You are on page 1of 24

แบบฝกหัดที่ 4

งานเขียนแบบเครื่องกล II

ในแบบฝกหัดนี้ เราจะเขียนชิน้ สวนเครื่องกลอีกชิน้ หนึง่ คือ Universal-joint housing ดังรูปที่ 20.1 โดยจะเริ่มเขียน
ชิน้ งานบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสดวยขนาดจริง(Full scale)หรือใชมาตราสวน 1:1 โดยกําหนดหนวยวัดเปน 1 หนวยเทากับ
1 มิลลิเมตร เมือ่ เขียนชิน้ งานเสร็จเรียบรอยแลว เราจะยังไมเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรบนพื้นที่โมเดลสเปส
เหมือนเหมือนในแบบฝกหัดงานเขียนแบบเครื่องกล I แตเราจะนําตารางรายการแบบขนาด A3 หนวยมิลลิเมตร
ทีส่ รางไวในแบบฝกหัดบทที่ 17 เขามาจัดหนากระดาษ สรางวิวพอรทและกําหนดมาตราสวนเพือ่ เตรียมพรอมในการ
พิมพแบบแปลนลงบนกระดาษใหเรียบรอยเสียกอน แลวจึงเขียนเสนบอกขนาดและเขียนตัวอักษรบนพืน้ ทีเ่ ลเอาท
เปเปอรสเปสโดยตรง การเขียนแบบดวยวิธีนเี้ ปนวิธีทสี่ ะดวกและงายทีส่ ุดในปจจุบนั

รูปที่ 20.1

Note วิธกี ารเขียนชิน้ งานบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปส แตเขียนเสนบอกขนาด เขียนตัวอักษรหรือขอความบนเลเอาท


เปเปอรสเปสในแบบฝกหัดนี้เปนวิธีใหมที่เริ่มใชงานใน AutoCAD 2002 และมีผูใชงานนิยมใชวิธีนี้
เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ งจนมาถึง AutoCAD 2006 ในปจจุบนั เนือ่ งจากความสะดวกในการเขียนเสนบอก
ขนาดและตัวอักษรซึง่ สามารถใชขนาดจริง โดยไมแปรผันไปตามสเกลของวิวพอรท จึงทําใหวธิ ีการ
และขัน้ ตอนในการเขียนตรงไปตรงมาไมซบั ซอนเหมือนกับการเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรบน
พืน้ ทีโ่ มเดลสเปส

chap-20.PMD 629 13/10/2549, 1:40


630

Note ในแบบฝ กหัดนี้ เราจะไมใช Sheet Set Manager เขามาชวยเหมือนในแบบฝกหัดงานเขียนแบบ


สถาปตยกรรมในบทที่ 18 เราจะจัดหนากระดาษดวยการสรางวิวพอรท 2 วิวพอรท วิวพอรทรูปสีเ่ หลีย่ ม
ผืนผาดวยคําสั่ง View4Viewports41 Viewport 2D Drafting
และวิวพอรทรูปวงกลม โดยการนําวงกลม
ธรรมดามาแปลงใหเปนวิวพอรท โดยใชคําสัง่ View4Viewports4Object แลวจึงกําหนดสเกลหรือ
มาตราสวนด วยคําสั่ ง Modify 4 Properties เหมือนในแบบฝ กหัดงานเขียนแบบเครื่ องกล I
อยางไรก็ตาม จุดประสงคของแบบฝกหัดนี้กเ็ พื่อตองการใหผูอานเขาใจวาแตกตางระหวางการเขียน
เสนบอกขนาดและตัวอักษรบนพื้นที่ โมเดลสเปสซึ่งเราไดทําไปแลวในแบบฝกหัดงานเขียนแบบ
เครือ่ งกล I กับการเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสในแบบฝกหัดนีเ้ ทานัน้

Note ในแบบฝกหัดนี้ เราจะได ศึกษาคําสัง่ พืน้ ฐานการกําหนดขอบเขตลิมติ (Limits) การสรางเลเยอร(Layer)


การกําหนดรูปแบบ(Linetype)และความหนาเสน(Lineweight) การนํา Template file ตนแบบที่เก็บ
บันทึกคาเริ่มตน อาทิ เชน เลเยอร สไตลตัวอักษร สไตลเสนบอกขนาดเขามาใชงาน เราจะไดศึกษา
คําสั่งในการเขียนเสน Line, Circle คําสั่งในการแกไขเสน อาทิ เชน Trim, Fillet, Break, Array
คําสั่งในการเขียนเสนบอกขนาด (Dimensions)แบบตางๆ รวมทั้งคําสั่งที่เกี่ยวของกับการสอดแทรก
ตารางรายการแบบ การจัดกระดาษ การกําหนดสเกลและการเตรียมพรอมเพือ่ พิมพแบบแปลน

Note เมื่อลองพิจารณาดูรูปชิ้นงานดังรูปที่ 20.1 เราจะสามารถแยกประเภทเสนไดทั้งหมดเปน 4 ประเภท


คือเสนขอบของชิ้นงาน เสนประ CENTER เสนประ HIDDEN และเสนบอกขนาด ดังนั้น เราจะแยก
เสนออกเปน 4 เลเยอรคือเลเยอร Profile, Center, Hidden และ Dim เนื่องจากในแบบฝกหัดที่แลว
เราไดสรางเทมเพล็ทไฟล My_Project_Template.dwt ซึ่งในไฟลดังกลาวมีเลเยอร Profile, Center,
และ Dim ขาดแตเพียงเลเยอร Hidden เทานั้น นอกจากนี้ ยังมีสไตลตัวอักษร Simplex และสไตลเสน
บอกขนาด Mechanical ซึ่งเราสามารถนํามาใชงานไดดังตอไปนี้

1. เริม่ แบบแปลนใหม โดยใชคาํ สัง่ File4New จะปรากฏไดอะล็อค Select template ใหเลือก


ไฟลตน แบบ My_Project_Template.dwt ซึง่ สรางจากแบบฝกหัดทีแ่ ลว โปรแกรมจะนําเราไปสู
พื้นทีว่ าดภาพโมเดลสเปสในระบบเมตริก โดยใชรหัสสีควบคุมคุณสมบัตแิ ละความหนาเสน
(Color dependent plot style) จะปรากฏพืน้ ทีว่ าดภาพโมเดลสเปสดังรูปที่ 20.2 (ซาย)

Note หากเรายังไมไดทําแบบฝกหัดที่แลว เราสามารถเรียกไฟล My_Project_Template.dwt จากโฟลเดอร


\Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทายหนังสือคูมือเลมนี้เขามาใชงานไดเชนเดียวกัน

Note กอนทีจ่ ะทําแบบฝกหัดนี้ เราควรทีจ่ ะตัง้ คาเริม่ ตนตางๆ ใหตรงกันเสียกอน โดยใชคําสัง่ Tools4Options
ð User Preferences ð ใหแนใจวาปรากฏเครื่องหมาย หนาเช็คบอกซ Shortcut menu in drawing
area ðใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย หนาเช็คบอกซ Turn on time-sensitive right-click แลวคลิก
แถบคําสัง่ Display ใหแนใจวา Crosshair size = 100 เปอรเซนตและใชคําสั่ง Tools4Drafting Settings
ð Object Snap กําหนดโหมดออฟเจกทสแนปใชงานคือ Endpoint, Midpoint, Center, Intersection
และ Extension รวมทั้งใหแนใจวาบรรทัดแสดงสถานะปรากฏ SNAP = เปด(OFF), GRID = เปด,
ORTHO = ปด, POLAR = เปด, OSNAP = เปด(ON), OTRACK = ปด, DYN = เปด, LWT = เปด

2. สรางเลเยอรใหมเพิม่ 1 เลเยอรคอื เลเยอร Hidden โดยใชคําสัง่ Format4Layer จะปรากฏ


ไดอะล็อค Layer Properties Managers ใหคลิกปุม New Layer เมือ่ ปรากฏแถบสีนา้ํ เงิน
บนชือ่ Layer1 ใหตงั้ ชือ่ เลเยอร Hidden คลิกบนตลับสี White ของเลเยอร Hidden เมือ่ ปรากฏ
ไดอะล็อค Select Color พิมพรหัสสีหมายเลข 3 (สีเขียว) เขาไปในอิดทิ บอกซ Color แลวคลิกปุม
OK คลิกบนเสน Continuous ของเลเยอร Hidden (อาจจะไมปรากฏชื่อเสน Continuous

chap-20.PMD 630 13/10/2549, 1:40


631
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
บนเลเยอร Hidden ขึน้ อยูว า เลเยอรทใี่ ชเปนตนแบบมีเสน Continuous เปนเสนใชงานอยูห รือไม)
เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Select Linetype ใหคลิกบนปุม Load เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค Load or Reload
Linetypes ใหคน หาและคลิกเสนประ HIDDEN แลวคลิกบนปุม OK เมื่อกลับไปยังไดอะล็อค
Select linetype ใหคลิกบนเสนประ HIDDEN แลวคลิกปุม OK เพือ่ กลับไปยัง Layer Properties
Managers จะปรากฏชื่อเสนประ HIDDEN บนเลเยอร Hidden แลวคลิกบน Lineweight
ของเลเยอร Hidden แลวเลือกความหนาเสน 0.13 mm แลวเลเยอร Profile และคลิกบนปุม
(Set Current) เพือ่ กําหนดใหเปนเลเยอรใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 20.2 (ขวา) แลวคลิกปุม OK

รูปที่ 20.2

Note จากรูปที่ 19.2 สังเกตุวาบนไดอะล็อค Layer Properties Manager เลเยอรชื่อ Center จะตองมีรูปแบบ
เสนเปนเสนประ CENTER เลเยอรชอื่ Hidden จะตองมีรปู แบบเสนเปนเสนประ HIDDEN สวนเลเยอร
อื่นๆ รูปแบบเสนยังคงเปน Continuous ตามที่โปรแกรมกําหนดมาให แลวสังเกตุอีกอยางหนึ่งวาชื่อ
เลเยอร Center ไปปรากฏบน Current Layer ซึ่งเปนเลเยอรใชงานดวย

