอีเวนตที่เกิดเมื่อเมาสพอยเตอรอยูบนวัตถุ) และ onLoad (เปนอีเวนต
ที่เกิดเมื่อวัตถุถูกโหลดเขามาในเว็บเพจ)
แอ็คชั่น (Action) คือ โคดภาษาจาวาสคริปตที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อทํางานบางอยางที่กําหนด
ไว เชน เปดหนาตางเว็บบราวเซอรใหม แสดงกลองขอความ หรือ เลนเพลง เปนตน
ทุกครั้งที่เรากําหนด Behavior ใหกับวัตถุในเว็บเพจจะตองมีการกําหนดอีเวนตและ แอค
ชั่นที่สัมพันธกันทุกครั้ง เมื่อผูชมทําใหวัตถุเกิดอีเวนตที่ตรงกับที่กําหนดไว อีเวนตดังกลาวก็จะ
เรียกแอ็คชั่นที่สัมพันธกับมันมาทํางาน อยางเชน มีการกําหนดใหแสดงกลองขอความถาผูใชคลิก
ที่ปุม หรือ เปลี่ยนขนาดตัวอักษรเมื่อผูชมเลื่อนเมาสพอยตเตอรผานตัวอักษร เปนตน

11.2 การใช Behavior Panel


เราจะใช Behavior Panel ในการกําหนด Behavior ใหกับวัตถุตางๆ ที่อยูในเว็บเพจ การ
เปด พาเนล Behavior ทําไดโดยเลือกคําสั่ง Window -> Behaviors ถาวัตถุที่เราเลือกในเว็บเพจมี
Behavior เดิมอยูแลวก็จะแสดงในพาเนล Behavior ดังรูปที่ 11-1

www.marianasgraphix.com 11 - 1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

รูปที่ 11-1 พาเนล Behaviors

การใชงานสวนตางๆ ของพาเนล Behavior มีดังนี้


• ปุม Action (+) เปนปอปอัพเมนูของแอ็คชั่นที่เราสามารถกําหนดใหกับวัตถุที่เลือกอยู
ในขณะนั้นได เมื่อเราเลือกแอ็คชั่นที่ตองการจากปอปอัพเมนูแลว ถาแอ็คชั่นใดตองมี
การสงพารามิเตอรก็จะปรากฎไดอะล็อกใหกรอกพารามิเตอรดวย
• ปุ ม Delete (-) ใช ล บ Behavior ที่ ถู ก เลื อ กในพาเนล Behavior ออกจากวั ต ถุ ที่ เรา
เลือกในขณะนั้น
• ปุม Up และ Down ใชเลื่อนแถบสีในพาเนล Behavior ไปยังรายการขางบนและ ขาง
ลางตามลําดับ
• Event เปนปอปอัพเมนูของอีเวนททั้งหมดที่มีของวัตถุที่เลือกในขณะนั้น โดยที่จาํ นวน
และ ลักษณะอีเวนตของแตละวัตถุจะแตกตางๆ กัน ถาไมพบอีเวนตที่ตองการอาจจะ
เปนเพราะ เลือกชนิดและ รุนของเว็บบราวเซอรไมถูกตองใหเลือกชนิดและ รุน ของเว็บ
บราวเซอรไดที่เมนู Show Event For
• Show Event For เปนเมนูยอยของ Event ที่ใชเลือกชนิดและ รุนของเว็บบราวเซอร
หลังจากที่เลือกชนิดและ รุนของเว็บบราวเซอรที่ตองการไดแลว ใน Event จะแสดง
รายการอีเวนตที่สามารถใชไดในเว็บบราวเซอรที่เลือก ซึ่งเว็บบราวเซอรรุมเกาๆ จะใช
อีเวนตไดนอยเมื่อเทียบกับเว็บบราวเซอรรุนใหมๆ

11.3 การนํา Behavior ไปใชกับวัตถุในเว็บเพจ


เราสามารถที่ จ ะกํ า หนด Behavior ให กั บ ทุ ก ๆ วั ต ถุ ที่ อ ยู ในเว็ บ เพจได โดยในแต ล ะ
Behavior จะประกอบไปดวยอีเวนตและ แอ็คชั่น ซึ่งในแตละอีเวนตเราสามารถที่จะกําหนดแอ็ค
ชั่นที่สัมพันธกับมันไดมากกวาหนึ่งแอคชั่น

www.marianasgraphix.com 11 - 2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

ขั้นตอนการกําหนด Behavior ใหกับวัตถุในเว็บเพจมีดังนี้


1. เลือกวัตถุบนเว็บเพจที่ตองการกําหนด Behavior
2. เลือกคําสั่ง Window -> Behaviors เพื่อเปดพาเนล Behavior
3. คลิกที่ปุม + เพื่อเลือกแอ็คชั่นที่ตองการจากปอปอัพเมนู Actions ดังรูปที่ 11-2

