You are on page 1of 9

โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ...

จำากัด

2... .. การจ ัด กา รข องเส ีย

(1) ช่ว งก ่อสร ้า ง


ของเสียมูลฝอยที่เกิดขึ้นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท (ตามแหล่งกำาเนิด) คือ ของเสียมูลฝอยที่
เกิดขึ้นจากกิจกรรมก่อสร้าง การรื้อ และการจัดเก็บซากสลักหักพัง (landclearing) ซึ่งโดยปกติจะ
เป็นของเสียไม่อันตรายและเป็นของเสียที่สามารถนำามาใช้ใหม่ได้ (reused) หรือนำามาคืนสภาพ
(recycled) โดยปกติได้แก่ แผ่นกระเบื้องเพดานที่แตกหัก อิฐ เศษผ้า พรม และแผ่นใยบางๆ
คอนกรีต วัตถุที่ใช้ทำาเป็นฉนวน โลหะ ไม้ ของเสียสำานักงานส่วนพื้นที่ (กระดาษ, กระป๋อง แก้ว
ขวดหลอมหล่อได้ กระดาษแข็ง ซึ่งหากนำามาใช้ใหม่หรือจำาหน่ายจะทำาให้ลดต้นทุนในการก่อสร้าง
แต่มีบางส่วนที่ขายไม่ได้จะถูกเก็บรวบรวมเพื่อติดต่อให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากราชการรับไป
กำาจัดต่อไป

ของเสียมูลฝอยที่เกิดขึ้นจากการอุปโภคบริโภคของคนงานก่อสร้างในช่วงที่มีจำานวนคนงาน
สูงสุดประมาณ ………. ตัน/วัน ของเสียมูลฝอยดังกล่าวประกอบด้วย เศษอาหาร ถุงพลาสติก เศษ
กระดาษ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม โครงการกำาหนดให้บริษทั รับเหมาจัดหาถุงดำาและถังรองรับของเสีย
ที่มีฝาปิดมิดชิดตั้งกระจายตามจุดต่างๆ ภายในพื้นที่ก่อสร้าง และจัดเตรียมคนงานที่รับผิดชอบโดย
เฉพาะเพื่อรวบรวมของเสียมูลฝอยก่อนติดต่อให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากราชการรับไปกำาจัด
ต่อไป

(2) ช่ว งด ำาเ นิ นก าร

โครงการก่อให้เกิดของเสีย 2 ประเภท ได้แก่ ของเสียจากกระบวนการผลิตและของเสียจาก


พนักงาน มีรายละเอียดดังนี้ (ตารางที่ 2……-1) ทัง้ นี้โครงการได้ดำาเนินการจั ดก าร ของ เสีย
แบบ บูร ณา กา ร (Integrated Waste Management: IWM) โดยการเชื่อมโยงระบบการจัดการ
ของเสียตั้งแต่ที่มาของของเสีย การจัดเก็บ การบำาบัด/การกำาจัด เพื่อให้มีวัตถุประสงค์ให้ได้มาซึ่ง
ประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมและให้ได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุดตลอดจนเป็นที่ยอมรับของ
สังคม ซึ่งจะนำาไปสู่การสร้างระบบการจัดการของเสียที่สามารถนำาไปใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป
(Forbes R McDougall, Peter R White, Marina and Peter Hindle, Inte gr ate d So li d
Wa st e Ma na ge me nt : a L ife Cy cl e Inv en tor y, Second edition, Procter & Gamble
Technical Centres Limited, Blackwell Science Ltd, a Blackwell Publishing Company, 2001}
ดังนั้นการจัดการของเสียจะเป็นการดำาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม การทิ้ง การเก็บชั่วคราว
การรวบรวม การขนถ่ายและการขนส่ง และการกำาจัดของเสีย โดยคำานึงถึงประโยชน์สงู สุดทั้งใน
ด้านของสุขภาพอนามัย เศรษฐศาสตร์ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การติดตามตรวจสอบกากของเสีย

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

และสารอันตราย การจัดลำาดับความสำาคัญของประเภทของเสียได้ใช้โครงสร้าง “ระดับชั้นการบริหาร