Note โดยที่โปรแกรมกําหนดมาให หากเราเขาสู AutoCAD 2006 ดวยไฟลตนแบบ Acadiso.dwt (ระบบ


เมตริก) หรือไฟลตน แบบ My_Project_Template.dwt ซึ่งสรางมาจากไฟล Acadiso.dwt จึงเปนระบบ
เมตริกเชนเดียวกัน หากเราใชคําสั่ง View4Zoom4All พื้นที่วาดภาพจะแสดงขอบเขตลิมิต
(Limits)เทากับ 420,297 หนวย ซึ่งถาเปรียบเทียบกับชิน้ งานดังรูปที่ 20.1 ซึ่งมีขนาด 800x500 หนวย
ถาเราเขียนชิน้ งานเขาไปบนพื้นทีว่ าดภาพในขณะนี้ซงึ่ มีลมิ ิต(Limits)เทากับ 420,297 หนวย จะทําให
ชิน้ งานปรากฏบนพืน้ ทีว่ าดภาพมีขนาดใหญจนกระทัง่ ยืน่ ออกจากพืน้ ทีว่ าดภาพ ดังนัน้ เราควรกําหนด
ขอบเขตลิมติ ใหมใหเหมาะสมกับชิน้ งานดังนี้

3. เริม่ กําหนดขอบเขตลิมติ โดยใชคําสัง่ Format4Drawing Limits จะปรากฏขอความดังนี้

Specify lower left corner or [ON/OFF] <0.0000,0.0000>: {กดปุม Q เพือ่ ยอมรับคา 0,0}
Specify upper right corner <420.0000,297.0000>: 1600,1000 {กําหนดขอบเขตลิมติ โดย
พิมพคา 1600,1000 ประมาณสองเทาของขนาดชิน้ งานทีจ่ ะเขียน}

Note 1600,1000 ไดมาจากขนาดของชิ้นงานในรูปที่ 20.1 ซึ่งอันที่จริงชิ้นงานมีความยาว 800 หนวย สวน


ความสูงของชิ้นงาน 500 หนวย ดังนั้น ถาเรานําคาดังกลาวไปกําหนดเปนขอบเขตลิมิต ชิ้นงานจะยื่น
ออกไปนอกขอบเขตของพื้นที่วาดภาพ ยากตอการเริม่ ตน ดังนัน้ เราจึงกําหนดขอบเขตลิมติ ใหม โดย
ใชคา 1600,1000 ซึ่งมีขนาดใหญกวาชิ้นงานประมาณ 2 เทาของชิ้นงาน ซึ่งจะทําใหมพี ื้นที่ขอบเหลือ
เพียงพอที่จะเริ่มตนเขียนชิ้นงานไดอยางสะดวก วิธีนี้เปนวิธีประมาณขนาดลิมิตที่งายและเร็วที่สุด

4. ใชคําสัง่ View4Zoom4All เพือ่ แสดงขอบเขตลิมติ ใหม จุดกริดซึง่ ใชอา งอิงขนาดและการ

chap-20.PMD 631 13/10/2549, 1:40


632

กระโดดของเคอรเซอรสแนป จึงมีความถีเ่ พิม่ มากขึน้ ดวย เนือ่ งจากโดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให


ระยะหางของจุดกริดในระบบเมตริกมีคา เทากับ 10 หนวยดังรูปที่ 20.3 (ซาย)
2D Drafting
รูปที่ 20.3

Note หากเรากําหนดลิมิตที่มีขนาดใหญมาก แตเรามิไดปรับระยะหางของจุดกริด จะปรากฏขอความ Grid


too dense to display และจะไมปรากฏจุดกริดบนพื้นที่วาดภาพ

Note ขอใหจดจําไวเสมอวา หลังจากทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงขอบเขตลิมติ ดวยคําสัง่ Format4Drawing Limits


แลว เราจะตองใชคําสัง่ View4Zoom4All ตามทันทีทกุ ครัง้ เพือ่ ทําใหขอบเขตของพืน้ ทีว่ าดภาพ
เปลีย่ นแปลงไปตามขอบเขตลิมิตใหม

Note อันทีจ่ ริงในแบบฝกหัดนี้ ผูที่มปี ระสบการณมกั จะไมนยิ มกําหนดขอบเขตลิมิต เนื่องจากรูปทรงของ


ชิ้นงานเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา จึงสามารถใชคําสั่ง Draw4Rectangle แลวตามดวยคําสั่ง View4
Zoom4Extents ก็ได แลวจึงใชคําสั่ง View4Zoom4Realtime ยอชิ้นงานลงเล็กนอยเพื่อ
ใหมพี นื้ ขอบเพียงพอ อยางไรก็ตาม ผูเ ริม่ ตนควรจะใชขอบเขตลิมติ เพือ่ กําหนดขอบเขตในการเขียนภาพ

5. แกไขการกําหนดกริด(Grid)และระยะกระโดดของเคอรเซอร(Snap)ใหมใหเหมาะสมกับขอบ
เขตลิมติ โดยใชคําสัง่ Tools4Drafting Settings หรือคลิกขวาบน ปุม หรือปุม
แลวเลือกคําสัง่ Settings จะปรากฏไดอะล็อค Drafting Settings ใหเลือกแถบคําสัง่ Snap and
Grid แลวกําหนด Snap X Spacing, Snap Y Spacing เทากับ 50 หนวยและกําหนด Grid X
Spacing, Grid Y Spacing เทากับ 0 (ศูนย) แลวคลิกปุม OK เพือ่ ออกจากไดอะล็อค ขอบเขตลิมติ
จะปรากฏดังรูปที่ 20.3 (ขวา)
6. ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน เขียนสีเ่ หลีย่ มผืนผา โดยใชคาํ สัง่
Draw4Rectangle

Command: _rectang {จากรูปที่ 20.3 (ขวา)}


Specify first corner point or [Chamfer/Elevation/Fillet/Thickness/Width]:
{คลิกประมาณจุดที่ 1 }
Specify other corner point or [Area/Dimensions/Rotation]: @800,500 {พิมพคารีเลทีฟ
คอรออรดเิ นท @800,500 เพือ่ กําหนดความยาวและความสูง จะปรากฏดังรูปที่ 20.4 (ซาย)}

7. ปดโหมดบังคับการกระโดดของเคอรเซอร โดยกดปุมฟงชั่นคีย ( และปดโหมดการ


แสดงจุดกริด โดยกดปุมฟงชั่นคีย &
8. จากรูปที่ 20.4 (ซาย) สรางสวนโคงฟลเลทแบบตัด(Trim)เสน โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet

chap-20.PMD 632 13/10/2549, 1:40


633
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
รูปที่ 20.4

Command: _fillet {จากรูปที่ 19.8 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Mode = NOTRIM, Radius = 0.0000
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: T {ใหพมิ พ T เพือ่ เลือก Trim}
Enter Trim mode option [Trim/No trim] <Trim>: T {ใหพมิ พ T เพือ่ เลือก Trim เพือ่ เปลีย่ นโหมด
ตัดเสน}
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: R {ใหพมิ พ R เพือ่ เลือก Radius
เพือ่ กําหนดรัศมี}
Specify fillet radius <0.000>: 70 {ใหพมิ พคา รัศมี 70 }
Select first object or [Undo/Polyline/Radius/Trim/Multiple]: {ใหพมิ พ P เพือ่ เลือก Polyline}
Select 2D polyline: {คลิกบนเสนโพลีไลนตรงจุดที่ 1 จะปรากฏดังรูปที่ 20.4 (ขวา)}
4 lines were filleted {โปรแกรมรายงานวาสวนโคงฟลเลท 4 สวนโคงถูกสรางขึน ้}

Note อันทีจ่ ริง โดยทีโ่ ปรแกรมกําหนดมาให Mode = Trim อยูแ ลว แตในแบบฝกหัดทีแ่ ลว เราไดเปลีย่ นโหมด
เปน No Trim ซึ่งโปรแกรมไดจําคาไว ดังนั้น เราจึงตองเปลี่ยนโหมดเปน Trim เชนเดิม

9. จากรูปที่ 20.4 (ขวา) เริม่ เขียนวงกลม โดยกอนอืน่ เปลีย่ นเลเยอร เปน


เลเยอรใชงาน โดยใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius
Command: _circle {จากรูปที่ 20.4 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}
Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลาง }
Specify radius of circle or [Diameter]: D {พิมพ D แลวกดปุม  Q เพือ่ กําหนดเสนผาศูนยกลาง}
Specify diameter of circle <0.0000>: 60 {พิมพคา เสนผาศูนยกลาง 60 หนวย แลวกดปุม  Q
เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

10. จากรูปที่ 20.4 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน เขียนเสนตรง


โดยใชคําสัง่ Draw4Line

Command: _line Specify first point: {ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด เลือ่ นเคอรเซอรไป
ยังจุดที่ 3 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย}
Specify next point or [Undo]: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

11. จากรูปที่ 20.4 (ขวา) เขียนเสนตรงตอไป โดยคลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสั่ง LINE ตามวิธใี นขอ 10


เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 6
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย แลวคลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.5 (ซาย)

chap-20.PMD 633 13/10/2549, 1:40


634

รูปที่ 20.5

2D Drafting

12. จากรูปที่ 20.5 (ซาย) คัดลอกเสนประเซ็นเตอร ไปใหกบั วงกลมโดยใชคาํ สัง่ Modify4Copy

Command: _copy {จากรูปที่ 20.5 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: Specify opposite corner: 2 found {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือเลื
่ อกวัตถุแบบ Crossing}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
Specify second point or <use first point as displacement>: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปบนเสน
โคงจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซายตรงจุดศูนยกลางของวงกลม }
Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.5 (ขวา)}

