You are on page 1of 11

นักประดิ ษฐ์ และสิ่ งประดิ ษฐ์เปลี่ยนโลก

ชีวติ จะเป็ นอย่างไร หากไม่มกี ารประดิษฐ์คดิ ค้นเหล่านี้


เรา ๆ เกิดมาพร้อมกับสิง่ อานวยความสะดวกต่าง ๆ ทีม่ คี นคิดค้นและประดิษฐ์ไว้ให้กบั โลกแล้ว แต่
เคยสงสัยไหมว่าของแต่ละอย่างใครกันที่ “ช่างคิด” ในการประดิษฐ์สงิ่ ของเหล่านี้ขน้ึ มา
ถ้าอย่างนัน้ ลองมาทาความรูจ้ กั กับ นักวิทยาศาสตร์ ทีเ่ ป็ นผูป้ ระดิษฐ์คดิ ค้น จนเป็ นจุดกาเนิดความล้า
ชนิดทีว่ ่า “คิดได้ไง” แล้วจะรูว้ ่า ถ้าพวกเขาไม่ประดิษฐ์สงิ่ เหล่านี้ ชีวติ เราจะเป็ นอย่างไร

1.ล้อ(Wheel)
หนึ่งในสิง่ ประดิษฐ์ทางวิศวกรรมทีเ่ ปลีย่ นแปลงโลกนี้มากทีส่ ุดชิ้นหนึ่ง หลักฐานวงล้อทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ุดย้อน
ไปช่วงยุคเมโสโปเตเมียเมื่อราวๆ 3,500 ปี ก่อนคริสตกาล ล้อไม่ใช่แค่ทาให้เดินทางและการขนส่งง่ายขึน้ ยัง
เป็ นฐานของเทคโนโลยีนวัตกรรมอื่นๆทีต่ ามมาอีกมากมาย หากมองภาพรวมจริงๆ ล้อ นัน้ อาจจะไม่ใช่สงิ่ หลัก
ทีท่ าให้เป็ นสิง่ ประดิษฐ์ทเี่ ปลี่ยนโลก แต่เป็ นการนาล้อรวมกับแกนทีม่ นคงและสามารถพามั
ั่ นเคลื่อนไปได้เช่น
รถยนต์ รถลากต่างๆ
2.แท่นพิ มพ์(Printing Press)
โยฮันน์ กูเทนเบิร์ก (Johannes Gutenberg)
โยฮันน์ กูเทนแบร์ก (ค.ศ. 1400 – 1468) เป็ นช่างเหล็ก ช่างทอง และนักประดิษฐ์ชาวเยอรมันผูพ้ ฒ ั นา
เทคโนโลยีการพิมพ์ซ่งึ นาไปสู่การปฏิวตั กิ ารพิมพ์อนั เป็ นก้าวสาคัญของการเข้าสู่ยุคสมัยใหม่ของมนุษย์
กูเทนแบร์กไม่ได้เพียงแค่ประดิษฐ์แท่นพิมพ์แบบกดรุ่นใหม่ทพี่ ฒ
ั นาจากเครื่องอัดแบบเกลียวทีใ่ ช้ทาเหล้าองุ่น
เท่านัน้ เขายังคิดค้นเทคนิคการนาโลหะผสมมาหล่อเป็ นตัวพิมพ์แบบถอดได้ซ่งึ ช่วยให้สามารถผลิตตัวพิมพ์ได้
รวดเร็วแม่นยา ต้นทุนต่า และทนทาน รวมทัง้ การนาหมึกพิมพ์แบบผสมน้ามันมาใช้ในการพิมพ์หนังสือ
กูเทนแบร์กใช้เวลานานหลายปี ในการพัฒนาระบบและอุปกรณ์การพิมพ์ของเขาจนสาเร็จในปี 1455 โดยผลงาน
สาคัญชิ้นแรกเป็ นการพิมพ์คมั ภีร์ไบเบิลฉบับกูเทนแบร์กทีม่ กั เรียกกันว่าไบเบิล 42 บรรทัด (42-line Bible) ซึ่ง
พิมพ์ออกมาราว 180 เล่ม
สิง่ ประดิษฐ์ของกูเทนเบิร์ก มีเพียงอย่างเดียวเท่านัน้ คือ เครื่องพิมพ์ แต่กลับเป็ นสิง่ ประดิษฐ์ทมี่ ผี ลต่อการ
เปลีย่ นแปลงของโลกวิทยาศาสตร์เลยก็ว่าได้ ก่อให้เกิดการปฏิวตั วิ ทิ ยาศาสตร์ในยุโรป เพราะการมีเครื่องพิมพ์
ทาให้คนทัวไปสามารถเข้
่ าถึงการอ่านการเขียนได้ ไม่จากัดเฉพาะชนชัน้ สูงอีกต่อไป
นันท
่ าให้คนทัวไปสามารถเสพข่
่ าวสาร ความรู้ ได้กว้างขวางกระจายไปทุกแห่ง อีกทัง้ ยังทาให้การแลกเปลีย่ น
ความรูค้ วามคิดทาได้ง่ายขึน้ เกิดการจดลิขสิทธิขึ์ น้ มา และส่งผลถึงการพัฒนาการในเรื่องอื่น ๆ อีก ทัง้ ศิลปะ
วรรณกรรม ดนตรี ปรัชญา ด้วยสามารถพิมพ์เอกสารแจกจ่ายคนได้ทวโลก ั่ เข้าถึงได้ทุ กคน
การพัฒนาเทคโนโลยีการพิมพ์ของกูเทนแบร์กส่งผลให้เกิดการเปลีย่ นแปลงมากมายทัวโลก ่ หนังสือถูกผลิตขึน้
มากมายมหาศาล ข่าวสารถูกส่งต่อแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ความรูไ้ ด้รบั การเผยแพร่ออกไปอย่างกว้างขวาง
ก่อให้เกิดการพัฒนาตามมาอย่างต่อเนื่อง คล้ายๆกับการเกิดขึ้นของอินเตอร์เน็ตในปั จจุบนั
ผลกระทบของ Gutenberg อาจสรุปได้ดงั นี้
1) การอ่านเขียนกลายเป็ นสมบัตขิ องประชาชน โดยข่าวสาร ความคิด และความรูก้ ระจายไปทัวทุ ่ กชนชัน้ และ
เกิดความรูม้ ากยิ่งขึน้ การตีพมิ พ์วารสารวิชาการทาให้เกิดมีลขิ สิทธิ ์ และเกิดการแลกเปลีย่ นต่อยอดความ
คิดเห็นขึน้

