You are on page 1of 18

การสอนพิมพดีด

และแปนพิมพเบื้องตน
Teaching Basic Typewriting
and Keyboarding
เรื่อง ประวัติเครื่องพิมพดดี
และการฝกหัดพิมพดีด

โดย ดร. สมบูรณ แซเจ็ง


somboon2547@yahoo.com
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาอังกฤษ
จากหลักฐานทางประวัติศาสตรที่ปรากฏเริ่มเมื่อ...
• 7 มกราคม ค.ศ.1714(พ.ศ.2257) พระราชิ นี
แอนน แห งอั งกฤษได พระราชทานสิ ทธิ บัต ร(patent)
เครื่ อ งช ว ยเขี ย นตั ว อั ก ษรให แ ก Henry Mill นั ก
ประดิษฐชาวอังกฤษ

• ตอมาไดมีนักประดิษฐพยายามสรางเครื่องชวยเขียน
ตัวอักษรอีกมากกวา 50 คน ซึ่งมีทั้งผลงานที่สําเร็จ
และลมเหลวเชน ผลงานของ William Austin Burt
แห ง เมื อ ง Detroit รั ฐ Michigan ซึ่ ง เป น ผู ป ระดิ ษ ฐ
เครื่อ ง Typographer ใช ชวยเขี ย นตัว อั ก ษรไดเป น
คนแรกของอเมริก าเมื่ อ ป ค.ศ.1828(พ.ศ.2371)
โดยได รั บ สิ ท ธิ บั ต รจากประธานาธิ บ ดี Andrew Typographer ของ Burt
Jackson แตเครื่องตนแบบของเขาถูกเผาทําลายไป
ในเหตุ ก ารณ เ พลิ ง ไหม สํ า นั ก งานสิ ท ธิ บั ต รเมื่ อ ป
ค.ศ.1836(พ.ศ.2379)
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาอังกฤษ
• จนถึง ค.ศ.1867(พ.ศ.2410) Christopher Latham Sholes,
Carlos Glidden และ Samual W. Soule ชาวเมือง Milwaukee รัฐ
Wisconsin สหรัฐ อเมริกา ไดรวมกัน ประดิษ ฐเ ครื่ องพิ มพ ดีดที่
สามารถใชง านไดจริ งและจําหนายไดในเชิงพาณิช ยเปนเครื่อง
แรก โดยตั้งชื่ อสิ่ง ประดิษฐ ของเขาว า Type-Writer และไดรั บ
สิทธิบัตรในเดือนมิถุนายน 1868
เครื่องพิมพดีดของ Sholes
• เครื่องพิมพดีดของ Sholes เปนแบบแปนพิมพ 4 แถว พิมพโดย
การเคาะแป น อั ก ษรลงไป แต ผู พิ ม พ ยั ง ไม ส ามารถมองเห็ น Christopher L. Sholes
ตัวอักษรที่พิมพลงบนกระดาษได เพราะใชร ะบบแบบดีดแปน Lillion บุตรสาวของ Sholes ถือ
อักษรขึ้น (up- strike) จึง มีผู เรี ย กพิ มพ ดีดของเขาว า Blind- เปนนักพิมพดีดคนแรกของโลก
Writer พิมพดีดดวยเครื่องของบิดา ที่ผู
พิมพยังตองหมุนลูกบิดขึ้นเพื่อดู
• สวนการจัดวางตําแหนงแปนอักษรนั้น Sholes ไดออกแบบไป ขอความที่พิมพ
พรอมกับการสรางเครื่องพิมพดีด โดยมีผูเรียกแปนอักษรของเขา
วาแปนแบบ Universal มีลักษณะคลายกับ ที่ใชกัน ในปจ จุ บั น
ซึ่ ง ต อ มาได เ ปลี่ ย นมาเรี ย กว า แป น แบบ QWERTY และ
กลายเปนแปนพิมพมาตรฐานที่ใชกันทุกวันนี้