รูปที่ 11-2 ปอปอัพเมนู Actions

4. ถาแอ็คชั่นที่เราเลือกตองมีการสงคาพารามิเตอรไปดวยก็จะปรากฎไดอะล็อกใหกรอก
คาพารามิเตอร
5. คลิกปุม OK หลังจากที่คลิกปุมแลวในคอลัมน Event ของพาเนล Behavior จะปรา
กฎอีเวนตเบื้องตนที่ใชกับแอ็คชั่นที่เราเลือก ถาตองการจะเปลี่ยนอีเวนตที่ใชใหคลิกที่
คอลัมน Event จะปรากฎปอปอัพเมนูใหเลือกอีเวนตตางๆ ของวัตถุที่เราเลือกอยูใน
ขณะนั้น ให เลือกอีเวนตที่ตองการ เมื่อเลือกแลวชื่อของอีเวนตใหมจะถูกแสดงใน
คอลัมน Event

11.4 การสราง Rollover image


Rollover image คือ รูปภาพที่เกิดการเปลี่ยนแปลงเมื่อผูใชเลื่อนเมาสพอยตเตอรมาวาง
บนรูปภาพ Rollover image จะประกอบไปดวยรูปภาพ 2 รูป รูปแรกจะใชแสดงเมื่อเว็บเพจถูก
โหลดครั้งแรกและ เมื่อเมาสพอยตเตอรไมไดอยูบน Rollover Image สวนรูปที่สองจะใชแสดงเมื่อ
เมาสพอยตเตอรอยูบน Rollover Image ดังรูปที่ 11-3 โดยที่รูปทั้งสองรูปตองมีขนาดเทากัน

www.marianasgraphix.com 11 - 3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

รูปที่ 11-3 การทํางานของ Rollover Image


การทํ า งานของ Rollover image ไม ส ามารถที่ แ สดงผลการทํ า งานใน Document
Window ไดโดยตรง ดังนั้นการทดสอบการทํางานทําโดยดูผานเว็บบราวเซอรเทานั้น โดยกดปุม
F12 เพื่อเปดเว็บบราวเซอรแลวแสดงผลเว็บเพจที่เรากําลังทํางานอยู
ขั้นตอนการสราง Rollover image มีดังนี้
1. เลือกตําแหนงที่ตองการแทรก Rollover image ใน Document Window
2. ทําตามขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้
• ใน Common Tab ของ Insert Bar ใหคลิกที่ปุม Rollover Image
• เลือกคําสั่ง Insert -> Interactive Images -> Rollover Image
3. จะปรากฎไดอละล็อก Insert Rollover Image
4. ในฟลด Image Name กรอกชื่อของ Rollover Image
5. ในชอง Original Image คลิกที่ปุม Brows และ เลือกรูปภาพที่ตองการแสดงเมื่อเมาส
พอยตเตอรไมไดอยูบน Rollover Image
6. ในช อ ง Rollover Image คลิ ก ที่ ปุ ม Browse และ เลื อ กรู ป ภาพที่ ต อ การแสดงเมื่ อ
เมาสพอยตเตอรวางบน Rollover Image
7. ถาเราตองการใหรูปที่ใชใน Rollove Image ทั้งหมดถูกโหลดมาเก็บไวในหนวยความ
จํ า ของเว็ บ บราวเซอร ก อ นแสดงที่ จ ะแสดงผล ให ค ลิ ก เลื อ กที่ Preload Rollover
Image
8. ในฟ ลด Alternate Text พิ ม พ ขอความที่ ใช อธิบ ายรูป ภาพสําหรับ เว็ บ บราวเซอรที่
แสดงผลเฉพาะขอความเทานั้น
9. ในฟลด When Clicked Go to URL คลิกที่ปุม Browse และ เลือกไฟลที่ตองการเปด
เมื่อคลิกที่ Rollover Image
10. คลิกปุม OK เพื่อจบการสราง Rollover Image

11.5 การสราง Disjointed Rollovers


Disjointed Rollovers เปนรูปภาพที่เมื่อเรานําเมาสพอยตเตอรไปวางบนรูปภาพแลวรูป
ภาพอื่นนอกจากตัวมันเองในเว็บเพจเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งการสราง Disjointed Rollovers มี
ขั้นตอนดังนี้
1. เพิ่มรูปภาพที่ใชแสดงกอนที่จะเปลี่ยนแปลงเมื่อเลื่อนเมาสพอยตเตอรไปวางบนรูป
ภาพที่ทําใหรูปภาพอื่นเปลี่ยนแปลงลงในเอกสาร

www.marianasgraphix.com 11 - 4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