2) ทาให้เกิดยุคสมัยของสื่อสารมวลชน การกระจายตัวขององค์ความรูแ้ ละความคิดเสรีนิยมเปลี่ยนแปลงความ


นึกคิดของผูค้ นในสังคมจนมีส่วนทาให้โครงสร้างสังคมเปลีย่ นแปลงไปอย่างถาวรทัง้ ในยุโรปและในเอเชียใน
เวลาต่อมา

3) ผูม้ อี านาจและความเชื่อดัง้ เดิมถูกท้าทายเมื่อผู้คนสามารถสื่อสารแนวคิด เรียนรูส้ งิ่ ต่างๆ และสื่ออารมณ์ถงึ


กันได้อย่างสะดวกกว่าเดิม นอกจากนี้ยงั มีความถูกต้องไม่ผดิ เพีย้ นโดยคาบอกเล่าหรือโดยหนังสือซึ่งคัดลอกมา
ผิดพลาดอีกด้วย

4) เกิดการแพร่กระจายของคริสต์ศาสนาผ่านการพิมพ์ไบเบิลนับล้านๆ เล่มสู่ประชาชนในแทบทุ กมุมโลก คงไม่


ผิดถ้าจะกล่าวว่า Gutenberg มีอทิ ธิพลอย่างมากต่อการแพร่กระจายของคริสต์ศาสนา

5) หลายภาษาในยุโรปมีความเป็ นตัวตนมากขึน้ เพราะการพิมพ์จนนาไปสู่ความรูส้ กึ ชาตินิยมและความคิดใน


เรื่องรัฐ-ชาติ การเกิดขึน้ ของสงครามศาสนาและอีกหลายสงครามในเวลาต่อมาเป็ นผลพวงจากอิทธิพลของ
Gutenberg อย่างไม่อาจปฏิเสธได้

คุณูปการต่อโลก : การเกิดขึน้ ของเครื่องพิมพ์ Gutenberg เป็ นปั จจัยสาคัญทีน่ าไปสู่ยุคฟื้ นฟูครัง้ ใหญ่ (The
Renaissance) ซึ่งเป็ นยุคของทัศนะมนุษยนิยมซึ่งต่างจากในยุคกลางทีม่ พี ระเจ้าเป็ นศูนย์กลางของชีวติ นันคื ่ อ
การเชื่อมันในความสามารถที
่ จ่ ะพัฒนาตนเองของมนุษย์โดยอาศัยเหตุผลและวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ ไม่ต้อง
อาศัยอานาจเหนือธรรมชาติ การมองโลกแบบนี้ทาให้เกิดเสรีภาพใหม่ในการพัฒนาตนเอง มีการพัฒนาการใน
เรื่องของศิลปะและสถาปั ตยกรรม, วรรณคดี, ดนตรี, ปรัชญา, และวิทยาศาสตร์
3.เครื่องจักรไอน้ำ(Steam Engine)
สิ่งประดิษฐ์ทยี่ งิ่ ใหญ่จนทาให้เกิดการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรม กับ เครื่องจักรไอน้า
James Watt เจมส์ วัตต์ (ค.ศ. 1736 – 1819) เป็ นนักประดิษฐ์และวิศวกรเครื่องกลชาวสกอตแลนด์ได้พฒ ั นา
เครื่องจักรไอน้า และได้รบั สิทธิบตั รในปี ค.ศ. 1775 ซึ่งจุดประสงค์หลักก็เพื่อสร้างพลังงานในการสูบน้าออกจาก
เหมือง แต่เมื่อถึงยุค ค.ศ. 1780 เป็ นต้นไป มันก็ถูกประยุกต์ใช้กบั การสร้างพลังงานให้แก่เครื่องจักรชนิดอื่น ๆ
ก่อให้เกิดการพัฒนาโรงงานกึ่งอัตโนมัตขิ น้ึ อย่างรวดเร็วในระดับทีก่ ่อนหน้านี้ไม่ได้คาดการณ์ไว้มาก่อน โดย
เป็ นครัง้ แรกในหน้าประวัตศิ าสตร์ทผี่ คู้ นไม่ต้องพึง่ พาแรงงานมนุษย์ แรงงานสัตว์ จากลมหรือจากน้าอีกต่อไป
เครื่องจักรไอน้าจึงถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย เช่น ใช้สูบน้าออกจากเหมือง, ใช้ลากล้อเลื่อนบรรทุกถ่านหินขึน้ มา
ยังผิวโลก ใช้เป่ าลมเข้าสู่เตาหลอมเหล็ก ใช้บดดินในอุตสาหกรรมเครื่องปั ้ นดินเผา และใช้สร้างพลังงานแก่
โรงงานทุกประเภท เครื่องจักรไอน้าของวัตต์จงึ ได้รบั ความนิยมและถูกนาไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆมากมาย
จนกลายเป็ นแรงขับเคลื่อนสาคัญต่อการปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมทัง้ ในประเทศอังกฤษและทัวโลก ่
นอกจากนี้เครื่องจักรไอน้ายังทางานได้ดมี ปี ระสิทธิภาพสูงและเป็ นต้นแบบให้กบั เครื่องยนต์ใช้น้ามันในปั จจุบนั

