You are on page 1of 1

เฟื้ อ หริ พิทักษ์

นายเฟื้ อเกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2453 ที่จังหวัดธนบุรี มีนามเดิมวา่ นาย เฟื้ อ ทองอยู[่ 3] เป็ นบุตรชายของ นายเปลง่
มหาดเล็ก ตอ่ มา พ.ศ. 2468 ศึกษาระดับประถมศึกษาที่วัดสุทัศน์ และระดับมัธยมที่โรงเรี ยนวัดราชบพิธ และโรงเรี ยนวัด
เบญจมบพิตร ท ำงานที่วท ้ พ.ศ. 2483 ได้เดินทางไปศึกษาที่มหาวิทยาลัยวิศวภารตี ที่
ิ ยาลัยชา่ งศิลป์ กรมศิลปากร จากนัน
ประเทศอินเดีย รับราชการเป็ นอาจารยส์ อนศิลปะรุ่นแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร และไดร้ ั บทุนไปศึกษาตอ่ ที่ประเทศอิตาลี
เมื่อ พ.ศ. 2497[4] ได้สร้างสรรคผ ้ ่ยมสาขาจิตรกรรม
์ ลงานจิตรกรรมจนได้รับการยกยอ่ งเป็ นศิลปิ นชั นเยี

้ นใจศึกษาศิลปะอยา่ งมุง่ มั่นลึกซึ้ง ด้วยการคน


เฟื้ อเป็ นผูส ้ หาแนวทางสร้างสรรคใ์ ห้เหมาะกับการแสดงออกทางด้านจิตรกรรม ที่
มีลักษณะเฉพาะตนโดยการถา่ ยทอดสภาพแวดลอ ้ ม บรรยากาศ แสงเงา ประกอบกับความคิดค ำนึ งเรื่ องสีสันที่เป็ นลักษณะตาม
สายสกุลศิลปะยุโรป (อิตาลี) ใชฝ ่
้ ี แปรงทีฉับพลัน ดังปรากฏในผลงานจิตรกรรมมากมาย เชน ่ จิตรกรรมทิวทัศน์เมืองเวนิ ชที่
อิตาลี ทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่ ภาพเหมือนคุณยายของฉัน ศาสตราจารยศ ์ ลิ ป์ พีระศรี ฯลฯ[5]

นอกจากนี้ เฟื้ อยังส ำรวจโดยคัดลอกจิตรกรรมฝาผนังตามวัดส ำคัญที่เป็ นโบราณสถานเก็บไวเ้ ป็ นหลักฐานมรดกทาง


ประวัติศาสตร์ศลิ ปะของชาติ มีผลงานซอ ้ น
่ มแซมภาพจิตรกรรมส ำคัญในวัดทั่วประเทศไทยทังสิ ้ 23,000 วัด ผลงานที่ส ำคัญชิ้น

หนึ ง คือการบูรณปฏิสังขรณ์หอไตรปิ ฎกวัดระฆังโฆสิตาราม[6]

เฟื้ อสมรสกับหมอ่ มราชวงศถ์ นอมศั กดิ์ กฤดากร พระธิดาของพระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ จรู ญศั กดิก ์ ฤดากร อดีตเอกอัครราชทูต
ประจ ำฝรั่งเศส มีบุตร 1 คน คือ ท ำนุ หริ พิทักษ์ ระหวา่ งสงครามโลกครัง้ ที่สอง เฟื้ อตกเป็ นเชลยไทยในอินเดีย เพราะไทย
ประกาศสงครามกับอังกฤษ เขาถูกพรากจากภรรยา จึงเปลี่ยนไปนับถือพระวิษณุ และเปลี่ยนนามสกุลจากทองอยู ่ เป็ นหริ
พิทักษ์[3] และได้สมรสใหมอ่ ีกครัง้ กับ นางสมถวิล หริ พิทักษ์[7]

ผลงานส ำคัญ
• ทิวทัศน์เมืองเวนิ ส ประเทศอิตาลี
• ทิวทัศน์เมืองเชียงใหม่
• ภาพเหมือนคุณยายของฉั น
• ศาสตราจารยศ ์ ลิ ป์ พีระศรี
• หอพระไตรปิฏก วั ดระฆั งโฆสิตาราม

You might also like