2. พิมพชื่อรูปภาพในฟลดที่อยูทางขวาของรูปภาพเล็กที่อยูใน Property Inspector ใน


ขั้นตอนนี้สําคัญ เพราะวากอนที่เราจะกําหนด Behavior ที่ใชจัดการกับการเปลี่ยน
แปลงรูปภาพ เราจําเปนตองตั้งชื่อรูปภาพทั้งหมดที่ตองการใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
กอนเนื่องจากชื่อรูปภาพดังกลาวจะถูกอางถึงโดย Behavior ดังนั้นถาไมมีการตั้งชื่อ
รูปภาพแลวBehavior จะไมสามารถอางถึงไดและ ชื่อรูปภาพที่ตั้งตองอยูในรูปแบบที่
โคดภาษาจาวาสคริปตเขาใจดวย (ใชไดฉพาะตัวอักษรและ เครื่องหมาย “_”)
3. เพิ่มรูปภาพที่จะใชเปนรูปภาพที่เมื่อเมาสพอยตเตอรเลื่อนไปวางบนรูปภาพแลวตัว
มันเองและ รูปภาพอื่นๆ ในเว็บเพจเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งตองใช Rollover Image
4. เพิ่ ม Rollover Image ลงในเอสารและเลื อ กที่ Rollover Image แล ว เป ด พาเนล
Behavior ขึ้นมาแลวดูแถวที่คอลัมน Action เปน Swap Image ดังรูปที่ 11-4 ใหดับ
เบิลคลิกที่คอลัมนดังกลาวแลวจะปรากฎไดอะล็อก Swap Image ดังรูปที่ 11-5 แลว
ทําตามขั้นตอนตอไปนี้
a. ในไดอะล็อกในกลองรายการ Image เลือกชื่อรูปภาพที่ตองการใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลง
b. เลือกไฟลรูปภาพที่แสดงเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงในฟลด Set Source To
c. ถาตองการใหรูปภาพอื่นเปลี่ยนแปลงใหทําตามขั้นตอน a และ b ซ้ําอีกครั้ง
จนหมดรูปภาพในกลองรายการ Image

รูปที่ 11-4 แอคชั่น Swap Image ของ Rollover Image

www.marianasgraphix.com 11 - 5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

รูปที่ 11-5 ไดอะล็อก Swap Image

5. กดปุม OK เมื่อตองการจบการสราง Disjointed Image

11.6 Jump Menu


Jump Menu เปนปอปอัพเมนูที่เมื่อเลือกหัวขอที่อยูในเมนูแลวจะทําการลิงคไปยังหนา
เว็บเพจที่กําหนดไวในเมนู Jump Menu จะมีประโยชนเมื่อเราตองการสรางลิงคไปยังหนาเว็บ
เพจตางๆ หลายหนาและ ไมมีพื้นที่ที่จะแสดงลิงคเหลานั้นไดพอเราก็จะเก็บลิงคเหลานั้นไวในปอป
อัพเมนูแทน

11.6.1 การสราง Jump Menu


1. เลือกจุดที่ตองการแทรก Jump Menu ใน Document Window
2. เลือกคําสั่ง Insert -> Form Object -> Jump Menu
3. หลังจากที่เลือกคําสั่งแลวจะปรากฎไดอะลอก ดังรูปที่ 11-6 ที่ใหกรอกขอมูลที่ใชสราง
Jump Menu ซึ่งขอมูลที่ใหกรอกมีดังนี้
• คลิกที่ปุม + เพื่อเพิ่มหัวขอในกลองรายการ Menu Item
• เลือกหัวขอในกลองรายการ Menu Item
• พิมพขอความที่ตองการแสดงในปอปอัพเมนูในฟลด Text
• คลิกที่ปุม Browse ที่อยูติดกับฟลด When Selected, Go to URL เพื่อคนหาและ
เลือกไฟลที่ตองการลิงคเมื่อหัวขอในเมนูถูกเลือก

www.marianasgraphix.com 11 - 6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

• ในปอปอัพเมนู Open URLs In เลือกหนาตางหรือเฟรม ที่ตองการใหแสดงเว็บ


เพจที่ลิงคโดย Jump Menu
• ในฟลด Menu Name พิมพชื่อของ Jump Menu
• ต ร ง Option เ ลื อ ก Insert Go Button After menu เ มื่ อ ต อ ง ก า ร ใ ห
Dreamweaver สรางปุม Go หลัง Jump Menu ที่คลิกแลวจะลิงคไปยังเว็บเพจที่
ถูกเลือกใน Jump Menu
• ตรง Option เลือก Select First Item After URL Change เมื่อตองการให Jump
Menu แสดงหัวขอแรกในเมนูทุกครั้งที่เปลี่ยนไปหนาเว็บเพจอื่น

รูปที่ 11-6 ไดอะล็อก Insert Jump Menu

11.6.2 การแกไข Jump Menu


เราสามารถแกไข Jump Menu ที่สรางขึ้นได 2 วิธีคือ
• คลิกเลือก Jump Menu ที่ตองการแกไขแลว ดับเบิลคลิกที่แอ็คชั่น Jump Menu
ในคอลัมน Action
• คลิกเลือก Jump Menu ที่ตองการแกไขแลวใน Property Inspector คลิกที่ปุม
List Value แลวแกไขคาที่ตองการแสดงในปอปอัพเมนูในคอลัมน Item Label
และ URL ของเว็บเพจที่ตองการลิงคไปในคอลัมน Value

www.marianasgraphix.com 11 - 7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