จัดการของเสีย” (Waste Hierarchy) ซึ่งเป็นแนวความคิดพื้นฐานที่ช่วยในการบริหารจัดการของเสีย
ด้วยวิธีที่สง่ ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์น้อยที่สุด ระดับชั้นการบริหารจัดการ
ของเสียมูลฝอยเป็นเครื่องมือที่สามารถใช้ในการพิจารณาเบื้องต้นเพื่อการจัดการของเสีย โดยมีทาง
เลือกในการบริหารจัดการของเสียทั้งหมดตามหลัก 3R ซึ่งเป็นวิธีที่ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม
มากทีส่ ุด รายละเอียดดังนี้

1) กา รล ดปร ิม าณ ของ เสีย มู ลฝ อย (Was te Re du ct io n)


การลดปริมาณของเสียเป็นสิ่งสำาคัญ ควรดำาเนินการในทันทีเมื่อสามารถปฏิบัติได้โดยทั่วไป
สามารถดำาเนินการได้หลายวิธี แต่วิธีที่มปี ระสิทธิภาพในส่วนของของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
ได้แก่
1. การปรับปรุงการผลิต โดยเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงกระบวนการผลิตให้มี
ประสิทธิภาพสูงขึ้น เพื่อให้อัตราส่วนการผลิตของเสียต่อปริมาณผลิตภัณฑ์ลดน้อยลง ซึ่งเป็นวิธที ี่ดี
ทีส่ ุด
1 2. การนำาของเสียจากกระบวนการผลิตไปทดแทนวัตถุดิบในกระบวนการผลิตอื่น โดย
นำาของเสียจากกระบวนการหนึ่ง ไปเป็นวัตถุดิบหรือทรัพยากรสำาหรับป้อนเข้าสู่กระบวน
การอื่นๆ โดยสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนของเสีย (waste exchange) โดยได้รับการ
สนับสนุนจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมและหน่วยงานอื่นๆทีเ่ กี่ยวข้องที่ได้ร่วมกันผลักดัน
ให้เกิดการจัดทำาฐานข้อมูลประเภทและปริมาณการเกิดของเสียอุตสาหกรรมรวมทั้งส่ง
เสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนของเสียระหว่างโรงงาน และส่งเสริมให้เกิดแนวทางการส่ง
เสริมการแลกเปลี่ยนของเสียระหว่างโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อลดปริมาณการเกิดของเสีย
ทีจ่ ะต้องนำาไปกำาจัดให้มากทีส่ ุดและส่งเสริมให้มีการนำาของเสียไปใช้ประโยชน์เพื่อลด
ต้นทุนการผลิตและกำาจัด โดยปัจจุบันมีหน่วยงานของภาครัฐและเอกชนที่ทำาหน้าที่ในการ
เป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนของเสียระหว่างโรงงาน เช่น ศูนย์ข้อมูลการ
ใช้ประโยชน์ของเสีย กรมโรงงานอุตสาหกรรม ศูนย์แลกเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้ สถาบันสิ่ง
แวดล้อมไทย รวมทัง้ ทำาการทำาหน้าที่เป็นเครือข่ายเชื่อมโยงระหว่างโรงงานที่มีของเสีย
หรือวัสดุเหลือใช้กับโรงงานที่ต้องการวัสดุเหลือใช้ นอกจากนี้ยังเป็นหน่วยงานวิชาการใน
การศึกษาวิจัยเพื่อหาแนวทางและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการนำาของเสียกลับมาใช้
ประโยชน์ใหม่และทำาการเผยแพร่ผา่ นสื่อต่างๆ รวมถึงการจัดสัมมนาทางวิชาการเพื่อส่ง
เสริมการแลกเปลี่ยนวัสดุเหลือใช้และการนำาของเสียกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งพบว่ารูปแบบการ
แลกเปลี่ยนของเสียของโครงการมีลักษณะการนำาของเสียไปใช้ประโยชน์ ดังนี้

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

2
- การนำาของเสียไปใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนวัตถุดิบบริสทุ ธิ์ ได้แก่ ....................
- การนำาไปเป็นเชื้อเพลิงทดแทน ได้แก่ ...................................
- การนำาของเสียไปปรับปรุงคุณภาพเพื่อนำากลับมาใช้ใหม่ภายในโครงการ ได้แก่
สารเคมีใช้แล้ว ตัวทำาละลายใช้แล้ว หรือนำ้ามันหล่อลืน่ ใช้แล้ว

