You are on page 1of 260

สารบัญ

คำ�ปรารภ ๓
กำ�หนดการ ๔
ประกาศคณะสงฆ์ ภาค ๑๔ ๕
ระเบียบปฏิบัติของผู้เข้ารับการอบรมฯ ๙
จุดประสงค์ ๑๐
คำ�กล่าวถวายรายงานเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบฯ โดย พระธรรมโพธิมงคล ๑๑
ปฐมนิเทศนานุสาสนีกถา โดย พระมหาโพธิวงศาจารย์ ๑๓
สัมปสาทนียกถา โดย พระธรรมโพธิมงคล ๒๒
คำ�กล่าวปฏิสันถาร โดย พระเทพคุณาภรณ์ ๒๘

ภาควิชาการ
พระมหาเถระผู้รักษาพระศาสนา (พระเทพมหาเจติยาจารย์) ๓๔
เลือดของพระพุทธศาสนาคือภาษาบาลี (พระราชปริยัติเมธี) ๓๕
ความสำ�คัญของภาษาบาลี (พระราชวิสุทธิเมธี) ๓๗
สุริยันไม่ส่องแสง (พระเทพสาครมุนี) ๓๘
บาลีที่รัก (พระศรีธีรวงศ์) ๔๔
ยอดแห่งมหากาพย์ (พระศรีวิสุทธิวงศ์) ๔๕
พ่อปกครองลูก (พระมหาสุธี อาสโภ ป.ธ.๙) ๔๙
บาลีกับการพัฒนา (พระมหาประจักษ์ ปญฺญาลาภี ป.ธ.๙ ) ๕๐
กำ�ลังใจ (พระมหาปริทัศน์ วรกิจฺโจ ป.ธ.๙) ๕๓
ภาคสถิติและข้อมูล
๖๒ ประกาศคณะสงฆ์ภาค ๑๔
๖๙ สถิตินักเรียนอบรมบาลีก่อนสอบ และสอบไล่ได้
ปี พ.ศ. ๒๕๒๗-๒๕๕๙
๑๐๘ กราฟแสดงสถิตินักเรียนเข้าอบรมบาลีก่อนสอบและสอบได้
ภาค ๑๔ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๕๙
๑๑๐ สถิตินักเรียนเข้าอบรมบาลีก่อนสอบและสอบได้
ภาค ๑๔ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘-๒๕๕๙
๑๑๒ สถิติผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ พ.ศ. ๒๕๖๐ ปีที่ ๔๓
๑๑๔ สถิติวิทยากรและนักเรียนแต่ละชั้น อบรมบาลีก่อนสอบ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๑๕ สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๐ - ๒๕๕๙
๑๔๒ บัญชีรายชื่อผู้เข้าอบรมฯ และสอบได้ปี พ.ศ. ๒๕๕๙
๑๕๒ ตารางอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๕๙ บัญชีรายชื่อผู้เข้าอบรมบาลีก่อนสอบฯ พ.ศ. ๒๕๖๐
๑๘๖ คำ�กล่าวถวายรายงานพิธีปิดการอบรมบาลีก่อนสอบฯ (พระเทพคุณาภรณ์)

ภาคผนวก (อนุโมทนา)
๑๙๒ สำ�เนาเอกสารการอบรมบาลีก่อนสอบฯ
๑๙๘ รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า-เพล
๒๒๘ รายนามผู้อุปถัมภ์รางวัลแก่พระภิกษุสามเณร
๒๒๙ รายการปฏิบัติงานของคณะครู นักเรียนช่วยงานถวายภัตตาหารเช้า-เพล
๒๓๐ รายนามพระสงฆ์กล่าวสัมโมทนียกถา
2
คำ�ปรารภ
เหตุที่จักทำ�ให้เกิดความรู้แตกฉาน ซาบซึ้ง ถูกใจ ไม่ถูกใจ อาศัยการริเริ่มจากเราเป็นสำ�คัญต่อมาก็มี
เขาร่วมกันด้วย รวมกันได้เป็นเอกฉันท์หรือส่วนมากทำ�ให้ส่วนรวม จุดใหญ่ จุดเล็ก เห็นด้วยก็ยอมรับ
ไม่เห็นด้วยก็ขาดความสนใจ แต่เมื่อส่วนใหญ่เห็นชอบก็น่าจะปฏิบัติให้สอดคล้องต้องกันในเมื่อยังมีเหตุผลไม่เพียง
พอ ขาดความเป็นธรรม การอบรมบาลีก่อนสอบของภาค ๑๔ มี ๔ จังหวัด นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี
และสมุทรสาคร เริ่มปี ๒๕๑๘ เป็นแห่งแรกของประเทศไทย เฉพาะต่างจังหวัด และขยายเพิ่มปริมาณยิ่งด้วย
คุณภาพ จังหวัดต่างๆ ที่มาร่วมสูงสุดไม่เกิน ๓๕ จังหวัด ในระยะ ๔๔ ปี
อาศัยทุกฝ่ายร่วมกัน ที่สำ�คัญเป็นพลังนำ�องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง พระพุทธปฏิมากร แทนองค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในพระอุโบสถ ร่วมส่งเสริม
ก. ทบทวนวิชาที่ศึกษามาแล้วให้คงที่ ไม่ประมาทและเพิ่มวิชาใหม่ๆ
ข. ผู้รับภาระกิจสอนหนังสือในที่ต่างๆ ห่างครู-วิชาที่จะสอบ คล่องตัวในวิชานั้นๆ
ค. มีเวลาพักผ่อนเสริมความรู้ โดยมิต้องขาดสัปปายะมากเกินควร ส่วนสำ�คัญยิ่งนั้น จักช่วยผู้บำ�เพ็ญตน
ให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับสังคมเพื่อความมั่นคงของประเทศชาติ พระพุทธศาสนา ในอนาคตอันไม่ไกล
มุ่งความสำ�คัญดังกล่าวร่วมกัน ทำ�งานด้วยความเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าอย่างไร ก็จักไม่คำ�นึงถึง โดยมี
สิ่งปลอบใจ พลังใจในส่วนที่เป็นโอวาทพระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ อดีตเจ้าคณะใหญ่
หนกลาง วัดสามพระยา ประทานไว้ว่า
“ถึงเหนื่อยยาก แล้วเหนื่อยหาย แต่เครื่องหมายความดียังมีอยู่”
หนังสือนี้จึงปรากฏในสายตาของทุกท่าน รวมผลงานที่ต่างทำ�ไว้เป็นหลักฐาน คงอยู่ได้นานสำ�หรับผู้
สนใจจะค้นคว้า ส่วนสิ่งอื่นๆ นั้น ก็คงจะสลายไปตามกาลเวลา ทุกฝ่ายต่างทุ่มเทพลังกาย พลังความคิด พลัง
สติปัญญา เกิดความแตกฉาน เพราะได้ทำ�ร่วมกันในงานครั้งนี้ ใครทำ�น้อย ทำ�มาก ไม่ต้องว่ากัน ถือว่าความ
สำ�เร็จด้วยดี สามัคคีเป็นเอกฉันท์ ต่างผลิตผลงานให้มีประสิทธิภาพ สัมฤทธิ์ผลกับทุกท่านผู้สนใจ ผดุงไว้ซึ่งความ
ดี ผู้ทำ�ซาบซึ้งในความดี พึงมีค่าสูงยิ่งกว่าที่จักได้รับคำ�ว่า “ขอบคุณ” จากใครใดอื่นนั่นแล ฯ

พระธรรมโพธิมงคล
ผู้อำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
3
กำ�หนดการ
� เนื่องด้วย� การเปิดอบรมนักเรียนบาลีก่อนสอบ� ภาค� ๑๔� ณ� วัดไร่ขิง� ตำ�บลไร่ขิง� อำ�เภอสามพราน�
จังหวัดนครปฐม� จะเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ� ตั้งแต่วันที่� ๒๔� มกราคม� ถึง� ๗� กุมภาพันธ์� พุทธศักราช��
๒๕๖๑�รวม�๑๕�วัน�มีนักเรียนเข้าอบรมตั้งแต่ประโยค�๑-๒�ถึง�ประโยค�ป.ธ.๕��ทางภาค�๑๔��จึงขอให้
นักเรียนที่เข้ารับการอบรมพร้อมกันที่อาคารปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติ�๘๔�พรรษา�มหาราชา�ตามกำ�หนดดังนี้

� วันที่��๒๓��มกราคม��พุทธศักราช�๒๕๖๑
� เวลา��๑๗.๓๐��น.� พร้อมกันที่อาคารราชวิริยาลังการ
� เวลา��๑๘.๐๐��น.� ประธานกล่าวเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔
� เวลา��๑๙.๐๐��น.� ประกาศกฎระเบียบผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔

� วันที่��๒๔��มกราคม��พุทธศักราช�๒๕๖๑
� เวลา��๐๖.๐๐��น.� พร้อมกันที่อาคารราชวิริยาลังการ
� เวลา��๐๗.๐๐��น.� ฉันภัตตาหารเช้า
� เวลา��๐๘.๐๐��น.� เข้าห้องเข้ารับการอบรมฯเข้ารับการอบรมเป็นวันแรก

4
ประกาศคณะสงฆ์ภาค�๑๔
เรื่อง�ระเบียบการรับสมัครนักเรียนผู้ที่จะสมัครเข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔

� ด้วยคณะสงฆ์ภาค�๑๔��ได้เปิดอบรมบาลีก่อนสอบแก่พระภิกษุสามเณร�นักเรียนนักศึกษา�วิชาภาษา
บาลี��ประโยค�๑-๒�ประโยค�ป.ธ.๓,�ป.ธ.๔�และ�ป.ธ.๕��ณ�วัดไร่ขิง�อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม��ตั้งแต่�
พ.ศ.� ๒๕๑๘� เป็นต้นมา� เพื่อส่งเสริมการศึกษาวิชาบาลี� ให้เจริญก้าวหน้า� และส่งเสริมกำ�ลังใจ� ของนักเรียนให้
ร่าเริงอาจหาญ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔�มีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง�ที่ได้รับผลสมความมุ่งหมาย��จนปรากฏว่ามีจำ�นวน
นักเรียนนักศึกษาเพิ่มขึ้นทุกปี��ในปี�พ.ศ.�๒๕๖๑�นี้�มีผู้สมัครฯ�ถึง�๗๘๖�รูป�จึงเป็นเหตุให้เกิดปัญหาเรื่องการ
อำ�นวยความสะดวก�เช่น�ที่พักอาศัย�ตลอดถึงสถานที่ศึกษาอบรมฯ
� คณะกรรมการดำ�เนินงาน�คณะกรรมการอำ�นวยการ�และคณะวิทยากร�ได้ประชุมพิจารณา�ถึงปัญหาต่างๆ�
แล้วมีความเห็นกันว่า� � เพื่อให้การอบรมบาลีก่อนสอบนี้� � มีคุณภาพ� และประสิทธิภาพ� � จึงวางระเบียบปฏิบัติ
หน้าที่สำ�หรับผู้ที่จะสมัครเข้ารับการอบรมฯ�ดังนี้
� ๑.� กำ�หนดรับสมัครนักเรียนทุกประโยค��๑,๐๐๐��รูป
� ๒.�กำ�หนดเวลาอบรมฯ�๑๕�วัน�เริ่มตั้งแต่วันขึ้น�๘�ค่ำ��เดือน�๓�ถึง�วันแรม�๗�ค่ำ��เดือน�๓
� ๓.� ผู้ที่จะมาสมัครอบรมฯ�จะต้องแจ้งความประสงค์เป็นลายลักษณ์อักษรก่อนวันเปิดอบรมบาลีก่อนสอบ�
� � ๓๐��วัน��(ก่อนวันขึ้น�๗�ค่ำ��เดือน�๒)
� ๔.�หนังสือแจ้งความประสงค์�จะต้องได้รับคำ�รับรองจากเจ้าอาวาส�ที่ผู้สมัครอยู่ด้วย
� ๕.�ส่งหนังสือแจ้งความประสงค์ท�่ี พระเทพศาสนาภิบาล�ประธานอำ�นวยการอบรมบาลีกอ่ นสอบ�
� � ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม�๗๓๒๑๐
� ๖.�เมื่อได้รับหนังสือตอบจากประธานอำ�นวยการฯ�แล้วจึงได้รับสิทธิ์ในการเข้ารับการอบรมฯ
5
และต้องนำ�หนังสือตอบรับมาแสดงด้วย
๗. เฉพาะนักเรียน ประโยค ๑-๒ จะต้องท่องแบบไวยากรณ์ และเรียนแปลมาแล้ว มิใช่
มาฝึกหัดแปลหรือทดลองสนาม
๘. พระภิกษุสามเณรทุกรูป ต้องห่มผ้าให้เป็นปริมณฑล (ห่มดอง รัดอก) เพื่อความเป็น
ระเบียบเรียบร้อย
๙. นักเรียนจะเดินทางมาล่วงหน้าก่อนไม่เกิน ๒ วันเท่านั้น (ขึ้น ๖ - ๗ ค่ำ� เดือน ๓)
๑๐. นักเรียนจะต้องเข้ารับการอบรม ฯ ตามกำ�หนดจะหยุดได้ไม่เกิน ๓ ครั้ง
เว้นแต่อาพาธ หรือได้รับอนุญาตจากประธานอำ�นวยการ ฯ หรืออาจารย์ประจำ�ชั้น
๑๑. นักเรียนทุกรูป จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของสำ�นักอบรม ฯ โดยเคร่งครัด
๑๒. เพื่อเป็นการบำ�รุงกำ�ลังใจ จะมอบรางวัลแก่นักเรียนในภาค ๑๔ ที่สอบไล่ได้ในสนาม
หลวงทุกประโยคที่มีการอบรม ฯ และนักเรียนทุกรูปที่เคยได้รับการอบรมฯ ในภาค ๑๔
(วัดไร่ขิง) ซึ่งสอบได้ประโยค ป.ธ.๙ จะได้รับผ้าไตรแพร จากผู้อำ�นวยการเป็นพิเศษ

ประกาศ ณ วันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑

(พระธรรมโพธิมงคล)
ผู้อำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔

6
ประกาศคณะสงฆ์ภาค�๑๔
เรื่อง���ระเบียบปฏิบัติของนักศึกษาที่เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ
ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง�อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม

� ด้วยภาค� ๑๔� ได้เปิดให้มีการอบรมนักศึกษาภาษาบาลีก่อนสอบ� ในเขตปกครองภาค� ๑๔� ปรากฏว่า�
มีนักศึกษามาขอรับการอบรมบาลี� เพิ่มขึ้นเป็นจำ�นวนมากทุกปี� เพื่อความเรียบร้อย� และอนุเคราะห์แก่นักศึกษา�
ให้การอบรมนี้มีประสิทธิภาพ�ส่งเสริมวิชาการจรณะ�เพิ่มคุณภาพ�นักศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม�และเพื่อเตรียมการ�
ในการอำ�นวยความสะดวกของฝ่ายจัดการอบรมคณะสงฆ์ภาค�๑๔��จึงได้ตราระเบียบไว้เป็นข้อปฏิบัติ��ดังต่อไปนี้
� ๑.� ระเบียบนี้ให้ชื่อว่า�“ระเบียบปฏิบัติสำ�หรับนักศึกษาอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔”�
� ๒.� ให้ใช้ระเบียบนี้�ตั้งแต่วันเปิดอบรมฯ�คือ�วันขึ้น�๘�ค่ำ��เดือน�๓�ถึง�วันแรม�๗�ค่ำ��เดือน�๓
� ๓.� นักเรียนผู้จะสมัครเข้ารับการอบรมฯ�ในภาค�๑๔�ให้เจ้าสำ�นักศาสนศึกษาหรือเจ้าอาวาส�ส่งรายชื่อ�
� � ไปยังเจ้าคณะจังหวัดในสังกัด�และเจ้าคณะจังหวัดรวบรวมรายชื่อส่งไปยัง�ภาค�๑๔��ส่วนนักเรียน
� � สำ�นักอื่นต้องให้เจ้าอาวาส�เจ้าสำ�นักศาสนศึกษา�หรืออาจารย์ที่นักเรียนสังกัดอยู่หรือพระวิทยากร
� � สำ�นักอบรมฯ�ภาค�๑๔�มีหนังสือส่งไปยังผู้อำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ��
� ๔.� ต้องส่งรายชื่อนักเรียนไปถึงประธานอำ�นวยการอบรม�ฯ�ก่อนวันเปิดอบรม�๑๕�วัน�สำ�หรับนักเรียน
� � จากสำ�นักอื่น��จะพิจารณาตามลำ�ดับก่อนหลัง��เมื่อมิได้ปฏิเสธกลับไป��ให้ถือว่าสำ�นักอบรม�ฯ�
� � รับสมัครแล้ว
� ๕.� กำ�หนดเปิดการอบรมเป็นเวลา�๑๕�วัน�เริ่มตั้งแต่�วันขึ้น�๘�ค่ำ��เดือน�๓�ถึง�วันแรม�๗
� � ค่ำ���เดือน�๓
� ๖.� ในระหว่างการอบรม�ฯ��นักศึกษาจะต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นนักศึกษา��ตั้งแต่วันเดินทางเข้า
� � สำ�นักอบรม�ฯ�จนถึงวัน�เดินทางกลับด้วยความเอื้อเฟ„้อ�ดังนี้������

7
๖.๑ ต้องประพฤติตนให้เหมาะสมกับสมณภาวะทั้งส่วนตัว และการอยู่ร่วมกัน
เพื่อเป็นที่ตั้งแห่งศรัทธา
๖.๒ ต้องรักษาความสะอาด ความเป็นระเบียบเสนาสนะที่พักอาศัย ห้องน้ำ� ห้องสุขา ตลอดทั้ง
เก็บรักษาบริขารเครื่องใช้ เช่น ที่นอน สบง จีวร เป็นต้น ให้เป็นที่เจริญตาแก่ผู้พบเห็น
๖.๓ ต้องรักษาเวลาเพื่อเพิ่มคุณค่าชีวิต คือ
๖.๓.๑ เวลา ๐๕.๐๐ น. มีสัญญาณปลุก
เวลา ๐๖.๓๐ น. ประชุมพร้อมกันสวดมนต์ทำ�วัตรเช้า
๖.๓.๒ เวลา ๐๗.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเช้า
เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล
ส่วนน้ำ�ปานะจะจัดถวายตามโอกาส
๖.๓.๓ เข้าห้องเรียนก่อนเวลา
เช้าเวลา ๐๘.๐๐ น. หยุดเวลา ๑๐.๓๐ น.
บ่ายเวลา ๑๓.๐๐ น. หยุดเวลา ๑๖.๓๐ น.
กลางคืน ๑๘.๐๐ น. หยุดเวลา ๒๐.๓๐ น.
๖.๔ นักเรียนเลือกหัวหน้าชั้นเรียนหรือหัวหน้าห้องพัก เพื่อเป็นผู้ประสานงานระหว่างกันโดยนักเรียน
จะต้องเชื่อฟังคำ�แนะนำ�ที่ถูกต้องของหัวหน้า
๖.๕ ตั้งแต่ลงทะเบียนเป็นนักเรียนแล้ว หากจำ�เป็นจะออกนอกบริเวณสำ�นักฯ ต้องแจ้งแก่วิทยากร
ประจำ�ชั้น หรือเจ้าหน้าที่ทะเบียน หรือกองเลขานุการ
๖.๖ หากนักเรียนขาดการทำ�วัตรสวดมนต์เกินกว่า ๕ ครั้ง ขาดเรียนเกินกว่า ๓ ครั้ง หรือออกนอก
บริเวณสำ�นัก ฯ โดยมิได้บอกลา หรือโดยไม่มีเหตุผลสมควร ขอให้พิจารณาตนเองหรือออกจาก
สำ�นัก ฯ โดยทันที เมื่อได้รับคำ�สั่ง
๖.๗ นักเรียนจะต้องทำ�กิจกรรม เพื่อสร้างความสามัคคีธรรม ตามที่หัวหน้า
หรือพระวิทยากร หรือคณะกรรมการแนะนำ�
๖.๘ นักเรียนจะต้องอยู่ในโอวาทของคณะกรรมการ วิทยากร หากมีปัญหา ขอให้แจ้งทันที