Note เนือ่ งจากเสนประเซ็นเตอรทคี่ ัดลอกมามีความยาวของจากวงกลมมากเกินไป เราจะตองตัดออกใหยนื่


ออกจากวงกลมดานละเทาๆ กัน ซึง่ เราสามารถทําได 2 วิธคี อื วิธที ี่ 1 ใชคําสัง่ Draw4Circle4Center,
Radius หรือใชคําสั่ง Modify4Offset สรางวงกลมชั่วคราวอีกวงหนึ่งใหพาดผานจุดที่ตอง
การตัดเสน แลวใชคําสัง่ Modify4Trim ตัดเสนใหยาวเทาๆ กัน เมือ่ ตัดเสนเสร็จแลว จึงลบวงกลม
ชั่วคราวทิ้งไปดวยคําสั่ง Modify4Erase หรือใชวิธีที่ 2 ใชคําสั่ง Modify4Trim ตัดเสนให
พอดีกับวงกลม แลวใชคําสั่ง Modify4Lengthen ตอเสนใหยื่นออกจากวงกลมดานละเทาๆ กัน
ในที่นี้ เราจะตัดเสนโดยใชวิธีที่ 2 ดังนี้

13. จากรูปที่ 20.5 (ขวา) ตัดเสนประเซ็นเตอรทไี่ มตอ งการ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim

Command: _trim {จากรูปที่ 20.5 (ขวา) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Projection=UCS, Edge=None
Select cutting edges ... {เลือกขอบตัด}
Select objects or <select all>: {คลิกบนวงกลมจุดที่ 5 เพือ่ ใชเปนขอบตัด}
Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 6, 7, 8 และ 9}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกขวาหรือ Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.6 (ซาย)}

14. จากรูปที่ 20.6 (ซาย) ขยายภาพ โดยใชคําสัง่ View4Zoom4Window แลวคลิกจุดที่ 1


และ 2 จะปรากฏดังรูปที่ 20.6 (ขวา)

chap-20.PMD 634 13/10/2549, 1:40


635
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
รูปที่ 20.6

15. จากรูปที่ 20.6 (ขวา) ตอความยาวเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen


Command: _lengthen {จากรูปที่ 20.6 (ขวา) ปด #}
Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]: DE {พิมพตวั เลือก DE เพือ่ เลือก DElta}
Enter delta length or [Angle] <0.0000>: 10 {กําหนดคา 10 แลวกดปุม  Q}
Select an object to change or [Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 3, 4, 5 และ 6}
Select an object to change or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม
 Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.7 (ซาย)}

รูปที่ 20.7

16. จากรูปที่ 20.7 (ซาย) เริม่ เขียนวงกลม โดยกอนอื่นเปลี่ยนเลเยอร


เปนเลเยอรใชงาน โดยใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius
Command: _circle {จากรูปที่ 20.7 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}
Specify center point for circle or [3P/2P/Ttr (tan tan radius)]: {เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 1
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลาง }
Specify radius of circle or [Diameter]: {เลือ
่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร
คลิกซาย จะปรากฏดังรูปที่ 20.7 (กลาง)}

17. จากรูปที่ 20.7 (กลาง) เขียนเสนตรง โดยใชคําสัง่ Draw4Line


Command: _line Specify first point: {คลิกบนปุม (Quadrant) เมือ่ ปรากฏมารคเกอร
ตรงจุดที่ 3 แลวคลิกซาย }
Specify next point or [Undo]: {คลิกบนปุม (Perpendicular) เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร
ตรงจุดที่ 4 แลวคลิกซาย }
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

18. จากรูปที่ 20.7 (กลาง) เขียนเสนตรงตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ LINE ตามวิธใี นขอ 17
คลิกบนปุม (Quadrant) เมื่อปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 5 แลวคลิกซาย คลิกบนปุม
(Perpendicular) เมื่อปรากฏมารคเกอร ตรงจุดที่ 6 แลวคลิกซาย แลวคลิกขวาหรือ
กดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.7 (ขวา)

chap-20.PMD 635 13/10/2549, 1:40


636

19. จากรูปที่ 20.7 (ขวา) ตัดเสนประ โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธใี นขอ 13 ใหแนใจวา
OSNAP # อยู ในสถานะปด เมื่ อปรากฏขอความ Select objects or <select all>:
คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...
2D Drafting
คลิกจุดที่ 9 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่
20. กลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคาํ สัง่ View4Zoom4Previous จะปรากฏดังรูปที่ 20.8 (ซาย)
21. ปรับสเกลแฟคเตอรรวมเสนประใหมคี วามถีน่ อ ยลง โดยพิมพ LTS หรือ LTSCALE ผานคียบ อรด
แลวปอนคา 2 จะปรากฏดังรูปที่ 20.8 (ขวา)

รูปที่ 20.8

Note สังเกตุวา เสนประเซ็นเตอรทอี่ ยูบ นวงกลมนัน้ กลายเปนเสนเต็ม เนือ่ งจากเราไดเพิม่ สเกลแฟคเตอรของ


เสนประจาก 1 เปน 2 ซึง่ เปนสเกลทีเ่ หมาะสมสําหรับเสนประเซ็นเตอรทงั้ สองและกําหนดแนวศูนยกลาง
ของชิ้นงาน แตปรากฏวาสเกลแฟคเตอร 2 ไมเหมาะสมกับเสนประเซ็นเตอรที่กําหนดศูนยกลางของ
วงกลม ใน AutoCAD เราสามารถกําหนดใหเสนประบางเสนใชสเกลแฟคเตอรยอย(Local linetyle
scale)ได โดยที่คาสเกลยอยจะเปนแปรผันไปตามสเกลแฟคเตอรหลัก(Global linetye scale) หากเรา
ตองการแกไขสเกลแฟคเตอรยอยใหกับเสนประเซ็นเตอรของวงกลม โดยที่ไมมีผลกระทบกับสเกล
แฟคเตอรหลักทีก่ ําหนดผาน LTSCALE เราสามารถปรับสเกลแฟคเตอรยอ ยไดดังนี้

22. รูปที่ 20.8 (ขวา) ปรับสเกลแฟคเตอรยอยใหกับเสนประเซ็นเตอร โดยใชคําสั่ง Modify4


Properties แลวคลิกบนเสนประเซ็นเตอรตรงจุดที่ 1 และ 2 จนกระทั่งปรากฏจุดกริป๊ ส
แลวปอนคา 0.5 ในอิดทิ บอกซ Linetype scale ดังรูปที่ 20.9 (ซาย) แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิก
การเลือกวัตถุ จะปรากฏดังรูปที่ 20.9 (ขวา)

รูปที่ 20.9

23. จากรูปที่ 20.9 (ขวา) คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror

Command: _mirror {จากรูปที่ 20.9 (ขวา) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Select objects: {คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ
่ เลือกวัตถุแบบ Window}

chap-20.PMD 636 13/10/2549, 1:40


637
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II

Select objects:{คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}


Specify first point of mirror line:{เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 คลิกซาย เมือ่ ปรากฏมารคเกอร }
Specify second point of mirror line: {เลือนเคอรเซอรไปยั
่ งจุดที่ 4 คลิกซาย เมือปรากฏมาร
่ คเกอร }
Erase source objects? [Yes/No] <N>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.10 (ซาย)}

รูปที่ 20.10

24. จากรูปที่ 20.10 (ซาย) คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror ตามวิธใี น


ขอ 23 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ
Specify first point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 เมือ่ ปรากฏ มารคเกอร คลิกซาย
Specify second point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 8 เมื่อปรากฏมารคเกอร
คลิกซาย เมื่อปรากฏขอความ Erase source objects? [Yes/No] <N>: คลิกขวาหรือกดปุม
Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 20.10 (ขวา)
25. จากรูปที่ 20.10 (ขวา) เปลีย่ นเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน เขียนวงกลม
จํานวน 6 วง รัศมี 110, 125, 180, 200, 220, 240 หนวยตามลําดับ โดยใชคําสัง่ Draw4
Circle4Center, Radius ตามวิธีในขอ 16 โดยใชออฟเจกทสแนป Intersect เพื่อ
กําหนดจุดศูนยกลางตรงจุดที่ 9 จะปรากฏดังรูปที่ 20.11 (ซาย)
รูปที่ 20.11

26. จากรูปที่ 20.11 (ซาย) เปลีย่ นเลเยอรใหวงกลม โดยในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่
ใดๆ คลิกบนวงกลมตรงจุดที่ 1 ใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวเลือกเลเยอร
จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวกดปุม D เพื่อยกเลิกการเลือกวัตถุ
27. จากรูปที่ 20.11 (ซาย) เปลี่ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคู
ขนานในแนวดิง่ ไปทางดานซายระยะหาง 170 หนวยและไปทางดานขวาระยะหาง 170 หนวย
กําหนดใหเสนคูข นานยายเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset

Command: _offset {จากรูปที่ 20.11 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}

chap-20.PMD 637 13/10/2549, 1:40


638

Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0


L {พิมพตวั เลือก L}
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>:
Enter layer option for offset objects [Current/Source] <Source>:
2D C {พิDrafting
มพตวั เลือก C
เพือ่ สรางเสนคูข นานเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน ไมใชเลเยอรของวัตถุตน ฉบับ}
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>: 170 {กําหนดระยะหาง
170 หนวย}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 3 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 4 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิ กขวาหรือ กดปุ ม Q จะปรากฏ
ดังรูปที่ 20.11 (ขวา)}

28. จากรูปที่ 20.11 (ขวา) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 13 ใหแนใจวา


OSNAP # อยู ในสถานะปด เมื่ อปรากฏขอความ Select objects or <select all>:
คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 5 และ 6 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to trim ...
คลิกจุดที่ 7 และ 8 แลวคลิกขวา เพื่อออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 20.12 (ซาย)
รูปที่ 20.12