11.7 การใสเลเยอร (Layer) สําหรับงาน Interactive


เลเยอร เปนพื้นที่สี่เหลี่ยมที่เราสามารถจัดวางไวในสวนใดก็ไดของเว็บเพจ ดังรูปที่ 11-7
ซึ่งในเลเยอรเราสามารถที่จะใสขอควม รูปภาพหรือ วัตถุตางๆ เชนเดียวกับที่เพิ่มในเว็บเพ็จได
ดวยคุณสมบัติดังกลาวของเลเยอร จึงทําใหมันถูกนําไปใชในการวางเนื้อหาในเว็บเพ็จ

รูปที่ 11-7 เลเยอร

11.7.1 การเพิ่มเลเยอรลงในเว็บเพ็จ
การเพิ่มเลเยอรลงในเว็บเพ็จทําได 2 วิธดังนี้
1. ถาตองการวาดเลเยอรใหคลิกที่ไอคอน Draw Layer ใน Insert Bar หลังจากที่
คลิกแลวเมาสพอยตเตอรจะเปลี่ยนเปนรูป + ใหคลิกลากเมาสพอยตเตอรเพื่อสราง
พื้นที่ของเลเยอรใน Document Window ดังรูปที่ 11-8

รูปที่ 11-8 การสรางเลเยอร

2. ถาตองการเพิ่มเลเยอรโดยไมวาดใหเลือกที่คําสั่ง Insert -> Layer

www.marianasgraphix.com 11 - 8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

11.7.2 การเลือกเลเยอรใน Document Window


การเลือกเลเยอรใน Document Window สามารถทําได 3 วิธีดังนี้
1. เป ด พาเนล Layer โดนเลื อกคํ าสั่ ง Window -> Other -> Layers แล ว ให ค ลิ ก ที่ ชื่ อ
ของเลเยอรในพาเนล Layer ดังรูปที่ 11-9

รูปที่ 11-9 การเลือกเลเยอรในพาเนล Layers

2. คลิกที่ Selection Handle ของเลเยอร ดังรูปที่ 11-10

รูปที่ 11-10 การเลือกเลเยอรโดยใช Selection Handle

3. คลิกที่ขอบของเลเยอร

11.7.3 การปรับขนาดเลเยอร
การปรับขนาดเลเยอรสามารถทําได 2 วิธีดังนี้

www.marianasgraphix.com 11 - 9
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

1. คลิ ก ที่ ขอบด า นใดด า นหนึ่ ง ของเลเยอรจ ะปรากฎ Resize Handle ดั งรูป ที่ 11-11
ลอมรอบเลเยอรหลังจากนั้นในคลิกลาก Resize Handle เพื่อปรับขนาดของเลเยอร
ตามตองการ

รูปที่ 11-11 การขยายขนาดเลเยอรดวย Resize Handle

2. คลิกพื้นที่ที่อยูในเลเยอรแลวพิมพคาความกวางในฟลด Width และ ความสูงในฟลด


Height ใน Property Inspector

11.7.4 การเปลี่ยนตําแหนงของเลเยอร
ตําแหนงของเลเยอรจะอางอิงกับเว็บเพ็จวาเลเยอรหางจากดานบนและ ดานซายของเว็บ
เพ็จเปนจํานวนเทาไร ซึ่งการเปลี่ยนตําแหนงของเลเยอรสามารถทําไดหลายวิธีดังนี้
1. คลิ ก ลาก Selection Handle ที่ เ ราต อ งการเปลี่ ย นตํ า แหน ง ไปยั ง ตํ า แหน ง ที่ เรา
ตองการใน Document Window
2. คลิกพื้นที่ที่อยูในเลเยอรแลวพิมพระยะหางจากดานบนในฟลด T และ ระยะหางจาก
ดานซายในฟลด L ใน Property Inspector

11.7.5 การเพิ่มเนื้อหาลงในเลเยอร
การเพิ่มเนื้อหาลงในเลเยอรทําไดเชนเดียวกับที่เราเพิ่มเนื้อหาลงในเว็บเพ็จ ซึ่งมีขั้นตอน
ดังนี้
1. คลิกพื้นที่ที่อยูในเลเยอรที่ตองการเพิ่มเนื้อหา
2. พิมพขอความ เพิ่มรูปภาพหรือ วัตถุที่ตองการลงในเลเยอร

11.7.6 การแสดงและ ซอนเลเยอร


1. เปดพาเนล Layer โดยเลือกคําสั่ง Window -> Others -> Layers

www.marianasgraphix.com 11 - 10
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 11 : การใส Interactive Page Elements