1 นอกจากนี้จากการส่งเสริมการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมโดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย ได้ส่งเสริมให้โรงงานอุตสาหกรรมภายในนิคมอุตสาหกรรมนำาของเสียหรือ
วัสดุเหลือใช้จากโรงงานหนึ่งมาเป็นวัตถุดิบของอีกโรงงานหนึ่งทัง้ นี้เพื่อให้เกิดความคุ้มค่า
ในการใช้ทรัพยากรและลดปริมาณของเสียที่จะต้องกำาจัด โดยดำาเนินกิจกรรมภายใต้
แนวคิดการพัฒนานิคมอุตสาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศ (eco-industrial estate) ปัจจุบันได้
ดำาเนินการในนิคมอุตสาหกรรมนำาร่องทั้งหมด 5 แห่ง ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
นิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ นิคมอุตสาหกรรมบางปู นิคมอุตสาหกรรมอิสเทิร์นซีบอร์ด
และนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร ซึ่งจากการดำาเนินโครงการนี้สง่ เสริมให้โรงงาน
อุตสาหกรรมภายในนิคมอุตสาหกรรมมีการแลกเปลี่ยนของเสียกับโรงงานภายในและ
ภายนอกนิคมอุตสาหกรรม

2) กา รใ ช้ ซำ้า (R eu se)
การพิจารณาความเป็นไปได้ในการใช้ซำ้าของผลิตภัณฑ์และสินค้ามักกระทำาได้ง่ายและ
รวดเร็ว การนำาผลิตภัณฑ์และสินค้ากลับมาใช้ซำ้าไม่จำาเป็นต้องมีขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตเพื่อ
ดำาเนินการแปรรูปก่อนการนำาไปใช้ซำ้า ดังนั้นการใช้ซำ้าควรได้รบั การสนับสนุนทันทีเมื่อสามารถ
ดำาเนินการได้ หลายครั้งที่ทางเลือกในการใช้ซำ้าเป็นวิธีการบริหารจัดการของเสียที่ดีที่สุดเสมอ โดย
โครงการได้เลือกนำาของเสีย คือ...................................

3) กา รน ำา กล ับ มาใ ช้ใ หม ่ (Re cy cl in g)


การนำากลับมาใช้ใหม่เป็นการนำาสินค้าที่เสื่อมสภาพหรือหมดประโยชน์สำาหรับการใช้งาน
โดยผ่านกระบวนการ อาจจะเป็นกระบวนการอย่างง่ายหรือซับซ้อนก็ได้ โดยส่วนใหญ่กระบวนการ
ในการนำากลับมาใช้ใหม่นั้นประกอบไปด้วยหลายขั้นตอน

การจัดการของเสียนั้นประกอบด้วยหลายส่วน คือ การคัดแยกของเสีย การจัดเก็บ รวบรวม


ขนส่งของเสีย และการกำาจัดของเสีย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

1) กา รค ัด แย กข อง เสีย
การคัดแยกของเสียเป็นกิจกรรมหนึ่งที่มีความสำาคัญต่อระบบการนำาของเสียกลับมาใช้
ประโยชน์ใหม่ เนื่องจากสามารถลดการปนเปื้อนของวัสดุรีไซเคิล ลดค่าใช้จ่ายจากการล้างทำาความ
สะอาดหรือการคัดแยกเพิ่มเติม รวมทั้งลดปริมาณของเสียที่จะนำาไปกำาจัดทิ้งขั้นสุดท้ายลงได้ การ
คัดแยกของเสียสามารถดำาเนินการตามประเภท/ชนิดของของเสีย ลักษณะการใช้ประโยชน์ และ
ศักยภาพในการเก็บรวบรวมขนส่ง โดยทั่วไปแล้ว จะพิจารณาการคัดแยกของเสียย่อยสลาย ของ
เสียรีไซเคิล ของเสียอันตราย และของเสียทั่วไป