คณะสงฆ์ภาค ๑๔
8
ระเบียบปฏิบัติ
เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย เกิดความงอกงามไพบูลย์ในบวรพระพุทธศาสนา เจริญก้าวหน้า ในการเล่า
เรียน เป็นประโยชน์สูงสุดในการเข้ารับการอบรม จึงได้ออกระเบียบปฏิบัติ สำ�หรับนักเรียน ผู้เข้ารับการอบรมบาลี
ก่อนสอบไว้ ดังนี้ :-
๑. ห่มรัดอกให้เป็นปริมณฑลทุกครั้งที่เข้าอบรม
๒. ตั้งใจเข้ารับการฝึกอบรม มาตรงเวลา ไม่หลบหลีกการเข้าห้องอบรม
๓. ให้ความเคารพสถานที่และครูวิทยากร ไม่คุยกัน ไม่หลับในห้องอบรม
๔. ทำ�แบบฝึกหัดโดยไม่ดูแบบคู่มือหรือถามเพื่อน
๕. หากมีธุระที่ต้องหยุดการอบรม ต้องมีใบลา และแจ้งแก่วิทยากรผู้สอนให้ทราบ
๖. ไม่ออกไปเดินหรือนั่งบริเวณหน้าวัด ควรอยู่แต่เฉพาะในห้องอบรม
๗. ไม่สูบบุหรี่ในห้องเรียน ห้องน้ำ� หรือที่สาธารณะ อันไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใส
๘. สำ�รวมกิริยาอาการ สำ�รวมระวังการใช้โทรศัพท์มือถือ ปฏิบัติตนเหมาะสมแก่สมณสารูป
๙. ทุกครั้งที่ออกไปและกลับเข้าห้องอบรม ต้องยกมือไหว้ขออนุญาตอาจารย์ผู้ควบคุมดูแล
(หากอาจารย์ไม่อยู่ / มีผู้คุมการสอบซึ่งมีพรรษาน้อยกว่า ให้ไหว้องค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง)
๑๐. โต๊ะนั่งสอนในห้องอบรมและโต๊ะนั่งตรวจข้อสอบของครู นักเรียนไม่ควรเข้าไปนั่ง
๑๑. นอกเวลาอบรม หากประสงค์จะเดินบริเวณหน้าวัด ต้องห่มจีวรให้เรียบร้อย
๑๒. เวลาในการอบรมมีดังนี้
เวลา ๐๕.๐๐ น. มีสัญญาณปลุก
เวลา ๐๖.๓๐ น. ประชุมพร้อมกันสวดมนต์ทำ�วัตรเช้า
เวลา ๐๗.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเช้า
เวลา ๐๘.๐๐ น. เข้ารับการอบรม
เวลา ๑๐.๓๐ น. หยุดรับการอบรม
เวลา ๑๑.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล
เวลา ๑๓.๐๐ น. เข้ารับการอบรม
เวลา ๑๖.๓๐ น. หยุดรับการอบรม
เวลา ๑๘.๐๐ น. เข้ารับการอบรม
เวลา ๒๐.๓๐ น. หยุดรับการอบรม
9
จุดประสงค์
การจัดอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ณ วัดไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
ประจำ�ปี ๒๕๖๑

๑. เพื่ออนุรักษ์ระบบการศึกษาของคณะสงฆ์ไทยด้านนี้ให้มั่นคงสืบไป
๒. เพื่อปลูกฝังความนิยมในการเรียนรู้บาลีภาษาอันเป็นภาษา ทางพระพุทธศาสนา
ให้แพร่หลายยิ่งขึ้น
๓. เพื่อสร้างสรรอนุชนให้พร้อมที่จะเป็นศาสนทายาทที่ดีสืบไป
๔. เพื่อเป็นศูนย์ให้ผู้มีคุณวุฒิด้านนี้ ถ่ายทอดความรู้ออกให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
๕. เพื่อส่งเสริมสามัคคีธรรมของนักศึกษา และครูอาจารย์
๖. เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความชำ�นาญในบาลีภาษาแก่นักศึกษาและครูอาจารย์ทั้งมวล
๗. เพื่อเป็นโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อความก้าวหน้า ทางการศึกษา
ด้านนี้ให้ยิ่งขึ้น
๘. เพื่อให้นักศึกษาเกิดความพร้อมและความมั่นใจ เมื่อเข้าสอบสนามหลวง
๙. เพื่อบำ�รุงศรัทธาปสาทะแห่งพุทธศาสนิกชน ให้เจริญงอกงามตลอดไป

ประธานอำ�นวยการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔

10
คำ�กล่าวถวายรายงาน
พิธเี ปิดอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๔
วันอังคารที่ ๒๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

กราบเรียน พระเดชพระคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์


เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม
ทีป่ รึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง ทีเ่ คารพอย่างสูง
เกล้าฯ พระธรรมโพธิมงคล เจ้าคณะภาค ๑๔ พร้อมด้วยรองเจ้าคณะภาค เจ้าคณะ
จังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และคณะ
พระวิทยากรตลอดถึงนักเรียนผูเ้ ข้าร่วมการอบรมบาลีกอ่ นสอบทุกรูป มีความปลาบปลืม้ ปีตยิ นิ ดี
เป็นอย่างยิง่ ทีพ่ ระเดชพระคุณมีเมตตา เดินทางมาเป็นประธานในการปฐมนิเทศเปิดการอบรม
บาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๔ ในครัง้ นี้
การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ได้ด�ำ เนินการติดต่อกันมา เริม่ ตัง้ แต่ปี
พ.ศ.๒๕๑๘ จนถึงปีน้ี เป็นปีท่ี ๔๔ แล้ว โดยมุง่ หมายทีจ่ ะส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาภาษาบาลี
ให้ได้รบั การเอาใจใส่จากพระภิกษุสามเณรและเจ้าสำ�นักเรียน ตลอดถึงเจ้าคณะพระสังฆาธิการ
อีกส่วนหนึง่ ยังเป็นการเพิม่ พูนความชำ�นาญแก่นกั ศึกษาผูต้ อ้ งการศึกษาภาษาบาลีอกี ประการ
หนึง่ ด้วย รวมทัง้ เป็นการสนับสนุนเจตนารมณ์ของพระเดชพระคุณพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์
(ปัญญ ฺ า อินทฺ ปญฺญมหาเถร) อดีตทีป่ รึกษาเจ้าคณะภาค ๑๔ และอดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ ทีท่ า่ น
ตัง้ ใจจะให้นกั เรียนภาษาบาลีได้มกี �ำ ลังใจทีจ่ ะศึกษาเล่าเรียน และเข้าสอบสนามหลวงต่อไปด้วย
อีกทัง้ ตัง้ แต่มกี ารอบรมมา มีสถิตกิ ารสอบไล่ได้กเ็ ป็นทีน่ า่ พอใจ
เฉพาะในปี พ.ศ. ๒๕๖๑ นี้ มีผขู้ อเข้ารับการอบรม ดังนี้
ในเขตภาค ๑๔ มีจ�ำ นวน ๕๘๙ รูป นอกเขตภาค มีจ�ำ นวน ๖๕ รูป
แยกเป็นชัน้ ประโยค ได้ดงั นี้

11
๑. ชัน้ ประโยค ๑-๒ มีจ�ำ นวน ๓๒๖ รูป
๒. ชัน้ ประโยค ป.ธ.๓ มีจ�ำ นวน ๑๙๑ รูป
๓. ชัน้ ประโยค ป.ธ.๔ มีจ�ำ นวน ๑๐๑ รูป
๔. ชัน้ ประโยค ป.ธ.๕ มีจ�ำ นวน ๓๑ รูป
รวมจำ�นวนทัง้ สิน้ ๖๔๙ รูป
มีคณะวิทยากรผูส้ อนและวิทยากรผูต้ รวจ รวมจำ�นวน ๑๔๓ รูป
ด้านภัตตาหารเช้า ภัตตาหารเพล และน้�ำ ปานะ ตลอดการอบรม ๑๕ วัน ได้รบั ความ
อุปถัมภ์จากเจ้าคณะพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และจากคณะศรัทธา
สาธุชนโดยทัว่ ไป
ด้านอาคารสถานทีอ่ บรม สถานทีพ่ กั และสถานทีฉ่ นั ภัตตาหาร ได้รบั ความร่วมมือ
ร่วมใจจากพระภิกษุสามเณรวัดไร่ขงิ โดยท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัด
นครปฐม เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พร้อมด้วยเทศบาลเมืองไร่ขงิ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สามพราน โรงเรียนวัดไร่ขงิ (สุนทรอุทศิ ) โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม
(วัดไร่ขงิ ) โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยนครปฐม (พระตำ�หนักสวนกุหลาบมัธยม) โรงเรียน
พระปฐมวิทยาลัย โรงเรียนนาคประสิทธิ์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัยอำ�เภอ
สามพราน (กศน.) วิทยาลัยสงฆ์พทุ ธปัญญาศรีทวารวดี วัดไร่ขงิ แพทย์พยาบาลและเจ้าหน้าที่
โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขงิ ) โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขงิ ) องค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพ เขต ๖ และคณะแม่ครัวอุบาสกอุบาสิกาวัดไร่ขงิ ได้ชว่ ยเหลือเป็นอย่างดียง่ิ
บัดนี้ ได้เวลาอันเป็นอุดมมงคลแล้ว เกล้าฯ ขอกราบอาราธนาพระเดชพระคุณท่านเจ้า
คุณอาจารย์ฯ ได้กล่าวเปิดปฐมนิเทศ พร้อมทัง้ ให้โอวาท เพือ่ เป็นสิรมิ งคลและเป็นขวัญกำ�ลังใจ
แก่คณะพระวิทยากรและคณะนักเรียนผูเ้ ข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ของคณะสงฆ์ภาค ๑๔
ปีท่ี ๔๔ ประจำ�ปี ๒๕๖๑ สืบไป

กราบเรียนมาด้วยความเคารพอย่างสูง

12
ปฐมนิเทศนานุสาสนียกถา
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙) ราชบัณฑิต
เจ้าอาวาสวัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร
พิธีเปิดการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันอังคารที่ ๒๓ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑

ท่านเจ้าคุณฯ เจ้าคณะภาค ๑๔ ท่านเจ้าคุณฯ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ ท่านเจ้าคุณฯ


เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด พระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์
ภาค ๑๔ คณะครูอาจารย์ และนักเรียนผูเ้ ข้ารับการอบรมทีเ่ ป็นพระภิกษุ และสามเณรทุก ๆ รูป
ขอเจริญพร ญาติโยมสาธุชนทีฟ่ งั อยูใ่ นขณะนี้
วันนี้ เป็นอีกวาระหนึง่ ซึง่ เกิดความปลืม้ ปีติ มีความยินดี และชืน่ ใจทีม่ โี อกาสได้มาเปิด
ปฐมนิเทศ ในการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีว่ ดั ไร่ขงิ แห่งนีอ้ กี ครัง้ หนึง่ เมือ่ ได้
มาแล้วก็ท�ำ ให้คดิ ถึงเรือ่ งราวเก่า ๆ ทีผ่ า่ นมา ยิง่ ฟังรายงานของท่านเจ้าคุณเจ้าคณะภาค แทบจะ
หลับตาเห็นภาพได้ชดั เจน ทัง้ ๆ ทีก่ าลเวลาผ่านพ้นมาแล้ว ตัง้ แต่ พ.ศ.๒๕๑๘ ซึง่ หลายท่านที่
นัง่ อยูใ่ นทีน่ ย้ี งั ไม่เกิด เพราะกาลเวลาล่วงเลยมาแล้ว ๔๔ ปี จำ�ได้วา่ สมัยนัน้ ปีแรก พ.ศ.๒๕๑๘
เปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบไปได้ประมาณ ๕ – ๖ วัน ท่านเจ้าคณะภาค ๑๔ ในตอนนัน้ คือ
พระเทพโสภณ (โกมล โกวิโท ป.ธ.๖) หรือหลวงเตีย่ ภายหลังได้เป็น พระธรรมราชานุวตั ร
วัดพระเชตุพนฯ ท่านก็บอกว่า “ไปดูหน่อย” แล้วเอารถไปรับทีว่ ดั ราชโอรสาราม ตอนนัน้ เราก็
เพิง่ ย้ายวัดได้สกั ๒ ปี และได้ ๙ ประโยค มา ๓ ปี
เมือ่ เดินทางมาถึงทีว่ ดั ไร่ขงิ ก็ไม่เคยมา ครัง้ แรกทีม่ าก็มาตอนกลางคืนด้วย แล้วก็เข้าไป
กราบหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (ปัญญา อินทฺ ปญฺโญ ป.ธ.๖) ตอนนัน้ เป็นรองเจ้าคณะ
ภาค ๑๔ และเป็นพระราชาคณะชัน้ ราช ตอนนัน้ ท่านพาไปดูการอบรมกัน มีเวลาก็มาช่วยกัน
เดินดู ตอนนัน้ มีประโยค ๑ – ๒ และประโยค ป.ธ.๓ มีนกั เรียนประมาณ ๘๐ รูป เมือ่ ไปดูแล้ว
ก็ได้บอกว่า “ปีนย้ี งั ไม่พร้อมครับ ปีหน้าค่อยว่าใหม่” แล้วก็พยายาม เพราะว่าการเปิดอบรม

13
บาลีกอ่ นสอบทีว่ ดั ไร่ขงิ แห่งนี้ เหมือนว่าจะทำ�เป็นทางการเป็นครัง้ แรก แม่กองบาลีสนามหลวง
ในยุคนัน้ คือ เจ้าประคุณสมเด็จฯ วัดสามพระยา ท่านสนับสนุนเต็มที่ ตอนนัน้ สอนหนังสืออยู่
ทีว่ ดั สามพระยา สอนเปรียญธรรม ๘ ประโยค สอบประโยค ป.ธ.๙ ได้แล้วก็สอนเลย ท่านให้
สอนประโยค ป.ธ.๘ ด้วย ก็ไม่คอ่ ยมีเวลามา แล้วก็สอนเด็กนักเรียนอีก ๓ โรงเรียน ในกรุงเทพ
มหานคร ไม่มเี วลา เหนือ่ ยมาก เดินทางก็ล�ำ บาก เพราะส่วนตัวไม่มรี ถ
เมือ่ เริม่ การอบรมบาลีกอ่ นสอบ ประจำ�ปี พ.ศ.๒๕๑๙ ได้มกี ารประชุมร่วมกัน แล้วก็ได้
รับแต่งตัง้ ให้เป็นหัวหน้าวิทยากร ให้มาวางแผน ในช่วงนัน้ มีเวลา ยังไม่ได้เป็นเจ้าอาวาส แต่กย็ งั
สอนหนังสืออยู่ สอนประโยค ป.ธ.๘ สอนเสร็จแล้วก็มานอนพักค้างทีว่ ดั ไร่ขงิ นีเ่ ลย หลวงพ่อก็
ให้นอนข้างบนทีพ่ พิ ธิ ภัณฑ์ ท่านดูแลเอาใจใส่เป็นอย่างดี ในยุคนัน้ มีนกั เรียนประมาณ ๒๐๐ รูป
เศษ คณะพระวิทยากรทัง้ สอนและตรวจ มีประมาณ ๒๐ รูป ตอนนัน้ หาพระเปรียญยาก ส่วน
หนึง่ ก็เป็นพระสังฆาธิการ เป็นพระมหาเถระระดับผูใ้ หญ่ ท่านก็กลับวัดกันหมด เราเป็นวิทยากร
ก็นอนอยูท่ ว่ี ดั ไร่ขงิ มีเพือ่ น ๆ มานอนบ้าง ในฐานะหัวหน้าพระวิทยากร เราต้องตรวจดูทกุ เรือ่ ง
หาจุดด้อย จุดเด่น ของพระวิทยากร และนักเรียน แล้วบันทึกไว้เป็นข้อมูล ในสมัยก่อนนัน้ ไม่มี
เครือ่ งมือทีท่ นั สมัยแบบนี้ มีเครือ่ งโรเนียวก็ตอ้ งทำ�เอง พิมพ์ดดี สมัยก่อน เป็นพิมพ์ดดี ธรรมดา
พิมพ์กระดาษไข ผิดบ้างถูกบ้าง
ประการที่ ๑ การตรวจปัญหา บางครัง้ ท่านอืน่ ตรวจแล้ว เราก็ตอ้ งมานัง่ ตรวจอีกครัง้
หนึง่ ว่าพระวิทยากรกองตรวจ ตรวจถูกหรือไม่ เพือ่ ทีจ่ ะได้แนะนำ�วิธกี ารตรวจ ว่าตรวจอย่างไร
ให้ถกู วิธกี ารตรวจของสนามหลวง
ประการที่ ๒ เพือ่ ทีเ่ ราจะได้รวู้ า่ นักเรียนบกพร่องตรงไหน ควรจะแก้ไขตรงไหน ฉะนัน้
เมือ่ กรรมการตรวจเสร็จแล้ว เราก็มานัง่ ตรวจซ้�ำ ทุกฉบับอีกครัง้ หนึง่ พระวิทยากรท่านอืน่ เมือ่
ตรวจเสร็จแล้ว ก็กลับไปพักผ่อน ส่วนเราก็ยงั นัง่ ตรวจอยูร่ ปู เดียว
หลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ ท่านได้กม็ านัง่ คุยด้วย บางวันก็เทีย่ งคืน บางวันก็ตี
หนึง่ บางวันก็ตสี อง ต้องยอมรับว่า หลวงพ่อท่านเป็นพระทีเ่ ยีย่ มมาก มีความรับผิดชอบมาก
ต้องใช้ค�ำ ว่ามาก เพราะมีไม่กร่ี ปู ในประเทศไทย ในความรูส้ กึ ทีต่ อ้ งรับผิดชอบ และทำ�งาน
ใหญ่ได้ คิดได้ สิง่ ทีท่ า่ นคุย ล้วนเป็นประโยชน์ แล้วเราก็มาคิดว่า นิสยั และพฤติกรรมของเรา
ทีเ่ ป็นอยูท่ กุ วันนี้ ส่วนหนึง่ ก็ได้มาจากหลวงพ่อท่านนีเ้ อง สิง่ ทีท่ า่ นพูดคุยให้ฟงั นัน้ มีหลายเรือ่ งที่
ประทับใจ และนำ�ไปเป็นแบบอย่าง นำ�ไปประพฤติปฏิบตั จิ นถึงทุกวันนี้ ถ้าถามว่า มีพระผูใ้ หญ่
ทีเ่ ป็นแบบอย่างกีร่ ปู ตอบตรง ๆ ว่า มีไม่เกิน ๓ รูป คือ ๑. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