29. จากรูปที่ 20.12 (ซาย) ตัดเสนตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคําสัง่ Modify4
Trim ตามวิธีในขอ 13 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1 และ 2 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏ
ขอความ Select object to trim ... คลิกจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏ
ดังรูปที่ 20.12 (ขวา)

Note ตอไปเราจะเริ่มเขียนฟนเฟองของ Spline ถานับฟนเฟองของ Spline จากรูปที่ 20.1 จะไดทั้งหมด 10


ฟนเฟอง ดังนัน้ แตละฟนเฟองจะมีคา มุมเทากับ 360/(10*2) แตละฟนจะมีคา มุม 18 องศา แตเราจะสราง
ฟนเฟองใหอยูตรงกลางในแนวดิ่ง ดังนั้น เราจะเขียนเสนทํามุมเอียง 18/2 = 9 องศาทํามุมกับแนวดิ่ง
หรือ 90+9 = 99 องศาทํามุมกับแนวแกน X และอีกเสนหนึ่งทํามุม 90-9 = 81 องศากับแนวแกน X

30. จากรูปที่20.12 (ขวา) ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน เขียนเสนตรง


ทํามุม 99 องศากับแนวแกน X โดยใชคาํ สัง่ Draw4Line
Command: _line Specify first point:{เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย}
Specify next point or [Undo]: {พิมพรเี ลทีฟโพลารคอรออรดเิ นท @180<99 }
Specify next point or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

chap-20.PMD 638 13/10/2549, 1:40


639
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
31. จากรูปที่ 20.12 (ขวา) เขียนเสนตรงทํามุม 81องศากับแนวแกน X โดยคลิกขวาเพื่อทําซ้ําคําสัง่
LINE ตามวิธีในขอ 30 เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 5 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย พิมพ
รีเลทีฟโพลารคอรออรดิเนท @180<81 กดปุม Q 2 ครัง้ จะปรากฏดังรูปที่ 20.13 (ซาย)
รูปที่ 20.13

32. จากรูปที่ 20.13 (ซาย) คัดลอกเสนแบบหมุ นทํามุม 18 องศาจากเส นเดิม โดยใชคําสั่ ง


Modify4Rotate

Command: _rotate {จากรูปที่ 20.13 (ซาย) ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะเปด}


Current positive angle in UCS: ANGDIR=counterclockwise ANGBASE=0
Select objects: 1 found {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 }
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point: {เลือ ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 2 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ ใหคลิกซาย }
Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: C {ใหพม ิ พ C เพือ่ เลือก Copy}
Rotating a copy of the selected objects. {หมุนวัตถุทถ ี่ กู เลือกพรอมกับคัดลอกวัตถุดว ย}
Specify rotation angle or [Copy/Reference] <0>: 18 {ใหพม ิ พคา มุม 18 องศา จะปรากฏ
ดังรูปที่ 20.13 (ขวา)}

Note อันทีจ่ ริงเราไมตอ งใชคําสัง่ ROTATE ขางบนนีเ้ พือ่ คัดลอกเสนแบบหมุนก็ได เราสามารถเขียนเสนตรง


ทํามุม 99+18 = 117 องศาอีกเสนก็จะปรากฏดังรูปที่ 20.13 (ขวา) เชนเดียวกัน

33. จากรูปที่ 20.13 (ขวา) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 13 ใหแนใจวา


OSNAP # อยูใ นสถานะปด ใหแนใจวา Edge = None เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects
or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 3 และ 4 แลวคลิกขวา เมื่อปรากฏขอความ Select
object to trim ... คลิกจุดที่ 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ แลวขยายภาพ
โดยใชคําสั่ง View4Zoom4 Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ให
ปรากฏดังรูปที่ 20.14 (ซาย)

รูปที่ 20.14

chap-20.PMD 639 13/10/2549, 1:40


640

34. จากรูปที่ 20.14 (ซาย) ตัดเสนตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ TRIM หรือใชคําสัง่ Modify4
Trim ตามวิธีในขอ 13 ใหแนใจวา OSNAP # อยูในสถานะปด เมื่อปรากฏขอความ
Select objects or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 1, 2 และ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏ
2D Drafting
ขอความ Select object to trim ... คลิกจุดที่ 4, 5, 6 และ 7 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสั่ง
จะปรากฏดังรูปที่ 20.14 (ขวา)
35. จากรูปที่ 20.14 (ขวา) คัดลอกวัตถุแบบอะเรย โดยใชคําสัง่ Modify4Array เมื่อปรากฏ
ไดอะล็อค Array เลือกปุม เรดิโอ Polar คลิกบนปุม Pick Center Point ใหแนใจวา OSNAP
# อยูใ นสถานะเปด คลิกจุดที่ 8 เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลางของการหมุน คลิกบนปุม
Select Objects คลิกจุดที่ 9 และ 10 เพือ่ เลือก วัตถุแบบ Window แลวคลิกขวา กําหนดจํานวนนับ
10 ในอิดทิ บอกซ Total number of items แลวคลิกบนปุม Preview หากปรากฏถูกตองคลิกบนปุม
Accept เพือ่ ยอมรับ จะปรากฏดังรูปที่ 20.15 (ซาย)

รูปที่ 20.15

36. จากรูปที่ 20.15 (ซาย) เปลี่ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน สรางเสนคู


ขนานในแนวนอนขึน้ ดานบนระยะหาง 30 หนวย กําหนดใหเสนคูข นานยายเขาไปอยูใ นเลเยอร
ใชงาน โดยใชคําสัง่ Modify4Offset

Command: _offset {จากรูปที่ 20.15 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Erase source=No Layer=Source OFFSETGAPTYPE=0
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>: L {พิมพตวั เลือก L}
Enter layer option for offset objects [Current/Source] <Source>: C {พิมพตวั เลือก C
เพือ่ สรางเสนคูข นานเขาไปอยูใ นเลเยอรใชงาน ไมใชเลเยอรของวัตถุตน ฉบับ}
Specify offset distance or [Through/Erase/Layer] <Through>: 30 {กําหนดระยะหาง 30 หนวย}
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1 }
Specify point on side to offset or [Exit/Multiple/Undo] <Exit>: {คลิกจุดที่ 2 }
Select object to offset or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิก ขวาหรื อกดปุ ม Q เพือ ่ ออกจากคําสัง่ }

37. กลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคาํ สัง่ View4Zoom4Previous จะปรากฏดังรูปที่ 20.15 (ขวา)


38. จากรูปที่ 20.15 (ซาย) ตัดเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Trim ตามวิธีในขอ 13 ใหแนใจวา
OSNAP # อยูใ นสถานะปด ใหแนใจวา Edge = None เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects
or <select all>: คลิกบนเสนขอบตัดจุดที่ 3 แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to
trim ... คลิกจุดที่ 4 แลวคลิกขวา เพือ่ ออกจากคําสัง่ แลวขยายภาพ โดยใชคาํ สัง่ View4Zoom4
Realtime และใชคําสัง่ View4Pan4Real Time ใหปรากฏดังรูปที่ 20.16 (ซาย)
39. จากรูปที่ 20.16 (ซาย) ตัดเสน โดยทีเ่ สนไมไดกนั จริง โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ TRIM หรือ
ใชคําสั่ง Modify4Trim

chap-20.PMD 640 13/10/2549, 1:40


641
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II

รูปที่ 20.16

Command: _trim {จากรูปที่ 20.16 (ซาย) ใหแนใจวา OSNAP # อยูใ นสถานะปด}


Current settings: Projection=UCS, Edge=None
Select cutting edges ... {เลือกขอบตัด}
Select objects or <select all>: {คลิกบนเสนจุดที่ 1 เพือ่ ใชเปนขอบตัด}
Select objects: {คลิกขวาหรือ Q เพือ ่ ออกจากโหมดการเลือกขอบตัด}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: E {พิมพ E เพือ่ เลือก Edge}
Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] <No extend>: E {พิมพ E
เพือ่ เลือกโหมด Extend เพือ่ ตัดเสนทีไ่ มไดตดั กันจริง}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 2 เพือ่ ตัดเสน}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: E {พิมพ E เพือ่ เลือก Edge}
Enter an implied edge extension mode [Extend/No extend] <Extend>: N {พิมพ N เพือ่
ปรับโหมดกลับไปเปน No Extend หรือ Edge = None เชนเดิม}
Select object to trim or shift-select to extend or
[Fence/Crossing/Project/Edge/eRase/Undo]: {คลิกขวาหรือ Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.16 (ขวา)}

40. จากรูปที่ 20.16 (ขวา) เขียนเสน Runout ทํามุม 135 องศากับแนวแกน X โดยใชคาํ สัง่ Draw4Line
ตามวิธีในขอ 30 เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมื่อปรากฏมารคเกอร คลิกซาย พิมพ
รีเลทีฟโพลารคอรออรดิเนท @15<135 กดปุม Q 2 ครัง้ จะปรากฏดังรูปที่ 20.17 (ซาย)

รูปที่ 20.17

41. จากรูปที่ 20.17 (ซาย) สรางสวนโคงฟลเลท โดยใชคําสัง่ Modify4Fillet ใหแนใจวา Mode


= TRIM เมือ่ ปรากฏขอความ Select first object... พิมพ R เพือ่ กําหนดรัศมี เมือ่ ปรากฏขอความ

chap-20.PMD 641 13/10/2549, 1:40


642

Specify fillet radius <70.0000>: ปอนคารัศมี 30 หนวย เมื่อปรากฏขอความ Select first


object... คลิกบนเสนจุดที 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Select second object... คลิกบนเสนจุดที 2
จะปรากฏดังรูปที่ 20.17 (ขวา) 2D Drafting
42. กลับไปยังจอภาพเดิม โดยใชคาํ สัง่ View4Zoom4Previous จะปรากฏดังรูปที่ 20.18 (ซาย)
รูปที่ 20.18