4.หลอดไฟ(Lightbulb)
หลอดไฟฟ้ าทีเ่ ราคุน้ เคยและใช้กนั อยู่นนั ้ มาจากแนวคิดเมื่อ 150 ปี ทแี่ ล้ว ในยุคบุกเบิกหลอดไฟฟ้ าอยู่
ในช่วงต้นศตวรรษที่ 19 โดย Humphry Davy ผูท้ ดลองและประดิษฐ์แบตเตอรีไ่ ฟฟ้ า เขาได้ทดลองต่อสายไฟ
ระหว่างแบตเตอรีก่ บั ชิ้นส่วนคาร์บอน เมื่อครบวงจร คาร์บอนนัน้ ก็เปล่งแสงออกมา ตอนนัน้ เป็ นทีร่ จู้ กั กันในชือ่
The electric arc lamp.
จากนัน้ ประมาณเจ็ดทศวรรษนักประดิษฐ์มากมายก็ได้สร้าง หลอดไฟ ขึน้ มาแต่กย็ งั มี ขอ้ จากัดมากมายทาให้
ยังไม่สามารถใช้ได้ในเชิงพาณิชย์ จนในปี 1850 นักประดิษฐ์ชาวอังกฤษชื่อว่า Joseph Wlison Swan ได้
ประดิษฐ์หลอดไฟ ทีใ่ ช้การห่อไส้กระดาษคาร์บอไนซ์ไว้ในหลอดแก้ว แต่อายุการใช้งานของมันนัน้ สัน้ เกินไปแม้
จะมาปรับปรุงอีกครัง้ ให้มอี ายุนานขึน้ แล้วก็ตาม แต่นี้กเ็ ป็ นจุดเริม่ ต้นให้ Thomas A. Edison พัฒนาการ
ออกแบบของ Swan’s โดยเปลี่ยนมาใช้เส้นในโลหะ จนเขาได้ย่นื จดสิทธิบตั ร และเขาก็ได้คน้ พบเส้นในจากไม้
ไผ่ทที่ าให้หลอดไฟนัน้ สามารถใช้งานได้นานถึง 1200 ชัวโมง ่ การค้นพบนี้เองทาให้หลอดไฟเป็ นทีร่ จู้ กั และเป็ น
จุดเริม่ ต้นทีท่ าให้ หลอดไฟ ได้ส่องสว่างไปทัวโลก

ทอมัส เอดิสนั (Thomas Edison)
ทอมัส เอดิสนั (ค.ศ. 1847 – 1931) เป็ นยอดนักประดิษฐ์คนสาคัญของโลกชาวอเมริกา ผลงานของเขาหลาย
ชิ้นได้เปลี่ยนวิถชี วี ติ ของผูค้ นให้เป็ นสังคมสมัยใหม่
เอดิสนั เป็ นตัวอย่างของคนทีป่ ระสบความสาเร็จด้วยความอุตสาหะขยันหมันเพี
่ ยร เขาแทบจะไม่เคยได้เรียน
หนังสือในโรงเรียน แต่ทาการศึกษาค้นคว้าทดลองด้วยตัวเองตัง้ แต่วยั เด็กจนถึงบัน้ ปลายของชีวติ
เอดิสนั สามารถนาเงินทีไ่ ด้จากการขายสิทธิบตั รผลงานทีเ่ ขาประดิษฐ์ได้ช้นิ แรกมาสร้างโรงงานทีม่ ี
ห้องปฏิบตั กิ ารวิจยั ในตัวซึ่งกลายเป็ นต้นแบบของโรงงานอุตสาหกรรมสมัยใหม่ดว้ ยวัยเพียง 23 ปี
แม้ว่าเอดิสนั จะไม่ใช่คนแรกทีป่ ระดิษฐ์หลอดไฟฟ้ า แต่เขาเป็ นผูท้ คี่ ดิ ค้นพัฒนาหลอดไฟฟ้ าทีใ่ ช้งานตาม
บ้านเรือนได้สาเร็จ ไม่เพียงเท่านี้เขายังเป็ นผูส้ ร้างโรงจ่ายกระแสไฟฟ้ าทีเ่ มืองนิวยอร์ก ลากสายไฟฟ้ าไปทัว่
เมืองให้ทุกคนมีโอกาสใช้ไฟฟ้ าอย่างทัวถึ ่ งกัน และส่งผลให้การใช้ชวี ติ ประจาวันของผูค้ นทัวโลกเปลี
่ ย่ นไปโดย
สิน้ เชิง
เอดิสนั เป็ นผูป้ ระดิษฐ์เครื่องบันทึกเสียง, เครื่องบันทึกภาพเคลื่อนไหว ซึ่งต่อมาเขาได้นามารวมกันกลายเป็ น
เครื่องถ่ายทาภาพยนตร์ เขายังเป็ นผูป้ ระดิษฐ์แบตเตอรี่ เครื่องผสมปูนซิเมนต์ และสิง่ ประดิษฐ์อ่นื ๆอีกนับพัน
ชิ้น
เอดิสนั มีสทิ ธิบตั รสิง่ ประดิษฐ์ภายใต้ช่อื ของเขาเป็ นจานวนถึง 1,093 ชิ้น ก่อตัง้ บริษทั ด้านไฟฟ้ าอีกหลายบริษทั
รวมทัง้ เจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) บริษทั เครื่องใช้ไฟฟ้ าขนาดใหญ่ของโลก
ผลงานเด่น :
– ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้ า
– ประดิษฐ์เครื่องบันทึกเสียง
– ประดิษฐ์เครื่องถ่ายภาพเคลื่อนไหว
– ประดิษฐ์แบตเตอรี่
วาทะเด็ด :
– “Genius is one percent inspiration and ninety-nine percent perspiration.” → อัจฉริยะเกิดจากแรง
บันดาลใจเพียง 1 เปอร์เซ็นต์ และอีก 99 เปอร์เซ็นต์คอื ความอุตสาหะ
– “I have not failed. I’ve just found 10,000 ways that won’t work.” → ผมไม่ได้ลม้ เหลวนะ ผมเพิง่ จะพบ
10,000 วิธที มี่ นั ใช้ไม่ได้