2) กา รจั ดเ ก็บ
การจัดเก็บของเสียเป็นการนำาของเสียที่เหลือทิ้งจากกิจกรรมต่างๆ มาเก็บรวบรวมไว้ เพื่อ
นำาไปกำาจัดหรือรอทีจ่ ะขนส่งไปกำาจัดต่อไป การจัดหาภาชนะรองรับของเสียให้เพียงพอสำาหรับ
รองรับของเสีย 4 ประเภทได้แก่ ของเสียรีไซเคิล ของเสียย่อยสลาย ของเสียอันตราย และของเสีย
ทั่วไป ต้องทำาการศึกษาสำารวจองค์ประกอบของของเสียที่เกิดขึ้นการจัดหาภาชนะรองรับของเสียให้
เพียงพอสำาหรับรองรับของเสีย ทั้งนี้ภาชนะควรแยกสีกัน ดังนี้

ถังสีเขียว : สำาหรับใส่ของเสียย่อยสลายหรือของเสียทีเ่ น่าเสีย และย่อยสลายได้เร็ว สามารถ


นำามาหมักทำาปุ๋ยได้ เช่น พืช ผัก เปลือกผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้อินทรียวัตถุที่ย่อยสลายเน่าเปื่อย
ง่าย มีความชื้นสูง
ถังสีเหลือง : สำาหรับใส่ของเสียรีไซเคิลหรือของเสียที่สามารถนำามาขายได้ เช่น แก้ว
กระดาษ โลหะ พลาสติก อลูมิเนียม เศษผ้า ฯลฯ
ถังสีส้ม : สำาหรับใส่ของเสียอันตรายหรือของเสียทีเ่ ป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเช่น
หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์กระป๋องยาฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสาร
อันตรายต่างๆ
ถังสีนำ้าเงิน : สำาหรับใส่ของเสียทั่วไปซึ่งเป็นของเสียที่ย่อยสลายยาก ไม่เป็นพิษ แต่รีไซเคิล
ได้ยากหรือไม่คุ้มค่าต่อการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสำาเร็จรูป ถุงพลาสติก
เปื้อนเศษอาหาร โฟมเปื้อนอาหาร ฟอล์ยเปื้อนอาหาร

3) กา รข นส่ งข องเสีย
เป็นขั้นตอนในการนำาของเสียที่ประชาชนนำามาจากแหล่งกำาเนิดของเสียมาใส่ไว้ที่ถังรองรับ
ของเสีย ซึ่งการขนส่งของเสียมีอยู่หลายวิธี เช่น ใช้แรงงานคน ใช้รถเก็บขนของเสีย เป็นต้น

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

-การใช้แรงงานคนสำาหรับเก็บขนของเสียไปกำาจัด โดยส่วนมากเป็นหน้าที่ของบุคคลใน
แหล่งกำาเนิดของเสียมูลฝอยนั้นๆ
- การใช้รถเก็บขนของเสีย เหมาะสำาหรับชุมชนเมืองที่มีคนหนาแน่นรถเก็บขนของเสียต้อง
มีที่ใส่ของเสียที่ทนทานไม่รั่วนำ้า มีกระบะสูง มีฝาปิด เพื่อป้องกันของเสียปลิวออกเมื่อรถแล่น ถ้า
ไม่มีฝาปิดจะต้องมีตาข่ายคลุมแทน

4) กา รก ำาจ ัด ขอ งเสีย
วิธีการกำาจัดของเสียที่ใช้ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีหลายวิธี เช่น นำาไปทับถมพื้นดิน
หมักทำาปุ๋ย เผาในเตาเผาของเสีย และฝังกลบอย่างถูกหลักวิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้กา รน ำา
ของเสี ยม าใ ช้ป ระโ ยช น์ ให ม่ เช่น ของเสียรีไซเคิล เช่น กระดาษ แก้ว พลาสติก โลหะ อลูมิ
เนียม ทีเ่ ก็บรวบรวมจากกระบวนการนำากลับคืนวัสดุเหลือใช้จากชุมชน โรงงานคัดแยกและแปร
สภาพวัสดุเหลือใช้ สามารถนำาไปแปรรูป เพื่อเป็นวัตถุดิบในขบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรม
เพื่อผลิตเป็นสินค้ารีไซเคิล (Recycling) นอกจากนี้ของเสียประเภท ขวดแก้ว ขวดพลาสติก รวมทั้ง
วัสดุ/อุปกรณ์ที่ใช้แล้ว จำาพวกโต๊ะ เก้าอี้ ทีวี และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า/อิเล็คทรอนิกส์สามารถนำา
มาทำาความสะอาด ซ่อมแซม ปรับปรุง และนำาไปใช้ประโยชน์ ใหม่ได้อีก (Reuse)