แปนแบบ Universal หรือ QWERTY


ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาอังกฤษ
• ตอมา Sholes ไดขายสิทธิการผลิตเครื่องพิมพดีดใหแกนักลงทุน
ชื่ อ Densmore และ Yost ในราคา 12,000 ดอลล า ร ซึ่ ง
Densmore และ Yost ไดตกลงกับบริษัท Remington & Sons ซึ่ง
เปนบริษัทผลิตปนและจักรเย็บผาใหเปนผูผลิตเครื่องพิมพดีด
ดังกลาวภายใตชื่อวา“Sholes and Gliden Type-Writer” ในป
ค.ศ.1873 (พ.ศ.2416)
Mark Twain พิมพดีดของ Sholes
• บริษัท Remington & Sons ไดนําเครื่องพิมพดีดของ Sholes ไป ผลิตโดยบริษัท Remington
พัฒนาจนมีรูปลักษณค ลายจักรเย็บ ผ า คื อมีแ ปนเหยี ยบเพื่ อ
เลื่อนกระดาษและมีลวดลายบนตัวเครื่องเชนเดียวกับจักรเย็บผา
แลว ยั ง ได พั ฒนาออกมาอีกหลายรุ น แต ก็ยั ง ไมเ ป น ที่นิ ย มนั ก
เพราะสังคมเห็นวาการใชพิมพดีดพิมพจดหมายนั้นเปนเรื่องเสีย
มารยาท

• จนกระทั่งในราวป ค.ศ.1874 Mark Twain นักประพันธชื่อกอง


ชาวอเมริกัน ระหวางเยือนเมือง Boston ไดเกิดความประหลาดใจ
ในความสามารถของพิมพดีด จึงไดซื้อเครื่องพิมพดีด Remington
ไปใชพิมพบทประพันธของเขา (The story of Tom Sawyer)
จดหมายที่ Twain พิมพดวยพิมพดีด
จากนั้นเปนตนมาเครื่องพิมพดีดจึงเปนที่รูจักกวางขวางมากขึ้น และโฆษณาของ Remington
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาอังกฤษ
หลังจากนั้นก็มีผูผลิตเครื่องพิมพดีด
ออกวางจําหนายอีกหลายยี่หอ

Caligraph 1880 Hall-Index machine Hammond 1884

ออกแบบโดย
Franz Xavier Wagner
นักประดิษฐชาวเยอรมัน
ซึ่งมีคุณลักษณที่กลายมาเปน
Blickensderfer 1893 มาตรฐานของเครื่องพิมพดีด
Underwood 1895
ทั่วไป
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาอังกฤษ
จากพิมพดีดธรรมดาสูพิมพดีดไฟฟา
• จากขอมูลที่ปรากฏพบวา Thomas Alva Edison นักประดิษฐคนสําคัญ
ของโลกชาวอเมริกั น ไดเ คยประดิ ษ ฐ เ ครื่ อ งพิม พดี ดที่ ทํา งานด วยไฟฟ า
มาแลวไมนานหลังจากที่ Edison ไดไปพบกับ Sholes เพื่อขอดูเครื่อง
พิมพดีดของเขา แตเครื่องพิมพดีดของ Edison มีขนาดใหญ รุงรังและ
ตนทุนสูง จึงไมไดนําออกวางตลาด
• จนเมื่อป ค.ศ.1902(พ.ศ.2445) George Canfield Blickensderfer
Thomas Alva Edison
นักอุตสาหกรรมชาวอเมริกันไดผลิตเครื่อง
พิมพดีดไฟฟาที่ทํางานไดดีเครื่องแรกขึ้น
ซึ่งใชกําลังไฟฟากระแสสลับ 104 Volts
60 Cycles ใชหัวพิมพแบบ Golf ball
ณ โรงงานในเมือง Stamford มลรัฐ
Connecticut เครือ่ งพิมพดดี ไฟฟา Blickensderfer Blickensderfer
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาอังกฤษ
IBM ผูบุกเบิกพิมพดีดไฟฟาในสํานักงาน
• วิวัฒนาการของเครื่องพิมพดีดไฟฟา IBM เกิดจากผลงานการประดิษฐ
ของ James Fields Smathers เมือง Kansas City รั ฐ Missouri ในป
ค.ศ.1914(พ.ศ.2457) และได พั ฒ นารุ น ที่ มี คุ ณ ภาพสู ง ขึ้ น ในป
ค.ศ.1920 จนถึ ง ป ค.ศ.1923 ก็ ไ ด ม อบสิ ท ธิ ก ารผลิ ต ให กั บ บริ ษั ท
Northeast Electric Company เมือง Rochester รัฐ New York ใหเปน
ผูผลิตและจําหนาย