14
(ฟืน้ ชุตนิ ธฺ โร ป.ธ.๙) อดีตเจ้าอาวาสวัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร ๒. พระอุบาลีคณ
ุ ปู มาจารย์
(ปัญญา อินทฺ ปญฺโญ ป.ธ.๖) วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง จังหวัดนครปฐม อีกรูปหนึง่ ก็ยงั คลุมเครือ
อยู่ สองรูปนีแ้ น่นอน ชัดเจน เป็นแบบอย่างได้ทง้ั คำ�พูด แนวการกระทำ� และการปฏิบตั ิ
ช่วงเวลาทีม่ ากินมานอนอยูว่ ดั ไร่ขงิ แห่งนี้ เวลาไหนไปสอนหนังสือเด็กนักเรียน ก็ลาไป
สอน แล้วก็รบี กลับมา สมัยก่อนเข้ากรุงเทพฯ รถไม่ตดิ ใช้เวลาการเดินทางประมาณ ๓๐ – ๔๐
นาที ใช้เวลาสอนหนังสือ ๒ ชัว่ โมง เสร็จแล้วก็นง่ั แท็กซีก่ ลับมา มาอยูท่ น่ี ป่ี ระมาณ ๑๐ ปี ช่วง
อบรมบาลีกอ่ นสอบมาทุกปี มาเป็นพระวิทยากร ตอนหลัง ๆ พอเป็นเจ้าอาวาสแล้ว ก็ไม่มเี วลา
มาค้าง แต่กย็ งั มาเป็นหัวหน้าพระวิทยากรอยู่ ทุกวันนีผ้ ลงานก็ดี หรืออะไรก็ตามทีพ่ ระผูใ้ หญ่
ท่านคิดเอาไว้ ก็สบื สานต่อกันมา โดยเฉพาะท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาส
วัดไร่ขงิ ปัจจุบนั รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม สมัยโน้นเป็นแค่สามเณรแย้ม เมือ่ บวชเป็นพระ
แล้วได้เป็นมหาเปรียญ ทำ�งานก็เอางานเป็นตัวตัง้ จนได้รบั การไว้วางใจ จนกระทัง่ ได้รบั การ
ยกย่องให้มสี มณศักดิส์ งู ขึน้ เป็นพระราชาคณะชัน้ เทพ เป็นรองเจ้าคณะจังหวัด เมือ่ ก่อนพระที่
เข้ารับการฝึกอบรมทีว่ ดั ไร่ขงิ นี้ รุน่ ก่อน ๆ ทีย่ งั อยู่ ส่วนมากก็เป็นพระผูใ้ หญ่ ทุกวันนีก้ ม็ อี ยูห่ ลาย
รูป เป็นเจ้าคณะจังหวัดก็มี เป็นเจ้าคณะภาคก็มี เป็นประโยค ป.ธ.๙ ก็มี เป็นเจ้าคณะอำ�เภอก็มี
เจ้าอาวาสพระอารามหลวงก็มี ทีล่ าสิกขาไป จำ�ได้บา้ ง ไม่ได้บา้ ง ก็มมี าก นีเ้ ป็นแนวให้เราท่าน
ทัง้ หลายได้คดิ ท่านทัง้ หลายมาอบรมบาลีกอ่ นสอบ มีเป้าหมายหลัก คือ เพือ่ ให้รู้ และสอบให้ได้
เรือ่ งนีเ้ รือ่ งเล็กมาก เพราะบาลีไม่ได้ยาก สมัยปัจจุบนั นีย้ ง่ิ ง่าย ข้อสอบไม่ยาก การตรวจยิง่ หละ
หลวมมาก สอบได้งา่ ยขึน้ แต่อยูท่ น่ี กั เรียนทำ�ปัญหาไม่เป็นมวยเลย ต้องใช้ค�ำ ว่าไม่เป็นมวยเลย
มุง่ แต่จะสอบได้ เหมือนกับชกมวย เห็นเขาต่อยบนเวทีกว็ จิ ารณ์ พอตัวเองขึน้ ไปชกก็สลบ เก่ง
แต่นอกเวที ไม่ใช่เก่งบนเวที เพราะไม่เป็นมวยอย่างทีว่ า่ ทีเ่ รียนกันเพราะไม่ตง้ั ใจเรียนกันจริง ๆ
เป็นอย่างนีม้ านาน ตัง้ แต่ไหนแต่ไร พูดแบบนีม้ า ๓๐ – ๔๐ ปี เพราะมีความรูส้ กึ อย่างนี้ สอน
หนังสือก็บอกนักเรียนอย่างนี้ ให้ปรับ นักเรียนทีเ่ รียนกันมาสอบได้จนถึงประโยค ป.ธ.๙ เมือ่ ก่อน
สอนประโยค ป.ธ.๘ ต่อมาก็สอนประโยค ป.ธ.๙ บางช่วงก็สอนทัง้ ประโยค ป.ธ.๘ และ ป.ธ.๙
พร้อมกัน แต่ตอนนีส้ อนแค่ประโยค ป.ธ.๙ ชัน้ เดียว ทีเ่ ป็นเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะภาค รอง
เจ้าคณะภาค เคยสอนมาทัง้ นัน้ ถ้าเป็นมวยสอบได้ทง้ั นัน้ ทุกรูปมีความรูส้ กึ ว่าไม่ยาก ก็สอบได้
แล้ว จะไปยากอะไร ทีส่ อบได้แล้วว่าไม่ยาก ก็ถกู ต้องในระดับหนึง่ ทีว่ า่ ไม่คอ่ ยเป็นมวย คือ ไม่
สนใจ หรือใจไม่อดทน ไขว้เขว แกว่ง ทำ�ให้เหลาะแหละ ดูหนังสือบ้าง ไม่ดบู า้ ง เล่นบ้าง ถึงเวลา
จะสอบก็มาสอบกัน มุง่ แต่จะได้อย่างเดียว เรียกว่า มีโลภะเป็นตัวตัง้ เรียนด้วยความโลภมันเป็น
กิเลส โอกาสทีจ่ ะสอบได้กน็ อ้ ย ฉลาดไหม “ฉลาด” สอบได้ไหม “สอบได้” แต่วา่ มันเป็นกิเลส
15
ได้มาด้วยความโลภ เพราะฉะนัน้ พอได้แล้วลืมเลย ไม่สนใจ ทุกวันนีแ้ ต่ละวัดมีแต่ ประโยค ป.ธ.๙
แต่ถามว่าทำ�ไมเขาไม่ใช้ เพราะไม่เป็นโน่นเป็นนี่ บางทีไปเรียนจบต่างประเทศ ก็ยงั อยูอ่ ย่างนัน้
ขาดอะไรนีแ่ หละสำ�คัญทีส่ ดุ ต้องตอบตรงนีใ้ ห้ได้กอ่ นการเรียนบาลีจะเอาตัวเองเป็นตัวตัง้ ก็ไม่เชิง
ต้องดูคนอืน่ ด้วยว่า เขาเจริญรุง่ เรืองก้าวหน้าอย่างไร ยกตัวอย่างเจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะภาค
เจ้าคณะภาคอยูว่ ดั นิมมานรดี เดิมทีทา่ นก็ไม่ได้เป็นพระวัดนิมมานรดี ย้ายจากทีอ่ น่ื ไปเนรมิต
วัดนิมมานรดีให้มคี วามเจริญก้าวหน้า จนเป็นพระราชาคณะชัน้ ธรรม และเป็นเจ้าคณะภาค ส่วน
รองเจ้าคณะภาค ท่านก็ไม่ได้อยูว่ ดั เทวราชกุญชร เดิมทีทา่ นอยูว่ ดั หัวลำ�โพง ย้ายไปเป็นเจ้าอาวาส
ไปพัฒนาวัดเทวราชกุญชร ให้มชี อ่ื เสียง และได้มาเป็นรองเจ้าคณะภาค มีเพียงเจ้าคณะจังหวัด
กาญจบุรที เ่ี ป็นเจ้าถิน่ ผูเ้ ป็นเปรียญธรรม ๙ ประโยค แต่วา่ มีการพัฒนา ท่านจึงได้รบั การยกย่อง
ยังมีรนุ่ เดียวกันอีกเยอะทำ�ไมไม่ได้เป็นแบบนัน้ ท่านบกพร่องอะไร ท่านทัง้ หลายทีน่ ง่ั อยูต่ รงนี้
สามเณรเล็ก ๆ ประโยค ๑-๒ ประโยค ป.ธ.๓ หรือท่านทัง้ หลายทีเ่ ป็นประโยค ป.ธ.๔ ป.ธ.๕
หลายรูปต่อไปต้องเป็นประโยค ป.ธ.๙ แน่นอน แล้วจะพัฒนาตัวเอง เป็นเจ้าอาวาสพระอารามหลวง
เป็นเจ้าคุณ เป็นเจ้าคณะพระสังฆาธิการ อาจจะพัฒนาตนยิง่ ขึน้ ไปอีก เป็นถึงกรรมการมหาเถร
สมาคม เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะ เป็นสมเด็จพระราชาคณะ ได้ทง้ั หมด อยูท่ ว่ี า่ ตัง้ ใจแค่ไหน
ขอให้เอาบาลีเป็นพืน้ ฐาน ถ้าเอาบาลีมาเป็นพืน้ ฐานไม่ได้ไม่เป็นไร อย่าไปห่วง เรียนบาลีเพือ่ รู้
เพือ่ รูบ้ าลี อ่านบาลีได้ จบแค่ประโยค ๑-๒ หรือ ประโยค ป.ธ.๓ เป็นมหาเปรียญก็พอ
จบแล้วก็ท�ำ งาน ยกตัวอย่าง พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ เรียนไม่จบ ป.ธ.๙
ทำ�ไมเป็นพระราชาคณะชัน้ เทพได้ พระพรหมมุนี วัดราชบพิธฯ จบแค่ประโยค ๑–๒
ยังเจริญเติบโตมาเป็นรองสมเด็จพระราชาคณะ เป็นแม่กองธรรมสนามหลวง ได้จนถึงทุกวันนี้
เมือ่ ๔–๕ วันก่อน ได้ไปเข้าเฝ้ากราบเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช พระองค์ได้ยกตัวอย่าง
ในการสอนหนังสือ ยกท่านเจ้าคุณพระพรหมมุนี เรียนไม่จ�ำ เป็นต้องจบประโยค ป.ธ.๙ ก็ได้ขอ
ให้ท�ำ งาน ทำ�งานเก่ง ไม่ใช่เรียนเก่ง ท่านทัง้ หลายจำ�ไว้เถิด ทำ�งานให้เก่ง การทีเ่ ราเรียนนี้ เป็น
เรือ่ งของความรูอ้ ย่างเดียว ท่านทัง้ หลายหลักการทำ�งาน ไม่ใช่มคี วามรูอ้ ย่างเดียว ความรูเ้ ป็นแค่
พืน้ ฐาน คนทีจ่ ะเจริญรุง่ เรืองก้าวหน้าได้ จะต้องพัฒนาตนเอง คือ
๑. ความรู้ แน่นอน ความรูเ้ ป็นพืน้ ฐาน รูแ้ ค่ไหน? อะไร? อย่างไร? ก็แล้วแต่ ยิง่ รูม้ าก
เท่าไรยิง่ ดี ความรูม้ าก เรียกว่า พหูสตู หรือ พาหุสจั จะ เรียนมาก รูม้ าก แต่ความรูม้ นั มีแค่เบือ้ ง
ต้น เป็นคุณสมบัตเิ บือ้ งต้น
๒ ความฉลาด ข้อนีย้ ง่ิ ยาก เพราะไม่มกี ารเรียนการสอน ไม่มสี ถาบันใดสอนเรือ่ งความ
ฉลาด สามารถเรียนรูไ้ ด้ทกุ หนทุกแห่ง เรียนรูไ้ ด้จากการกระทำ� จากการประพฤติปฏิบตั ิ ฉลาด

16
ทันเกมส์ มีไหวพริบ พระพุทธเจ้าตรัสสอนว่า อายโกศล อปายโกศล อุปายโกศล คือการสอน
เรือ่ งความฉลาด รูว้ า่ อะไรดี อะไรไม่ดี ภาษาพระเรียกว่า ศิลปะ เป็นความฉลาด ถ่ายทอดได้
แสดงออกได้ บางคนฉลาดแต่ท�ำ ไม่เป็น เราเรียนกันมาแล้ว อลํ กาตุํ อลํ สวํ ธิ าตุํ แปลว่า อาจทำ�
อาจจัดได้ นัน่ เป็นเรือ่ งความฉลาด
๓. ความสามารถ นีส้ งู กว่าความฉลาด ความสามารถ คือ จัดได้, ทำ�ได,้ ลงมือทำ�เอง
ได้, เป็น, ทัง้ ความฉลาดและความสามารถ เป็นเรือ่ งของศิลปะ เป็นการถ่ายทอด ประโยค ป.ธ.
๙ จบด็อกเตอร์ รู้ พอฉลาดนิดหน่อย แต่ไม่มสี ามารถ โยนงานให้ท�ำ ๑ ชิน้ แต่ท�ำ ไม่เป็น มันก็
เกิดบกพร่อง เขาจะใช้เพียงแค่ครัง้ สองครัง้ หากทำ�ไม่ได้ เขาก็ไม่ใช้อกี ต่อไป แสดงว่า บกพร่อง
สะเพร่า มักง่าย สง่ิ ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ บางทีมคี วามรู้ มีความฉลาด มีความสามารถ เก่ง แต่ขาดข้อ
สุดท้าย คือ ความเสียสละ
๔. ความเสียสละ เป็นสิง่ ทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ความเห็นแก่ตวั ความเห็นแก่ได้ คนทีเ่ ห็นแก่
ตัว คนเห็นแก่ได้ จะคิดว่าทำ�ไปทำ�ไม? ทำ�แล้วได้อะไร? ถ้าเราคิดเมือ่ ไหร่ ให้รวู้ า่ เราเริม่ โง่แล้ว ไม่
ฉลาดแล้ว เพราะอะไร? เพราะเริม่ เห็นแก่ตวั คนจะทำ�อะไรก็แล้วแต่ ถ้าคิดว่าตัวเองไม่ได้อะไรก็
ไม่อยากทำ� ทัง้ ๆ ทีม่ คี วามรู้ มีความฉลาด มีความสามารถ คิดว่าทำ�ไปไม่ได้อะไร ทำ�ไปแล้วไม่ได้
ดี คนอืน่ ได้หมด นัน่ คือ คนเห็นแก่ตวั คนเห็นแก่ได้ เป็นคนไม่สะอาด ผมไม่ได้วา่ เองนะ ว่าเป็น
คนไม่สะอาด พระพุทธเจ้าตรัสว่า อตฺตตฺถปญฺญา อสุจี มนุสสฺ า แปลว่า คนทีเ่ ห็นแก่ตวั เป็นคน
ไม่สะอาด นัน่ คือไม่เสียสละ ไม่คอ่ ยเสียสละ ใจไม่กว้าง ไม่มองกว้าง ๆ ทีพ่ ดู มาทัง้ หมดนี้ เพือ่ ชีใ้ ห้
เราท่านทัง้ หลายได้เห็นว่า เราพัฒนาได้ พัฒนาความรู้ เรามาเข้ารับการอบรม เราก็สอบได้ ถ้าเรา
สอบไม่ได้ไม่เป็นไร เรามีความรู้ อ่านบาลีได้ แปลได้ ความฉลาดนัน้ ท่านทัง้ หลายทีม่ านี้ ได้ความ
ฉลาดไปเยอะมาก ๆ มาเข้ารับการฝึกอบรมแล้ว ถ้าคิดว่าตัวเองไม่ได้อะไรเลย จงรูไ้ ว้วา่ “เริม่ โง่
แล้ว” คนอืน่ เขาได้เยอะแยะ แต่ตนเองไม่ได้อะไรเลย แสดงว่า “ล้าหลังแล้ว ไม่ทนั แล้ว” คน
แบบนีอ้ ย่าคิดสึกออกไป สึกไปก็อดตาย ต้องให้ฉลาดเสียก่อน ค่อยคิดสึก มาฝึกความสามารถ
ความสามารถนัน้ ก็ตอ้ งลงมือทำ� ต้องเสียสละ ต้องฝึก เช่น อาคารหลังนีใ้ หญ่โตมโหฬาร เขาตัง้
โต๊ะ ตัง้ เก้าอี้ ตบแต่งกันอย่างไร? ท่านทัง้ หลายเอ๋ยจง ใช้ตาเป็นครู ใช้หเู ป็นอาจารย์ มองดูได้รปู
ได้แบบ พอมีโอกาสก็น�ำ ไปใช้ จงใช้สมองคิดอยูเ่ รือ่ ย ๆ คนประเภทนีห้ ายากมาก แต่มไี หม “มี”
เป็นได้ไหม “ได้” ข้อสำ�คัญคือ คิดเป็นหรือไม่ ถ้าคิดเป็น ใช้ตาเป็นครู หูเป็นอาจารย์ บอกได้
เรือ่ ย ๆ หลายวัด ต่อไปท่านทัง้ หลายก็เป็นสมภาร

17
คนทีม่ คี วามรู้ มีความฉลาด มีความสามารถ มีความเสียสละ เขาก็ให้เป็นเจ้าอาวาส
เป็นผูใ้ หญ่ได้ ได้รบั การยกย่อง ตอนแรกยังทำ�อะไรไม่ได้ ให้คดิ ไว้กอ่ น ทำ�ในส่วนอืน่ ก่อนเริม่ ทำ�ในกุฏิ
ของเราเองก็ได้ อย่าไปทำ�ประเจิดประเจ้อมากจนเกินไป เดีย๋ วสมภารเขาจะเขม่นเอา สมภารแบบนี้
ก็มมี าก ทีช่ อบเขม่นลูกวัด ว่า offside เจ้าอาวาสยังไม่ได้สง่ั ทำ�มากกว่า ก็เกิดความอิจฉา ริษยา
เราต้องการคนทีม่ คี วามฉลาดสามารถ ทีเ่ สียสละ และทำ�งาน พอมีงานอะไรเราก็ให้เขาทำ� ให้คน
ทีฉ่ ลาด ๆ ทำ� เราจะได้สบาย สุดท้ายก็เป็นผลงานของเจ้าอาวาสทัง้ นัน้
ท่านทัง้ หลายทีม่ าเข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ถึงแม้จะมีโลภะเป็นตัวตัง้ หรือถูก
บังคับให้มาก็ตาม เราก็ตอ้ งทำ�ให้เต็มที่ นัน่ เป็นเรือ่ งความเสียสละแล้วนะ เสียสละเวลากิน เวลา
นอน เวลาสุขสบาย มีเรือ่ งอีกเยอะทีอ่ ยากจะพูด แต่ขอเตือนใจพวกเราก็แล้วกันว่า “การเรียน
บาลีนน้ั เริม่ มีการพูดคุยกันบ้างแล้ว ภายใน ๒ ปีน้ี จะมีการเปลีย่ นแปลงเกิดขึน้ แต่ขน้ึ อยู่
กับผูร้ บั ผิดชอบ ไปกราบทูลเจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช ถึงแนวความคิดต่าง ๆ ต้องปรับ
ระบบเรือ่ งการศึกษาของคณะสงฆ์ ต้องมีการปรับระบบใหม่ ถ้าไม่ปรับพระพุทธศาสนาอยูไ่ ม่
ได้ พระพุทธศาสนาจะตาย หากปรับระบบให้ถกู ทิศถูกทาง เกิดความเจริญรุง่ เรืองก้าวหน้าก็
ยังอยูไ่ ด้ เรือ่ งของการศาสนาเป็นเรือ่ งพระ เราต้องปรับ อย่าให้ทางโลกมาปรับ ทางโลกปรับ
เมือ่ ไร พระพุทธศาสนาสิน้ ทันที” ล่าสุดประเทศอินโดนีเซีย เมือ่ ๖๐๐–๗๐๐ ปีมานี้ ประมุข
ของประเทศ ไม่ได้นบั ถือพระพุทธศาสนา นับถือศาสนาอืน่ เท่านัน้ แหละ พระพุทธศาสนาใน
ประเทศอินโดนีเซียยังไม่หมด ยังมีอยู่ เคยไปเกาะสุมาตรา มีซากวัดและซากพระพุทธรูปเป็น
จำ�นวนมาก แสดงว่าสมัยก่อนมีความเจริญ หรืออย่างที่ ยอร์คจาการ์ตา้ ก็มเี จดียใ์ หญ่ แต่เดีย๋ ว
นีไ้ ม่มแี ล้ว เพราะว่าฆราวาสมาเป็นผูน้ �ำ พระพุทธศาสนาก็จบ นีค่ อื ตัวอย่าง หรือในประเทศ
อินเดีย และในประเทศศรีลงั กา อาศัยพระสงฆ์ทเ่ี ก่ง พระพุทธศาสนาจึงอยูไ่ ด้ เพราะฉะนัน้ เรา
ต้องอ่านประวัตศิ าสตร์
การศึกษาบาลี ท่านทัง้ หลายต้องรูเ้ ป้าหมายก่อน เรียนบาลีท�ำ ไม? เคยพูดมาแล้วในที่
นี้ เมือ่ ปีกอ่ น การเรียนบาลีเราต้องมีเป้าหมายว่า เรียนทำ�ไม? เมือ่ เรารูเ้ ป้าหมาย เราเรียนบาลีก็
จะได้เดินไปตามนัน้ ก็จะประสบความสำ�เร็จ เกิดความเจริญรุง่ เรือง มีความก้าวหน้า ไม่เสียเปล่า
การเรียนบาลีมงุ่ เพือ่ ประโยชน์ใหญ่ ๆ ๒ อย่าง คือ
๑.เพือ่ ตนพัฒนา หมายความว่า เพือ่ ตนจะได้เจริญรุง่ เรืองด้วยความรู้ เราเรียนเราย่อม
มีความรู้ พอเรียนไปก็ได้บท ได้แบบ ก็เกิดความฉลาดขึน้ เกิดความคิดขึน้ เรียนของพระเราทุก
วันนีต้ อ้ งเรียน ๒ อย่าง คือ ทัง้ ทางโลก และทางธรรม ไม่ใช่เรียนทางโลกอย่างเดียว หรือทาง

18
ธรรมอย่างเดียว แต่จะหนักในทางไหน ทางโลก หรือทางธรรม จริง ๆ แล้วพระเราต้องหนักใน
ทางธรรม เรียนทางโลกพอรู้ เอาใช้งานได้ ผมก็เรียน แล้วก็ทง้ิ คำ�ว่าทิง้ คือไม่เรียนต่อ มีคนให้ไป
เรียนต่อต่างประเทศ ผมไม่ไป เพราะว่ามีความตัง้ ใจจะเรียนความรูท้ างธรรม จบเปรียญธรรม
๙ ประโยค เราก็ดบู าลี ค้นคว้าเขียนตำ�รา สอนหนังสือ ให้เด่นไปทางธรรม นีส้ ว่ นตัว ทำ�ตาม
ทีต่ นเองได้วางเป้าหมายไว้ เพือ่ ตนพัฒนา ทางโลกเรียนพอรู้ ทางโลกไม่ยากหรอก อ่านหนังสือ
ก็ได้ อ่านตำ�ราก็ได้ ทุกวันนี้ ความรูท้ างโลกเรียนได้ รูไ้ ด้ แต่อย่าไปติดโลก ทุกวันนีบ้ อกได้เลย
ว่า พระเณรเราหลงโลก ทำ�ไมใช้ค�ำ ว่า หลงโลก คือ โลกมันลวง เราก็ถกู ลวงไปด้วย วิง่ ตามโลก
ไม่ใช่น�ำ หน้าโลก ทัง้ คนทัว่ ไป ทัง้ พระ ทัง้ เณร ประเทศไทย ยกตัวอย่าง เรือ่ งเทคโนโลยี ถามว่าเรา
ต้องรูไ้ หม? “ต้องรู”้ แต่ตอ้ งรูว้ า่ ประโยชน์แค่ไหน? เพือ่ อะไร? เราจะได้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
มหาศาล เมือ่ ก่อนนีใ้ ช้พมิ พ์ดดี ทุกวันนีพ้ มิ พ์ดดี ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ สิง่ เหล่านีเ้ ราต้องใช้ให้เป็น
มันทำ�งานอะไรได้บา้ งทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ เรา โทรศัพท์มอื ถือ เป็นเทคโนโลยีสมัยใหม่ โทรศัพท์
มือถือมีเพือ่ อะไร? เราต้องรู้ ถ้าเราไม่รเู้ ราก็จะหลงมัน รุน่ ใหม่ออก Iphone X ออกแล้ว จองเลย
อันนีเ้ รียกว่า หลงโลกแล้ว ผมมี Iphone 4 ใช้มาไม่รกู้ ป่ี แี ล้ว โทรออกอย่างเดียว โทรเข้าไม่ได้
เพือ่ อะไร ก็เพือ่ เราจะได้ไม่ตอ้ งถูกมันลวง ถ้าใช้เพือ่ หาข่าว ถามว่าจะรูไ้ ปทำ�ไม? เพราะว่าทุกวัน
นี้ ทีบ่ อกว่าหลงโลก เพราะชอบติดตามข่าวสาร พระเรานีฉ้ ลาดมาก เพราะมีเวลามาก รูม้ ากกว่า
ชาวบ้านเสียอีก ถามว่า “รูไ้ ปทำ�ไม” อันนีต้ า่ งหาก ทีเ่ สียเวลากับการติดตามข่าวสาร บางทีโน้น
นี่ นัน่ ร้อยแปดพันเก้า แล้วเอามาพูดมาข่มกัน เอามาวิจารณ์กนั หมดเวลาไป เสียเงินเสียทอง
อีกต่างหาก ถามว่า “ฉลาดไหม” แม้แต่สามเณรก็มโี ทรศัพท์มอื ถือ ทุกวันนี้ เขาได้ส�ำ รวจและ
มีผลสำ�รวจว่า ประเทศไทยเป็นประเทศทีต่ ดิ เทคโนโลยีมากทีส่ ดุ ในโลก (มือถือ) ไม่นา่ เชือ่ ว่า
ประเทศทีเ่ ขาผลิตมือถือได้ เขายังใช้ไม่มากเท่าประเทศไทยเราเลย เด็กเขาไม่มี ประเทศไทย
เด็กประถมก็มแี ล้ว หรืออนุบาลก็อาจจะมี สามเณรก็อยากจะมี เห็นเขามีกอ็ ยากจะมี เรียกว่า
หลงโลก คือ เราคิดไม่เป็น คิดว่าเราฉลาด ฉลาดตามเขา วิง่ ตามเขาอยูเ่ รือ่ ย บริษทั ผลิตก็ผลิตอยูเ่ รือ่ ย
ต่อไปในวันข้างหน้า Iphone อาจจะเจ๊ง ต้องลดราคา เหตุผลเพราะราคาแพงมาก ผมมีมย้ั
“มีครับ” แต่ไม่ได้ซอ้ื หรอก ไปต่างประเทศก็บอกกับลูกศิษย์วา่ มีอะไรมุทติ าบ้าง แค่นน้ั แหละ
เขาก็ไปซือ้ Iphone มาถวาย ใช้เฉพาะโทรออก ดูแผนที่ แค่นน้ั ไม่เกินไปกว่านัน้ เพราะไม่มเี วลา
ท่านทัง้ หลาย นีค่ อื เรียนทางโลกต้องเรียนต้องรู้ แต่อย่ามาก อย่าใช้เวลาให้มากไป ไม่วา่ วิทยุ
โทรทัศน์ อะไรก็แล้วแต่ ทุกวันนีบ้ างทีเล่น Line ส่งข่าวคุยกัน ใช้เวลาไปวันหนึง่ ๆ แล้วไม่ได้อะไรเลย
ลองคิดมุมกลับสิวา่ เราได้อะไรบ้าง ชีวติ ทีผ่ า่ นไป ๆ การทำ�วัตรเช้า-เย็น เราก็ไม่คอ่ ยได้ท�ำ บอกว่า
เรียนหนังสือมามาก แล้วก็สอบตก ถามว่าดูจริงหรือเปล่า ต้องมองดูตวั เอง พระพุทธเจ้าสอนไว้ดี แต่
ขอให้เข้าถึงละกัน เรียกว่า เพือ่ ตนพัฒนา คือเรียนทางโลก และเรียนทางธรรม