5.รถยนต์(Automoblie)
คาร์ล เบนซ์ เป็ นผูใ้ ห้กาเนิดรถยนตร์คนั แรกของโลก
คาร์ล เบนซ์ พัฒนารถยนต์ 3 ล้อ ซึ่งต่อมาได้รบั การรับรองว่าเป็ น “รถยนต์” ทีแ่ ท้จริงคันแรกปรากฏต่อ
สาธารณชน จากประสบการณ์และความชื่นชอบในจักรยาน เขาใช้เทคโนโลยีทคี่ ล้ายคลึงกันกับการสร้าง
จักรยานเพื่อสร้างรถยนต์ทมี่ เี ครือ่ งยนต์ 4 จังหวะทีอ่ อกแบบให้อยู่ระหว่างล้อหลังทัง้ สองล้อ
โดยเขาได้ทดลองใช้กบั รถสามล้อนับเป็ นรถยนต์ทขี่ บั เคลื่อนด้วยเครื่องยนต์สนั ดาปภายในคันแรกของ
โลก รถ 3 ล้อ ของเบนซ์ เป็ นรถยนต์ทใี่ ช้น้ามันเป็ นเชื้อเพลิงเพื่อขับเคลื่อนเครื่องยนต์ เขาสร้างเจ้าสิง่ ประดิษฐ์
ชิ้นนี้เสร็จสิน้ ในปี ค.ศ. 1885 และเรียกมันว่า “Benz Patent Motorwagen”ซึ่งถือว่าเป็ นสิง่ ประดิษฐ์ทเี่ รียกว่า
“รถยนตร์” อย่างแท้จริง ดังนัน้ จึงมีหลายคนถือว่า คาร์ล เบนซ์ เป็ นผูค้ ดิ ค้นรถยนตร์ได้เป็ นผลสาเร็จ และ
รถยนตร์คนั แรกของโลกซึ่งมี 3 ล้อ

และอีกคนทีต่ ้องพูดถึงคือ Henry Ford ทีพ่ ฒ


ั นาและคิดค้นทาเทคนิคการผลิตต่างๆทีช่ ่วยให้รถยนต์มรี าคาทีถ่ ูก
และคนทัวไปสามารถเข้
่ าถึงได้ จนกลายเป็ นมาตรฐานสาหรับการผลิตรถยนต์ รถยนตร์นนั ้ พัฒนาโลกนี้อย่าง
แท้จริง นอกจากนี้อุตสาหกรรมรถยนต์ยงั พัฒนาให้ออุตสาหกรรมน้ามันและเหล็กกล้าเติบโตอีกด้วย

6.เครื่องบิน(Airplane)
17 ธันวาคม 1903 วันทีเ่ ปลีย่ นโลกนี้ไปตลอดกาล เมื่อสองพีน่ ้อง Wilbur และ Orville แห่งตระกูล
Wright ได้นาเครื่องบินของพวกเขาขึน้ บินได้สาเร็จ ย้อนไปในประวัตศิ าตร์ของเครื่องบินนัน้ มีมาตัง้ แต่
Leonardo da Vinci ทีไ่ ด้วาดฝั นไว้แต่ดว้ ยข้อจากัดทางเทคโนโยยีต่างๆทาให้มนั ยังไม่เป็ นจริงขึน้ มา นอกจากนี้
ต้องขอบคุณนักประดิษฐ์อกี นับไม่ถ้วนทีพ่ ยายามจะสร้างฝั นนี้ให้สาเร็จจนส่งต่อมาถึงพีน่ ้องตระกูลไรท์ได้ จาก
จุดนี้ทาให้นี้เป็ นพืน้ ฐานวิศวกรรมการบินสมัยใหม่ทไี่ ด้รบั การพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้

สองพีน่ ้องตระกูลไรต์ (Wright Brothers)


สองพีน่ ้องตระกูลไรต์ ได้แก่ ออวิลล์ ไรต์ (ค.ศ. 1867 – 1912) และ วิลเบอร์ ไรต์ (ค.ศ. 1871 – 1948) เป็ น
นักบิน วิศวกร และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกนั ผูป้ ระดิษฐ์เครื่องบินและนาขึน้ บินสาเร็จเป็ นครัง้ แรกของโลก สองพี่
น้องตระกูลไรต์ทเี่ รียนจบแค่ชนั ้ มัธยม ไม่ได้รบั ประกาศนียบัตรด้วยซ้า ใช้เวลาว่างจากอาชีพการเป็ นเจ้าของโรง
พิมพ์และโรงงานจักรยานมาทาให้ความฝั นอันยิง่ ใหญ่ของมนุษยชาติทตี่ ้องการบินไปในอากาศได้อย่างนกมา
ตลอดหลายศตวรรษกลายเป็ นจริง ด้วยความกล้าหาญและมานะพยายามพวกเขาได้ทาการศึกษาอย่างจริงจัง
สร้างเครื่องบินต้นแบบหลายรุ่น ทาการทดลองบินนับพันครัง้ ผ่านการล้มเหลวมากมายเสียจนเกือบท้อ จนใน
ทีส่ ุดในปี 1903 พวกเขาก็สามารถนาเครื่องบิน Flyer I ขึน้ บินได้สาเร็จเป็ นครัง้ แรกด้วยระยะการบินแค่ 37
เมตรในเวลา 12 วินาที

สองพีน่ ้องตระกูลไรต์ปรับปรุงเครื่องบินของเขาเรื่อยมาจนถึงปี 1905 พวกเขาใช้เครื่องบิน Flyer III บินใน