43. จากรูปที่ 20.18 (ซาย) คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับ โดยใชคําสัง่ Modify4Mirror ตามวิธใี น


ขอ 23 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่ 1 และ 2 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลว
คลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3 เมือ่
ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย Specify second point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไป
ยังจุดที่ 4 เมือ่ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย เมือ่ ปรากฏขอความ Erase source objects?
[Yes/No] <N>: คลิกขวาหรือกดปุม Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.18 (ขวา)
44. จากรูปที่ 20.18 (ขวา) คัดลอกวัตถุแบบพลิกกลับตอไป โดยคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ MIRROR
หรือใชคาํ สัง่ Modify4Mirror ตามวิธใี น ขอ 23 เมือ่ ปรากฏขอความ Select objects คลิกจุดที่
5 และ 6 เพือ่ เลือกวัตถุแบบ Window แลวคลิกขวา เมือ่ ปรากฏขอความ Specify first point of
mirror line: เลื่อนเคอรเซอรไปยังจุดที่ 7 เมื่อ ปรากฏมารคเกอร หรือ คลิกซาย Specify
second point of mirror line: เลือ่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 8 เมื่อปรากฏมารคเกอร หรือ
คลิกซาย เมื่อปรากฏขอความ Erase source objects? [Yes/No] <N>: คลิกขวาหรือกดปุม
Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.19 (ซาย)
รูปที่ 20.19

45. จากรูปที่ 20.19 (ซาย) ตอความยาวเสน โดยใชคําสัง่ Modify4Lengthen

Command: _lengthen {จากรูปที่ 20.19 (ซาย) ปด #}


Select an object or [DElta/Percent/Total/DYnamic]: DE {พิมพตวั เลือก DE เพือ
่ เลือก DElta}
Enter delta length or [Angle] <0.0000>: 30 {กําหนดคา 30 แลวกดปุม  Q}
Select an object to change or [Undo]: {คลิกบนเสนตรงจุดที่ 1, 2, 3 และ 4}
Select an object to change or [Undo]: {คลิกขวาหรือกดปุม
 Q จะปรากฏดังรูปที่ 20.19 (ขวา)}

chap-20.PMD 642 13/10/2549, 1:40


643
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II

Note มาถึงจุดนี้ ชิน้ งานเสร็จสมบูรณแลว สวนเสนบอกขนาดและตัวอักษรตามจุดประสงคของแบบฝกหัดนี้


เราจะตองเขียนบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส นัน่ ก็หมายความวา เราจะตองนําตารางรายการแบบเขามา
จัดหนากระดาษใหเรียบรอยเสียกอน จึงจะสามารถเขียนเสนบอกขนาดและตัวอักษรได

46. เริม่ นําตารางรายการแบบ ISO-A3-MM เขามาใชงาน โดยคลิกขวาบนแถบ หรือแถบ


หรือแถบ แลวเลือกคําสัง่ From Tempate จากช็อทคัทเมนู จะปรากฏ
ไดอะล็อค Select Template From File ใหคน หาเทมเพล็ทไฟล MySheetSetTemplate.dwt ซึง่ เรา
ไดบันทึกไวในแบบฝกหัดในบทที่ 17 คลิกชือ่ ไฟล แลวคลิกบนปุม Open จะปรากฏไดอะล็อค
ดังรูปที่ 19.16 (ขวา) ใหเลือก ISO-A3-MM แลวคลิกบนปุม OK

Note หากผูอานยังมิไดทําแบบฝกหัดในบทที่ 17 เราสามารถเรียกใชไฟล MySheetSetTemplate.dwt จาก


โฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM มัลติมเี ดียชวยสอนแนบทายหนังสือคูม อื เลมนีไดเชนเดียวกัน

Note ถึงแมวาตารางรายการแบบ ISO-A3-MM จะออกแบบมาใหใชงานกับ Sheet Set Manager เราสามารถ


นํามาใชงานโดยไมใชรวมกับ Sheet Set Manager ได โดยขอมูลตัวอักษรที่อยูในตารางรายการแบบ
จะไมเชื่อมโยงความสัมพันธกับเทมเพล็ทไฟลตน แบบ

47. ลบเลเอาท โดยคลิกขวาบนเลเอาท เลือกคําสัง่ Delete คลิกบนปุม OK ลบเลเอาท


ตอไป โดยคลิกขวาบนเลเอาท เลือกคําสัง่ Delete คลิกบนปุม OK แถบเลเอาทจะ
ปรากฏ
48. คลิกบนเลเอาท ISO-A3-MM เพือ่ กําหนดใหเปนเลเอาทใชงาน จะปรากฏดังรูปที่ 20.20 (ซาย)

Note ทดลองเลื่อนเคอรเซอรไปตรงกลางของพืน้ ทีว่ างของตารางรายการแบบ แลวทดลองดับเบิล้ คลิก หาก


มีการสรางวิวพอรทมากอน เสนกรอบของวิวพอรทจะเปลี่ยนเปนเสนหนาทึบ เมื่อทดลองดับเบิ้ล
คลิกแลวไมมสี งิ่ ใดเปลีย่ นแปลง แสดงวาทัง้ ตารางรายการแบบ ISO-A3-MM มิไดมกี ารสรางวิวพอรท
ไวกอน ซึ่งเราก็ทราบดีอยูแลว จึงยังไมปรากฏชิ้นงานบนตารางรายการแบบ เหตุที่เราตองทดลอง
ดับเบิ้ลคลิกบนพื้นที่วางในตารางรายการแบบก็เพื่อใหแนใจวาเราจะไมสรางวิวพอรทใหมเซอนทับ
วิวพอรทที่มีอยูแลว เราจะตองจําไวเสมอวาหามมิใหสรางวิวพอรทซอนทับวิวพอรท

49. สรางเลเยอรใหมคือเลเยอร Viewport โดยใชคําสัง่ Format4 Layer จะปรากฏไดอะล็อค


Layer Properties Managers ใหคลิกบนปุม New Layer เมือ่ ปรากฏแถบสีน้ําเงินบนชือ่
Layer1 ใหตงั้ ชือ่ เลเยอร Viewport คลิกบนตลับสีของเลเยอร Viewport เมือ่ ปรากฏไดอะล็อค
Select Color พิมพรหัสสี 4 หรือ Cyan (สีฟา แกมเขียว) เขาไปในอิดทิ บอกซ Color แลวคลิกปุม
OK กําหนดสถานะไมพมิ พ โดยคลิกบนไอคอนเครือ่ งพิมพใหปรากฏ แลวกําหนดใหเลเยอร
Viewport เปนเลเยอรใชงาน โดยคลิกชือ่ เลเยอร Viewport แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิก
ปุม Apply และ OK

Note หากไมตองการเสียเวลาในการสรางเลเยอรใหม เราสามารถคัดลอกเลเยอร Viewport จากไฟลแบบ


แปลนในแบบฝกหัดที่แลวเขามาใชงาน โดยเรียกคําสั่ง Tools4DesignCenter เลือกแถบคําสั่ง
Folders แลวคนหาไฟล 19-628-21-1.dwg หรือไฟลอื่นๆ ในโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM
มัลติมเี ดียชวยสอนแนบทายหนังสือคูม อื เลมนี้ แลวเลือกหัวขอ Layers คนหาเลเยอร Viewport แลวคลิก
และลากเลเยอร Viewport มาปลอยในไฟลแบบฝกหัดนี้ เลเยอร Viewport จะถูกคัดลอกเขามาใชงาน
ในแบบฝกหัดนี้ เราเพียงแตคลิกเลเยอร Viewport จากแถบรายการควบคุมเลเยอร แลวละลาย(Thaw)
สถานะแชแข็ง แลวกําหนดใหเลเยอร Viewport เปนเลเยอรใชงานเทานั้น

chap-20.PMD 643 13/10/2549, 1:40


644

รูปที่ 20.20

2D Drafting

Note ถึงแมวา เราจะกําหนดสีใหกบั เลเยอร Viewport สีจะไมมผี ลตอการพิมพ เนือ่ งจากเราไดกําหนดสถานะ


ไมพมิ พใหกับเลเยอรนี้ไว แตการกําหนดสีที่แตกตางจะมีประโยชนอยูบา งคือชวยใหเรามองเห็นเสน
กรอบวิวพอรทอยางชัดเจน อยางไรก็ตาม เราจะตองแชแข็ง(Freeze)วิวพอรทนี้ เมือ่ เขียนแบบแปลน
เสร็จเรียบรอยแลว กอนทีจ่ ะบันทึกแบบแปลนลงดิสค

50. จากรูปที่ 20.20 (ซาย) เริม่ สรางวิวพอรทรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผา โดยกอนอื่น เราจะตองแนใจวา


เปนเลเยอรใชงาน แลวใชคําสัง่ View4Viewports41 Viewport
เมือ่ ปรากฏขอความ Specify corner of viewport... ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะ
ปด คลิกจุดที่ 1 เมือ่ ปรากฏขอความ Specify opposite corner คลิกจุดที่ 2 จะปรากฏวิวพอรท
รูปสีเ่ หลีย่ มผืนผาพรอมทัง้ ปรากฏชิน้ งานในวิวพอรท
51. จากรูปที่ 20.20 (ซาย) เปลี่ยนเลเยอร เปนเลเยอรใชงาน เริ่มสราง
วิวพอรทรูปวงกลม โดยใชคําสั่ง Draw4Circle4Center, Radius คลิกจุดที่ 3 เพื่อ
กําหนดจุดศูนยกลางของวงกลม แลวคลิกจุดที่ 4 เพื่อกําหนดรัศมี จะปรากฏวงกลมบนพืน้ ที่
วาดภาพ ตอไปแปลงวงกลมใหกลายเปนวิวพอรท โดยใชคําสัง่ View 4Viewports4Object
เมือ่ ปรากฏขอความ Select object to clip viewport: คลิกบนรูปวงกลมทีไ่ ดสรางขึน้ วงกลมจะ
ถูกแปลงใหกลายเปนวิวพอรท พรอมทัง้ ปรากฏชิน้ งานในวิวพอรทดังรูปที่ 20.20 (ขวา)