19
๒.เพือ่ รักษาพุทธศาสน์ การเรียนบาลี กำ�หนดจดจำ� แนะนำ�สัง่ สอน คือเรียนบาลี ต้อง
กำ�หนดจดจำ� กำ�หนดด้วย จดจำ�ด้วย กำ�หนดเรียกว่า โยนิโสมนสิการ ใส่ใจ สนใจ ทำ�ไว้ในใจ
กำ�หนดไว้ สังเกตดูได้เลย เรียนประโยค ป.ธ.๙ ผมเองก็สอน ประโยค ป.ธ.๙ มาหลายสิบปีแล้ว
บางทีพระเราเรียนมาจนถึงประโยค ป.ธ.๙ ยังกำ�หนดอะไรไม่ได้เลย บางเรือ่ งไม่ได้ก�ำ หนด ความ
ต่างก็ยงั ไม่รู้ แบบนีแ้ หละทีส่ อบไม่ได้ ยกตัวอย่าง จะเป็นครูกต็ าม เป็นนักเรียนก็ตาม ต้อง Start
ก่อนเลยเวลาแปลหนังสือ รูจ้ กั ประโยคบาลีหรือไม่ มีกช่ี นิด เวลาครูสอน หรือเวลานักเรียนแปล
-สัมพันธ์ ครูตอ้ งบอกไหม หรือนักเรียนต้องกำ�หนดเอง ว่าเป็นประโยคอะไร กำ�หนดให้ได้เสีย
ก่อน ประโยค กัตตุวาจก, กัมมวาจก, ภาววาจก, เหตุกตั ตุวาจก, เหตุกมั มวาจก, ลักขณะ,
อนาทร ถ้ากำ�หนดอย่างนีไ้ ด้ สอบได้ ๕๐ เปอร์เซ็นต์แล้ว ทีส่ อบตก เพราะตกประเภทนี้ วิชากลับ
ข้อความเป็นกัตตุวาจก แต่กริ ยิ าเป็นเหตุกตั ตุวาจก แล้วจะสอบได้อย่างไร ในเมือ่ วาจกยังไม่รจู้ กั
เลย การเรียนบาลีไม่ยาก แต่ก�ำ หนดให้ได้เสียก่อน จดจำ�เป็นเรือ่ งของศัพท์ เมือ่ จำ�ศัพท์ได้ ต่อไป
ก็จะค่อย ๆ จำ�ไปเองแบบอัตโนมัติ แต่ก�ำ หนดรูล้ กั ษณะหน้าตาของประโยค เขาวางไว้อย่างไร
ทำ�ไมวางตรงนี้ ให้ดกู ลับไปกลับมา จนเกิดความชำ�นาญก็สอบได้ บางทีจ�ำ อย่างเดียวเป็นไปไม่ได้
เพราะฉะนัน้ ต้องกำ�หนดให้ได้และจดจำ�ทีหลัง สุดท้ายคือแนะนำ�สัง่ สอน หมายความว่าเราเรียนรู้
เพือ่ สอบไล่ได้แล้ว กำ�หนดจดจำ�นำ�ไปใช้ได้ดว้ ยตัวเอง แนะนำ�ตัวเอง สัง่ สอนตัวเองให้ปฏิบตั ติ าม
เราเรียนมาแล้วแต่เราไม่เข้าใจ คิดว่าทีเ่ รียนแค่ก�ำ หนดจดจำ�เฉย ๆ แต่ตอ้ งแนะนำ�เรา สัง่ สอนเรา
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแล เป็นทีพ่ ง่ึ ของตน จงเตือนตนของตน เราเรียนมาแล้ว เมือ่ เราแนะนำ�
สัง่ สอนตัวเอง แล้วประพฤติปฏิบตั ไิ ด้ผลแล้ว ต่อไปก็แนะนำ�สัง่ สอนชาวบ้าน คือ การเผยแผ่
การเผยแผ่เป็นเรือ่ งใหญ่ ภาษาพระเรียกว่า เทศนา แปลว่า การถ่ายทอดความรู้ สามารถสอน
ชาวบ้าน แนะนำ�ชาวบ้านได้ เป็นเรือ่ งเป็นราวได้ หรือแนะนำ�คำ�สองคำ�ก็ได้ นัน่ แหละ พระพุทธ
ศาสนาก็ยงั อยูไ่ ด้ เราก็สง่างาม เรามีความรูเ้ ป็นพืน้ ฐาน และแนะนำ�สัง่ สอนญาติโยมได้ ประพฤติ
ปฏิบตั ติ ามได้ อลํ กาตุํ อลํ สวํ ธิ าตุํ นีค่ อื เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของการเรียน สอบได้กส็ อบต่อ
สอบไม่ได้กอ็ ย่าเพิง่ ท้อใจ แล้วค่อย Start ใหม่ ตัง้ สติให้ดี กำ�หนดจดจำ�ให้ดี ดูเป้าหมาย ดูหลัก
พินจิ พิจารณา รอบคอบ ส่วนใหญ่เราเผลอตัว ทำ�อะไรเพราะไม่คอ่ ยรอบคอบ ทำ�ให้เราผิดพลาด
ก็เป็นอันว่า ท่านทัง้ หลายมาเข้าร่วมกิจกรรม ได้ประโยชน์แล้ว ฝากไว้เป็นหลักแก่ทา่ นทัง้ หลาย
ทัง้ ทีเ่ ป็นครูบาอาจารย์และนักเรียน มีหลายท่านในทีน่ ้ี ก็คงจะเป็นนักสอบไม่ใช่นกั เรียน คือ
ลงชือ่ สอบไว้ เขาบังคับให้มาก็มา ถูกบังให้มานีแ่ หละ มันเป็นการเตือนสติเตือนใจว่า เราได้อยูใ๋ น
กฎระเบียบไหม เพราะว่ามีกฎกติกา มาฝึกตัวเอง ฝึกฝนตนเอง คนทีฝ่ กึ ตัวเองได้ ถือว่าประเสริฐ
ทีส่ ดุ ทีแ่ ย่มากทีส่ ดุ คือไม่ได้ฝกึ ถ้าเราฝึกสงบเสงีย่ มเรียบร้อย นุง่ ห่ม พูดจาเรียบร้อย มีสติตลอด

20
เวลาเพราะทำ�ตามกติกา รูส้ กึ ตัวว่าเราเป็นพระเป็นสามเณรควรจะทำ�อย่างไร รูก้ จิ ทีท่ �
ำ รูค้ �ำ ทีพ่ ดู
และให้มสี ติอยูต่ ลอดเวลา ก็จะเกิดความงดงาม
ขอเปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๔ ก็ขออนุโมทนาบุญต่อท่าน
เจ้าคณะพระสังฆาธิการ มีเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นต้น และเจ้าคณะพระสังฆาธิการทุกรูปในเขต
ปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีไ่ ด้ถวายความอุปการะ โดยเฉพาะวัดไร่ขงิ ก็ถอื ว่าเป็นกำ�ลังสำ�คัญ
และก็ยงั มีญาติโยมฝ่ายอาหาร ฝ่ายพยาบาล ทีท่ �ำ ให้งานนีผ้ า่ นไปด้วยความเรียบร้อยดีงาม เพือ่
ผลสำ�เร็จของท่านทัง้ หลาย ทีไ่ ด้เข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบในครัง้ นี้ ขออนุโมทนาต่อทุก ๆ
ท่าน และขออำ�นวยอวยพรให้ทา่ นทัง้ หลายจงเจริญงอกงามไพบูลย์ ในพระพุทธศาสนาขององค์
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ให้ยง่ิ ๆ ขึน้ ไป เมือ่ ปรารถนาสิง่ ใด ขอให้ส�ำ เร็จสมดังทีป่ รารถนา
และขอให้การอบรมบาลีกอ่ นสอบในครัง้ นี้ ผ่านไปด้วยความเรียบร้อย ไม่มปี ญ ั หาอุปสรรคใด ๆ
และขอให้ทกุ ๆ ท่าน ได้รบั ความสำ�เร็จในการศึกษาครัง้ นีด้ ว้ ยกันทุกรูป เทอญ

21
สัมปสาทนียกถา
พระธรรมโพธิมงคล (สมควร ปิยสีโล ป.ธ.๙)
เจ้าคณะภาค ๑๔ เจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร

ขอโอกาสพระเถรานุเถระ เจ้าคณะพระสังฆาธิการ มีทา่ นเจ้าคุณพระเทพคุณาภรณ์


รองเจ้าคณะภาค ๑๔ พร้อมด้วยเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำ�เภอ รองเจ้า
คณะอำ�เภอ ตลอดถึงเจ้าคณะพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และขอแสดง
ความนับถือ คณะพระวิทยากร และนักเรียนบาลี ทุกรูป
ท่านทัง้ หลาย ได้รบั ฟังโอวาทจากพระเดชพระคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ ท่านได้
ปรารภถึงสิง่ ต่าง ๆ ซึง่ มีอยูค่ �ำ หนึง่ ว่า พวกเรากำ�ลังหลงโลก ครัง้ สมัยเรียนนักธรรมชัน้ เอก
วิชาธรรมวิจารณ์ มีพระบาลีบทหนึง่ ว่า “เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตตฺ ํ ราชรถูปมํ ยตฺถ พาลา วิสที นฺติ
นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ แปลความว่า ท่านทัง้ หลาย จงมาดูโลก (คือกายใจนี)้ อันตระการดุจราชรถ
ทีพ่ วกคนเขลาหมกอยู่ แต่ผรู้ หู้ าข้องอยูไ่ ม่”่ ซึง่ ปัจจุบนั นี้ เจ้าคณะใหญ่ทกุ หน ได้ออกหนังสือ
แจ้งเตือนพระภิกษุสามเณรทุกภาค ทุกจังหวัด สิง่ ทีค่ ณะสงฆ์เป็นห่วงมากทีส่ ดุ ก็คอื การลวงโลก
แต่ไม่ได้หมายถึงทัง้ หมดทีล่ วงโลก เจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต)
พระมหาเถระนักปราชญ์ ท่านได้ปรารภกับผูบ้ ริหารสำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ว่า
พระสงฆ์เรานี้ กำ�ลังหลงประเด็น หลงประเด็นในสิง่ ทีต่ วั เองจะต้องทำ�กลับไม่ท� ำ ไปทำ�ในสิง่
ทีไ่ ม่ใช่เรือ่ งของตัวเอง คำ�พูดสัน้ ๆ ทำ�ให้เรานำ�มาขบคิด และก็เป็นเรือ่ งทีน่ า่ คิด
เพราะฉะนัน้ การอบรมบาลีกอ่ นสอบ ภาค ๑๔ ณ วัดไร่ขงิ นี้ สิง่ ทีเ่ น้นและเป็นประเด็น
ทีป่ รารภอยูไ่ ม่ขาดสาย โดยได้ปรารภถึงหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (ปัญญา อินทฺ ปญฺโญ)
อดีตทีป่ รึกษาเจ้าคณะภาค ๑๔ และอดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พระอารามหลวง จบเพียงเปรียญ
ธรรม ๖ ประโยค แต่เป็นพระสงฆ์ทม่ี ี วิสยั ทัศน์ มองการณ์ไกล มองอนาคตเผือ่ ไว้ถงึ ๒๐ - ๓๐
ปี เพราะท่านขบปัญหาออก อีกสิง่ หนึง่ ทีเ่ ราท่านทัง้ หลายในนามรุานลูกศิษย์ ต้องการสืบสาน
เจตนารมณ์ของหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ ทีพ่ ระเดชพระคุณฯ พระมหาโพธิวงศาจารย์

22
ปรารภถึงพระมหาเถระหลายรูป ทีม่ คี วามเจริญก้าวหน้าในหน้าทีท่ างคณะสงฆ์ ในทางพระพุทธ
ศาสนา มีอยูร่ ปู หนึง่ ทีผ่ มจะพูดถึงในทีน่ ้ี คือ ท่านเจ้าคุณพระเทพศาสนาภิบาล (เจ้าคุณแย้ม)
ไม่ใช่พดู เพือ่ ยกยอ หรือเพราะเป็นคนบ้านเดียวกัน ผมรูม้ าโดยตลอดว่า ท่านอยูก่ บั หลวงพ่อ
พระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ (หลวงพ่อปัญญา) พืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ไม่ใช่เพราะการศึกษาทีส่ งู
พืน้ ฐานทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ เพราะท่านเป็นพระทีซ่ อ่ื สัตย์ตอ่ หลวงพ่อ ซือ่ สัตย์ตอ่ วัดไร่ขงิ ซือ่ สัตย์ตอ่
ประชาชน และซือ่ สัตย์ตอ่ พระพุทธศาสนา ไม่มคี �ำ ว่า “คดในข้องอในกระดูก” พืน้ ฐานในด้าน
ความกตัญญูกตเวที เริม่ มาจากงานพระราชทานเพลิงศพ พระครูวสิ ทุ ธิค์ ณ ุ าธาร (โต๊ะ ชุตมิ า)
อดีตเจ้าอาวาสวัดรางกำ�หยาด ในงานไม่มใี ครร้องไห้ แต่สงั เกตเห็นท่านเจ้าคุณแย้มร้องไห้
เพราะท่านบวชเป็นสามเณรอยูท่ ว่ี ดั รางกำ�หยาด มีหลวงปูโ่ ต๊ะเป็นครูบาอาจารย์ เป็นผูม้ พี ระคุณ
อันสูงส่ง เพราะเป็นพระอุปชั ฌาย์บวชสามเณรให้ ผมไปงานศพนัง่ ดูอยู่ แล้วคิดในใจว่า “พระรูป
นีไ้ ม่ธรรมดา”
ต่อมาท่านได้มาอยูว่ ดั ไร่ขงิ ได้มาอยูก่ บั หลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ ก็เช่นเดียวกัน
ท่านเป็นผูท้ ม่ี คี วามห่วงใยหลวงพ่อเหมือนพ่อกับลูก พืน้ ฐานความกตัญญู ทำ�ให้พระเทพศาสนา
ภิบาล มีความเจริญก้าวหน้า พระมหาเถระผูเ้ ป็นบัณฑิตทัง้ หลายก็มองเห็น แต่จะพูดหรือไม่กต็ าม
วันนีข้ อพูดให้ทา่ นทัง้ หลายได้ทราบ เพราะเกีย่ วโยงกัน พืน้ ฐานของความกตัญญูกตเวที ทีท่ า่ น
มีตอ่ ผูท้ ม่ี อี ปุ การคุณ และเป็นผูเ้ สียสละ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีย่ ง่ิ ใหญ่ และเป็นยอดแห่งความดีทง้ั หมด
การทีท่ า่ นทัง้ หลายมาเข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ณ วัดไร่ขงิ เราไม่ได้เน้นเฉพาะเรือ่ งสอบได้
อย่างเดียว ยังได้เน้นเรือ่ งความรักความสามัคคี ให้เกิดขึน้ ในหมูค่ ณะ ขอชืน่ ชมความเสียสละของ
เจ้าคณะพระสังฆาธิการทุกระดับ ในเขตปกครองคณะภาค ๑๔ ทีม่ องเห็นความสำ�คัญกิจการ
งานพระพุทธศาสนา สิง่ ทีอ่ ยากจะให้เกิดขึน้ อยากให้พวกเราทุกรูปมีจติ สำ�นึก และความกตัญญู
กตเวที ต่อพระพุทธศาสนา ทีเ่ รามีปจั จัย ๔ ใช้สอยอย่างสะดวกสบาย ถามว่าได้มาจากไหน
หากไม่หม่ จีวร แล้วใส่เสือ้ ผ้า กางเกงแทน เราจะสะดวกสบายแบบนีห้ รือไม่ เราอยูด่ กี นิ ดีจนลืมไป
เหมือนลูกทีล่ มื พระคุณพ่อแม่ พ่อแม่เลีย้ งมาตลอด ๑๐ ปี ๒๐ ปี บางคนไม่เคยนึกถึงเลย
เกิดความเคยชิน อย่าคิดว่าเป็นหน้าทีท่ ต่ี อ้ งเลีย้ ง อย่าคิดว่าเป็นหน้าทีข่ องโยมทีต่ อ้ งใส่บาตร
ต้องต่างคนต่างทำ�หน้าทีข่ องตนเอง แล้วเราทำ�หน้าทีข่ องเราดีแล้วหรือยัง พระเถระทีน่ ง่ั อยูท่ น่ี ่ี
บวชแล้วทำ�ไมอยูไ่ ด้นาน เพราะเหตุไร ก็เพราะมีจติ สำ�นึกในพระคุณของพระพุทธศาสนา ความ
เจริญรุง่ เรือง จึงเกิดมีแก่ทา่ นทัง้ หลายทีน่ ง่ั อยูต่ รงนี้