อากาศได้ไกลถึง 39 กม.ในเวลา 38 นาที เมื่อรัฐบาลสหรัฐยอมรับและให้พวกเขาจดสิทธิบตั รรวมทัง้ ยังสังซื ่ ้อ
เครื่องบินจากพวกเขา หลังจากนัน้ ก็เป็ นจุดเริม่ ต้นของธุรกิจการบินทีแ่ พร่กระจายไปทัวโลกและท
่ าให้การ
เดินทางด้วยเครื่องบินโดยสารเป็ นการเดินทางทีร่ วดเร็วและปลอดภัยทีส่ ุด ออวิลล์และวิลเบอร์ตงั ้ บริษทั ผลิต
เครื่องบินและโรงเรียนสอนนักบินซึ่งน่าจะเติบโตเป็ นบริษทั ยักษ์ใหญ่ได้ แต่น่าเสียดายทีว่ ลิ เบอร์ป่วยเป็ นไข้
ไทฟอยด์เสียชีวติ ในปี 1912 ด้วยวัยเพียง 45 ปี ส่วนออวิลล์ซ่งึ ไม่ถนัดการทาธุรกิจจึงขายบริษทั แล้วไปเป็ น
คณะกรรมการการบินแห่งชาติ (NACA) ทีต่ ่อมากลายเป็ นองค์การนาซานานถึง 28 ปี

วาทะเด็ด :
– “If birds can glide for long periods of time, then… why can’t I?” → ถ้านกสามารถเหินบินเป็ นเวลานาน
ได้, แล้ว … ทาไมผมถึงจะทาไม่ได้?
7.แบตเตอรี่(Battery)
แบตเตอรีเ่ ป็ นอุปกรณ์ทแี่ ปลงพลังงานเคมีทเี่ ก็บไว้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยพืน้ ฐานแล้วแบตเตอรีเ่ ป็ นเครื่อง
ปฏิกรณ์เคมีขนาดเล็กทีใ่ นขณะทีป่ ฏิกริ ยิ าเคมีผลิตอิเล็กตรอนพลังงานสูงก็พร้อมทีจ่ ะไหลไปยังอุปกรณ์
ภายนอกได้เสมอ
นักวิทยาศาสตร์และนักประดิษฐ์ชาวอเมริกนั เบนจามินแฟรงคลินใช้คาว่า "แบตเตอรี"่ เป็ นครัง้ แรกเมื่อทาการ
ทดลองพลังงานกับตัวเก็บประจุในปี 1749
แบตเตอรีตวั แรกถูกคิดค้นโดยนักฟิ สกิ ส์ชาวอิตาลีช่อื อเลสซานโดร โวลต์ Alessandro Volta ในปี 1800 โวลต์
วางแผ่นทองแดงและสังกะสีรอบ ๆ แผ่นทองแดงและสังกะสีแต่ละคู่แยกออกจากกันด้วยชิ้นส่วนผ้าใบทีแ่ ช่
น้าเกลือ
หนึ่งในแบตเตอรีท่ เี่ ก่าแก่ทสี่ ุดคือแบตเตอรีต่ ะกัวกรดที
่ ค่ ดิ ค้นในปี 1859 ซึ่งยังคงใช้ในปั จจุบนั สาหรับ
เครื่องยนต์สนั ดาปภายในส่วนใหญ่ เป็ นตัวอย่างทีเ่ ก่าแก่ทสี่ ุดของแบตเตอรีแ่ บบชาร์ จไฟได้
แบตเตอรีใ่ นปั จจุบนั มีขนาดตัง้ แต่เมกะวัตต์ขนาดใหญ่ทใี่ ช้เป็ นพลังงานในโรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์หรือ
สถานีย่อยเพื่อให้แน่ใจว่าหมู่บ้านหรือเกาะทัง้ หมดนัน้ ใช้พลังงานไปจนถึงแบตเตอรีข่ นาดเล็กทีใ่ ช้ในนาฬิกา
อิเล็กทรอนิกส์
แบตเตอรีข่ น้ึ อยู่กบั สารเคมีต่าง ๆ ทีผ่ ลิตแรงดันไฟฟ้ าของแบตเตอรีโ่ ดยทัวไปอยู
่ ่ในช่วง 1-3.6V แบตเตอรีซ่ รี ยี ์
เพิม่ แรงดันไฟฟ้ าและขนานเพิม่ กระแส หลักการนี้ใช้เพื่อให้ได้กระแสและแรงดันไฟฟ้ าทีต่ ้องการถึงขนาดเมกะ
วัตต์
แบตเตอรีร่ ุ่นใหม่เป็ นสิง่ จาเป็ นสาหรับใช้ในเครื่องมือไฟฟ้ าไปจนถึงรถยนต์ไฟฟ้ าไฮบริดทีก่ าลังพัฒนาขึน้ ใน
อนาคต
8.ยำปฏิ ชีวนะ(Antibiotics)
ยาปฏิชวี นะช่วยคนนับล้านจากเชื้อไวรัสและแบคทีเรียทีเ่ ป็ นอันตราย Louis Pasteur และ Robert
Koch อธิบายการใช้ยาปฏิชวี นะเป็ นครัง้ แรกในปี 1877 ต่อมาในปี 1928 Alexander Flening ได้คน้ พบระบุว่า
ยา Pemicillin นัน้ สามารถทาได้จาก ราชนิดหนึ่ง
เซอร์อเล็กซานเดอร์ เฟลมมิง่ (Sir Alexander Fleming) เป็ นผูค้ น้ พบเพนนิซลิ นิ เมื่อปี ค.ศ. 1928 จาก
การสังเกตว่า ราทีข่ น้ึ บนขนมปั งสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียตระกูลต่างๆ ได้ ซึ่งจากข้อสังเกตเล็กๆ ครัง้ นี้เองได้
นามาซึ่งการค้นพบครัง้ สาคัญต่อประวัตศิ าสตร์การแพทย์ เฟลมมิง่ พบว่า สารจากธรรมชาติสามารถใช้ฆ่า
แบคทีเรียทีก่ ่อให้เกิดโรค ซึ่งเป็ นอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์ได้
ในเวลาต่อมา ช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ความต้องการเพนนิซลิ นิ เพิม่ มากขึน้ เนื่องจากมีผทู้ ไี่ ด้รบั
บาดเจ็บจานวนมาก แต่การสกัดยาปฏิชวี นะจากเชื้อราเพนนิซลิ นิ นัน้ ใช้เวลานาน และได้ยามาเพียงจานวนน้อย
ทาให้นักวิทยาศาสตร์จานวนมากพยายามคิดค้นหาวิธกี ารทีจ่ ะผลิตเพนนิซลิ นิ อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
ซึ่งในเวลาต่อมา นายแอนดริว เจโมเยอร์ (Andrew J. Moyer) นักจุลชีววิทยาผูน้ าทีมวิจยั ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา พบวิธกี ารเพาะเชื้อราในกรดแลกโตสและเหล้าข้าวโพด ทาให้สามารถผลิตเพนนิซลิ นิ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมากขึน้ ซึ่งเทคนิคนี้ต่อมาได้รบั การจดทะเบียนสิทธิบตั รเมื่อปี ค.ศ. 1984
และในช่วงศตวรรษที่ 20 นี้ยาปฏิชวี นะได้รบั การพัฒนาอย่างรวดเร็วและส่งไปทัวโลก
่ ด้วยความสามารถทีช่ ่วย
ให้มนุษย์อย่างเราสามารถสูแ้ ละจัดการกับเชื้อได้ทุกรูปแบบและทาให้สุขภาพของเรานัน้ ปลอดภัยมากยิ่ง ขึน้