Note เนือ่ งจากเราไมตอ งการซอนเสนกรอบวิวพอรทวงกลม เราจึงเขียนวงกลมไวในเลเยอร 0 (ศูนย) ซึง่ ยัง


มิไดใชงาน เพราะเมื่อเราเขียนแบบแปลนเสร็จแลว เราจะแชแข็งเลเยอร Viewport วิวพอรทวงกลม
จะไดไมถูกซอน

52. จากรูปที่ 20.20 (ขวา) เริม่ กําหนดสเกลใหกับวิวพอรททัง้ สอง โดยกอนอื่น เราควรปรับขนาด


ชิน้ งานให ปรากฏมีขนาดทีเ่ หมาะสมกับกระดาษเลเอาทเสียกอน โดยเขาสูโ หมดฟลอสติง้ โมเดล
สเปสของแตละวิวพอรท โดยคลิกปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกภายใน
ขอบเขตวิวพอรท แลวใชคําสัง่ View4Zoom4Realtime และคําสัง่ View4Pan4RealTime
ปรับขนาดและตําแหนงชิน้ งานใหมขี นาดเหมาะสมกับกระดาษ แลวกลับสูโ หมดเลเอาทเปเปอร
รูปที่ 20.21

chap-20.PMD 644 13/10/2549, 1:40


645
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
สเปส โดยคลิกปุม บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกนอกขอบเขตวิวพอรท จะ
ปรากฏดังรูปที่ 20.21 (ซาย)
53. จากรูปที่ 20.21 (ซาย) ตรวจสอบสเกลปจจุบนั ทของวิวพอรท โดยใชคําสัง่ Express4Layout
tools4List Viewport Scale จะปรากฏขอความ Select objects คลิกเสนกรอบวิวพอรทจุดที่ 1
โปรแกรมจะรายงานสเกลปจจุบนั ของวิวพอรทคือ PS:MS == 1:4.698 ดังนัน้ เราก็จะทราบวา
สเกลทีเ่ หมาะสมและใกลเคียงทีส่ ดุ ของวิวพอรทคือ 1:5 แลวคลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ VPSCALE
คลิกวิวพอรทวงกลมตรงจุดที่ 2 โปรแกรมจะรายงานสเกลปจจุบนั ของวิวพอรทคือ PS:MS ==
1:2.242 เราก็จะทราบวาสเกลทีเ่ หมาะสมและใกลเคียงทีส่ ดุ ของวิวพอรทวงกลมคือ 1:2

Note คาตัวเลข PS:MS ที่ไดจากวิวพอรท ทั้งสองเปนคาที่ไดจากการปรับขนาดการปรากฏของชิ้นงานใน


วิวพอรท ดังนัน้ คาที่ไดนี้จงึ ไมจําเปนที่จะตองเหมือนกันในการปรับแตงแตละครัง้

54. จากรูปที่ 20.21 (ซาย) เริม่ กําหนดสเกลใหกับวิวพอรท โดยใชคําสัง่ Modify4Properties


จะปรากฏหนาตาง Properties ดังรูปที่ 20.21 (ขวา) ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่
ใดๆ ใหคลิกเสนกรอบวิวพอรทสีเ่ หลีย่ ผืนผาตรงจุดที่ 1 แถบรายการบนหนาตาง Properties จะ
ปรากฏ Viewport และจะปรากฏรายละเอียดของวิวพอรทบนหนาตาง Properties เลือกสเกล
1:5 จากแถบรายการ Standard scale ขนาดของชิน้ งานในวิวพอรทจะเปลีย่ นแปลงเล็กนอย
เมื่อปรับสเกลวิวพอรทเรียบรอยแลว ล็อควิวพอรท โดยเลือก Yes จากแถบรายการ Display
Locked เพื่อปองกันมิใหวิวพอรทเปลี่ยนสเกล หากมีการใชคําสัง่ ZOOM ในโหมดฟลอสติ้ง
โมเดลสเปส แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวิวพอรท
55. จากรูปที่ 20.21 (ซาย) กําหนดสเกลใหกับวิวพอรท โดยในขณะที่ยังคงปรากฏหนาตาง
Properties และในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ ใหคลิกเสนกรอบวิวพอรท
วงกลมตรงจุดที่ 2 แถบรายการบนหนาตาง Properties จะปรากฏแถบรายการ All (2) ใหเลือก
Viewport (1) จะปรากฏรายละเอียดของวิวพอรทบนหนาตาง Properties เลือกสเกล 1:2 จาก
แถบรายการ Standard scale ขนาดของชิ้นงานในวิวพอรทจะเปลีย่ นแปลงเล็กนอย เมือ่ ปรับ
สเกลวิวพอรทเรียบรอยแลว ล็อควิวพอรท โดยเลือก Yes จากแถบรายการ Display Locked
เพือ่ ปองกันมิใหววิ พอรทเปลีย่ นสเกล หากมีการใชคําสัง่ ZOOM ในโหมดฟลอสติง้ โมเดลสเปส
แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวิวพอรท จะปรากฏดังรูปที่ 20.22 (ซาย)

Note เราจะเห็นวาจากรูปที่ 20.21 (ซาย) และรูปที่ 20.22 (ซาย) มีการเปลี่ยนแปลงขนาดของชิ้นงานใน


วิวพอรทเพียงเล็กนอยเทานัน้ เนือ่ งจากสเกลทีเ่ ราไดกําหนดใหกบั วิวพอรทใหม ไมไดแตกตางไปจาก
สเกลวิวพอรทเดิมมากนัก ชิ้นงานในวิวพอรทจึงขยับตัวเพียงเล็กนอยเทานั้น

Note หากเราได ล็อควิ วพอร ทแลว แตต องการที่ จะปรับ ตําแหนงของชิ้ นงานที่ ป รากฏภายในวิวพอรท
เนือ่ งจากชิน้ งานอาจจะปรากฏไมอยูต รงกลางวิวพอรท กอนทีจ่ ะสามารถปรับตําแหนงชิน้ งานได เรา
จะตองปลดล็อควิวพอรทเสียกอนโดยใชคําสั่ง Modify4Properties คลิกเสนกรอบวิวพอรท
แลวเลือก No จากแถบรายการ Display Locked แลวจึงเขาสูโหมดฟลอสติ้งโมเดลสเปส โดยคลิกปุม
บนบรรทัดแสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกภายในขอบเขตวิวพอรท แลวใชคําสัง่ View4Pan4
Real Time จัดตําแหนงของชิ้นงานที่ปรากฏในวิวพอรท แตหามมิใหใชคําสั่ง View4Zoom4
Realtime หรือ คําสัง่ ZOOM อืน่ ๆ เพราะจะทําใหสเกลของวิวพอรทเปลีย่ นแปลง เมือ่ จัดตําแหนง
ชิน้ งานเหมาะสมกับวิวพอรทแลว กลับสูโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยคลิกปุม บนบรรทัด
แสดงสถานะหรือดับเบิล้ คลิกนอกขอบเขตวิวพอรท แลวล็อควิวพอรทไวเชนเดิม โดยคลิกเสนกรอบ
วิวพอรท แลวเลือก Yes จากแถบรายการ Display Locked บนหนาตาง Properties

chap-20.PMD 645 13/10/2549, 1:40


646

รูปที่ 20.22

2D Drafting

Note หากในแถบรายการ Standard scale ไมมีสเกลที่ตองการใชงาน เราสามารถเพิ่มสเกลที่ตองการได


โดยใชคําสั่ง Format4Scale List แลวคลิกบนปุม Add เพื่อเพิ่มสเกลที่ตองการใชงาน

56. ปรับสเกลเสนประใหม โดยพิมพ LTS หรือ LTSCALE ผานบรรทัด Command: แลวกําหนดคา


0.314 เสนขีดยาวของเสนประเซ็นเตอรจะมีความยาวประมาณ 10 มิลลิเมตรพอดี จะปรากฏ
ดังรูปที่ 20.22 (ขวา)

Note คา 0.314 เปนคามาตรฐานซึ่งจะทําใหขดี ยาวของเสนประเซ็นเตอรมีคา เทากับ 10 หนวย เนือ่ งจากเสน


ขีดยาวคาที่ระบุในไฟล Acadiso.lin มีคาเทากับ 31.75 หนวย หากตองการใหเสนขีดยาวของเสนประ
CENTER ปรากฏมีความยาว 10 หนวยหรือ 10 มิลลิเมตร เราสามารถนํา 10 ตั้งแลวหารดวย 31.75 ซึ่ง
จะมีคาเทากับ 0.314 นั่นเอง

Note โดยปกติ เมือ่ กําหนด LTSCALE เสนประทัง้ หมดจะถูกปรับปรุง(Update)โดยอัตโนมัติ แตถา หากเสน


ประที่ปรากฏในวิวพอรทไมเปลี่ยนแปลง เราสามารถใชคําสั่ง View4Regen All เพื่อใหโปรแกรม
คํานวณเสนประใหมทงั้ หมดในทุกวิวพอรท