23
คำ�ว่า “เหนือ่ ย เบือ่ ” จะไม่ได้ยนิ จากปากผมแม้แต่นดิ เพราะเราอาศัยพระพุทธศาสนา
อยูม่ าเกือบ ๕๐ ปีแล้ว ไม่เคยอดอยากเลยแม้แต่มอ้ื เดียว เพราะพระพุทธศาสนาให้ทง้ั นัน้ และอย่า
ถามว่าพระพุทธศาสนาให้อะไรแก่เรา จงถามว่าเราได้ให้อะไรแก่พระพุทธศาสนาบ้าง ขึน้ อยูก่ บั
จิตสำ�นึกของแต่ละรูป เมือ่ ระลึกถึงคุณของพระพุทธศาสนา จึงต้องมาเรียน มาอบรม มาฝึกฝน
เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล หากไม่ฝกึ ฝน ไม่แสวงหาความรูแ้ ล้ว เราจะรักษาพระพุทธ
ศาสนาของเราไว้ได้อย่างไร จะบริหารสมบัตทิ พ่ี อ่ แม่ทง้ิ ไว้ให้ได้อย่างไร พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มอบให้สงฆ์ดแู ลสมบัติ คือ หลักธรรมคำ�สอนในพระพุทธศาสนา เรามีจติ สำ�นึกหรือไม่ เมือ่
เราไม่มคี วามรู้ อะไรจะเกิดขึน้ เราจะเป็นเจ้าของบ้านหรือ จะกลายเป็นกาฝากทีอ่ าศัยอยูใ่ น
บ้าน เหมือนกาฝากทีอ่ าศัยอยูต่ ามต้นไม้ นับวันทีจ่ ะทำ�ให้ตน้ ไม้นน้ั ตาย กาฝากทีอ่ ยูใ่ นพระพุทธ
ศาสนาก็เช่นเดียวกัน ไม่ได้ท�ำ ให้พระศาสนานัน้ เจริญรุง่ เรืองเลย
พระเดชพระคุณพระมหาโพธิวงศาจารย์ ได้ให้โอวาทไว้วา่ การศึกษาภาษาบาลี
“เพือ่ ตนพัฒนา เพือ่ รักษาพระพุทธศาสน์” ในหนังสือเรียนชัน้ ประโยค ป.ธ.๔ ในมงคลัตถทีปนี
มีบาลีประโยคหนึง่ ว่า โน เจ อสฺส สกา พุทธฺ ิ วินโย จ สุสกิ ขฺ โิ ต วเน อนฺธมหึโสว จเรยฺย พหุโก
ชโน แปลความว่า ถ้าไม่มคี วามรูเ้ ป็นของตัวเอง ไม่มรี ะเบียบวินยั ทีไ่ ด้ฝกึ ฝนไว้ ชนเป็นอันมาก
ก็จะเทีย่ วเร่รอ่ นไป เฉกเช่น กระบือบอดทีเ่ ทีย่ วไปในป่าฉะนัน้
สังคมทุกวันนี้ เป็นสังคมทีไ่ ม่มรี ะเบียบวินยั ไม่นา่ ดู ไม่นา่ ชม คนไม่มคี วามรู้ ไปทางไหน
ก็ไร้คา่ ไม่รจู้ ะไปแสวงหาทรัพย์ตรงไหน ไม่รตู้ รงไหนทีจ่ ะทำ�ให้เกิดความเสือ่ ม และความเจริญ
เฉกเช่น กระบือบอดทีเ่ ทีย่ วไปในป่า ไม่รวู้ า่ ตรงไหนมีหญ้า ตรงไหนมีน�ำ้ เดินไปแล้วจะไปตกเหว
ตาย เพราะไม่มคี วามรูเ้ ป็นของตนเอง น่าเป็นห่วงมาก เพราะตัวเราเองทำ�หน้าทีเ่ พือ่ ปกป้อง
สมบัตขิ องพ่อ คือ หลักธรรมคำ�สอนของพระพุทธเจ้า และเพือ่ รักษาบ้าน คือ พระพุทธศาสนา
ตราบใดทีย่ งั ทำ�หน้าทีใ่ นตำ�แหน่งเจ้าคณะภาคอยู่ ก็จะทำ�เท่าทีจ่ ะทำ�ได้ เพราะเราเรียนพุทธวิธี
บริหารของพระพุทธเจ้ามาแล้ว คือ บริหารตน บริหารคน บริหารงาน บริหารเวลา พระพุทธเจ้า
สอนทัง้ หมด เรียนหนังสือตัง้ แต่นกั ธรรม เรายังได้ระเบียบวินยั เหมือนฝึกฝนระเบียบวินยั มา
เรียนสูงขึน้ มา นักธรรมชัน้ โท - เอก ได้ธรรมะทีส่ งู ขึน้ มา แต่พอมาเรียนบาลี เราแปลบาลีออก
ธรรมบทแต่ละเรือ่ ง สอนให้เราฉลาดทุกเรือ่ ง แต่บางครัง้ อาจารย์ทส่ี อนไม่ได้แนะนำ�ว่า ธรรมบท
เรือ่ งนีส้ อนให้เรารูเ้ รือ่ งอะไร เอาไปใช้ตรงไหน มีธรรมะตรงไหนทีล่ กึ ซึง้ ตรงนีม้ นั กินใจมาก เรียน
แล้วเกิดความรูส้ กึ ขึน้ มาว่าอยากจะเรียน ไม่มใี ครไปตอกย้�ำ คำ�ต่าง ๆ ให้เหิมเกริมขึน้ มา ให้เกิด
ความลึกซึง้ ว่าเห็นคุณค่าของการศึกษาภาษาบาลี แม้แต่ศพั ท์เดียวก็มคี วามหมาย ผมไม่ได้ยกยอ

24
ปอปัน้ ตนเอง ทีผ่ มทำ�งานได้ทกุ วันนีไ้ ม่มยี อ่ ท้อ ก็เกิดจากบาลีเช่นเดียวกัน ผมไปเจอบาลีประโยค
หนึง่ ของประโยค ป.ธ.๔ จำ�มาได้ถงึ ทุกวันนี้ คือประโยคว่า โพธิสตฺตานญฺหิ สิถลิ กรณํ นตฺถิ นาม
ขึน้ ชือ่ ว่าการกระทำ�ย่อหย่อนของพระโพธิสตั ว์ทง้ั หลาย ย่อมไม่มี ท่านทัง้ หลายต้องมีเป้าหมาย
ของตนเอง ต้องรูว้ า่ เราเรียนบาลีไปทำ�ไหม ผมเองใช้บาลีเป็นหลักประคับประคองชีวติ มีความ
เจริญเติบโตมาได้ ก็เพราะการศึกษาบาลีลว้ น ๆ ไม่ได้เรียนทางโลก อยากรูอ้ ะไรก็ไปหาหนังสือ
มาศึกษาค้นคว้า เพือ่ ให้มคี วามรูใ้ ห้สอดคล้องกับการพัฒนาพระพุทธศาสนาของเรา ทีเ่ คีย่ วเข็ญ
ไม่ใช่เพือ่ ประโยชน์ของตนเอง ไม่ใช่เพือ่ ประโยชน์ของเจ้าคณะพระสังฆาธิการ แต่เพือ่ ประโยชน์
ของท่านทัง้ หลาย และเพือ่ ความมัน่ คงของพระพุทธศาสนา เราจะอยูแ่ บบเจ้าของพระพุทธศาสนา
หรืออยูแ่ บบอาศัยพระพุทธศาสนา จะเรียนด้วยความโลภ หรือความกตัญญูตอ่ พระพุทธศาสนา
ต่อหลักธรรมคำ�สอนของพุทธเจ้า และต่อญาติโยมทัง้ หลายทีไ่ ด้ถวายปัจจัย ๔ แก่เรา
การเรียนทีจ่ ะสอบได้หรือสอบตก ไม่ตอ้ งไปแก้ทต่ี รงไหน ในศัพท์วชิ าการทางธุรกิจ
ใช้ค�ำ ว่า SWOT อันไหนเป็นจุดแข็ง จุดอ่อน อันไหนเป็นโอกาส เป็นอุปสรรค ดูวา่ จุดแข็งของ
เรามีอยูต่ รงไหน ได้น�ำ ออกมาใช้แล้วหรือยัง มีความรูค้ วามสามารถ แต่ไม่น�ำ มาใช้ การทำ�งานทุก
อย่างต้องมีจติ สำ�นึก แม้เราเองก็ตอ้ งรับผิดชอบในหน้าทีก่ ารงาน ต้องไปทำ� ต้องไปดู สิง่ เหล่านี้
เรียกว่า จิตสำ�นึก ดูตรงไหนเป็นจุดแข็งเป็นจุดอ่อนของเรา จุดแข็งภายนอกคือการสนับสนุน
จากญาติโยมครูบาอาจารย์ทง้ั หลาย จุดอ่อนไม่ได้เกิดจากข้างนอก เกิดจากตัวเราเองเป็นส่วนมาก
โอกาสนัน้ มีอยูแ่ ล้ว เพราะเราอยูใ่ นสมณเพศ จึงมีโอกาสมากกว่าญาติโยมทัง้ หลาย มีโอกาส
ทีจ่ ะทำ�ความดี ในขอบเขตทีก่ ว้าง ทีพ่ ดู ถึงการแสวงหาโอกาส เพราะผมไม่ได้บวชตัง้ แต่
สามเณร บวชเป็นพระอยูท่ ว่ี ดั บึงลาดสวาย อำ�เภอบางเลน ได้ ๖–๗ ปี จึงได้เข้ามาเรียนที่
กรุงเทพมหานคร ตอนนัน้ ได้แต่ฟงั คนอืน่ พูดว่าสอบได้ประโยค ป.ธ.๙ ปีนน้ั ปีน้ี แต่เรายังไม่ได้
เริม่ เรียนบาลี เรือ่ งโอกาสนัน้ เราต้องแสวงหา ถ้ารอโอกาสจะหมดโอกาส พระเดชพระคุณ
พระพรหมบัณฑิต วัดประยุรวงศาวาส จะพูดอยูบ่ อ่ ยว่า ใช้วกิ ฤติให้เป็นโอกาส เป็นโอกาสที่
เราต้องฉวยโอกาส ตอนนีค้ นเรียนทางโลกกันมาก จงเรียนเพือ่ รู้ เรียนเพือ่ นำ�มาใช้กบั สิง่ ทีเ่ ป็น
ประโยชน์ ขอให้เรียนภาษาบาลีเป็นพืน้ ฐาน ทางโลกนัน้ เป็นวิชาทำ�มาหากิน ภาษาบาลีหรือ
ธรรมะ เป็นวิชาทีร่ กั ษาสภาพจิตใจได้ คนทีม่ เี งินมาก แต่ไม่มศี ลี ธรรม พักเดียวก็จบ มีอ�ำ นาจมี
เงิน จะต้องมีศลี ธรรมคุณธรรมในใจด้วย เพือ่ เป็นการยกระดับจิตใจ ยกตัวยกใจให้สงู ขึน้ สิง่ ทีเ่ รา
กำ�ลังเรียนอยูต่ รงนี้ ลองพิจารณาดู ถ้าตัวเราไม่สงู จิตใจไม่สงู ญาติโยมจะมากราบไหว้เราทำ�ไม
เพราะเห็นว่า เป็นผูท้ ม่ี จี ติ ใจสูง มีธรรมะทีส่ งู มีความรูใ้ นด้านพุทธพจน์ทด่ี ี เขาจึงกราบไหว้
เพราะฉะนัน้ จงใช้วกิ ฤติให้เป็นโอกาส เอาสิง่ ทีก่ �ำ ลังวิบตั อิ ยูเ่ ป็นการพัฒนา เอาปัญหาทีเ่ กิด
25
ขึน้ ทุกวันนีม้ าเป็นบทเรียน ปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ กับพระทีส่ กึ ไปแล้ว ให้น�ำ มาวิเคราะห์ คิด
อย่างเป็นระบบ ดูเปรียบเทียบ ทำ�อย่างไรไม่ให้ปญ ั หาทีเ่ กิดขึน้ กับคนอืน่ นัน้ มาเกิดขึน้ กับตัว
เรา เราจะป้องกันอย่างไร ให้น�ำ มาเป็นบทเรียน นำ�มาคิด โอกาสเรามี ทำ�ไมไม่ใช้โอกาสเหล่านี้
ให้เกิดประโยชน์ ใช้เวลาทุม่ เทไม่กป่ี ี ก็จะสามารถเรียนรูอ้ ะไรต่าง ๆ ได้ แล้วเราจะภูมใิ จในตัวเอง
กับสิง่ ทีท่ มุ่ เทลงไป เมือ่ นึกขึน้ มาคราใดก็ปลืม้ ใจ สิง่ ทีเ่ ป็นอุปสรรคของเราทุกวันนี้ มีทง้ั ทีวี โทรศัพท์
เวลา ๒๔ ชัว่ โมง ลองไปทำ�ตารางเสียใหม่ เวลาทีท่ า่ นทำ�ความดี ดูหนังสือ ท่องหนังสือ ดูสง่ิ ที่
เป็นสาระประโยชน์ ทำ�วัตร สวดมนต์ นัง่ สมาธิ ให้บนั ทึกดูวา่ ใน ๑ วันเราได้ท�ำ อะไรให้ตนเอง
และพระพุทธศาสนาบ้าง “ถ้าเราไม่เรียนภาษาของพ่อ แล้วเราจะรักษาสมบัตขิ องพ่อไว้ได้
อย่างไร? จะรักษาหลักธรรมคำ�สอนทีเ่ ป็นพระพุทธพจน์ไว้ได้อย่างไร?” การเรียนนัน้ เป็น
บันไดขัน้ แรก ทีเ่ ราจะไต่ขน้ึ ไปค้นคว้าหาความรูใ้ นพระไตรปิฎก หรือในหนังสือเล่มอืน่ ๆ เมือ่ ได้
เรียนรูแ้ ล้ว เราสามารถดูออก บอกได้ สอนได้ จงขจัดอุปสรรคเหล่านัน้ แล้วทำ�สิง่ ทีเ่ ป็นประโยชน์
ต่อพระพุทธศาสนา ต่อสาธารณประโยชน์ ต่อตนเอง และต่อบุคคลทีม่ อี ปุ การคุณ จุดอ่อนและ
อุปสรรคทีส่ �ำ คัญ ถ้าไม่ขจัด ไปไม่รอด
ในการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ณ วัดไร่ขงิ แห่งนี้ ได้เน้นย้�ำ กับท่านเจ้าคุณ
พระเทพคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ ในฐานะทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้ตดิ ตามและกำ�กับ
ดูแลอย่างใกล้ชดิ โดยให้เน้นเรือ่ งอาจาระของพระภิกษุสามเณร เพือ่ ให้ผทู้ ม่ี าได้ความรูก้ ลับไป
ส่วนจะสอบได้หรือไม่นน้ั เป็นอีกเรือ่ งหนึง่ แต่เรือ่ งอาจาระของพระภิกษุสามเณรในภาค ๑๔ นัน้
ต้องเป็นเอกภาพ จึงขอฝากไปยังเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอำ�เภอ เจ้าคณะตำ�บล และเจ้าอาวาส
ทุกวัด ขอให้ชว่ ยกันกำ�กับดูแลอย่างเคร่งครัด สถานทีอ่ บรมแห่งนี้ มีความพร้อมทุกประการแล้ว
ส่วนครูบาอาจารย์กม็ คี วามเสียสละ เพราะได้คดั เลือกผูท้ ม่ี คี วามรูแ้ ละมีความเสียสละ เพือ่ ผล
ประโยชน์ของนักเรียนบาลี หากรูปไหนไม่พร้อมไม่เป็นไร ไม่มจี ติ สำ�นึกก็ไม่วา่ กัน แต่เราต้องการ
ผูท้ ม่ี คี วามพร้อม เพราะหลวงพ่อพระอุบาลีคณ ุ ปู มาจารย์ เป็นผูร้ เิ ริม่ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ.๒๕๑๘
เป็นผูร้ กั ษาระบบ รักษาระเบียบ เป็นทีร่ เู้ ป็นทีช่ น่ื ชมว่า การอบรมบาลีกอ่ นสอบทีว่ ดั ไร่ขงิ นี้
เป็นสนามอบรมทีไ่ ด้มาตรฐาน ทัง้ ด้านคุณภาพ และด้านอาจาระ เราจึงต้องรักษามาตรฐานนีไ้ ว้
ท่านทัง้ หลายจะต้องมีจติ สำ�นึก เพราะว่าวัดไร่ขงิ เจ้าคณะพระสังฆาธิการ และครูบาอาจารย์
เป็นผูใ้ ห้ความอุปถัมภ์ ท่านทัง้ หลายมีหน้าทีเ่ พียงตัง้ ใจศึกษาเล่าเรียน ปฏิบตั ติ ามกฏระเบียบของ
สำ�นักอบรม อย่าทำ�ในสิง่ ทีเ่ กิดความเสียหายต่อวัดไร่ขงิ ใครไม่ปฏิบตั ติ ามกฏระเบียบ จนเกิด
ความเสียหาย ถือว่าเป็นผูไ้ ม่มจี ติ สำ�นึกในบุญคุณ ไม่มคี วามกตัญญูกตเวทีตอ่ สถานที่

26
ขอขอบคุณ ขอบใจ พระมหาเถระ เจ้าคณะพระสังฆาธิการ คณะกรรมการดำ�เนินการ
อบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทุกรูป และคณะครูบาอาจารย์ผเู้ ป็นพระวิทยากร ทุก
รูป ทีไ่ ด้เสียสละ ขอให้ทา่ นทัง้ หลายได้ปฏิบตั หิ น้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย ซึง่ จะเป็นความดี ความ
ชอบ ส่งผลให้มคี วามเจริญรุง่ เรืองในภายภาคหน้า เพราะสิง่ ทีท่ า่ นทำ�คือคุณงามความดี นักเรียน
ก็เช่นเดียวกัน ทีท่ า่ นได้เข้ามารับการอบรม ก็ขอให้ตง้ั ใจทำ�หน้าทีข่ องตนเองให้ดที ส่ี ดุ ตัง้ ใจเข้ารับ
การอบรม ตัง้ ใจทำ�ปัญหา เชือ่ ฟังครูบาอาจารย์ทส่ี ง่ั สอน อย่าฝ่าฝืนกฎระเบียบ นัน่ คือหน้าทีข่ อง
แต่ละรูป แต่ละบุคคลทีจ่ ะต้องทำ� ต้องปฏิบตั ิ
สุดท้ายนี้ ขออำ�นวยอวยพรด้วยความปรารถนาดี ด้วยการอ้างอิงเอาคุณพระศรีรตั นตรัย
มีองค์หลวงพ่อวัดไร่ขงิ เป็นต้น และขอบุญบารมีของบูรพาจารย์ทง้ั หลาย ซึง่ มีพระเดชพระคุณ
พระอุบาลีคณุ ปู มาจารย์ และบารมีของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ จงมารวมกันเป็นตบะ เดชะ พลวปัจจัย
ดลบันดาลให้ทา่ นทัง้ หลาย มีความเจริญงอกงามไพบูลย์อยูใ่ นบวรพระพุทธศาสนา ปราศจาก
อุปสรรคภัยในการดำ�เนินชีวติ และเจริญด้วยจตุรพิธพรชัยทัง้ ๔ ประการ มีอายุ วรรณะ สุขะ
พละ ปฏิภาณ ธรรมสารสมบัติ จงทุกประการ เทอญ

27
คำ�กล่าวปฏิสันถาร
พระเทพคุณาภรณ์ (โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ.๙)
รองเจ้าคณะภาค ๑๔ เจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชร วรวิหาร