ทั้งนี้จากหลักการข้างต้นจะเห็นได้ว่าโครงการได้ดำาเนินการตามแนวทางเทคโนโลยีการผลิต
ทีส่ ะอาด (Cleaner Technology / CT) ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งของการจัดการในลักษณะของการ
ป้องกันมลพิษ (Pollution Prevention) ที่มีการประยุกต์และผสมผสานกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อให้การดำ า
เนินกิจกรรมของภาคการผลิต ให้มีการป้องกันหรือลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการ
พัฒนาศักยภาพในการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ด้วยเทคโนโลยีการผลิตทีส่ ะอาดเป็นการปรับปรุง
หรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือผลิตภัณฑ์ เพื่อให้เกิดการใช้วัตถุดิบ พลังงาน และ
ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยทำ าให้เกิดของเสียน้อยที่สุดหรือไม่มี
เลย รวมถึงการเปลี่ยนวัตถุดิบ การใช้ซำ้ า และการนำ ากลับมาใช้ใหม่ จึงเป็นการลดมลพิษที่แหล่งกำ
าเนิดช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับมนุษย์และลดต้นทุนการผลิต
ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการบำ าบัดหรือกำ าจัดของเสีย จึงเกิดประโยชน์ต่อการดำ าเนินธุรกิจและเพิ่ม
ความสามารถในการแข่งขันทางการค้า ดังนั้นเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาด จึงได้รับการยอมรับว่า
เป็นเครื่องมือการจัดการในเชิงรุกที่มปี ระสิทธิภาพในการจัดการสิ่งแวดล้อมในยุคปัจจุบัน

1) ของเสี ยจา กก ระ บว นก ารผ ลิ ตห รื อร ะบ บเส ริม กา รผ ลิ ต

ของเสี ยไ ม่ อั นต รา ย

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

- เถ้าตะกอนจากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงใน………….. การเกิดขึน้ ประมาณ ………


ตัน/ปี โดยจะรวบรวมไว้ในไซโลก่อนส่งให้หน่วยงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตจากหน่วยงานราชการรับไปกำาจัด
หรือนำาไปใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนทีโ่ รงงานผลิตปูนซิเมนต์ต่อไป

- เถ้าลอยที่ได้จากอุปกรณ์ดักฝุ่น เกิดขึ้นประมาณ ............... ตัน/ปี โดยเถ้าลอย


เหล่านี้ถูกรวบรวมเก็บไว้ในไซโลก่อนส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงานราชการนำาไป
กำาจัดหรือนำาไปใช้ประโยชน์ต่อไป เช่น นำาไปเป็นวัสดุผสมกับปูนซีเมนต์เพื่อผลิตอิฐหรือคอนกรีต
เป็นต้น
- เรซินที่ผ่านการใช้งานแล้ว เกิดขึ้นประมาณ .............. ตัน/ปี โดยโครงการจะ
รวบรวมใส่ถังขนาด 200 ลิตร ก่อนติดต่อให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากหน่วยงานราชการรับไป
กำาจัดต่อไป

ของเสี ยอ ัน ตร าย

ปัจจุบันโรงงานที่รับกำาจัดและบำาบัดของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรมมีจำานวน
และศักยภาพที่สามารถรองรับปริมาณของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรมได้เพียงพอ พบว่า
โรงงานที่รับกำาจัดและบำาบัดของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรมที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมให้สามารถรับของเสียอันตรายไปกำาจัดหรือปรับสภาพใหม่ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม
ใหญ่ๆ คือ