2. คลิกที่ไอคอนรูปตา ในคอลัมนตาเพื่อแสดงหรือ ซอนเลเยอรที่ตองการ

11.7.7 การใช Behavior กับ Layer เพื่อควบคุมการแสดงผล


ใน Dreamweaver เราสามารถที่จะใช Behavior ในการควบคุมการแสดงผลของ Layer
ได โดย Behavior ที่ Dreamweaver มีใหใชจัดการกับเลเยอรคือ Drag Layer และ Show-Hide
Layer
Drag Layer เปน Behavior ที่ทําใหเราสามารถที่จะคลิกลากเลเยอรที่อยูในเว็บเพ็จไปวาง
ไวบริเวณใดก็ไดของเว็บเพ็จ ซึ่งการใช Drag Layer กับเลเยอรมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกเลเยอรที่ตองการใช Drag Layer
2. เปดพาเนล Behavior โดยเลือกคําสั่ง Window -> Behaviors
3. ในพาเนล Behavior คลิกที่ปุม + แลวเลือก Drag Layer
Show-Hide Layer เปน Behavior ที่ทําใหเราสามารถแสดงผลหรือ ซอนเลเยอรได ซึ่งการ
ใช Show-Hide Layer มีขั้นตอนดังนี้
1. เลื อ กข อ ความ รู ป ภาพหรื อ วั ต ถุ ที่ ต อ งการใช Show-Hide Layer ใน Document
Window
2. เปดพาเนล Behavior โดยเลือกคําสั่ง Window -> Behaviors
3. ในพาเนล Behavior คลิกที่ปุม + แลวเลือก Show-Hide Layer หลังจากที่คลิกจะป
รากฎไดอะล็อก Show-Hide Layer ดังรูปที่
4. เลือกเลเยอรที่ตองการกําหนดการแสดงผลในกลองรายการ Name Layers แลวคลิก
ที่ปุม Show ถาตองการใหแสดงผลหรือ คลิกที่ปุม Hide ถาตองการซอนหรือ คลิกที่
ปุม Default เพื่อใชคาที่เว็บบราวเซอรกําหนดให
5. ทําซ้ําในขั้นตอนที่ 4 กับเลเยอรอื่นที่ตองการจนครบตามที่ตองการ
6. คลิกที่ปุม OK เพื่อจบการใช Show-Hide Layer

www.marianasgraphix.com 11 - 11
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

บทที่ 12
การทดสอบ อัพโหลดและ ดูแลรักษาเว็บไซต

กอนที่เราจะอัพโหลด (Upload) เว็บไซตของเราที่สรางขึ้นไปไวที่เว็บเซิรฟเวอรและ ให


บุคคลทั่วไปเขาเยี่ยมชมนั้น เราควรจะมีการทดสอบเว็บไซตดังกลาวในเครื่องคอมพิวเตอรของเรา
เสียกอน สิ่งที่เราทดสอบอาจจะเปนการแสดงผลของเว็บไซตในเว็บบราวเซอรที่เรากําหนดไววาถูก
ตองหรือ ไม การลิงคไปแตละเว็บเพจมีสวนไหนที่ผิดพลาดบางและ ระยะเวลาที่ใหในการเปดเว็บ
เพจนานไปหรือไม เปนตน

12.1 การทดสอบการแสดงผลเว็บเพจในเว็บบราวเซอร
กอนที่เราจะสรางเว็บไซตเพื่อใหบุคคลทั่วไปเขามาเยี่ยมชมนั้น ในขั้นตอนของการวาง
แผนจะมีการกําหนดชนิดของเว็บบราวเซอรที่ใชเปดเว็บเพจของเรา ดังนั้นเราจึงตองมีการทดสอบ
การแสดงผลของเว็บเพจที่เราสรางขึ้นในเว็บบราวเซอรเพื่อใหแนใจไดวาเว็บเพจของเราแสดงผล
ได อย างถูกต องในเว็บบราวเซอรที่เรากําหนดไว ใน Dreamweaver จะมีเครื่องมื อที่ ชวยให เรา
สามารถที่ จ ะสรางเว็บ เพจที่ ส ามารถเป ด ดู ในทุ ก ๆ เว็บ บราวเซอรห รือ เฉพาะเว็ บ บราวเซอรที่
ตองการได
ใน Dreamweaver จะมีคุณสมบัติที่เรียกวา Check Target Browser ที่ใชตรวจสอบแทก
HTML ในเอกสารวาสามารถใชไดกับเว็บบราวเซอรที่เราตองการหรือไม ซึ่งขั้นตอนการทดสอบ
การแสดงผลเว็บเพจในเว็บบราวเซอรดวย Dreamweave มีดังนี้
1. ถาตองการตรวจสองเอกสารปจจุบันใหบันทึกไฟลปจจุบันกอนแตถาตองการตรวจ
สอบไฟลอื่นในไซตใหดับเบิลคลิกที่ชื่อไฟลในไซตที่ตองการใน Site Panel
2. เลือกคําสั่ง File -> Check Page -> Check Target Browser
3. จากรายการเว็บบราวเซอรในไดอะล็อก Check Target Browsers ดังรูปที่ 12-1
เลือกเว็บบราวเซอรที่ตองการใชตรวจสอบไซตของเรา

www.marianasgraphix.com 12 - 1
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