57. จากรูปที่ 20.22 (ขวา) โหลดเสนประ PHANTOM เขามากําหนดใหกบั วิวพอรทวงกลม โดยใช


คําสัง่ Format4Linetype จะปรากฏไดอะล็อค Linetype Manager คลิกบนปุม Load คนหาและ
คลิกบนเสนประ PHANTOM คลิกบนปุม OK แลวคลิกบนปุม OK เพื่อออกจากไดอะล็อค
ในขณะที่บรรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนเสนกรอบวิวพอรทตรงจุดที่ 1 ให
ปรากฏจุดกริ๊ปส เลือกเสนประ จากแถบรายการควบคุมรูปแบบ
เสน แลวเลือกความหนาเสน จากแถบรายการควบคุมความหนาเสน แลว
กดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวิวพอรท
58. จากรูปที่ 20.22 (ขวา) ใหแนใจวาเรากําลังอยูในโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยสังเกตุจาก
ไอคอน ซึง่ ปรากฏเปนรูปสามเหลี่ยม ใหแนใจวาเลเยอร เปนเลเยอร
ใชงาน เขียนวงกลม โดยใชคําสัง่ Draw4Circle4Center, Radius ตามวิธีในขอ 16
ปดโหมด # แลวคลิกจุดที่ 2 เพือ่ กําหนดจุดศูนยกลาง แลวคลิกตรงจุดที่ 3 เพือ่ กําหนด
รัศมี วงกลมจะถูกสรางขึน้ ในขณะทีบ่ รรทัด Command: ไมปรากฏคําสัง่ ใดๆ คลิกบนสวนโคงของ
วงกลมที่ไดจะสรางขึ้น เพื่อใหปรากฏจุดกริป๊ ส แลวเลือกเสนประ
จากแถบรายการควบคุมรูปแบบเสน แลวเลือกความหนาเสน จากแถบ
รายการควบคุมความหนาเสน แลวกดปุม D เพือ่ ยกเลิกการเลือกวงกลม
59. ซอนเสนกรอบวิวพอรท โดยเลือกเลเยอร 0 (ศูนย) จากแถบรายการควบคุมเลเยอร เพือ่ เปลีย่ น
เลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงาน แลวคลิกบนไอคอน ของเลเยอร Viewport เพือ่ แชแข็งเลเยอร
Viewport แลวเลือกเลเยอร 0 เปนเลเยอรใชงานเชนเดิม เสนกรอบวิวพอรทสีเ่ หลีย่ มผืนผาจะ
ถูกซอน วิวพอรทวงกลมยังคงปรากฏบนเลเอาท ISO-A3-MM ดังรูปที่ 20.23

chap-20.PMD 646 13/10/2549, 1:40


647
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
รูปที่ 20.23

Note ในขณะนี้ เราไดจดั หนากระดาษและกําหนดสเกลใหกบั วิวพอรทเรียบรอยแลว ตอไปเราจะเริม่ เขียนเสน


บอกขนาดลงบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส ซึ่งไมจําเปนตองสรางสไตลเสนบอกขนาดใหม เนื่องจาก
ในเทมเพล็ทไฟล My_Project_Template.dwt มีสไตลเสนบอกขนาด Mechanical ทีเ่ ราไดสรางไวกอ น
แลว เราสามารถเขียนเสนบอกขนาดไดทนั ที อนึง่ การเขียนเสนบอกขนาดบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส
สําหรับตารางรายการแบบที่มหี นวยเปนมิลลิเมตร เราสามารถใชสเกลแฟคเตอร Overall scale เทากับ
1 ตามที่ โปรแกรมกําหนดมาให (แตสําหรับตารางรายการแบบที่มีหนวยเปนเมตร เราจะใชสเกล
แฟคเตอร Overall scale เทากับ 0.001) ในที่นี้ เราไมจําเปนตองเปลี่ยนสเกลแฟคเตอรของเสนบอก
ขนาด ตัวเลขบอกขนาดและหัวลูกศรจะมีขนาด 2.5 มิลลิเมตรตามทีก่ ําหนดไวในสไตลเสนบอกขนาด

Note กอนการเขียนเสนบอกขนาดบนพื้นที่เลเอาทเปอรสเปส เราตองแนใจวาในคําสัง่ Tools4Options ð


User Preferences ใหแนใจวาปรากฏเครือ่ งหมาย บนเช็คบอกซ Make new dimensions associative

60. จากรูปที่ 20.23 เริม่ เขียนเสนบอกขนาดลงบนชิน้ งานบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส โดยใหแนใจ


ว า เป นไดเมนชั่ นสไตล ใช งาน ให แน ใจว าเรากําลั งอยู ในโหมดเลเอาท
เปเปอรสเปส โดยสังเกตุจากไอคอน ซึ่งปรากฏเปนรูปสามเหลีย่ ม แลวเปลี่ยนเลเยอร
เปนเลเยอรใชงาน ตรวจสอบสเกลแฟคเตอรของเสนบอกขนาดวามีคา
เทากับ 1 หรือไม โดยใชคําสัง่ Format4Dimension Style เลือกสไตล Mechanical แลว
คลิกปุม Modify คลิกแถบคําสัง่ Fit ใหแนใจวาปรากฏคา 1 ในอิดทิ บอกซ Use overall scale of
คลิกบนปุม OK และ Close เริม่ เขียนเสนบอกขนาด โดยใชคําสัง่ Dimension 4Radius

Command: _dimradius {จากรูปที่ 20.23 (ขวา) ปด # }


Select arc or circle: {คลิกบนสวนโคงตรงจุดที่ 1}
Dimension text = 220 {โปรแกรมรายงานคาตัวเลขบอกขนาด}
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]: { ปด # คลิกบนพืน้ ที่
วางตรงจุดที่ 2 เพือ่ กําหนดตําแหนงตัวเลขบอกขนาด }

chap-20.PMD 647 13/10/2549, 1:40


648

61. จากรูปที่ 20.23 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ DIMRADIUS แลวเขียนเสนบอกขนาดแบบรัศมี ทีเ่ หลือ
อยูท งั้ หมด ตามวิธใี นขอ 60 โดยดูตัวอยางจากรูปที่ 20.24
2D Drafting
62. จากรูปที่ 20.23 เขียนเสนบอกขนาดแบบเอียงตามระนาบทีใ่ หขนาด โดยใชคําสัง่ Dimension4
Aligned (สามารถใชแทนคําสัง่ Dimension4Linear ได)

Command: _dimaligned {จากรูปที่ 20.23 เปดโหมด #}


Specify first extension line origin or <select object>: {เลือ
่ นเคอรเซอรไปยังจุดที่ 3
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
{เลือนเคอร
Specify second extension line origin: ่ เซอรไปยังจุดที่ 4 เมือปรากฏมาร
่ คเกอร คลิกซาย }
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]: {ปด # คลิกจุดที่ 5}
Dimension text = 340 {โปรแกรมรายงานคาตัวเลขบอกขนาด}

63. จากรูปที่ 20.23 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้าํ คําสัง่ DIMALIGNED แลวเขียนเสนบอกขนาดแบบเอียงตาม


ระนาบทีเ่ หลืออยูท งั้ หมด ตามวิธใี นขอ 62 โดยดูตวั อยางจากรูปที่ 20.24
64. จากรูปที่ 20.23 เขียนเสนบอกขนาดแบบกระทุง รัศมี โดยใชคําสัง่ Dimension4Jogged

Command: _dimjogged {จากรูปที่ 20.23 ปดโหมด #}


Select arc or circle:{คลิกบนสวนโคงตรงจุดที่ 6}
Specify center location override: {คลิกเพือ ่ กําหนดตําแหนงจุดศูนยกลางใหมตรงจุดที่ 7}
Dimension text = 200 {โปรแกรมรายงานคาตัวเลขบอกขนาด}
Specify dimension line location or [Mtext/Text/Angle]: {คลิกเพือ ่ กําหนดตําแหนง
ตัวเลขบอกขนาดตรงจุดที่ 8 }
Specify jog location: {คลิกเพือ
่ กําหนดจุดกระทุง รัศมีตรงจุดที่ 9}

65. จากรูปที่ 20.23 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสัง่ DIMJOGGED แลวเขียนเสนบอกขนาดแบบกระทุง


รัศมีทเี่ หลืออยูท งั้ หมด ตามวิธใี นขอ 64 โดยดูตวั อยางจากรูปที่ 20.24
66. จากรูปที่ 20.23 เขียนเสนลีดเดอรไลน โดยใชคําสัง่ Dimension4Leader

Command: _qleader {จากรูปที่ 20.23}


Specify first leader point, or [Settings] <Settings>: {คลิกบนปุม (Nearest) หรือกดปุม
S คางไวแลวคลิกขวา เลือกออฟเจกทสแนป Nearest แลวเลือ่ นเคอรเซอรไปบนเสนตรงจุดที่ 10
เมือ่ ปรากฏมารคเกอร คลิกซาย }
Specify next point: {ปด # แลวคลิกพืน้ ทีว่ า งจุดที่ 11}
Specify next point: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการกําหนดจุด}
Specify text width <0>: {คลิกขวาหรือกดปุม Q เพือ่ ยอมรับคาความกวางของตัวอักษร}
Enter first line of annotation text <Mtext>: {พิมพ 60 Drill 4 Holes แลวกดปุม  Q}
Enter next line of annotation text: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ }

67. จากรูปที่ 20.23 คลิกขวาเพือ่ ทําซ้ําคําสั่ง QLEADER แลวเขียนเสนลีดเดอรไลน ตามวิธใี นขอ


66 โดยใชออฟเจกทสแนป (Nearest) คลิกจุดที่ 12 แลวคลิกจุดที่ 13 และ 14 เมือ่ ปรากฏ
ขอความ Specify text width <0>: กดปุม Q เพือ่ ยอมรับคาความกวางของตัวอักษร
เมือ่ ปรากฏขอความ Enter first line of annotation text <Mtext>: พิมพ See Details A กดปุม
Q เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 20.24

chap-20.PMD 648 13/10/2549, 1:40


649
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
รูปที่ 20.24

Note สังเกตุวา การเขียนเสนบอกขนาดบนพืน้ ทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปสนีม้ วี ธิ กี ารทีง่ า ยไมซบั ซอนเหมือนการเขียน