• ตอมาในป ค.ศ.1928 บริษัท General Motors ไดเขามาควบรวมกิจการ


ของบริษัท Northeast Electric Company แตแผนกผลิตพิมพดีดไฟฟา
ไม ไ ด ย า ยตามไปด ว ย แต ไ ด ตั้ ง เป น บริ ษั ท ใหม ชื่ อ ว า Electromatic
Typewriter, Inc. พิมพดีดไฟฟา IBM Model 01
วางตลาดป ค.ศ.1935 (พ.ศ.2478)
หลังควบรวมกิจการของบริษัท
• จนเมื่อป ค.ศ. 1933(พ.ศ.2476)ก็ไดยุบรวมกิจการไปเปนแผนกหนึ่ง Electromatic Typewriter
ของบริษัท IBM (International Business Machine) และดวยคุณภาพการ
ผลิตรวมกับความสามารถทางการตลาดของ IBM ทําใหเครื่องพิมพดีด
ไฟฟา IBM เปนที่ยอมรับในวงการสํานักงานอยางกวางขวางไปทั่วโลก IBM Model 04
พิมพดีดไฟฟาเครื่องแรก
ที่สามารถจัดระยะชองไฟ
ไดอยางอัตโนมัติ
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาไทย
• เครื่ องพิ มพดีดภาษาไทยกําเนิดขึ้ นในรัช สมัย พระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 เมื่อ Mr. Edwin Hunter Macfarland หมอ
สอนศาสนาชาวอเมริกันที่เกิดในประเทศไทย ซึ่งมีตําแหนงเปน
เลขานุการสวนพระองค ในสมเด็จกรมพระยาดํารงราชานุภาพ
เสนาบดี กระทรวงธรรมการ ได เ กิด ความคิ ดที่ จ ะสร า งเครื่ อ ง
พิมพดีดภาษาไทยขึ้น

• พ.ศ.2434 เขาไดเดินทางไปยังสหรัฐอเมริกาเพื่อสํารวจวาจะมี โรงงาน Smith Premier เมือง Syracuse, New York


บริษัทใดที่สนใจผลิตเครื่องพิมพดีดเปนภาษาไทยบาง ซึ่งก็พบวา
บริษัท Smith Premier ในเมือง New York สนใจที่จะรวมผลิต
ดังนั้น Mr. Macfarland จึงไดรวมมือกับบริษัท Smith Premier ผลิต
ตนแบบเครื่องพิมพดีดภาษาไทยขึ้น โดยไดรวมออกแบบและวาง
ตํ า แหน ง ตั ว อั ก ษรไทยที่ จ ะใช ใ นเครื่ อ งพิ ม พ ดี ด ได สํ า เร็ จ

• ลักษณะเครื่องพิมพดีดไทย Smith Premier นั้น เปนแบบแครตาย


(แคร พิ ม พ ไ ม เ ลื่ อ น) และมี แ ป น พิ ม พ 7 แถว ไม มี แ ป น ยก
อักษรบน(Shift key) จึงยังไมสามารถพิมพโดยวิธีพิมพสัมผัสได เครือ่ งพิมพดดี ภาษาไทย Smith Premier แบบแปน 7 แถว
(Touch Typing)
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาไทย
• ในป พ.ศ.2435 Mr. Macfarland ไดนําเครื่องพิมพดีดภาษาไทยเครื่องแรกยี่หอ
Smith Premier เขามาถวายรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระองคไดทรงทดลองพิมพและพอพระ
ราชหฤทัย อย า งมาก จึ ง ถื อ ไดว า รั ช กาลที่ 5 เป น นั ก พิ ม พ ดี ด ไทยพระองค แ รก
หลังจากนั้นพระองคไดทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพดีดดังกลาวเขามาใชในราชการสยาม
เปนครั้งแรกจํานวน 17 เครื่อง