รูปที่ 12-2 ไดอะล็อก Check Target Browsers

4. คลิกที่ Check แลว Dreamweaver จะแสดงรายงานในพาเนล Target Browser


Check

รูปที่ 12-3 พาเนล Taget Browser Check

5. ถาตองการบันทึกรายงาน คลิกที่ปุม Save Report ในพาเนล Target Browser


Check

12.2 การเปดเว็บเพจในเว็บบราวเซอรผานทาง Dreamweaver


ในขณะที่เราออกแบบและ สรางเว็บเพจดวย Dreamweaver เราสามารถที่จะเปดเว็บเพจ
ดังกลาวในเว็บบราวเซอรผานทาง Dreamweaver ได ซี่งคุณสมบัติดังกลาวนี้จะทําใหเราสามารถ
ตรวจสอบความผิดพลาดตางๆ ในขณะที่พัฒนาเว็บเพจไดงายขึ้น
การเปดเว็บเพจที่เราสรางขึ้นในเว็บบราวเซอรผานทาง Dreamweaver นั้น เราไมจําเปน
ตองบันทึกไฟลดังกลาวกอนก็สามารถเปดได โดยเว็บเพจที่แสดงในเว็บบราวเซอรสามารถทํางาน
ไดเหมือนกับเว็บเพจที่มีการบันทึกแลว

www.marianasgraphix.com 12 - 2
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

การเปดเว็บเพจในเว็บบราวเซอรผานทาง Dreamweaver สามารถทไดโดยเลือกคําสั่ง File ->


Preview in Browser แลวเลือกเว็บบราวเซอรที่ตองการในรายการหรือ กดปุม F12 หรือ เลือกที่
icon บน Menu Bar

12.3 การตรวจสอบลิงคภายในเว็บเพจหรือ ไซต


ในบางครั้งลิงคตางๆ ที่เราสรางขึ้นในเว็บเพจ อาจจะเกิดความผิดพลาดขึ้นไดโดยเฉพาะ
การลิงคไปยังเอกสารที่ไมมีในเว็บเพจ ซึ่งอาจจะเกิดจากเอกสารดังกลาวถูกยายที่หรือ ถูกลบออก
ไปจากไซตดังกลาว
การตรวจสองลิงคจะเริ่มดวยการคนหาลิงคในไฟลปจจุบัน บางสวนของไซตหรือ ทั้งหมด
แลวทําการตรวจสอบลิงคเหลานั้นวาถูกตองหรือไม
ขั้นตอนการตรวจสอบลิงคในไฟลปจจุบัน
1. ถายังไมไดบันทึกไฟลปจจุบันใหทําการบันทึกกอน
2. เลือกคําสั่ง File -> Check Page -> Check Link หลังจากที่เลือกคําสั่งแลวรายงาน
จะถูกแสดงในพาเนล Link Checker ดังรูปที่ 12-4

รูปที่ 12-4 พาเนล Link Checker

3. ถาตองการบันทึกรายงานใหคลิกที่ปุม Save Report ใน Link Checker Panel

12.3.1 การตรวจสอบลิงคในบางสวนของไซต
1. ในพาเนล Site เลือกไซตที่ตองการจากไซตปอปอัพเมนู

www.marianasgraphix.com 12 - 3
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

2. เปลี่ยนมุมมองของพาเนล Site เปน Local View แลวเลือกไฟลหรือ โฟลเดอรที่


ตองการตรวจสอบ
3. เลือกคําสั่ง File -> Check Page -> Check Links หลังจากที่เลือกคําสั่งแลวรายงาน
จะถูกแสดงในพาเนล Link Checker
4. ในพาเนล Link Checker เลื อ ก Link Report ที่ ต อ งการในป อ ปอั พ เมนู Show เพื่ อ
ดูรายงานอื่น ซึ่งรายงานที่มีใหเลือกคือ Broken Links และ External Links
5. ถาตองการบันทึกรายงานใหคลิกที่ปุม Save Report ในพาเนล Link Checker

12.3.2 การตรวจสอบลิงคทั้งหมดในไซต
1. ในพาเนล Site เลือกไซตจากปอปอัพเมนู Current Site
2. เลือกคําสั่ง Site -> Check Link Sitewide รายการจะถูกแสดงในพาเนล Link
Checker
3. ใน Link Checker Panel เลือก Link Report ที่ตองการในปอปอัพเมนู Show ซึ่งราย
งานที่มีใหเลือกคือ Broken Links, External Links และ Orphaned files
4. ถาตองการบันทึกรายงานใหคลิกที่ปุม Save Report ในพาเนล Link Checker

12.4 การแกไขลิงคที่ผิดพลาด
หลังจากที่เราตรวจสอบลิงคภายในไซตแลวพบวาเกิดความผิดพลาดขึ้น เราสามารถที่จะ
แกไขลิงคดังกลาวใหถูกตองไดโดยการแกไขในพาเนล Link Checker หรือ Property Inspector
12.4.1 การแกไขลิงคผานพาเนล Link Checker
1. ในคอลัมน Broken Links ของพาเนล Link Checker เลือกลิงคที่ผิดพลาดที่ตองการ
แกไขหลังจากที่เลือกแลวจะมีไอคอนโฟลเดอรตามหลัง ดังรูปที่ 12-5

รูปที่ 12-5 การแกไขลิงคที่ผิดพลาดโดยใชพาเนล Link Checker

www.marianasgraphix.com 12 - 4
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