(1) การกำาจัดของเสียอันตรายด้วยวิธีเผาในเตาเผาปูนซีเมนต์ เพื่อนำาไปเผาทำาลาย


โดยใช้อุณหภูมิสูงในเตาเผาปูนซีเมนต์ ใช้เป็นวัตถุดิบทดแทนและเชื้อเพลิงทดแทน

(2) การกำาจัดของเสียอันตรายด้วยวิธีการฝังกลบ โดยจะใช้การบำาบัดของเสียด้วย


การปรับเสถียรให้เป็นกลางและฝังกลบอย่างปลอดภัย

(3) การกำาจัดของเสียด้วยวิธีการรีไซเคิล ซึ่งในปี พ.ศ.2546 มีโรงงานที่ได้รับ


อนุญาตดังกล่าวมีศักยภาพในการกำาจัดได้สูงสุดประมาณ 8.4 ล้านตันต่อปี และในปี พ.ศ.2547 มี
ศักยภาพเพิ่มขึ้นเป็น 1.3 ล้านตันต่อปี ในขณะที่ปี พ.ศ.2546 และปี พ.ศ.2547 มีของเสียอันตรายที่
ได้รับอนุญาตให้นำาออกนอกโรงงานประมาณ 0.35 ล้านตันต่อปี และ 0.69 ล้านตันต่อปี ตามลำาดับ

ทั้งนี้กรมโรงงานอุตสาหกรรม ยังได้ดำาเนินการศึกษาความเหมาะสมในการจัดตั้ง
โรงงานกำาจัดเศษเหลือทิ้งอิเล็กทรอนิกส์จากอุตสาหกรรมขึ้นอีกด้วย ตลอดจนยังได้ควบคุมของเสีย
อันตรายจากอุตสาหกรรม โดยการออกประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมระบุรายการของเสียอันตรายที่

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

ต้องมีการควบคุมทุกขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการจัดการของเสียอันตรายตั้งแต่แหล่งกำาเนิดของเสีย
อันตราย การขนส่ง การจัดการตามหลักของระบบ manifest system อย่างเข้มงวด

สำาหรับของเสียอันตรายของโครงการ มีดังนี้

- นำ้ามันจาก................ เกิดขึน้ ประมาณ ......... ตัน/ปี โดยโครงการจะรวบรวมใส่


ถังขนาด 200 ลิตร ก่อนจัดส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมรับไปจัดการ
ตามความเหมาะสมดังตัวอย่างข้างต้น

- นำ้ามันหล่อลืน่ ทีเ่ สือ่ มสภาพ เกิดขึน้ ประมาณ ......... ตัน/ปี โดยโครงการจะ


รวบรวมใส่ถังขนาด 200 ลิตร ก่อนจัดส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
รับไปจัดการตามความเหมาะสมดังตัวอย่างข้างต้น

- ฉนวนกันความร้อน เกิดขึ้นประมาณ ......... ตัน/ปี โครงการจะรวบรวม


ใส่..................... ก่อนจัดส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมรับไปจัดการ
ตามความเหมาะสมดังตัวอย่างข้างต้น

- แบตเตอรี่ที่ใช้แล้ว เกิดขึ้นประมาณ ......... ตัน/ปี โครงการจะรวบรวม


ใส่..................... ก่อนจัดส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมรับไปจัดการ
ตามความเหมาะสมดังตัวอย่างข้างต้น

- แผงวงจรไฟฟ้าทีใ่ ช้แล้ว เกิดขึ้นประมาณ ......... ตัน/ปี โครงการจะรวบรวม


ใส่..................... ก่อนจัดส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมรับไปจัดการ
ตามความเหมาะสมดังตัวอย่างข้างต้น

- ภาชนะบรรจุสารเคมี เกิดขึ้นประมาณ ......... ตัน/ปี โครงการจะรวบรวม


ใส่..................... ก่อนจัดส่งให้หน่วยงานที่ได้รับอนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมรับไปจัดการ
ตามความเหมาะสมดังตัวอย่างข้างต้น

1 ทัง้ นี้โครงการจะจดทะเบียนและต่อใบอนุญาตสำาหรับการเป็นผู้ประกอบการที่ก่อให้เกิด
ของเสียอันตราย ที่เข้าข่ายโรงงานตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 เช่นเดียวกับ โรงงาน
อุตสาหกรรมอื่นๆ สถานบริการนำ้ามัน และสถานเก็บกักบำาบัดและกำาจัดของเสียอันตราย เป็นต้น
และจะแต่งตั้งผู้ควบคุมกากอุตสาหกรรมเพื่อปฏิบัติตามขั้นตอนของระบบเอกสารกำากับการขนส่ง