• ตอมาในป พ.ศ.2438 Mr. Edwin Macfarland ไดถึงแกกรรม


กรรมสิทธิ์ในเครื่องพิมพดีด Smith Premier จึงตกแต
Dr. George Bradley Macfarland (พระอาจวิทยาคม) ผูเปน
นองชาย ซึ่งเปนผูสั่งเครื่องพิมพดีดไทย Smith Premier เขามา
วางจําหนายในประเทศไทยเปนรุนแรกในป พ.ศ.2440 โดย
วางขายที่รานทําฟนของทานเอง จนถึง พ.ศ.2441 จึงไดตั้ง
หางสมิทพรีเมียรขึ้นที่หลังวังบูรพา ซึ่งปรากฏวาไดรับความ
นิยมอยางมากในวงราชการและบริษัทหางราน
พระอาจวิทยาคม
• ในป พ.ศ. 2458 หลังจากที่บริษัท Smith Premier ไดขายสิทธิการผลิตใหแกบริษัท
Remington แลว บริษัท Remington ไดยกเลิกการผลิตเครื่อง Smith Premier และหัน
ไปผลิตเครื่องแบบยกแครไดแทน แตไมคอยไดรับความนิยมจากคนไทยในยุคนั้น

สิ่งพิมพโฆษณา
ขายเครื่องพิมพดีด Smith Premier
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาไทย
เกษมณี VS ปตตะโชติ
• ในป พ.ศ.2465 Dr.George Macfarland เดินทางไปสหรัฐอเมริกา
และได ร ว มให คํ า ปรึ ก ษาแก บ ริ ษั ท Remington ถึ ง การผลิ ต
เครื่ องพิม พดีด ไทยขนาดเล็ กที่ สามารถพิ มพสั มผั สสิ บนิ้ว ได จน
สามารถทําไดสําเร็จเปนแปนแบบ 4 แถว และไดนําเครื่องพิมพดีด
รุนดังกลาวเขามาเผยแพรในประเทศไทยจนไดรับความนิยมแทนที่
เครื่อง Smith Premier ในเวลาตอมา แตก็ยังมีปญหาเรื่องการพิมพที่
ยังขัดกับวิธีการเขียนภาษาไทยอยูบาง

• ตอมา Dr.George Macfarland ไดรวมกับพนักงานในหางของทาน 2


คน ทําการออกแบบและจัดวางแปนอักษรเสียใหมเพื่อแกปญหาที่มี แปนแบบเกษมณี
อยู โดยมีนายสวัสดิ์ มากประยูร เปนชางประดิษฐกานอักษร และ มีตําแหนงแปนเหยาเปน ฟ ห ก ด  า ส ว
นายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี (นายกิมเฮง) เปนผูออกแบบการวาง
ตําแหนงแปนอักษร โดยวางตัวอักษรที่มีสถิติใชบอยในตําแหนงที่
พิม พไ ด งา ย ซึ่ ง พิจ ารณาจากหนั งสื อ ตา งๆ จํ านวน 38 เล ม รวม
167,456 คํา โดยใชเวลา 7 ปจึงสําเร็จเมื่อป พ.ศ.2474 และเรียก
แปนชนิดนี้วาแปนแบบ “เกษมณี” ตามชื่อผูออกแบบ จนกลายเปน
แปนแบบมาตรฐานถึงปจจุบัน
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาไทย
เกษมณี VS ปตตะโชติ
• ต อ มานายสฤษดิ์ ป ต ตะโชติ ตํ า แหน ง นายช า งเอก กรม
ชลประทาน ได ศึ ก ษาพบว า แป น พิ ม พ แ บบเกษมณี ยั ง มี
ขอบกพรอง คือขาดความสมดุลในการวางตําแหนงแปนอักษร
ระหวางมือซายและขวา เพราะพบวามือขวาตองทํางานถึง 70%
ในขณะที่มือซายทํางานเพียง 30% เทานั้น และนิ้วกอยมือขวาซึง่
เปนนิ้วที่ออนแอกลับตองทํางานมากกวานิ้วชี้มือซายซึ่งแข็งแรง
กวา สงผลใหการพิมพดีดไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร

• โดยการสนับสนุนจากสภาวิจัยแหงชาติ นายสฤษดิ์ ปตตะโชติ ได


ทํ า การศึ ก ษาวิ จั ย เพื่ อ ออกแบบตํ า แหน ง แป น อั ก ษรใหม ที่ มี
ประสิทธิภาพกวาเดิม โดยการสุมเลือกหนังสือหลากหลายสาขา แปนพิมพแบบปตตะโชติ
รวม 50 เล ม แต ล ะเล ม สุ ม ออกมา 1000 ตั ว อั ก ษร รวม
50000 ตัวอักษร แลวสํารวจวาใน 1000 ตัวอักษรนั้นมีอักษร
ตัวใดใชพิมพมากนอยเพียงใดลดหลั่นกันลงมาตามลําดับ แลวจึง
นําตัวอักษรที่เก็บสถิติไวนี้มาใชเปนแนวทางจัดวางแปนพิมพดีด
ใหม โดยถือหลักวาอักษรที่ใชบอยใหอยูในตําแหนงนิ้วที่แข็งแรง
ไมเกิน 3 แถวลางตามลําดับโดยมีแถวที่สองเปนศูนยกลาง จาก
การทดลองและปรับปรุงจนในที่สุดก็ไดแปนภาษาไทยแบบใหม
เรียกชื่อวาแปนแบบ “ปตตะโชติ” ตามสกุลของผูออกแบบในป
พ.ศ.2509
ประวัติเครื่องพิมพดีดภาษาไทย
เกษมณี VS ปตตะโชติ

• ผลจากการทดลองเปรี ย บเที ย บการสอนพิ ม พ ดี ด ด ว ย


เครื่ องแบบปต ตะโชติกับ แบบเกษมณี จากกลุมตัว อย า ง
100 คน ที่แ บ งเปน 2 กลุม ใชเ วลาฝกหัด 100 ชั่ วโมง
(8 เดือน) ปรากฏว ากลุมที่เ รีย นแบบปตตะโชติสามารถ
พิมพไดเร็วกวาถึง 26.8 %

• ถึงกระนั้นก็ยังมีผูรูหลายคนออกมาวิจารณถึงจุดออนและ
ความไม เ หมาะสมบางประการของแป น แบบป ต ตะโชติ
ประกอบกับคนไทยสวนใหญเคยชินกับการพิมพดวยแปน
เกษมณีแ ล ว จึ ง ทํา ให แ ปน แบบปตตะโชติไ มไ ดรั บ ความ
นิยมจนหายไปในที่สุด (ปจ จุบัน เหลือนักพิมพ ดีดรุน เกา
ไม กี่ ค นที่ ยั ง ค งใช แป น แบบป ต ตะโช ติ ) แต เ ค รื่ อ ง
คอมพิวเตอรในปจจุบันสามารถเลือกใชสลับระหวางแปน
ทั้งสองแบบได
ประวัติการฝกหัดพิมพดีด
• ระยะแรกที่เครื่องพิมพดีดเริ่มเผยแพรออกไป บริษัทผูผลิตมักเนน
แต ก ารขายไม มี ก ารอบรมวิ ธี พิ ม พ ใ ห ลู ก ค า วิ ธี ก ารพิ ม พ ดี ด จึ ง มี
หลากหลายแลว แตค วามถนั ดของคนใช ไมมี รู ปแบบการพิม พ ที่
แนนอน บางคนก็ใชเพียง 2 นิ้ว บางก็ใช 4 นิ้ว บางก็ใช 6 นิว้ จิม้ ไป
พรอมกับมองแปนพิมพ ซึ่งเปนวิธีพิมพที่เรียกวา Hunt and Peck
(จิ้มดีด) จึงทําใหโรงเรียนธุรกิจของเอกชนเล็งเห็นความสําคัญของ
การสอนพิมพดีดขึ้นมา