2. คลิกที่ไอคอนโฟลเดอรเพื่อคนหาและ เลือกไฟลที่ถูกตองที่จะทําการลิงคดวย
3. กดปุม Tab หรือ Enter หลังจากที่กดปุมแลวถาพบวามีลิกคที่ผิดพลาดตัวอื่น อางถึง
ไฟลตัวเดียวกันจะปรากฎไดอะลอกใหเราแกไขไฟลเหลานั้นดวย ถาเราตองการแกไข
ใหกดปุม Yes ถาไมกดปุม No

12.4.2 การแกไขลิงคผาน Property Inspector


1. ในพาเนล Link Checker ดับเบิลคลิกที่ชื่อไฟลในคอลัมน File หลังจากที่ดับเบิลคลิก
แลว Dreamweaver จะเปดไฟลดังกลาวพรอมกับเลือกลิงคหรือ รูปภาพที่มีการลิงค
ผิดพลาดและ แสดงแถบสีในฟลด Link ของ Property Inspector
2. กําหนดที่อยูของไฟลที่ถูกตองใน Property Inspector โดยการคลิกที่ไอคอนโฟลเดอร
เพื่อคนหาและ เลือกไฟลหรือ พิมพดวยตัวเอง
3. บันทึกไฟลที่เปดโดยเลือกคําสั่ง File -> Save

12.5 การเชื่อมตอไปยังเว็บเซิรฟเวอรดวยโปรโตคอล FTP ใน Dreamweaver


การเชื่อมตอไปยังเว็บเซิรฟเวอรเพื่อทําการรับสงไฟลในเว็บไซตที่เราสรางขึ้นนั้นสวนใหญ
จะนิยมใชโปรโตคอล FTP (เปนโปรโตคอลมาตราฐานในการรับสงไฟลใน WWW) ในการเชื่อมตอ
ใน Dreamweaver เราสามารถที่จะทําการรับสงไฟลโดยใชโปรโตคอล FTP ได โดยที่เรา
จะตองทําการกําหนดคาตางๆ ในไดอะล็อก Site Definition เสียกอนถึงจะสามารถทําการรับสง
ไฟลได ซึ่งขั้นตอนการกําหนดคาในไดอะล็อก Site Definition มีดังนี้
1. เลือกคําสั่ง Site -> Edit Sites
2. เลือกไซตที่ตองการในไดอะล็อก Edit Sites
3. คลิกที่ปุม Edit
4. จะปรากฎไดอะล็อก Site Definition เลือก Basic Tab
5. กดปุม Next ไปจนกระทั้งถึงขั้นตอน Sharing Files
6. ใหเลือกปุม Radio ที่มีขอความ Yes, I want to use a remote server แลวคลิกที่ปุม
Next
7. จะปรากฎหนาจอของขั้นตอน Sharing Files ในสวนที่สอง ในปอปอัพเมนู How do
you connect to your remote server? ใหเลือก FTP หลังจากที่เลือกแลวจะปรากฎ
ฟลดใหกรอกขอมูลเพิ่มเติม

www.marianasgraphix.com 12 - 5
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

8. ในฟลด What is the hostname or FTP address of your Web server ? ใหพิมพชื่อ
เว็บเซิรฟเวอรเก็บเราตองการนําเว็บไซตไปเก็บไว
9. ในฟ ล ด What floder on the server do you want to store your files in ? ให พิ ม พ
ชื่อโฟลเดอรที่ตองการอัพโหลดไฟลไปเก็บไว
10. ในฟลด What is your FTP Login ใหพิมพล็อกอินที่ไวเขาใชงานในเว็บเซิรฟเวอร
11. ใ น ฟ ล ด What is your FTP Password ใ ห พิ ม พ ร หั ส ผ า น ถ า ต อ ง ก า ร ใ ห
Dreamweaver จํารหัสผานไวใหคลิกเครื่องหมายถูกใน Checkbox หนา Save
12. กดปุม Test Connection เพื่อทดสอบการติดตอไปยังเว็บเซิรฟเวอร
หลังจากที่เรากําหนดคาตางๆ ที่ใชในการรับสงไฟลดวยโปรโตคอล FTP เสร็จแลว ขั้นตอ
มาก็คือ วิธีการรับสงไฟล ซึ่งเราจะทําผานพาเนล Site โดยมีขั้นตอนดังนี้

12.5.1 การดาวโหลดไฟลจากเว็บเซิรฟเวอร
1. เลือกไซตที่ตองการดาวโหลดไฟลจากเว็บเซิรฟเวอรจากปอปอัพเมนู Site ในพาเนล
Site
2. ในพาเนล Site คลิกที่ปุม Connect เพื่อเปดการเชื่อมตอไปยังเว็บเซิรฟเวอร
3. เลือกไฟลที่ตองการดาวโหลดในมุมมอง Site
4. คลิกที่ปุม Get ที่อยูบนแถบเครื่องมือในพาเนล Site เพื่อทําการดาวโหลดไฟลที่
เลือกไว

www.marianasgraphix.com 12 - 6
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