ขอถวายความเคารพ พระเดชพระคุณท่านเจ้าคุณพระธรรมโพธิมงคล เจ้าคณะภาค


๑๔ ขอโอกาสพระเถรานุเถระ และพระวิทยากรทุกรูป ขอความสวัสดีจงมีแด่พระภิกษุสามเณร
ผูเ้ ข้าอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทุกรูป
การศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลีนน้ั นับเป็นสิง่ สำ�คัญยิง่ เพราะเป็นการสืบทอดอายุ
พระพุทธศาสนาให้เจริญวัฒนาสถาพร โดยเฉพาะภาษาบาลี คำ�ว่า บาลี นี้ มาจากคำ�ว่า ปาลี
ซึง่ วิเคราะห์มาจาก ปาล ธาตุ ในความรักษา ลง ณี ปัจจัย ปัจจัยทีเ่ นือ่ งด้วย ณ แล้วลบ ณ
ทิง้ เสีย มีรปู วิเคราะห์วา่ พุทธฺวจนํ ปาเลตีติ ปาลี แปลโดยพยัญชนะว่า ภาษาใด ย่อมรักษาไว้
ซึง่ พระพุทธวจนะ เพราะเหตุนน้ั ภาษานัน้ ชือ่ ว่า ปาลี แปลโดยอรรถว่า ภาษาทีร่ กั ษาไว้ซง่ึ
พระพุทธวจนะ แสดงให้เห็นว่า ภาษาบาลีนน้ั เป็นภาษาทีร่ องรับพระพุทธพจน์ เป็นตันติภาษา
เป็นภาษาทีม่ แี บบแผน เมือ่ ศึกษาให้เข้าใจอย่างลึกซึง้ แล้ว ย่อมเป็นความภาคภูมใิ จของผูศ้ กึ ษา
ทีส่ ามารถเรียนรูไ้ ด้จนกระทัง่ นำ�ไปเผยแผ่ให้แก่ชาวโลก ได้ประพฤติปฏิบตั ติ ามคำ�สอนได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ เรือ่ งการศึกษาภาษาบาลีน้ี ต้องศึกษาด้วยความเคารพ ด้วยความตัง้ ใจจึงชือ่ ว่า
รักษาพระพุทธพจน์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้ได้
การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ มีจดุ ประสงค์เพือ่ เพิม่ พูนความรู้ ความ
ชำ�นาญ และเพือ่ ให้เกิดความพร้อมในการเข้าสอบบาลีสนามหลวง โดยเปิดอบรมบาลีกอ่ นสอบ
ชัน้ ประโยค ๑–๒ ประโยค ป.ธ.๓ ป.ธ.๔ และชัน้ ประโยค ป.ธ.๕ พระภิกษุสามเณรทีศ่ กึ ษาภาษา
บาลีในเบือ้ งต้น ต้องท่องจำ�บาลีไวยากรณ์ ตามหลักสูตรให้แม่นยำ� ท่องจำ�แบบนกแก้วนกขุนทอง
เมือ่ ท่องจำ�ได้แล้วต้องทำ�ความเข้าใจกับภาษาบาลีทศ่ี กึ ษา จะเป็นวิชาแปลมคธเป็นไทย วิชาแปล
ไทยเป็นมคธ หรือวิชาสัมพันธ์ไทยก็ตาม ต้องใช้ความพากเพียรพยายามและอดทน เมือ่ สามารถ
สอบได้เป็นเปรียญธรรม ๓ ประโยคแล้ว เริม่ มีความเข้าใจเกิดขึน้ ก็จะศึกษาภาษาบาลีได้อย่างลึก
ซึง้ จนเกิดความคล่องแคล้วชำ�นาญมากขึน้ สามารถเข้าถึงพืน้ ฐานของวิชาบาลีไวยากรณ์ เข้าใจ
ประโยคบาลี โดยเฉพาะประโยค ป.ธ.๔ และประโยค ป.ธ.๕ วิชาแปลไทยเป็นมคธ จะเรียน
28
ธรรมบทภาค ๑-๒-๓-๔ ซึง่ ได้เคยเรียนวิชาแปลมคธเป็นไทยมาแล้ว เพียงแต่ตอ้ งให้เป็นไปตาม
หลักบาลีไวยากรณ์ และนึกไว้ในใจเสมอว่า ประธานอยูห่ น้า กิรยิ าอยูท่ า้ ย ตัวขยายอยูห่ น้าตัว
ทีถ่ กู ขยาย ลดหลัน่ กันไปตามลำ�ดับ นึกไว้แค่นแ้ี ล้วก็ดหู นังสือธรรมบท ทีเ่ คยศึกษาเล่าเรียนมา
ตัง้ แต่ประโยค ๑-๒ และประโยค ป.ธ.๓ จะเห็นได้วา่ การศึกษาเล่าเรียนภาษาบาลีตามหลังสูตร
จะวนไปวนมาอยูอ่ ย่างนัน้ เพียงแต่ตอ้ งทำ�ความเข้าใจกับภาษาบาลี และภาษาบาลีน้ี ยังมีเสน่ห์
ชวนให้อยากศึกษาเรียนรูย้ ง่ิ ขึน้ ลองดูตวั อย่าง เช่น อ การันต์ในปุงลิงค์ แจกอย่าง ปุรสิ ในปฐมา
วิภตั ติ ปุรโิ ส ศัพท์เดิมคือ ปุรสิ ลง สิ วิภตั ติ เอา อะ กับ สิ เป็น โอ (เอา อะ ที่ ปุรสิ ะ กับ สิ วิภตั ติ
เป็น โอ) สำ�เร็จรูปเป็น ปุรโิ ส เป็นต้น ทำ�ไมไม่บอกว่า ปุรสิ ลง โอ สำ�เร็จรูปเป็น ปุรโิ ส อันว่าบุรษุ
เพียงแค่นน้ี กั ศึกษาบาลี ย่อมรูไ้ ด้วา่ มีความลึกซึง้ เพียงใด ซึง่ เป็นลีลาของภาษาและในการศึกษา
ภาษาบาลีนน้ั ถ้าจะเทียบกันระหว่างพระภิกษุสามเณรทีม่ ปี ญ ั ญาดีและมีปญั ญาน้อยกว่า ผูท้ ม่ี ี
ปัญญาดีดหู นังสือเพียงครัง้ สองครัง้ ก็จ�ำ ได้ดี แต่ผทู้ ม่ี ปี ญ
ั ญาน้อยกว่า ต้องดูหนังสือหลายครัง้ กว่า
จะจำ�ได้ ขอให้พระภิกษุสามเณรทุกรูป นึกไว้ในใจว่า การดูหนังสือนัน้ เป็นการแสวงหาความรู้
ทีเ่ กิดขึน้ อย่างไม่รสู้ กึ เหน็ดเหนือ่ ย มีความสุขทีเ่ กิดขึน้ ในขณะแสวงหาความรู้ ความรูท้ เ่ี กิขน้ึ
อย่างยัง่ ยืน คือการเรียนมากกว่าการสอน ซึง่ การสอนเป็นสิง่ ทีผ่ อู้ น่ื มาบอกกับเรา แต่การ
เรียนเป็นสิง่ ทีเ่ ราเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง เป็นความรูท้ ย่ี ง่ั ยืนมากกว่า ถ้าเมือ่ ได้เข้าสูร่ ะบบการ
ศึกษาและผ่านขบวนการศึกษาแล้ว ก็จะมีทกั ษะชีวติ เพิม่ มากขึน้ กลายเป็นบุคคลทีม่ ี
คุณภาพ เพราะฉะนัน้ ผูท้ ร่ี ตู้ วั เองว่ามีปญ ั ญาน้อยกว่าผูอ้ น่ื ต้องใช้ความพยายามมากขึน้ ตามหลัก
อิทธิบาท ๔ คือ ฉันทะ ความพอใจในการศึกษาเล่าเรียน วิรยิ ะ ความพากเพียรในการศึกษา
จิตตะ ความเอาใจใส่ฝกั ใฝ่ในการศึกษา วิมงั สา ความหมัน่ สอดส่องในการศึกษา
ชีวติ ของคนเรามีหลายด่านทีจ่ ะต้องผ่าน ในการผ่านนัน้ ด่านทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ คือการผ่าน
ด่านด้านจิตใจของตนเอง ต้องเข้มแข็ง ต้องใจสู้ หากหมดแรงและหมดใจเสียตัง้ แต่ดา่ นแรกแล้ว
ด่านต่อไปก็ผา่ นไม่ได้ ไม่ควรประพฤติอย่างกิง้ ก่า ทีม่ ปี กติวง่ิ ไปได้หน่อยหนึง่ แล้วก็หยุดพักมอง
ซ้ายมองขวา แล้วจึงวิง่ ต่อไป เพราะฉะนัน้ ความเพียรพยายามควรให้เป็นไปอย่างต่อเนือ่ ง
จะเห็นได้วา่ ชีวติ ของมนุษย์นน้ั มีเวลาเท่ากัน ขึน้ อยูว่ า่ ใครจะจัดเวลาให้แก่ตวั เองตรงตามฐานะ
ตามหน้าทีม่ ากน้อยเพียงไร ในการศึกษาภาษาบาลี ก็ตอ้ งจัดเวลาของแต่ละรูปให้เหมาะแก่วชิ า
เช่น ประโยค ๑–๒ วิชาบาลีไวยากรณ์นน้ั ท่องกันมาตัง้ แต่บาลีไวยากรณ์ชน้ั ต้น พอมาเรียน
แปลมคธเป็นไทย ในชัน้ ประโยค ๑–๒ ก็ตอ้ งท่องบาลีไวยากรณ์ดว้ ย พอผ่านไป ๒ วัน หรือ ๓
วัน ก็ตอ้ งทบทวนบาลีไวยากรณ์ดว้ ย แล้วก็หดั แปลมคธเป็นไทยไปด้วย ประโยค ป.ธ.๓ ก็เช่น
เดียวกัน ไม่ควรละเลยวิชาบาลีไวยากรณ์ ควรแบ่งเวลาแต่ละวิชาให้เท่ากัน เพียงแต่วา่ บาลี

29
ไวยากรณ์นน้ั เคยศึกษามาแล้ว ก็คงเพิม่ วิชาสัมพันธ์ไทยเข้ามา ส่วนแปลมคธเป็นไทยก็เคยแปล
มาแล้ว ก็มลี กั ษณะการเดินประโยคเหมือนกัน เพียงแต่จะมีประโยคบาลีและคำ�ศัพท์เปลีย่ น
ไปบ้าง อันนีก้ ต็ อ้ งเพิม่ ความจำ�เข้ามา พอถึงประโยค ป.ธ.๔ คงเหลือเพียง ๒ วิชา คือ วิชาแปล
ไทยเป็นมคธ และวิชาแปลมคธเป็นไทย ก็เรียนตามหลักสูตรซึง่ วนกันอยูอ่ ย่างนี้ จนถึงประโยค
ป.ธ.๕ เรียนกันอยูใ่ นหนังสือธรรมบทภาค ๑ ถึง ภาค ๔ เรียนซ้�ำ ไปซ้�ำ มาโดยตลอด ขอแนะนำ�ว่า
การศึกษาภาษาบาลีตามหลักสูตรทัง้ หมดนีต้ อ้ งใช้ความจำ� ต้องมีความอดทนและความพยายาม
เป็นพิเศษ ดังคำ�ทีน่ กั ปราชญ์กล่าวไว้วา่ “ไม่สงู ต้องเขย่ง ไม่เก่งต้องขยัน เจอปัญหาต้องฝ่าฝัน
เจอแรงกดดันต้องกล้าชน เพราะชีวติ ไม่มอี ะไรแน่นอน จงทำ�ทุกฉากทุกตอนด้วยหัวใจ เพราะ
วันเวลาย้อนกลับมาไม่ได้ จงรักษาสิง่ ข้างกายไว้ให้ด”ี และว่า “อัจฉริยะเกิดจากแรงบันดาลใจ
เพียง ๑ เปอร์เซ็นต์และอีก ๙๙ เปอร์เซ็นต์ คือความอุตสาหะ เหมือนอย่างทีพ่ ระภิกษุสามเณร
มาอบรมบาลีกอ่ นสอบ เมือ่ เจอปัญหาก็ตอ้ งแก้ปญ ั หาให้ได้ ปัญหาทีอ่ อกเป็นข้อสอบจะเป็นวิชา
ใดก็ตาม ต้องใคร่ครวญให้รอบคอบเสียก่อนจึงค่อยลงมือทำ� และทำ�ด้วยความตัง้ ใจเคียงคูก่ บั
ความพยายาม ดังพระพุทธวจนะทีว่ า่ วายเมเถว ปุรโิ ส ยาว อตฺถสฺส นิปปฺ ทา เกิดเป็นคนต้อง
พยายามอยูร่ �ำ่ ไป จนกว่าจะประสบความสำ�เร็จ
พระเถระ พระวิทยากรทัง้ หลาย ทีม่ านัง่ อยูใ่ นทีน่ ก้ี ป็ ระสบความสำ�เร็จในการศึกษาภาษา
บาลีเกือบทุกรูป เป็นแบบอย่างให้พระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้าอบรมบาลีกอ่ นสอบได้รไู้ ด้เห็น และมา
เป็นกำ�ลังใจส่งเสริมสนับสนุนดัง่ เช่นบูรพาจารย์ในอดีตทำ�เป็นแบบอย่างไว้ให้อนุชนรุน่ หลังและ
บูรพาจารย์เหล่านัน้ ได้เจริญรุง่ เรืองในพระพุทธศาสนามาจนกระทัง่ ทุกวันนี้ ล้วนได้ศกึ ษาเล่าเรียน
ภาษาบาลีมาโดยตลอดจนสำ�เร็จเป็นเปรียญธรรม ๓ ประโยคบ้าง สูงสุดจนถึงเปรียญธรรม ๙
ประโยคบ้าง ส่วนพ่อแม่นบั ว่าเป็นผูม้ สี ว่ นส่งเสริมสนับสนุนด้วยความตัง้ ใจจริง อยากเห็นลูกของ
ตนที่เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนาประสบความสำ�เร็จในการศึกษาเล่าเรียนมุ่งหวังอยากให้ได้
เป็นมหาเปรียญ ถ้าเป็นมหาเปรียญแล้วก็จะเป็นเกียรติประวัตเิ ป็นศักดิศ์ รีเป็นทีช่ น่ื ชมของญาติ
พีน่ อ้ งและคนโดยทัว่ ไป แสดงว่าการได้เป็นมหาเปรียญนีม้ คี วามสำ�คัญมาก ถือว่าเป็นยอดแห่ง
การศึกษาของพระภิกษุสามเณร และในการอบรมบาลีกอ่ นสอบครัง้ นีถ้ อื ว่าเป็นการมารวมกัน
เพือ่ ความเป็นยอดของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีจ่ ดั อบรมบาลีกอ่ นสอบขึน้ เพือ่ ยกระดับคุณภาพการ
ศึกษาภาษาบาลี ฉะนัน้ พระวิทยากรต้องแสดงความรูค้ วามสามารถอย่างเต็มทีเ่ พือ่ ให้พระภิกษุ
สามเณรทีเ่ ข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบได้ความรูค้ วามเข้าใจเพิม่ มากขึน้ ซึง่ แต่ละสำ�นักต่าง
ก็ม่งุ หวังเพื่อให้พระภิกษุสามเณรในสำ�นักของตนที่มาอบรมบาลีก่อนสอบมีความรู้เพิ่มขึ้นและ
สามารถสอบประโยคบาลีในสนามหลวงได้

30
ขอให้พระภิกษุสามเณรทุกรูปตัง้ ใจปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ อย่าง
เคร่งครัด เพือ่ ความพร้อมเพรียงกัน เพือ่ หมูค่ ณะ เพือ่ ชือ่ เสียงเกียรติยศของสำ�นัก และของ
ครูบาอาจารย์ท้งั หลายที่ได้อบรมพร่ำ�สอนพระภิกษุสามเณรมาโดยตลอดโดยเฉพาะในการอยู่
ร่วมกันนัน้ จะต้องฉันด้วยกัน จะต้องนอนด้วยกัน จะต้องศึกษาเล่าเรียนด้วยกัน อยูร่ ว่ มกัน
เพือ่ ให้เกิดความผาสุก ต้องรูจ้ กั เอาใจเขามาใส่ใจเรา ต้องเห็นอกเห็นใจซึง่ กันและกัน มีความ
เกรงอกเกรงใจซึง่ กันและกัน ยกตัวอย่างเช่น พระภิกษุสามเณรบางรูปนอนไม่หลับ บางรูปจะ
นอน บางรูปจะดูหนังสือ ต้องให้มคี วามรูส้ กึ เห็นใจกัน ต้องรูจ้ กั เกรงใจกัน อย่าเอาอารมณ์
ของตนเป็นทีต่ ง้ั บางครัง้ ต้องทำ�ตัวให้เป็นเหมือนถังขยะ ถังขยะทีว่ า่ นีห้ มายถึงการเป็นผูร้ องรับ
อารมณ์และรับเรือ่ งราวต่าง ๆ ของผูอ้ น่ื ได้ ถ้ารองรับอารมณ์และเรือ่ งราวต่าง ๆ ของผูอ้ น่ื ไม่ได้
ก็จะเกิดอารมณ์ทม่ี ากระทบกันจนทำ�ให้เสียบรรยากาศในการรับรู้ รับฟัง และในการอยูร่ ว่ มกัน
ตลอดจนถึงการรักษาอาจาระให้เหมาะสมกับสมณะสารูป ให้เป็นทีเ่ ลือ่ มใสศรัทธาของผูพ้ บเห็น
ดังพระพุทธพจน์ ว่า แท้จริง บุคคลผูม้ ปี กติเทีย่ วสมคบคนพาล ย่อมเศร้าโศกสิน้ กาลนาน เพราะ
การอยูร่ ว่ มกับคนพาล เป็นเหตุน�ำ ทุกข์มาให้ในกาลทุกเมือ่ เหมือนการอยูร่ ว่ มกับศัตรู ส่วน
บัณฑิตมีการอยูร่ ว่ มเป็นสุข เหมือนสมาคมแห่งหมูญ ่ าติ เพราะเหตุนน้ั แล นรชนพึงคบบัณฑิต ผู้
มีปญ ั ญา เป็นพหุสตู เอาการงาน มีศลี มีวตั ร ไกลจากกิเลส และเป็นสัตบุรษุ มีปญ ั ญาดี เปรียบ
ดังพระจันทร์ คบอากาศอันเป็นทางโคจรแห่งดวงดาว ฉะนัน้ ฯ
การอบรมบาลีกอ่ นสอบในปีน้ี ขอให้พระสังฆาธิการและพระวิทยากรทุกท่านได้ชว่ ยกัน
สอดส่องดูแลเข้มงวดกวดขันให้มาก ฝึกทักษะเพือ่ เพิม่ พูนความรูเ้ ท่าทีส่ ามารถจะทำ�ได้ และขอ
ให้พระภิกษุสามเณรทุกรูปทีเ่ ข้ารับการอบรมบาลีกอ่ นสอบ จงตัง้ ใจศึกษาเล่าเรียน ปฏิบตั ติ าม
กฎระเบียบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ และคำ�แนะนำ�ของพระวิทยากร โดยใช้สติปญ ั ญาพากเพียร
พยายามให้เต็มกำ�ลังความสามารถ ขอให้พระสังฆาธิการและพระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้ารับการ
อบรมบาลีกอ่ นสอบได้เกิดความรูส้ กึ ภาคภูมใิ จร่วมกันว่าการศึกษานีเ้ ป็นพืน้ ฐานของความเจริญ
รุง่ เรือง ทุกท่านล้วนเป็นผูม้ สี ว่ นช่วยจรรโลงสถาบันพระพุทธศาสนาให้มน่ั คงถาวร
ท้ายทีส่ ดุ นี้ ขออวยพรให้พระภิกษุสามเณรทีเ่ ข้าอบรมบาลีกอ่ นสอบทุกรูป จงประสบ
ความสำ�เร็จตามทีต่ ง้ั ใจไว้ทกุ รูป เทอญ

31
พระราชดํ�ารัส
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว�พระมหาเจษฎาราชเจ้า
ล้นเกล้ารัชกาลที่�๓

�����“เจ้าประคุณพระราชาคณะทั้งปวง�จะไม่ร้อนรนพระทัย
แสวงหาพระสงฆ์สามเณรที่รู้พระไตรปิฎกนั้นไม่ชอบ
ด้วยพระพุทธศาสนาเป็นแก้วอันหาได้ยากในโลก�พระสงฆ์ที่รู้พระไตรปิฎก
ก็เป็นแก้วอันหาได้ยากในโลกเหมือนกัน
ให้เจ้าประคุณพระราชาคณะทั้งปวงคิดถึงพระพุทธศาสนาให้จงหนัก�เป็นพระพุทธศาสนาให้จงมาก”

32
ภาควิชาการ
33
พระมหาเถระผู้รักษาพระพุทธศาสนา
พระเทพมหาเจติยาจารย์ (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ ป.ธ.๙)
เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม รองเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร

การอบรมบาลีกอ่ นสอบ ของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีว่ ดั ไร่ขงิ เป็นปีท่ี ๔๔ นับเป็นเวลาที่


นานทีส่ ดุ ของสำ�นักอบรมบาลีกอ่ นสอบทัง้ หลาย เกิดจากความดำ�ริของ พระเดชพระคุณพระ
เทพโสภณ เจ้าคณะภาค ๑๔ ในสมัยนัน้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๑๗ โดยเป็นผลต่อเนือ่ งมาจากความ
ดำ�ริของ เจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา ทีส่ ง่ั ให้มกี ารอบรมนักธรรม
ชัน้ เอกก่อนสอบ เพราะเห็นว่าพระภิกษุสามเณรผูเ้ ข้ารับการอบรมนักธรรมชัน้ เอก ส่วนมากไม่
ได้เรียนจากครูอาจารย์ พระเดชพระคุณพระเทพโสภณ ได้น�ำ เอาความคิดนีม้ าใช้กบั พระภิกษุ
สามเณรทีจ่ ะสอบบาลีดว้ ย การอบรมบาลีกอ่ นสอบจึงได้เกิดขึน้ ทีว่ ดั ไร่ขงิ เป็นครัง้ แรก ตัง้ แต่ปี
พ.ศ.๒๕๑๗ โดยมีเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นประธานอำ�นวยการ ผ่านมาแล้ว ๔ รูป รูปปัจจุบนั เป็น
รูปที่ ๕ คือ พระเดชพระคุณพระธรรมโพธิมงคล
แม้กาลเวลาจะผ่านไป ๔๓ และปีนเ้ี ป็นปีท่ี ๔๔ แต่พระสังฆาธิการทุกระดับชัน้ ใน
ภาค ๑๔ ครูอาจารย์ พระภิกษุสามเณรผูเ้ ป็นนักเรียนภาษาบาลี และศรัทธาสาธุชนผูถ้ วาย
การอุปถัมภ์บ�ำ รุง ก็ยงั ไม่ได้ลดจำ�นวนไป ยังคงศรัทธามัน่ คงทีจ่ ะทำ�หน้าทีข่ องตน ๆ
ภาษาบาลีเป็นภาษาทีใ่ ช้จารึกประไตรปิฎก เป็นภาษาทีอ่ งค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ
เจ้าทรงใช้ในการประกาศพระพุทธศาสนา จึงจำ�เป็นทีช่ าวพุทธโดยเฉพาะพระภิกษุสามเณร
จำ�ต้องศึกษาเพือ่ จะใช้ทรงจำ� แสดง สอน อธิบาย ได้ถกู ต้อง ดังทีม่ นุษย์และเทวดาทัง้ หลาย
สรรเสริญพระพุทธองค์วา่ ทรงแสดงธรรมงามในเบือ้ งต้น ท่ามกลางและทีส่ ดุ พร้อมทัง้ อรรถ
และพยัญชนะ ทรงประกาศพระพรหมจรรย์ บริสทุ ธิบ์ ริบรู ณ์สน้ิ เชิง
ดังนัน้ พระมหาเถระผูร้ บั ผิดชอบในการรักษาพระพุทธศาสนา ในอดีตก็ดี ในปัจจุบนั ก็
ดี จึงมีความเพียรพยายามในการศึกษาภาษาลี และจัดให้มกี ารเรียนการสอนภาษาบาลี ทัง้ นี้ ก็
เพือ่ ความดำ�รงมัน่ คงและเจริญแพร่หลายแห่งพระพุทธศาสนานัน่ เอง จึงขอให้นกั เรียนบาลีทกุ
รูปได้เดินตามรอยทีพ่ ระมหาเถระได้เดินมาแล้วโดยทัว่ กัน จะทำ�ให้การบวชของท่านทัง้ หลายได้
บุญได้กศุ ลอย่างแท้จริง

34
เลือดของพระพุทธศาสนาคือภาษาบาลี
พระราชปริยัติเมธี (เชษฐา ฉินฺนาลโย ป.ธ.๙)
เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาภูมิ

พุทธฺ วจนํ เตปิฏกํ ปาเลตีติ ปาลิ


ภาษาใด รักษาไว้ซง่ึ พระดำ�รัสของพระพุทธเจ้า คือ พระไตรปิฎก
ภาษานัน้ ชือ่ ว่า ภาษาบาลี
พระพุทธเจ้า ทรงใช้ภาษาของชาวมคธนี้ เป็นภาษาหลักในการเผยแพร่ค�ำ สอนของ
พระองค์ เพราะเป็นภาษาทีอ่ อกเสียงได้งา่ ย เข้าใจง่าย และใช้กนั แพร่หลายในรัฐมคธและรัฐใกล้
เคียงอืน่ ๆ ในสมัยนัน้
เมือ่ พระภิกษุในพระพุทธศาสนา ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในประเทศต่าง ๆ ก็น�ำ ภาษา
นีไ้ ปเผยแพร่ดว้ ย และใช้เป็นภาษาสืบทอดคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ตามวิธมี ขุ ปาฐะสืบเนือ่ งมา
จนถึงปัจจุบนั คำ�สอนของพระพุทธเจ้าในรูปแบบภาษาบาลีน้ี ทำ�ให้ความรูต้ า่ ง ๆ ทางพระพุทธ
ศาสนา มีความมัน่ คงและแน่นอนกว่าการรักษาคำ�สอนของพระพุทธเจ้า ด้วยภาษาท้องถิน่ เพียง
อย่างเดียว
ความสำ�คัญของภาษาบาลี
๑. ความสำ�คัญต่อพระพุทธศาสนา ตัง้ แต่อดีตจนถึงปัจจุบนั ถ้ามีตน้ ฉบับบาลีไว้ คน
ยุคต่อ ๆ ไปสามารถศึกษาและตรวจทานกับต้นฉบับบาลีได้เสมอ ทำ�ให้ความรูท้ างพระพุทธ
ศาสนามีความมัน่ คง
๒. ความสำ�คัญต่อความเป็นชาวพุทธ ในพิธสี งั ฆกรรมสำ�คัญ ๆ ทางพระพุทธศาสนา
ล้วนต้องใช้ภาษาบาลี สังฆกรรมนัน้ ๆ จึงจะสำ�เร็จได้ เช่น เวลาผูช้ ายบวชเป็นพระภิกษุ เป็นต้น
๓. ความสำ�คัญต่อตัวบุคคล เนือ่ งจากคำ�สอนของพระพุทธเจ้ามุง่ ให้ผปู้ ฏิบตั ติ ามหลุด
พ้นจากทุกข์ทง้ั ปวงคือหมดสิน้ โลภะ โทสะ โมหะโดยสิน้ เชิง คำ�สอนทีถ่ กู ต้องทีส่ บื ทอดและตรวจ
ทานความถูกต้องมาด้วยภาษาบาลี การปฏิบตั ขิ องบุคคลนัน้ ๆ ก็จะตรง มัน่ คงและสามารถ
บรรลุผลสำ�เร็จได้จริง
35
๔. ความสำ�คัญต่อประเทศไทย พระพุทธศาสนามาอยูค่ ปู่ ระเทศไทยอย่างยาวนาน
ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถปี ฏิบตั ขิ องชาวไทยจึงแนบแน่นกับพระพุทธศาสนา ในแทบทุก
มิตตัง้ แต่เกิดจนตาย ชาวไทยได้รบั การเรียกขานว่า เป็นผูม้ ใี จบุญ เป็นคนมีเมตตา และเรียก
ประเทศไทยว่า สยามเมืองยิม้ อันเป็นผลจากการได้สมั ผัสเกีย่ วข้องขัดเกลาผ่านทางพระพุทธ
ศาสนาตลอดมาจนถึงปัจจุบนั นัน่ เอง
ถ้าจะเปรียบเทียบกับร่างกายของคนเราแล้ว ภาษาบาลีกเ็ ปรียบเหมือนเลือดในร่างกาย
เลือดของพระพุทธศาสนา คือ ภาษาบาลี หากร่างกายคนเราขาดเลือด เลือดมีปญ ั หา หรือ
กระแสเลือดติดเชือ้ ร้าย ก็ยากทีร่ า่ งกายนีจ้ ะอยูไ่ ด้เป็นปกติ ฉันใด ถ้าพระพุทธศาสนาขาดภาษา
บาลีหรือชาวพุทธไม่รภู้ าษาบาลีดพี อ ก็ยากทีพ่ ระพุทธศาสนาจะอยูไ่ ด้ ฉันนัน้
จึงขอชืน่ ชมอนุโมทนากับทุกท่านทีต่ ง้ั ศึกษาภาษาบาลี เพือ่ รักษาพระพุทธศาสนาไว้ให้
มัน่ คง ขอให้ทกุ ท่านประสบความสำ�เร็จสอบไล่ได้ตามปรารถนา

36
ความสำ�คัญของภาษาบาลี
พระราชวิสุทธิเมธี (ปัญญา วิสุทฺธิปญฺโญ ป.ธ.๙)
เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี เจ้าอาวาสวัดไชยชุมพลชนะสงคราม

ภาษาบาลี เป็นภาษาทีม่ คี วามสำ�คัญอย่างยิง่ ในการศึกษาคำ�สอนขององค์สมเด็จ


พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นภาษาทีฝ่ งั รากลึกอยูก่ บั ประเพณี วัฒนธรรม และวิถชี วี ติ ของชาวไทย
มาเป็นเวลายาวนาน
การศึกษาภาษาบาลียงั ทำ�ให้ผศู้ กึ ษาได้รถู้ งึ ภูมหิ ลังทางประวัตศิ าสตร์ วิถชี วี ติ ของคนใน
ยุคพุทธกาล ถือว่าเป็นหลักฐานสำ�คัญทางประวัตศิ าสตร์อย่างหนึง่
ภาษาบาลีเป็นภาษาทีม่ ลี กั ษณะโครงสร้างต่างจากภาษาไทยเป็นอย่างมาก จึงเป็นเรือ่ ง
ทีผ่ ศู้ กึ ษาต้องใช้ความพยายามพากเพียรอย่างสูง ในการศึกษาภาษาบาลีให้แตกฉานจนสามารถ
ใช้เป็นกุญแจไขพระธรรมคำ�สัง่ สอนทีอ่ ยูใ่ นรูปของภาษาบาลี และนำ�ออกมาเผยแผ่ให้ชาวโลกได้
รับรูแ้ ละนำ�ไปปฏิบตั ิ
การอบรมบาลีกอ่ นสอบสนามหลวงทีว่ ดั ไร่ขงิ จัดขึน้ เป็นปีท่ี ๔๔ เป็นการแสดงให้เห็น
ถึงความตัง้ ใจมัน่ ทีจ่ ะรักษาการศึกษาภาษาบาลีให้มน่ั คงยัง่ ยืน ซึง่ การทีจ่ ะทำ�โครงการอะไรสัก
อย่างให้ตอ่ เนือ่ งเป็นเวลาเกือบครึง่ ศตวรรษนัน้ เป็นการกระทำ�ทีท่ �ำ ได้ยากยิง่ ถ้าไม่มคี วามตัง้ ใจ
อดทน และเห็นผลดีตอ่ ส่วนรวมของสิง่ ทีท่ �ำ นัน้
ขออนุโมทนาต่อทุกฝ่ายทีไ่ ด้รว่ มประสานกันให้โครงการอบรมบาลีน้ี สืบทอดติดต่อกัน
มาไม่ขาดสายเป็นเวลาถึง ๔๔ ปี ทัง้ ในฝ่ายของวัดไร่ขงิ ซึง่ เป็นเจ้าภาพหลัก คณะสงฆ์ในเขตภาค
๑๔ ครูบาอาจารย์ นักเรียน คณะผูจ้ ดั เตรียมสถานทีท่ ง้ั ฝ่ายบรรพชิตและฆราวาส ทีไ่ ด้รว่ มมือ
ประสานใจทำ�ให้โครงการดี ๆ ทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ ส่วนรวมนี้ ยังคงดำ�เนินการต่อไปได้อย่างเต็มไป
ด้วยคุณค่า และหวังเป็นอย่างยิง่ ว่า โครงการนีจ้ ะได้รบั การสืบทอดต่อไปอีกยาวนาน

37
สุริยันไม่ส่องแสง
พระเทพสาครมุนี (สมบูรณ์ ปญฺญาวุโธ ป.ธ.๙)
เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร เจ้าอาวาสวัดเจษฎาราม พระอารามหลวง

ผม ถือห่อผ้าขาวยืนนิง่ อยูก่ บั ที่ ไม่สามารถจะตอบคำ�ถามของผูค้ นทีม่ ารุมล้อมอยูรอบ


กายได้วา่ “ทำ�ไม สุรยิ นั จึงไม่สองแสง” ไม่ใช่ผมไม่มคี �ำ ตอบ แต่เพราะความตืน้ ตันทีเ่ กาะกัดลึก
อยูใ่ นหัวใจนัน้ ทำ�ให้ผมไม่อาจเอ่ยคำ�อะไร ๆ ออกมาได้เลย
สุรยิ นั เพือ่ นของผมเป็นลูกชาวนาเติบโตจากกลิน่ โคลนสาบควายแถบชนบทมาบวชเป็น
สามเณรอยูใ่ นกรุงด้วยกัน มีอะไร ๆ เหมือน ๆ กัน แต่ทต่ี า่ งกัน คือ สุรยิ นั แข็งแรงบึกบึน ท่าทาง
ทะมัดทะแมงนัยตาสีเหล็กบ่งถึงความเป็นนักสู้ เมือ่ มีปญ ั หาก็หาคำ�ตอบด้วยตนเอง ความคิดอ่าน
ค่อนข้างออกนอกสูน่ อกทางชอบคิดและทำ�ในสิง่ ทีใ่ คร ๆ ไม่คอ่ ยคิดจนผมต้องคอยคัดค้านเป็น
ครัง้ คราว สุรยิ นั ก็เชือ่ บ้างไม่เชือ่ บ้างแต่โดยมากมักจะเชือ่ ความคิดของตนเองมากกว่า
ผมร่างบอบบางกว่าสุรยิ นั เล็กน้อย เราทัง้ สองต่อสูก้ นั ทางความคิดเสมอมา แต่เพราะอยู่
ในวัยเรียนผมจึงเชือ่ ตามตำ�รับตำ�ราและเชือ่ คำ�สอนของครูบาอาจารย์เป็นส่วนใหญ่
หลังจากทีส่ อบเปรียญธรรม ๖ ประโยคได้เข้ารับพระราชทานพัดเปรียญพร้อมกันแล้ว
เราก็มกั ถกเถียงกันถึงปรัชญาชีวติ และการทำ�งาน ผมมีความเห็นว่าควรเรียนต่อให้จบไปเลยเพือ่
ให้มคี วามรูแ้ ตกฉานในภาษาทีเ่ ป็นพุทธพจน์ แล้วค่อยเรียนต่อปริญญาตรีพทุ ธศาสตร์บณ ั ฑิต
หรือศาสนบัณฑิต หรืออาจเรียนควบคูก่ นั ไปและอาจเรียนต่ออย่างอืน่ ได้อกี ถ้าโอกาสอำ�นวย
อาจได้ไปทำ�ปริญญาโท-เอกในต่างประเทศ ชึง่ วุฒกิ ารศึกษาสูงย่อมเป็นทีย่ อมรับของสังคมใน
ปัจจุบนั และช่วยให้เรายืนอยูบ่ นเส้นทางชีวติ ได้อย่างอหังการ เพราะคุณประโยชน์ของการ
ศึกษา นอกจากจะมีผยู้ อมรับแล้วยังเป็นทีน่ บั ถือของคนทัว่ ไป เป็นผูท้ นั โลก ทันต่อเหตุการณ์
ถึงแม้วา่ กระแสชีวติ จะเปลีย่ นไปในทิศทางใดก็ตามหากอยูใ่ นสมณเพศก็จะได้รบั สมณศักดิ์ ตำ�แหน่ง
หน้าทีก่ ารงาน และแน่นอนว่าลาภสักการะชือ่ เสียงก็ตอ้ งติดตามมา การช่วยสังคมเป็นเรือ่ งภาย
หลัง จะช่วยได้กต็ อ่ เมือ่ เรามีเวลาพอและโอกาสอำ�นวย ความคิดของผมรวมลงสัน้ ๆ คือ ต้อง
ช่วยตนเองก่อนแล้วจึงค่อยช่วยคนอืน่ ภายหลัง
38
ผมบอกเล่าแนวทางของผมให้สรุ ยิ นั ฟัง สุรยิ นั ไม่คดั ค้านแต่กไ็ ม่ได้บอกว่าเห็นด้วย จาก
นัน้ ผมก็พยายามรักษาแนวทางของตนเองอย่างยิง่ ยวด อีกสองปีตอ่ มาผมก็สอบเปรียญธรรม
๗-๘ ประโยคได้ มีวฒ ุ ิ พม. พ่วงท้าย กำ�ลังเตรียมจะรับปริญญา พธ.บ. และศึกษาต่อในชัน้
เปรียญธรรม ๙ ประโยค ความหวังทีจ่ ะไปทำ�ปริญญาต่อในต่างประเทศใกล้เข้ามา แผนผังชีวติ
เป็นไปตามทีไ่ ด้วางไว้ทกุ ประการ
สุรยิ นั มีความคิดไม่เหมือนผม ทัง้ ๆ ทีน่ า่ จะเรียนต่อเพราะมีความตัง้ ใจ มีความคิด
ก้าวหน้าดีและการเรียนก็อยูใ่ นเกณฑ์ทด่ี มี าก แต่เพราะเหตุผลส่วนตัวจึงทำ�ให้วถิ ชี วี ติ ของสุรยิ นั
เปลีย่ นไป สุรยิ นั ตัดสินใจออกจากกรุงกลับไป ยังบ้านเกิดทีช่ นบท บำ�เพ็ญตนเป็นนักสังคม
สงเคราะห์ชว่ ยเหลือผูอ้ น่ื เมือ่ ทักท้วงว่ารีบด่วนเกินไปสุรยิ นั ก็ให้เหตุผลว่า การศึกษาเล่าเรียนนัน้
ทุกคนสามารถก้าวไปสูค่ วามสำ�เร็จตามระยะเวลา แต่ประโยชน์ทแ่ี ท้จริงนัน้ อยูท่ น่ี �ำ ความรูท้ ่ี
เรียนมาใช้ให้เกิดผล คือการทำ�งาน และงานนัน้ ควรเป็นงานเพือ่ สังคม เพราะการทำ�งนต้องใช้
ทัง้ กาลเวลา ความรู้ ความสามารถ และการรวมพลังประกอบกันไป ยิง่ เวลาด้วยแล้วเป็นสิง่ ที่
“รอไม่ได้” สุรยิ นั แยกทางกับผมตรงนี้ เป็นการแยกทางไปตามความคิดเห็นของแต่ละคน
สุรยิ นั อาศัยอยูว่ ดั ร้างเล็ก ๆ ในชนบทแห่งนัน้ แล้วเริม่ พัฒนาความเป็นอยูท่ ลี ะน้อยมี
โรงเรียนเล็ก ๆ ทีส่ รุ ยิ นั ลงมือสอนด้วยตนเอง ต่อมาก็เป็นโรงเรียนถาวรด้วยความร่วมมือของ
ทางราชการ มีถนนหนทางตัดเข้าหมูบ่ า้ น ถึงแม้จะไม่เป็นถนนลาดยาง แต่กม็ สี ภาพทีใ่ ช้การได้
มีการขุดเจาะน้�ำ บาดาล มีสะพานข้ามคลองกระแสไฟฟ้าเข้าถึงหมูบ่ า้ นเริม่ สว่างไสว สถานีอนามัย
ชัน้ เดียวขนาดย่อมอยูก่ ลางหมูบ่ า้ น นอกจากความเจริญด้านอืน่ ๆ แล้ว หมูไ่ ม้ยนื ต้นนานาพรรณ
ยังแผ่ครึม้ ปกคลุมให้ความร่มเย็นไปทัว่ ติดกับสถานีอนามัยมีสวนหย่อมสนามเด็กเล่น ทีพ่ กั ผ่อน
หย่อนใจ ถัดหมูบ่ า้ นออกไปมีคลองชลประทานตัดผ่านแปลงพืชผักเขียวขจีในพืน้ ทีก่ ว้างซึง่ ติด
กับชายป่า
สิง่ เหล่านีก้ �ำ ลังเติบโตก้าวหน้าขึน้ เรือ่ ย ๆ ด้วยความคิดสร้างสรรค์ของสุรยิ นั ข่าวทีไ่ ด้
รับล่าสุด สุรยิ นั กำ�ลังติดต่อกับทางราชการสร้างแหล่งความรู้ คือทีอ่ า่ นหนังสือประจำ�หมูบ่ า้ น
สร้างหอกระจายข่าว และสถานีสง่ เสียงทางสายควบคูก่ นั ไป พร้อมทัง้ ชักชวนชาวบ้านให้หกั ร้าง
ถางพงเพือ่ ทำ�ถนนเป็นวงกลมใหญ่รอบหมูบ่ า้ นแล้วมีถนนซอยแยกเข้าหมูบ่ า้ นเป็นหมู่ ๆ ไป งาน
ทุกอย่างรุดหน้าไปอย่างรวดเร็วด้วยเวลา ๒-๓ ปี ทีผ่ า่ นชือ่ ของ “พระมหาสุรยิ นั สุรยิ โชโต”
จากชนบทก็ได้ยนิ มาถึงผมในกรุงเทพฯ มีผกู้ ล่าวขวัญถึงสุรยิ นั ด้วยความชืน่ ชม

39
มีผเู้ ล่าให้ผมฟังว่า วันใดทีเ่ ป็นวันพระ จะมีผคู้ นพากันไปทีว่ ดั จำ�นวนมาก ไม่วา่ หนุม่ สาว
เฒ่าแก่ ตัง้ แต่เช้า ทำ�บุญถวายทานและฟังเทศน์จนเวลาบ่ายจึงพากันกลับ บ้านช่องไม่ตอ้ งเป็น
ห่วงเพราะไม่ปรากฏว่ามีมจิ ฉาชีพในหมูบ่ า้ น ทุกคนรักหมูบ่ า้ นเหมือนกับบ้านของตนเอง ไม่มี
ข่าวคนละเมิดศีลธรรมหรือหลงใหลในอบายมุข สิง่ ทีส่ รุ ยิ นั แนะนำ�ชาวชนบทนัน้ หนักแน่นและ
มันคงตามคำ�สอนในพระพุทธศาสนา ไม่สงู เกินไป สุรยิ นั เข้าใจในการนำ�ธรรมะมาพัฒนาชนบท
โดยการผสมผสานกลมกลืนไปกับชีวติ ประจำ�วันได้ดี ทุกสิง่ ทีเ่ ป็นของชนบทได้รบั การอนุรกั ษ์ไว้
อย่างดีจงึ ไม่เป็นที่ นำ�แปลกใจเลยทีท่ กุ คนในหมูบ่ นเรียกสุรยิ นั ว่า “หลวงพ่อ” ทัง้ ๆ ทีส่ รุ ยิ นั มี
วัยเพียง ๓๐ ปีเศษเท่านัน้
คนในกรุงส่วนมากรู้จักสุริยันจากข้อเขียนที่แสดงความคิดเห็นในการพัฒนาชนบท
ซึง่ เน้นการพัฒนาจิตใจ และจากผลงานทีส่ อ่ื มวลชนนำ�มาเผยแพร่ ทำ�ให้ทกุ ๆ คนอยากไปดูงาน
ทีน่ น่ั
ในระยะหลัง สุรยิ นั เข้ามาติดต่อธุระในกรุงและเลยมาเยีย่ มผมแล้วรีบกลับ สุรยิ นั บ่นว่า
ในกรุงหาความสงบได้ยาก น่ากลัวทีส่ ดุ คือยวดยานทีข่ บั เร็วจนเกินไป ซึง่ ก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุ
และมีผเู้ สียชีวติ ปีละไม่นอ้ ย บางปีกไ็ ม่เว้นแต่ละวัน หาความปลอดภัยให้แก่ชวี ติ ได้ยาก ต่างจาก
ชนบทซึง่ อาจเสียชีวติ เพราะโรคภัยไข้เจ็บหรือหมดอายุ มิใช่ดว้ ยถูกรถชน
ด้วยการชักชวนของสุรยิ นั ผมก็ได้ไปยังชนบทแห่งนัน้
ผมตืน่ ตาตืน่ ใจกับการพัฒนาไปข้างหน้าทีไ่ ม่ทง้ิ รูปแบบเดิม ยังมีความเป็นชนบททีอ่ ดุ ม
ไปด้วยป่าเขาลำ�เนาไพร มีไมตรี มีความเป็นอยูอ่ ย่างสงบ มีความอบอุน่ และความเป็นกันเอง
สิง่ ทีป่ ระทับใจผม คือ ในยามเช้าทีไ่ ด้ยนื บนเนินเขาสูงทีต่ ง้ั วัดซึง่ ล้อมรอบด้วยทิวสนเพือ่
สูดอากาศบริสทุ ธิ์ แล้วทอดสายตามองหมูบ่ า้ นชนบทเบือ้ งล่างซึง่ อยูต่ �ำ่ จากเนินเขาลงไปซึง่ ปลูก
รวมกันอยูเ่ ป็นหมู่ ๆ บางแห่งก็เรียงรายสองฝังถนนทีโ่ รยด้วยลูกรังสีแดง ผูค้ นตืน่ แต่เช้าแบก
อุปกรณ์การเกษตรมุง่ หน้าไปนาไปสวนไปไร่ กลุม่ ควันจากการหุงหาอาหารลอยขึน้ จากหลังคา
เรือนหลังโน้นบ้างหลังนีบ้ า้ ง ดอกคูนสีเหลืองและดอกหางนกยูงเหลืองปนส้มสดชูชอ่ แต้มแต่ง
หมูบ่ า้ นให้สดชืน่ เหมือนใบหน้าของหญิงสาวทีส่ วยเรียบ ๆ แต่ยม้ิ น้อย ๆ อย่างมีเสน่ห์ กลิน่
อบอวลของดอกไม้ปา่ ช่วยให้บรรยากาศอบอุน่
ผมชอบทอดสายตาไปไกล ๆ เพราะการได้มองไปไกล ๆ นัน้ เหมือนกับความคิดไม่ถกู
ปิดกัน้ ความคิดสร้างสรรค์ตา่ ง ๆ ผุดขึน้ มามากมาย ต่างจากป่าคอนกรีตในกรุงทีม่ องไปทางไหน
ก็พบแต่สง่ิ ปิดกัน้ ทีท่ บึ ทะมึนเหมือนจำ�กัด ขอบเขตความคิดให้ทบึ ตัน
40
ภาพของสุรยิ นั เดินช้า ๆ ด้วยอาการสำ�รวมพาพระหนุม่ เณรน้อยออกบิณฑบาตไปตาม
หมูบ่ า้ นทีม่ ปี ระชาชนประคองขันข้าวใส่บาตรสองฟากฝัง่ ถนน สุรยิ นั เดินเข้าบ้านโน้นแล้วออกมา
บ้านนีแ้ ละทักทายผูค้ นด้วยอาการยิม้ แย้มแจ่มใส ภาพพระเณรเดินเป็นทิวแถวอย่างมีระเบียบให้
บางคนทีไ่ ม่ได้ใส่ บาตรเหมือนสุรยิ นั พาพระเณรเดินผ่านก็นง่ั ลงยกมือไหว้ดว้ ยความเคารพ แสงทอง
ยามเช้าสาดกระทบจีวรสีเหลืองสดของสุรยิ นั และพระเณรนัน้ แลดูงามจับตา เป็นภาพทีห่ าดูได้
ยากในกรุงแต่พบได้งา่ ยในชนบท ทำ�ให้ผมคิดว่า ในชนบทพระคือทีพ่ ง่ึ ทางใจของชาวบ้านอย่าง
แท้จริงแม้กระทัง่ สีของจีวร
ตะวันเริม่ สาย ข้าวปลาอาหารทีผ่ คู้ นใส่บาตรเต็มล้นจนต้องหงายฝาบาตรขึน้ มารับแทน
ถึงกระนัน้ ก็ยงั เต็มล้นอยูน่ น่ั เองจนชาวบ้านต้องช่วยมาส่งถึงวัด สุรยิ นั กลับมาด้วยใบหน้ายิม้ ละไม
ไม่มีทีทำ�ว่าเหน็ดเหนื่อยถึงแม้จะต้องเดินขึ้นลงจากเนินเขาเข้าสู่หมู่บ้านเป็นระยะทางหลาย
กิโลเมตรก็ตามสุรยิ นั ก็ปฏิบตั อิ ยูอ่ ย่างนีเ้ ป็นประจำ� จนเป็นทีข่ าดไม่ได้ของทัง้ สองฝ่าย คือ สุรยิ นั
ก็อยากพบชาวบ้านและชาวบ้านก็อยากพบสุรยิ นั ทำ�ให้ผมนึกถึงคำ�โบราณทีว่ า่ การออกบิณฑบาต
คือการ “โปรดสัตว์” นัน่ เอง เพราะพระพุทธเจ้าบางครัง้ ทรงสอนคนในระหว่างบิณฑบาต
กลางถนนก็มี พระเจ้าสุทโธทนะ พระบิดาของพระพุทธองค์ ก็ได้ฟงั ธรรมกลางถนนระหว่างที่
พระพุทธองค์ก�ำ ลังบิณฑบาต พระสงฆ์ทเ่ี ดินรับบิณฑบาตด้วยอาการสำ�รวมก่อให้เกิดความ
เลือ่ มใสแก่ผพู้ บเห็นได้ การออกบิณฑบาตจึงมีความหมายหลาย ๆ อย่างและเป็นการสอนทางใจ
อย่างหนึง่ ให้เขาเหล่านัน้ เกิดความรูส้ กึ ว่าเป็นบุญกุศลและเอิบอิม่ ใจทีไ่ ด้พบพระสงฆ์ ภาคภูมใิ จ
ทีไ่ ด้ท�ำ บุญถวายทานกับผูท้ เ่ี ขานับถือ
หลังจากทีผ่ มกลับเข้ากรุงและสัญญาว่าจะกลับไปเยีย่ มสุรยิ นั ใหม่ แล้วผมก็เล่าถึงสิง่ ทีไ่ ด้
พบเห็นและงานทีส่ รุ ยิ นั กำ�ลังทำ�ให้หน่วยงานต่าง ๆ ฟังทัง้ ทางราชการและเอกชนหลายหน่วย
งานสนใจเพราะงานของสุรยิ นั เป็นไปตามหลักการพัฒนาประเทศ มีความจำ�เป็นอย่างยิง่ ต่อ
สังคมปัจจุบนั ทุกคนอยากฟังสุรยิ นั เล่าถึงวิธกี ารทำ�งานทนตลอดถึงผลทีไ่ ด้รบั
เมือ่ หลายหน่วยงานเรียกร้อง ผมจึงต้องเขียนจดหมายไปขอให้สรุ ยิ นั เข้ามาในกรุงเพือ่
บอกเล่าถึงสิง่ ทีไ่ ด้ท�ำ ไปแล้ว แก่ผทู้ ส่ี นใจพร้อมทัง้ รับรางวัลเชิดชูเกียรติ แต่ทกุ ครัง้ ก็ได้รบั การ
ปฏิเสธ จนผมต้องออกไปเชิญด้วยตนเองโดยขอร้องให้สรุ ยิ นั เห็นความสำ�คัญของเผยแพร่ อันเป็น
งานของพระศาสนาเพือ่ ประเทศชาติ เพราะคนทำ�งานอย่างสุรยิ นั เป็นทรัพยากรบุคคลทีม่ คี า่
สุรยิ นั ยอมเดินทางเข้ากรุงมากับผม แต่ขอแยกพักอยูใ่ นวัดทีส่ งบและขอให้ออกบิณฑบาตได้ทกุ
วันถึงแม้จะเป็นการบิณฑบาตในกรุงไม่ใช่ชนบทก็ตาม รูส้ กึ ว่าการบิณฑบาตจะเป็นหน้าทีอ่ ย่าง