• จากหลักฐานที่พบเชื่อวาโรงเรียน Scott-Browne ในเมือง New York


เป น โรง เรี ย น แ ร ก ที่ เ ป ด สอ น วิ ช า พิ ม พ ดี ด ใ น ป ค .ศ .1878
(พ.ศ.2421) ในขณะที่บางคนเชื่อวาวิทยาลัย Packard ที่ตั้งขึ้นเมื่อ
ค.ศ.1867 ในเมื อง New York เป น สถาบั นแห งแรกที่ สอนวิ ช า
พิมพดีดเชนกัน แตถึงกระนั้นการสอนก็ยังเปนแบบลองผิดลองถูก มี
ทั้งวิธีพิมพแบบ 2 นิ้วและแบบอื่นๆ ไมมีมาตรฐานใดๆ ผูเรียนยังคง
ตองใชความถนัดของตนเองเปนหลัก

• แล ว ในป ค.ศ. 1881 สตรี 8 คน ที่ ไ ด รั บ การฝ ก หั ด พิ ม พ ดี ด ใน


หลักสูตร 6 เดือนเปนรุนแรกของสมาคม YWCA แหงเมือง New
York ก็ไดมีโอกาสเขาทํางานในสํานักงานตางๆ ทันทีที่เรียนจบ ซึ่ง
เปนการเปดโอกาสใหสตรีไดมีบทบาทในสํานักงานตั้งแตนนั้ มา ความ
สนใจฝกหัดพิมพดีดจึงขยายตัวขึ้นอยางกวางขวาง
ชั้นเรียนพิมพดีดในป ค.ศ.1890 (พ.ศ.2433)
ประวัติการฝกหัดพิมพดีด
• แมจะมีคนสนใจเขาฝกหัดพิมพดีด และมีโรงเรียนเปดสอน
มากมาย แต ก็ยั ง ไม มีรู ป แบบการสอนที่เ ป น ระบบ บรรดา
แบบฝกหัดก็มักใชขอความจากหนังสือหรือสิ่งพิมพตางๆเปน
แบบใหผูเรียนฝก จนกระทั่งป ค.ศ.1876(พ.ศ.2419) Frank
McGurrin ชาวเมือง Salk Lake City รัฐ Alabama ไดเสนอ
วิธีการพิมพดีดแบบสัมผัส(Touch Method) โดยการพิมพดวย
นิ้วทั้ง 8 และไมมองแปนอักษร ซึ่งเขาสามารถพิมพไดเร็วถึง
90 คําตอนาที แตก็ยังไมเปนที่สนใจของผูคนนัก

• ในป ค.ศ.1880(พ.ศ.2423) Edward F. Underhill ไดเขียน


แบบเรียนพิมพดีดเลมแรกชื่อวา Handbook of Instruction of ชั้นเรียนพิมพดีด
the Typewriter และตอมาในป ค.ศ.1882(พ.ศ.2425) นาง ในวิทยาลัย Albany Business ป ค.ศ.1894
M.V. Longley ไดนํ าวิ ธีพิมพดีดแบบสัมผัสเขามาสอนใน
โรงเรียน Longley’s Shorthand and Typewriting Institute เปน
แหง แรกจนประสบความสําเร็ จ พร อมกับ ตีพิ มพ แบบเรีย น
ของตนเองชื่อ Typewriters Lessons ออกมาใช ซึ่งแบบเรียน
พิมพดีดในระยะแรกนั้น สวนใหญจะเนนไปที่เนื้อหาที่จะพิมพ
มากกวาเนนที่วิธีการพิมพ
ประวัติการฝกหัดพิมพดีด
• จนถึงป ค.ศ. 1888(พ.ศ.2431) ณ เมือง Cincinnati รัฐ Ohio เมื่อ
Frank McGurrin ไดแสดงใหผูคนประจักษในประสิทธิภาพของการ
พิมพแบบสัมผัส เมื่อเขาสามารถแขงขันพิมพดีดชนะ Louis Traub
ซึ่งเปนแชมปพิมพดีดแบบ 4 นิ้ว ชัยชนะของ McGurrin กระจายไป
ทั่วประเทศ และวิธีการพิมพแบบสัมผัสก็ไดรับความสนใจอยาง
กวางขวางแตนั้นมา จนกลายเปนวิธีการพิมพดีดแบบมาตรฐานใน
ปจจุบัน