12.5.2 การอัพโหลดไฟลไปที่เว็บเซิรฟเวอร
1. เลือกไซตที่ตองการอัพโหลดไฟลไปที่เว็บเซิรฟเวอรจากปอปอัพเมนู Site ในพาเนล
Site
2. คลิกที่ปุม Connect เพื่อเปดการเชื่อมตอไปยังเว็บเซิรฟเวอร
3. เลือกไฟลที่ตองการอัพโหลดในมุมมอง Local
4. คลิกที่ปุม Put ที่อยูบนแถบเครื่องมือในพาเนล Site เพื่อทําการอัพโหลดไฟลที่
เลือกไว

12.6 การคนหาและ แทนที่ขอความในไฟล


ใน Dreamweaver เราสามารถที่จะคนหาขอความ ขอความที่อยูระหวางแทก HTML ขอ
ความที่เปนคุณสมบัติหรือ คาของคุณสมบัติของแทก HTML ในไฟลที่ตองการได โดยการคนหา
สามารถทําไดทั้งในไฟลที่กําลังทํางานอยู ในไฟลที่เลือกไวใน Site Panel ในไดเรกเทอรี่หรือ ใน
ไซต
ขั้นตอนการคนหาขอความและ แท็ก HTML ในไฟลมีดังนี้
1. ทําตามขั้นตอนใดขั้นหนึ่งดังตอไปนี้
• ในมุมมองออกแบบใน Document Window เลือก Edit -> Find and Replace
• ในมุ ม มองโค ด ให ค ลิ ก เมาส ปุ ม ขวาและ เลื อกคํ าสั่ ง Find and Replace จาก
Context menu จะปรากฎไดอะล็อก Find and Replace ขึ้นมาดังรูปที่ 12-6

รูปที่ 12-6 ไดอะล็อก Find and Replace

www.marianasgraphix.com 12 - 7
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

2. ในไดอะล็อก Find and Replace ในปอปอัพเมนู Find In เลือกสถานที่ที่ตองการคน


หาขอความ ซึ่งมีดังนี้
• Current Document กําหนดใหคนหาในเอกสารปจจุบัน
• Entire Local Site กําหนดใหคนหาทั้งไซต
• Selected Files in Site กําหนดใหคนหาในไฟลและ โฟลเดอรที่ถูกเลือกใน Site
Panel
• Floder กําหนดใหคนหาในโฟลเดอรที่กําหนดไว ถาเราเลือกขอนี้จะปรากฎฟลดที่
ใหกรอกชื่อโฟลเดอรหรือ คลิกที่ไอคอนโฟลเดอรเพื่อคนหาและ เลือกโฟลเดอรที่
ตองการ
3. ในปอปอัพเมนู Search เลือกลักษณะของการคนหาดังนี้
• Source Code กําหนดใหคนหาขอความในโคดภาษา HTML
• Text กํ า หนดให ค น หาข อ ความที่ ป รากฎใน Document Window ไม รวมแท ก
HTML
• Text (Advanced) กํ า หนดให ค น หาข อ ความทั้ ง ที่ อ ยู ร ะหว า งแท็ ก และ ไม อ ยู
ระหวางแทก HTML
• Specific Tag กํ าหนดให คน หาแท็ก แอตทริบิวตและ ค าแอตทริบิ วตของแท ก
HTML ที่กําหนดไว
4. ในกลุม Checkbox ของ Options เลือก Checkbox เพื่อกําหนดขอบเขตในการคนหา
ดังนี้
• The Match Case กําหนดใหคนหาขอความโดยตองตรงกันทั้งตัวใหญและ ตัว
เล็ก
• Ignore Whitespace Differences กําหนดใหคนหาขอความโดยถือวาชองวางที่
อยูระหวางขอความเปนชองวางเพียงหนึ่งชองเทานั้น
• The Use Regular Expression กํ า หนดให ขอ ความที่ ใช เป น ตั ว ค น หาถู ก แปล
ความหมายเปนตัวดําเนินการของ Regular Expression
5. ในขั้นตอนที่ 3 ถาไมไดเลือก Specific Tag จะปรากฎกลองขอความ Replace With
ดังรูปที่ 12-7 ซึ่งใชใสขอความที่เราตองการแทนที่ขอความที่เราคนหา

www.marianasgraphix.com 12 - 8
Dreamweaver MX : Fundamentals บทที่ 12 : การทดสอบ อัพโหลด และ ดูแลรักษาเว็บไซท

รูปที่ 12-7 กลองขอความ Replace With

6. แตถาเลือก Specific Tage จะปรากฎปอปอัพเมนูและ ฟลดของ Action ดังรูปที่ 12-


8 เพื่อใชในการกําหนดการทํางานเมื่อพบแท็กที่คนหาวาจะดําเนินการกับแท็กที่พบ
อยางไรบาง อยางเชน กําหนดคาแอตทริวบิวตใหมหรือ ลบแท็กดังกลาวทิ้ง เปนตน

รูปที่ 12-8 ปอปอัพเมนูและ ฟลดของ Action

www.marianasgraphix.com 12 - 9

You might also like