เสนบอกขนาดบนพืน้ ทีโ่ มเดลสเปสเหมือนในแบบฝกหัดทีแ่ ลว เราเพียงกําหนดสเกลแฟคเตอรเปน 1
สําหรับหนวยวัดทีเ่ ปนมิลลิเมตรหรือ 0.001 สําหรับหนวยวัดทีเ่ ปนเมตรเทานัน้ ไมตอ งเสียเวลาคํานวณ
สเกลของเสนบอกขนาดใหยงุ ยาก เพราะเสนบอกขนาดแบบนีไ้ มขึ้นอยูก ับสเกลของวิวพอรท

Note ตอไปเริ่ มเขียนตัวอักษร โดยเราไม จําเปนตองสรางสไตล ตัวอั กษร เนื่องจากในเทมเพล็ท ไฟล


My_Project_Template.dwt มีสไตลตัว Simplex ที่เราไดสรางไวกอนแลว เราสามารถใชในการเขียน
ตัวอักษรไดทันที อนึง่ การเขียนตัวอักษรบนพื้นทีเ่ ลเอาทเปเปอรสเปส เราจะตองใชความสูงจริงของ
ตัวอักษร ตัวอยาง เชน สําหรับตารางรายการแบบทีม่ ีหนวยเปนมิลลิเมตร หากตองการเขียนตัวอักษรสูง
2 มิลลิเมตร ใหกําหนดความสูง 2 หนวย สําหรับตารางรายการแบบที่มีหนวยเปนเมตร หากตองการ
เขียนตัวอักษรสูง 2 มิลลิเมตร ใหกําหนดความสูง 0.002 หนวย เปนตน อนึง่ การเขียนตัวอักษรบนพืน้ ที่
เลเอาทเปเปอรสเปสไมขึ้นอยูก ับสเกลของวิวพอรท การกําหนดความสูงจึงใชความสูงของตัวอักษร
จะตองใชขนาดจริงทีจ่ ะพิมพลงกระดาษ เพือ่ กําหนดใหกบั ความสูงของตัวอักษร

68. สรางเลเยอรใหมคอื เลเยอร Text โดยใชคําสัง่ Format4 Layer จะปรากฏไดอะล็อค Layer


Properties Managers ใหคลิกบนปุม New Layer เมือ่ ปรากฏแถบสีนา้ํ เงินบนชือ่ Layer1
ใหตงั้ ชื่อเลเยอร Text คลิกบนตลับสีของเลเยอร Text เมื่อปรากฏไดอะล็อค Select Color
พิมพรหัสสี 6 หรือ Magenta (สีมว ง) เขาไปในอิดิทบอกซ Color แลวคลิกปุม OK คลิกบน
Lineweight ของเลเยอร Text เลือกความหนาเสน 0.18 mm กําหนดใหเลเยอร Text เปนเลเยอร
ใชงาน โดยคลิกชือ่ เลเยอร Text แลวคลิกบนปุม Set Current แลวคลิกปุม Apply และ OK

Note หากไมตองการเสียเวลาในการสรางเลเยอรใหม เราสามารถคัดลอกเลเยอร Text จากไฟลแบบแปลน


ในแบบฝกหัดทีแ่ ลวเขามาใชงาน โดยเรียกคําสั่ง Tools4DesignCenter เลือกแถบคําสั่ง Folders
แลวคนหาไฟล 19-628-21-1.dwg หรือไฟลอนื่ ๆ ในโฟลเดอร \Exercise บนแผน DVD-ROM แนบทาย
หนังสือคูม ือเลมนี้ แลวเลือกหัวขอ Layers คนหาเลเยอร Text แลวคลิกและลากเลเยอร Text มาปลอยใน
ไฟลแบบฝกหัดนี้

chap-20.PMD 649 13/10/2549, 1:40


650

69. จากรูปที่ 20.24 ใหแนใจวาเรากําลังอยูใ นโหมดเลเอาทเปเปอรสเปส โดยสังเกตุจากไอคอน


ซึง่ ปรากฏเปนรูปสามเหลี่ยม เริ่มเขียนตัวอักษร โดยใหแนใจวาสไตลตัวอักษรใชงาน
ปรากฏในแถบรายการควบคุมสไตลตัวอักษร ใหแนใจวา
ใชงาน เริ่มเขียนตัวอักษร โดยใชคําสั่ง Draw4Text4Single Line Text
2D Drafting
เปนเลเยอร

Command: _dtext {จากรูปที่ 20.24 ปดโหมด # }


Current text style: "Simplex" Text height: 2.5000
Specify start point of text or [Justify/Style]: J {พิมพ J เพือ่ เลือก Justify จัดตัวอักษรชิดซายขวา}
Enter an option [Align/Fit/Center/Middle/Right/TL/TC/TR/ML/MC/MR/BL/BC/BR]: MC
{พิมพ MC เพือ่ เลือกจัดตัวอักษรชิดกลางทัง้ ในแนวนอนและในแนวตัง้ }
Specify middle point of text: {คลิกจุดที่ 1 เพือ ่ กําหนดตําแหนงจุดสอดแทรกของตัวอักษร}
Specify height <2.5000>: 5 {กําหนดคาความสูง 5 หนวย}
Specify rotation angle of text <0>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q}
SCALE 1:5 {ใหพมิ พ SCALE 1:5 แลวกดปุม Q สองครัง้ เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 20.25}

รูปที่ 20.25

70. จากรูปที่ 20.25 คัดลอกตัวอักษร โดยใชคําสั่ง Modify4Copy

Command: _copy {จากรูปที่ 20.25 ใหแนใจวา # อยูใ นสถานะปด}


Select objects: {คลิกตัวอักษร SCALE 1:5 ทีส ่ รางในขอทีแ่ ลวตรงจุดที่ 1}
Select objects: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากการเลือกวัตถุ}
Specify base point or [Displacement] <Displacement>: {คลิกบนปุม  ออฟเจกทสแนป
(Insertion) แลวคลิกจุดที่ 2 เพือ่ กําหนดจุดฐานในการคัดลอก}
Specify second point or <use first point as displacement>: {คลิกจุดที่ 3 }
Specify second point or [Exit/Undo] <Exit>: {คลิกขวาหรือกดปุม  Q เพือ่ ออกจากคําสัง่
จะปรากฏดังรูปที่ 20.26}

chap-20.PMD 650 13/10/2549, 1:40


651
แบบฝกหัดที่ 4 งานเขียนแบบเครื่องกล II
รูปที่ 20.26

71. จากรูปที่ 10.26 แกไขตัวอักษร โดยใชคําสัง่ Modify4Object4Text4Edit เมือ่ ปรากฏ


ขอความ Select an annotation object or [Undo]: คลิกตัวอักษรตรงจุดที่ 1 แลวแกไขขอความเปน
Details A Scale 1:2 แลวกดปุม Q 2 ครั้ง เพือ่ ออกจากคําสัง่ จะปรากฏดังรูปที่ 20.27

รูปที่ 20.27

72. กรอกขอมูลตัวอักษรเขาไปในตารางรายการแบบ โดยดับเบิล้ คลิกบนเสนกรอบหรือตัวอักษร


ทีป่ รากฏในกรอบตารางรายการแบบ จะปรากฏไดอะล็อค Enhanced Attribute Editor ดังรูปที่
19.22 (ซาย) หรือพิมพคําสั่ง ATTEDIT ผานบรรทัด Command: จะปรากฏไดอะล็อค Edit
Attribute ดังรูปที่ 19.22 (ขวา) เราสามารถใชไดอะล็อคทัง้ สองในการปอนขอมูลตัวอักษรเขาไป
ในตารางรายการแบบได

chap-20.PMD 651 13/10/2549, 1:40


652

Note เปนอันวาเราไดเขียนชิ้นงาน จัดหนากระดาษ สรางวิวพอรท กําหนดสเกลใหกับวิวพอรท เขียนเสน


บอกขนาด เขียนตัวอักษรลงบนแบบแปลน ในการพิมพแบบแปลน เราไมจําเปนที่จะตองกําหนดคา
2D Drafting
พารามิเตอรบนไดอะล็อค Plot ซ้ําอีก เนื่องจากพารามิเตอรตา งๆ ไดถูกกําหนดมาจากไดอะล็อค Page
Setup เรียบรอยแลว เราจึงสามารถสั่งพิมพแบบแปลนไดทันที โดยที่ไมจําเปนที่จะตองปรับแตง
พารามิเตอรใดๆ ดังนี้

73. เริม่ พิมพแบบแปลน โดยใชคาํ สัง่ File4Plot จะปรากฏไดอะล็อค Plot ดังรูปที่ 16.43 สังเกตุวา
Page Setup ซึง่ บันทึกพารามิเตอรตา งๆ ในการจัดหนากระดาษยังไมไดถกู ตัง้ ชือ่ เราสามารถ
คลิกบนปุม Add เพือ่ บันทึกการตัง้ คาหนากระดาษ แลวคลิกบนปุม Apply to Layout แลวคลิก
บนปุม Preview เพื่อดูตวั อยางกอนที่จะพิมพแบบแปลนจริง ซึ่งจะปรากฏตัวอยางการพิมพ
ดังรูปที่ 20.28

รูปที่ 20.28

เมือ่ เราไดทําแบบฝกหัดงานเขียนแบบเครือ่ งกล II เสร็จสิน้ อยางสมบูรณแลว เราจะเห็นความแตกตางระหวางการจัด


หนากระดาษ การเขียนเสนบอกขนาดและการเขียนตัวอักษรในแบบฝกหัดงานเขียนแบบเครือ่ งกล I กับแบบฝกหัดงาน
เขียนแบบเครือ่ งกล II อยางชัดเจน ทัง้ สองวิธสี ามารถนําไปใชในงานจริงไดเชนเดียวกัน ดังนัน้ ผูอ า นควรเลือกวิธที งี่ า ย
และรวดเร็วทีส่ ดุ ไปประยุกตใชในงานเขียนแบบของตนเอง
********************************************************

chap-20.PMD 652 13/10/2549, 1:40

You might also like