9. คอมพิ วเตอร์
จอห์น วี. อะทานาซอฟฟ์ (John Vincent Atanasoff) 1903-1995
เขาผูน้ ี้คอื บุคคลสาคัญในวงการคอมพิวเตอร์ของโลก โดยเป็ นผูท้ ปี่ ระดิษฐ์เครื่องคอมพิวเตอร์ ABC หรือเครื่อง
คอมพิวเตอร์แบบอิเล็กทรอนิกส์ขน้ึ เป็ นเครื่องแรกของโลก หลังจากทีก่ ่อนหน้านี้เ ราใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ชาวโลกใช้เป็ นเครื่องคอมพิวเตอร์แบบจักรกล พัฒนาขึน้ มาโดย ชาร์ล แบบเจน (Charles Babbage) ทีผ่ ลิต
ออกมาเพื่อประโยชน์ในการคิดวิเคราะห์
อะทานาซอฟฟ์ ได้ประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ระบบดิจติ อลขึน้ โดยมีการใช้หน่วยความจาคอมพิวเตอร์ ระบบข้อมูล
ฐานสองทีม่ สี ญ
ั ลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 ซึ่งพัฒนามาจากตรรกะแบบบูลทีป่ ระกอบด้วยค่าจริง (True)
หรือไม่จริง (False)
ผลงานของเขามีบทบาทต่อชีวติ ความเป็ นอยู่ของคนรุ่นหลังอย่างเรา ๆ มาก เพราะเป็ นจุดเริม่ ต้นให้
คอมพิวเตอร์ได้รบั การพัฒนาจนมาเป็ นคอมพิวเตอร์ในปั จจุบนั
10.อิ นเทอร์เน็ต(Internet)
หากไม่มอี นิ เทอร์เน็ตเราอาจจะได้อ่านบทความนี้จากหนังสือสักเล่ม ต้องขอบคุณเหล่านักวิจยั และนัก
ประดิษฐ์ทชี่ ่วยกันสร้างอินเทอร์เน็ตขึน้ มา ทีก่ ล่างเช่นกันเพราะอินเทอร์เน็ตเป็ นหนึ่งในโครงการทีท่ ากันหลาย
คนพัฒนาร่วมกับระบบคอมพิวเตอร์ตงั ้ แต่ช่วงปี 1950 ต้นแบบแรกทีส่ ามารถใช้งานได้อยู่ในช่วงปลายปี 1960
ต้นแบบชื่อว่า ARPANET หรือ Advanced Research Projects Agency Network หลังจากนัน้ นักวิจยั ทัง้ หลาย
ก็ได้รวบรวมเป็ น เครือข่าย Network of networks ขึน้ และกลายมาเป็ นอินเทอร์เน็ตสมัยใหม่และพัฒนาเรื่อยมา
จนเป็ นสิง่ ทีเ่ รากาลังใช้อยู่ในปั จจุบนั
ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี (Tim Berners-Lee)
ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี (ค.ศ. 1955 – ปั จจุบนั ) เป็ นวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ดา้ นคอมพิวเตอร์ชาวอังกฤษผูค้ ดิ ค้น
ระบบข้อมูลข่าวสารบนอินเตอร์เน็ตทีเ่ รียกว่า World Wide Web (WWW) อันทรงพลังทีท่ าให้ระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตเป็ นทีน่ ิยมใช้กนั อย่างแพร่หลายทัวโลก
่ เบอร์เนอร์ส -ลีมแี นวคิดเรื่องนี้ตงั ้ แต่ปี 1980 แต่มโี อกาสได้
ทาจริงในปี 1990 เขานาแนวคิดเรื่อง Hypertext เชื่อมโยงเข้ากับ Transmission Control Protocol (TCP) ซึ่ง
เป็ นโปรโตคอลหลักของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตและแนวคิดระบบการตัง้ ชื่อโดเมน (Domain Name System:
DNS) สร้างเป็ น WWW โดยเขาได้ออกแบบและสร้างเว็บเบราว์เซอร์ตวั แรกของโลกกับสร้างเว็บเซิร์ฟเวอร์ขน้ึ
แล้วนาเว็บไซต์แรกของโลกออนไลน์ในปี 1911 หลังจากนัน้ WWW ก็ได้รบั ความนิยมและกลายเป็ นสิง่ สาคัญ
อย่างหนึ่งของมนุษย์ในยุคปั จจุบนั