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

ของเสียอันตราย กำาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเก็บรวบรวม การคัดแยกการขนส่ง การบำาบัดและ


การกำาจัดของเสียอันตรายที่เกิดจากโรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งกำาเนิดอื่นๆ ที่อยู่ในความรับผิด
ชอบ โดยจะประสานงานกับศูนย์ประสานการขนส่งของเสียอันตรายในการจัดทำาฐานข้อมูล การจัด
ทำารายงานประจำาปีและการดำาเนินงานด้านต่างๆ ของผูป้ ระกอบการที่อยู่ในความรับผิดชอบ เพื่อ
เก็บรวบรวมข้อมูลจากการดำาเนินงานกำากับการขนส่งลงในฐานข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ต่อไป
2
2) ของเสี ยจา กพ นั กง าน แล ะส ำาน ัก งา น
ช่วงดำาเนินการคาดว่าจะมีพนักงานประมาณ ………… คน โดยคาดว่าของเสียมูลฝอย
ของโครงการเกิดขึน้ ประมาณ ………. กิโลกรัม/วัน หรือ …………. ตัน/ปี และสามารถแบ่งเป็น 3
ประเภท ได้แก่ ของเสียทัว่ ไป ของเสียทีส่ ามารถนำากลับมาใช้ใหม่ได้ และของเสียอันตรายประมาณ
..........., ................ และ ............. ตัน/ปี ตามลำาดับ อย่างไรก็ตาม โครงการมีการคัดแยกของเสียตาม
ประเภทต่างๆ ได้แก่ ของเสียทัว่ ไป ของเสียทีส่ ามารถนำากลับมาใช้ใหม่ได้ และของเสียอันตราย โดย
มีการวางถังรวบรวมแยกตามประเภทของกากของเสียดังกล่าวกระจายทัว่ โครงการ พร้อมทัง้ นำาของ
เสียทีส่ ามารถนำากลับมาใช้ใหม่ได้ ส่งให้หน่วยงานทีไ่ ด้รบั อนุญาตราชการรับไปจัดการหรือปรับปรุง
คุณภาพก่อนนำากลับไปใช้ใหม่ตอ่ ไป ส่วนกากของเสียทีไ่ ม่สามารถนำากลับไปใช้ใหม่ได้จะส่งให้หน่วย
งานทีไ่ ด้รบั อนุญาตจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือจากหน่วยงานราชการทีเ่ กีย่ วข้องรับไปกำาจัด
อย่างถูกหลักวิชาการต่อไป

นอกจากนีโ้ ครงการมีนโยบายส่งเสริมให้มีการผลิตและบริโภคผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานของการป้องกันการเกิดมลภาวะ และการพิจารณาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ตลอดทั้งวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ตลอดจนการอนุรักษ์ทรัพยากร เพื่อผลักดันให้มีการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืน โดยมีการสร้างกลไกส่งเสริม และ
สนับสนุนผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมและจะผลักดันอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะการผลักดัน
นโยบายในการจัดซื้อจัดจ้างผลิตภัณฑ์หรือบริการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือที่เรียกว่า "
ผลิตภัณฑ์สีเขียว (Green Product)" ซึ่งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยกว่าเมื่อ
เทียบกับผลิตภัณฑ์ที่ทำาหน้าที่อย่างเดียวกัน กล่าวคือ มีการปล่อยสารเคมีหรือกากสารพิษออกสู่สิ่ง
แวดล้อมน้อยกว่า ประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติทั้งในระหว่างการผลิต การขนส่ง และ
การใช้งาน ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นน้อยกว่า ผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกัน สำาหรับผลิตภัณฑ์ที่อยู่ใน
ขอบข่ายการพิจารณาดังรายละเอียดในคู่มือการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสิ่ง
แวดล้อม จัดทำาโดยกรมควบคุมมลพิษ (เมษายน 2549)

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................


โค รงการ ..... .... .... .... ... บริษั ท ..... .... .... .... .... .... ... จำากัด

AIR SAVE CO ., L TD. 49..../EIA/CH2_.................

You might also like