• ถึงกระนั้นวิธีพิมพสัมผัสก็ยังไมมีรูปแบบแนนอนในการฝกฝน จน ตําแหนงการวางนิ้วระบบ Van Sant


ในป ค.ศ.1889(พ.ศ.2432) Bates Torrey ไดตีพิมพแบบเรียน
พิมพดีดแบบสัมผัสออกเผยแพรชื่อวา Manual for Practical Typing
แตก็มีจุ ดออนตรงที่ยังไมไ ดกําหนดตํา แหนงการวางนิ้วและการ
เคาะแปนที่แนนอนของแตละนิ้วไว เชนอักษรตัว r สามารถใชนิ้วที่
ต า งกัน ได เมื่ อ อยู ใ นคํ า ที่ ต า งกั น จนต อ มา Cuspus Van Sant
นักศึกษาดานจิตวิทยาและเปนครูสอนพิมพดีดซึ่งเชื่อวาสมองจะ
ทํางานไดดีถากฎเกณฑการเรียนรูมีความชัดเจน โดยเขาไดกําหนด
แบบเรียนพิมพดีด
ตําแหนงการวางนิ้ว และการเคาะแปนที่แนนอนบนแปนพิมพดี ด แบบสัมผัสในระบบของ
โดยถือหลักวา แต ละนิ้วต องเคาะไดม ากกวา 1 แปน และนิ้ว ชี้ซึ่ง Van Sant
แข็งแรงที่สุดจะตองรับภาระเปน 2 เทาของนิ้วอื่น อันเปนแบบแผน
ที่ใชกันมาถึงทุกวันนี้
ประวัติการฝกหัดพิมพดีด
• สําหรับในประเทศไทยจากขอมูลที่คนพบ โรงเรียนสอนพิมพดีดของ
เอกชนแหงแรกเปดขึ้นที่ตึก 3 ชั้น ของหางแมคฟารแลนด มุมถนน
สุริวงศ ซึ่งเปนหางขายเครื่องพิมพดีด Remington เมื่อป พ.ศ.2470
สาเหตุที่เปดสอนก็เพราะมีสตรี 3 คนมาขอเรียนพิมพดีด คือ นส.
บุญเรือน ชูวิทย นส.สะอาด วัฒนจัง และ นส.ไสว ปวนะฤทธิ์ ทาง
หางจึงเปดสอนวิธีพิมพดีดแบบสัมผัสขึ้น โดยขณะนั้นยังไมมีตํารา
พิมพดีดภาษาไทย จึงตองหัดจากตําราภาษาอังกฤษและฝกพิมพจาก
หนังสือพิมพรายวัน ซึ่งทั้งสามคนเรียนอยู 6 เดือนก็สําเร็จ การสอน
พิมพดีดก็หยุดลงอีก

• จนป พ.ศ.2473 บริษัทแมคฟารแลนด จึงเปดโรงเรียนขึ้นที่ตึกตรง


ขามโรงแรมโทรกะเดโร ถ.สุริวงศ และเปดอีกสาขาที่ตึกตรงขามวัง
บูรพาภิรมย ถ.มหาชัย ปรากฏวามีผูนิยมมาก ทางบริษัทจึงตองยาย
มารวมกันที่หางสมิทพรีเมียร มุมถนนบูรพาตัดถนนเจริญกรุง โดย
เก็บคาเลาเรียน 5 บาทตอเดือน มีผูมาสมัครเรียนรวมกันกวา 500
คน ตอมาในป พ.ศ.2478 จึงไดรวมหางเรมิงตัน ที่มุมถนนสุริวงศมา
ไวที่หางสมิทพรีเมียร และภายหลังไดยายไปตั้งที่สี่กั๊กพระยาศรี ถนน
เจริญกรุง

You might also like