ปั จจุบนั เบอร์เนอร์ส-ลียงั เป็ นศาสตราจารย์ดา้ นวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ทมี่ หาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ดและสถาบัน


MIT เขาได้ก่อตัง้ กลุ่มบริษทั World Wide Web Consortium (W3C) เพื่อดูแลการพัฒนา WWW อย่างต่อเนื่อง
รวมทัง้ มีบทบาทและมีส่วนร่วมในองค์กรสาคัญอีกหลายแห่ง จากผลงานการคิดค้น WWW ทีส่ ร้างความ
เจริญก้าวหน้าในด้านการค้นหาและการเผยแพร่ความรูแ้ ละข้อมูลข่าวสารชนิดเปลีย่ นโลกนี้ ทาให้เขาได้รบั
รางวัลเกียรติยศมากมาย รวมทัง้ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นอัศวินโดยสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ของ
อังกฤษ และได้รบั การยกย่องเป็ นหนึ่งในบุคคลทีส่ าคัญทีส่ ุดแห่งศตวรรษที่ 20
ั นำกำรเกี่ยวกับสิ่ งประดิ ษฐ์
วิ วฒ
1. เป็ นการต่อยอดของภาพร่างทางความคิดจากยุคสมัยก่อนหน้านัน้ รวมทัง้ ความลงตัวระหว่าง
องค์ประกอบทีจ่ าเป็ นสาหรับสิง่ ประดิษฐ์แต่ละชนิด เช่น แท่นพิมพ์ของกูเทนเบิร์ก ก็ต้องการประยุกต์วทิ ยาการ
ด้านกระดาษ การหลอมโลหะ และหมึกพิมพ์ เข้ามาเกี่ยวข้องรองรับ ก่อนทีก่ ูเทนเบิร์ กจะสามารถสร้างแท่น
พิมพ์ขน้ึ จากเครื่องคัน้ น้าผลไม้ได้ ดังนัน้ จึงกล่าวได้ยากว่า ใครเป็ นผูป้ ระดิษฐ์อะไรขึน้ แค่ชวข้
ั ่ ามคืน และยังมี
สิง่ ประดิษฐ์อกี มากมายทีไ่ ม่สามารถระบุตวั ผูส้ ร้างได้ชดั เจน
2. กาเนิดของสิง่ ประดิษฐ์ครัง้ สาคัญ มักมีผคู้ ดิ ค้นได้มากกว่าหนึ่งรายในช่ วงเวลาไล่เลีย่ กัน ซึ่งนาไปสู่
ปั ญหาขัดแย้งเกี่ยวกับการอ้างสิทธิในฐานะผูส้ ร้างสรรค์คนแรก ซึ่งมีผลประโยชน์รออยู่ขา้ งหน้าอย่างมหาศาล
เช่นผลประโยขน์ดา้ นสิทธิบตั ร
3. สิง่ ประดิษฐ์ทถี่ ูกนาเสนอต่อสาธารณชนครัง้ แรกมักจะถูกมองเป็ นเรื่องตลกขบขันเพราะความแปลก
ใหม่ของอุปกรณ์ แต่หลังจากนัน้ เมื่อมันถูกพัฒนาขึน้ ต่อยอดต่อไปก็จะกลายเป็ นสิง่ ประดิษฐ์สาคัญเป็ น
ประโยชน์ตอ่ โลกอย่างมากมาย

กำรปฏิ วตั ิ ทำงอุตสำหกรรม (Industrial Revolution)


การปฏิวตั ทิ างอุตสาหกรรมนัน้ จนถึงปั จจุบนั อาจแบ่งได้เป็ น 4 ยุคด้วยกัน ได้แก่
ยุคแรก Industry 1.0 หรือยุคเครื่องจักรกลไอน้ำ
ซึ่งถือว่าเป็ นยุคแรกทีม่ กี ารต่อยอด จากเดิมทีเ่ ริม่ มีการประดิษฐ์คดิ ค้นเครื่องมือแบบง่ายๆ หรือมีกลไกไม่
ซับซ้อนนัก แต่ยงั คงใช้แรงงานคนหรือสัตว์เป็ นกาลังการผลิตหลัก เรียกว่าใช้เครื่องทุนแรงมาช่วย จนพัฒนามา
สู่การใช้ความร้อนเพื่อมาสร้างพลังงานในการขับเคลื่อนเครื่องจักร แทนการใช้แรงงานคนหรือสัตว์ นอกจากจะ
ช่วยผ่อนแรงจนถึงขัน้ ทดแทนแรงงานคนได้ในหลายส่วนแล้ว ยังช่วยเพิม่ ศักยภาพและความสามารถทีเ่ ดิมต้อง
ใช้แรงงานคนจานวนมาก มาเป็ นแบบผสมผสานหรือใช้เครื่องจักรกลอย่างเดียวเป็ นหลัก สิง่ ที่เห็นได้อย่าง
ชัดเจนคือการเกิดขึน้ ของยานพาหนะต่างๆมากมายหลายชนิด ทีส่ ามารถขนส่งคนหรือสินค้าจานวนมากๆไปใน
ระยะทางไกลๆได้หลายไมล์หรือหลายกิโลเมตร ทัง้ ทางบกและทางน้า อาทิ รถไฟ หรือเรือขนส่งสินค้าทางทะเล
เป็ นต้น
ยุคที่สอง Industry 2.0 หรือยุคกำรผลิ ตด้วยเครื่องจักรที่ใช้ไฟฟ้ ำ
ยุคนี้เกิดเครื่องจักรอุตสาหกรรมมากมาย ไม่เพียงเครื่องจักรขนาดใหญ่เท่านัน้ หากแต่เป็ นเครื่องจักรขนาดเล็ก
ด้วย โรงงานอุตสาหกรรมเริม่ เปลีย่ นรูปแปลงร่าง จากอุตสาหกรรมทีใ่ ช้แรงงานคนเป็ นหลัก (Labor intensive)
มีการใช้เครื่องจักรกลเพื่อการผลิตในจานวนทีม่ าก (Mass production) การแบ่งงานกันทาของคนงาน (the
Division of Labor) ตามแนวคิดของ Adam Smith มีความโดดเด่นและเป็ นระบบมากขึน้ กว่าการแค่เรื่องของ
แรงงานคนเท่านัน้ หากแต่มเี รื่องของระบบการบริหารจัดการเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย และทีส่ าคัญในทาง
เทคโนโลยีคอื การใช้ไฟฟ้ ามาทดแทนการใช้ไอน้า ถือได้ว่าเป็ นยุคแห่งการผสมผสานแรงงานคนกับเครื่องจักร
อย่างแท้จริง (man-machine) มีการนาระบบสายพานลาเลียง (Conveyor) มาใช้ และการจัดสายการผลิตให้เกิด
การสมดุล (Assembly line balancing) ก่อให้เกิดผลิตภาพทีส่ ูงขึน้ และเกิดการประหยัดจากขนาดการผลิต
(economies of scale)

ยุคที่สำม Industry 3.0 หรือยุคคอมพิ วเตอร์


ยุคนี้เครื่องจักรและอุปกรณ์ต่างๆไม่ใช่ทางานในเชิงกล หรือใช้พลังงานจากไฟฟ้ าเท่านัน้ หากแต่ควบคุมและสัง่
การได้ผ่านวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีเซ็นเซอร์และตัวตรวจจับมากมายในหลายส่วน โดยผนวกเอาความสามารถใน
การคิดคานวณของคอมพิวเตอร์เข้าไปไว้ในเครื่องจักร ทาให้เครื่องจักรมีความยืดหยุ่นในการทางานมากขึน้
และสามารถโปรแกรมให้ผลิตหรือประกอบสินค้าได้ในหลากหลายรูปแบบอย่างอัตโนมัติ (Automation หรือ
Programmable Logic Control – PLC) คนงานยกระดับความสามารถกลายเป็ นคนควบคุมเครื่องจักรการผลิต
แทน โดยใช้เวลาระหว่างทีเ่ ครื่องจักรทางานด้วยตัวเองนัน้ ในการเตรียมงาน เตรียมวัตถุดบิ สุ่มตรวจสอบ
คุณภาพสินค้าจากเครื่อง แก้ปัญหาข้อขัดข้องจนถึงการบารุงรักษาเครื่องจักรแบบง่ายๆ (Self-maintenance)
การควบคุมคุณภาพเริม่ เปลีย่ นมือจากเจ้าหน้าที่ QC ไปสู่เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายผลิต มีการปลูกฝั งแนวคิดเรื่องคุณภาพ
เข้าไป จนเข้าสู่ยุคของการประกันคุณภาพด้วยระบบแทน (Quality Assurance)

ยุคที่สี่ Industry 4.0 หรือยุคอิ นเทอร์เน็ต


เมื่อโลกการผลิตจริง (Real sector) ในทางอุตสาหกรรมถูกเชื่อมต่อกับโลกเสมือน (Cyber space) ผ่าน
เครือข่ายออนไลน์และอินเทอร์เน็ตทัง้ ไร้สายและมีสาย จนได้ช่อื ว่าเป็ นยุค Cyber-Physical System คาว่า
Internet of Things (IoT) ทีไ่ ม่ใช่เพียงแค่สมองกลฝั งตัวทีม่ แี ต่ความสามารถในการคิดคานวณ ประมวลผล และ
หาทางออกของปั ญหาได้เองเท่านัน้ หากแต่ยงั มีความสามารถในการเชื่อมต่อตัวเองเข้ากับโครงข่ายการสื่อสาร
ต่างๆได้ทุกทีท่ ุกเวลา (anywhere anytime)
ดังนัน้ จึงไม่น่าแปลกใจว่า ทุกวันนี้เราจะเห็นอุปกรณ์ขา้ วของเครื่องใช้ต่างๆในชีวติ ประจาวัน ทัง้ ทีอ่ ยู่ในบ้าน ใน
สานักงาน หรือแม้แต่ในโรงงานอุตสาหกรรม จะเชื่อมต่อถึงกันเพื่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลตามมาตรฐานการ
ส่งข้อมูลของประเภทอุปกรณ์นนั ้ ๆ (Protocol) ได้อย่างน่าทึง่ แบบทีเ่ จ้าของอุปกรณ์และเครื่องมือนัน้ ๆไม่ต้อง
ไปสังการหรื
่ อเกี่ยวข้องด้วยซ้า และแน่นอนอาจถึงขัน้ คิดแทนเราได้ในบางเรื่องในแนวทางของปั ญญาประดิษฐ์
(Artificial Intelligence- AI)

เอกสารอ้างอิง
1. https://www.innnews.co.th/lifestyle/news_44061/ 10 สิง่ ประดิษฐ์ เปลีย่ นโลก
2. http://www.rmutphysics.com/teaching-
glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=4160&Itemid=8 100 สิง่ ประดิษฐ์เปลีย่ น
โลก
3. https://www.sanook.com/campus/1401867/ สบายทุกวันนี้เพราะ 5 นักวิทยาศาสตร์ ผูค้ ดิ และ
ประดิษฐ์
4. https://www.takieng.com/stories/12367 10 สุดยอดนักประดิษฐ์ผยู้ งิ่ ใหญ่ตลอดกาลของโลกกับ
ผลงานเด่นและวาทะเด็ด
5. https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/111016 ปฏิวตั อิ ุตสาหกรรมสู่ Industry 4.0
6. http://th.chilweebattery.com/info/history-of-battery-development-the-past-and-p-34657116.html
ประวัตคิ วามเป็ นมาของการพัฒนาแบตเตอรี:่ อดีตและปั จจุบนั ของแบตเตอรี่

You might also like