41
หนึง่ ซึง่ ขาดไม่ได้ส�ำ หรับสุรยิ นั ผมก็คล้อยตามมีผใู้ ส่บาตรจำ�นวนมากทุกวัน อาจเป็นเพราะ
อัธยาศัยของสุรยิ นั เป็นทีถ่ กู ใจของชาวบ้านนัน่ เอง ภารกิจของสุรยิ นั ในขณะทีพ่ กั อยูใ่ นกรุง คือ
การออกไปบรรยายตามหน่วยงานต่าง ๆ ซึง่ มีผสู้ นใจจำ�นวนมาก ถึงแม้จะมีหลายหน่วยงาน
สนใจและประชาชนเรียกร้องก็ตาม สุรยิ นั ก็ยงั บ่นอยากกลับบ้านในชนบทอยูเ่ สมอ
เช้าวันนัน้ เป็นวันสุดท้ายทีส่ รุ ยิ นั มีการบรรยายให้คณะอาจารย์และนักศึกษาจำ�นวนมาก
ฟังทัง้ เช้าและบ่ายแล้วจะกลับชนบทในตอนเย็น
แสงเงินแสงทองยามเช้าสาดเข้ามาทางหน้าต่างห้องของผมกระทบสีเหลืองของจีวร
ทำ�ให้แสงสว่างสะท้อนไปทัว่ ทัง้ ห้อง ท้องฟ้าโปร่งแจ่มใสจริง ๆ ทำ�ให้ผมคิดถึงวันทีเ่ คยยืนอยูบ่ น
เนินเขาในชนบท เคยเห็นภาพสีเหลืองของสุรยิ นั เดินรับบิณฑบาตด้วยใบหน้าอิม่ เอิบอยูก่ ลาง
ถนนในหมูบ่ า้ น
๐๗.๐๐ น. เศษมีเสียงเคาะประตูหอ้ ง ผมเข้าใจว่าคงเป็นสามเณรหรือศิษย์วดั มาเรียกให้
ไปฉันเช้าแต่เมือ่ เปิดประตูออกไปก็พบกับเจ้าหน้าทีต่ �ำ รวจในเครือ่ งแบบมาแจ้งว่า มีพระภิกษุรปู
หนึง่ ถูกรถชนพระภิกษุรปู นัน้ รูจ้ กั กับผมดี
ผมตกใจปนความสงสัย จึงพร้อมกับเจ้าหน้าทีต่ �ำ รวจเดินทางไปยังทีเ่ กิดเหตุ เมือ่ ไปถึง
เห็นผูค้ นมุงกันเต็มไปหมด เสียงวิพากษ์วจิ ารณ์เซ็งแช่ต�ำ รวจทีพ่ าไปบอกผมว่าพระทีถ่ กู รถชนอยู่
กลางกลุม่ ของคนทีพ่ ากันยืนมุงดูอยูน่ น่ั
ผมขอทางจากฝูงชนที่รุมล้อมกันอยู่แล้วตรงเข้าไปภาพที่เห็นคือร่างของภิกษุรูปนั้น
นอนคว่ำ�หน้าคร่อมอยู่บนบาตรข้าวแกงในบาตรหกกระจายฝาบาตรกระเด็นไปทางหนึ่งจีวรสี
เหลืองชุมโชกไปด้วยเลือดทีไ่ หลทะลักและหยดลงบนพืน้ ถนนทัว่ ร่างฟกซ้�ำ บางแห่งเป็นแผล
เหวอะหวะ จากภาพทีเ่ ห็นแสดงว่าถูกรถชนอย่างแรงแล้วกระเด็นล้มลงไป “สุรยิ นั นัน่ เอง”
หัวใจแทบหยุดเต้นผมก้มลงประคองร่างสุรยิ นั ให้นอนหงายในวงแขน เลือดยังไหลทะลัก
จากจมูกและปาก ใบหน้าซ้�ำ บวมจนจำ�เกือบไม่ได้ ผมเขย่าร่างพร้อมกับตะโกนเรียกชือ่ ...แต่ไม่มี
เสียงตอบ สุรยิ นั คงแน่นง่ิ เหมือนเดิม เลือดไหลทะลักจนชุมแขนทัง้ สองข้างของผม แสงแดดยาม
เช้าเริม่ แผดกล้าจับสีจวี รทีเ่ ปือ้ นเลือดจนเกือบจำ�ไม่ได้วา่ เป็นจีวร หลายคนเบือนหน้าหนี แม้ผม
จะพยายามข่มใจอย่างไรน้�ำ ตาของลูกผูช้ ายก็ยงั เอ่อท้นไหลอาบแก้มจนหยดลงบนร่างของสุรยิ นั
ผมพูดอะไรไม่ ออกรูส้ กึ เหมือนทำ�ของมีคา่ พลัดตกแตกและรูส้ กึ ตนเองว่ามาช้าไป สุรยิ นั เสียชีวติ

42
จากไปก่อนทีผ่ มจะมาถึงเพียง ๑o นาทีเท่านัน้ ผมและตำ�รวจกับผูค้ นทีย่ นื มุงดูชว่ ยกันอุม้ ร่าง
ของสุรยิ นั ขึน้ รถพยาบาล แล้วนัง่ มาเคียงข้างร่างของสุรยิ นั ด้วยความคิดสับสนต่าง ๆ นานา
จากผูเ้ ห็นเหตุการณ์เล่าให้ผมฟังว่าภิกษุ รูปนีอ้ อกบิณฑบาตประมาณ ๖ โมงเช้าเศษ
ท่านเดินด้วยความสำ�รวมสงบเสงีย่ มเรียบร้อยน่าเลือ่ มใส มีคนใส่บาตรจำ�นวนมากทัง้ สองฝัง
ถนนหลังจากรับบิณฑบาตของผูม้ ศี รัทธาแล้ว ตอนขากลับท่านกำ�ลังเดินข้ามถนนมาอีกฝัง่ หนึง่
เพือ่ กลับเข้าสูป่ ระตูวดั รถ สิบล้อ สองแถวและยวดยานอืน่ ๆ ชะลอความเร็วแล้วหยุดให้ทา่ น
เดินข้ามไป แต่มอเตอร์ไซด์ซง่ึ ขับโดยวัยรุน่ แล่นคะนองมาด้วยความเร็วสูงจากไหนไม่ทราบ พุง่
เข้าชนกลางตัวจนท่านกระเด็นไปแล้วทับเข้าอีกแล้วมอเตอร์ไซด์มฤตยูคนั นัน้ ก็แฉลบลงข้างทาง
คนขับทิง้ รถลุกขึน้ วิง่ หนีไป
เสียงสวดดังแว่วมา ผมนัง่ ใจลอยเหม่อมองกลุม่ ควันสีด�ำ ทีล่ อ่ งลอยออกจากปล่องเมรุ
แล้ววนตัวขึน้ สูท่ อ้ งฟ้า บางครัง้ กลุม่ ควันสีด�ำ ถูกลมกระทบก็วบู ไหวคล้ายคนโบกมืออำ�ลา “ไปดี
เถิดนะสุรยิ นั ”
ตะวันตกดินไปนานแล้ว แต่ผมยังคงนัง่ อยูท่ เ่ี มรุของวัดนัน้ จนค่อนคืน
สุรยิ นั เรียนพอมีความรูแ้ ล้วกลับไปสร้างบ้านทีช่ นบทให้เจริญรุง่ เรืองเหมาะสมแก่ภาวะ
ของภิกษุในพระพุทธศาสนาได้ส�ำ เร็จ ทีเ่ ราเคยต่อสูก้ นั ทางความคิดและถกเถียงกันตลอดมานัน้
จนถึงวันนีผ้ มยอมรับความคิดและการกระทำ�ของสุรยิ นั แล้ว
ในชนบท สุรยิ นั เดินไปทางไหนก็มคี นเคารพกราบไหว้และเชือ่ ฟังคำ�สอน แต่เสียดายที่
คำ�สอนนัน้ ไม่ได้แผ่เข้ามาถึงในกรุง จึงไม่สามารถยับย้�ำ และหยุดห้ามความเร็วของสิง่ ใหม่ ๆ ใน
กรุงได้ผมเองก็ยงั มองไม่เห็นว่าจะตอบคำ�ถามนีไ้ ด้อย่างไร
ทีบ่ า้ นชนบท เช้าวันนัน้ อากาศขมุกขมัว เมฆหมอกมืดครึม้ คล้ายฝนจะตก ไม่มแี สงทอง
ของวันใหม่ทส่ี าดส่องมายังหมู่ ไม่มสี รุ ยิ นั ทีเ่ คยนำ�แถวพระเณรออกบิณฑบาตไม่มรี อยยิม้ ของ
สุรยิ นั จีวรสีเหลืองไม่ได้ลอยสะบัดตามหมูบ่ า้ นชายป่าให้คนทีร่ อคอยได้พบเห็นทุกสิง่ กลายเป็น
อดีตเพราะถึงจะรอคอยอย่างไรเช้าวันนัน้ และอีกทุก ๆ วัน “สุรยิ นั ก็ไม่สอ่ งแสง”

43
บาลีที่รัก
พระศรีธีรวงศ์ (สมัย สจฺจวโร ป.ธ.๙)
เจ้าคณะอำ�เภอดอนตูม ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระประโทณเจดีย์ วรวิหาร จังหวัดนครปฐม

การเรียนบาลีนน้ั ต้องมีใจรักแล้ว เพราะเมือ่ ใจรักแล้ว ผูเ้ รียนมักจะสนุกกับการท่อง


และการเรียน พูดง่าย ๆ ก็คอื ต้องใช้หลักอิทธิบาท ๔ คือ ๑.ฉันทะ ๒.วิรยิ ะ ๓.จิตตะ ๔.วิมงั สา
มาเป็นทัง้ พ่อสือ่ (กาย) เป็นทัง้ แม่ชกั (ใจ) ให้เป็ธรรมสำ�หรับขับเคลือ่ นปลุกเสก ปลุกปล้�ำ
ปลุกปลอบและปลุกระดมใจของผูเ้ รียนให้หกึ ระเหิม การเรียนบาลีจงึ มีรสชาติอร่อยและประสบ
ความสำ�เร็จ สามารถไปถึงฝัง่ ฝันได้แน่นอน ตรงกันข้าม ถ้าขาดอิทธิบาทธรรมแล้ว จะทำ�ให้การเรียน
ไม่ส�ำ เร็จ การเรียนบาลีจะล่มสลาย กลายเป็นความเบือ่ หน่าย คลาย (ใจ) รักจากการเรียนบาลี
และสุดท้ายไปไม่ถงึ ฝัง่ ฝัน มันจะเข้าตำ�ราทีว่ า่ “รัก (เรียนบาลี) กันใหม่ ๆ น้�ำ ต้มผักก็วา่ หวาน
แต่พอ (เรียน) รัก (บาลี) กันนาน ๆ แม้น�ำ้ ตาลก็วา่ ขม”
ฉะนัน้ ถ้า (ริจะรัก) บาลี ต้องรูจ้ กั รักให้เป็น คือ รักยาวให้บน่ั รักสัน้ ให้ตอ่ อย่าท้อ อย่า
ถอยนะทีร่ กั วายเมเถว ปุรโิ ส ยาว อตฺถสฺส นิปปฺ ทา ขอให้โชคดีนะ นักบาลีทร่ี กั

44
ยอดแห่งมหากาพย์
พระศรีวิสุทธิวงศ์ (สุวิทย์ ปวิชฺชญฺญู ป.ธ.๙)
เจ้าคณะอำ�เภอบางเลน ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม

หากจะถามว่า มีผลงานทางวรรณคดีเรือ่ งใด ทีใ่ ห้คณ ุ ค่าและอรรถรสได้ครบทุกแง่มมุ


ไม่วา่ จะเป็นด้านเนือ้ หาทีเ่ ข้มข้นชวนติดตาม หลักการดำ�เนินชีวติ ทีง่ ดงาม และแก่นแท้แห่ง หลักธรรม
ทีส่ ามารถชีท้ างสูค่ วามหลุดพ้นได้ ทอดสายตามทัว่ พืน้ ปฐพีนก้ี ค็ งจะหายากอยู่ ไม่วา่ จะเป็นมหา
ภารตะ อันแสดงเรือ่ งราวแห่งสงครามระหว่างความดีกบั ความชัว่ รามเกียรติท์ เ่ี ป็นสัญลักษณ์
แห่งความจงรักภักดีในความรัก ความซือ่ สัตย์ของบริวารทีม่ กี บั เจ้านาย และโทษฐานแห่งความ
ละโมบมักใหญ่ใฝ่สงู ดือ้ รัน้ ทิฏฐิมานะ นอกจากความอลังการในฉากการต่อสู้ และข้อคิดในเชิง
สังคมเพียงผิดเผินแล้ว ก็ไม่มแี ก่นสารใดทีจ่ ะควรค่าเพือ่ ปีนป่ายขึน้ สูท่ �ำ เนียบ “ยอดมหากาพย์”
ใครเลยจะเคยคิด ยอดแห่งมหากาพย์ ตำ�นานทีอ่ มตะ วรรณคดีทท่ี รงคุณค่า มีอยูใ่ น
พระคัมภีรร์ ะดับอรรถกถาของพระพุทธศาสนา ทีม่ ชี อ่ื อย่างเป็นทางการว่า พระธัมมปทัฏฐกถา
ทีบ่ รุ พสงฆ์พระมหาเถระแห่งแดนดินถิน่ สยาม ได้คดั สรรค์ให้เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนของ
กุลบุตรผูเ้ ข้าสูร่ ม่ เงาผ้ากาสาวพัตสร์ ปฐมบทแห่งโลกวิชาการพระปริยตั ธิ รรมแผนกบาลี หลังจาก
ผ่านประตูวชิ าไวยากรณ์มาแล้ว ครูบาอาจารย์จะนำ�พาศิษย์รกั เข้าสูค่ วามวิจติ รใน ถ่องแถว
พระบาลี เป็นเรือ่ งราวทีน่ า่ พิศวง เข้มข้น และงดงาม จะหาเรือ่ งราวอันเกีย่ วกับ ความพากเพียรใด
มาทัดเทียมกับความบากบัน่ ในการปฏิบตั ธิ รรมของพระจักขุบาลเถระ จะมีความทุกข์ยากเพราะ
การพรัดพรากของผูใ้ ด ยิง่ ใหญ่ดง่ั ความสูญเสียของนางปฏาจารา จะพบพานความหวานในรัก
และการต่อสูเ้ พือ่ ปกป้องภรรยาคูช่ วี ติ ได้อลังการเปรียบปานเรือ่ งราว ของพันธุลเสนาบดี
และแน่นอน ทุกตำ�นานทีย่ กตัวอย่าง และเรือ่ งอืน่ ทีย่ งั ไม่ได้พดู ถึง ล้วนแล้วแต่สรุปลงด้วยบท
แห่งธรรมทีก่ ลัน่ ออกมาจากพระปัญญาคุณอันสุขมุ ลุม่ ลึก คัมภีรภาพแห่งพระสัพพัญญุตญาณ
ของสมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผทู้ รงเป็นพระบรมครูแห่งทวยเทพและ
มวลมนุษย์ จะเห็นความห่วงใยของพระอรรถกถาจารย์ ทีม่ ตี อ่ พวกเราเหล่าอนุชนคนรุน่ หลัง
เกรงว่าคนในยุคนีจ้ ะไม่เข้าใจในเนือ้ หา แห่งพระธรรมคำ�สอน ทีป่ รากฏอยูใ่ นบทแห่งธรรมนัน้ ๆ

45
จึงมีการขยายความ อธิบายศัพท์ วิเคราะห์เนือ้ หา ดังสาริกาป้อนเหยือ่ ทีพ่ วกเราเรียกกันว่า
แก้อรรถ สุดท้ายคือการแจ้งผลแห่งการแสดงบท แห่งธรรมแต่ละเรือ่ ง ว่ามีใครได้ดม่ื ด่�ำ ในรสแห่ง
พระธรรมบ้าง
หากแค่บรรยายสรรพคุณ เดีย๋ วจะหาว่าคุยโม้โอ้อวด ขอเชิญท่านทัง้ หลายเปิดใจ
ทดลองสัมผัสกับบางส่วน เรียนรูใ้ นบางตอน ในยอดแห่งมหากาพย์ทว่ี า่ นี้ เช่น เรือ่ งราวของ
ยอดวีรบุรษุ ผูต้ อ่ สูเ้ พือ่ อุดมการณ์ “พันธุลเสนาบดี”
พันธุลเสนาบดี เป็นพระราชโอรสของเจ้ามัลละ เขตแคว้นเมืองกุสนิ ารา ภายหลังกลับ
จากการศึกษาศิลปวิทยา ในสำ�นักแห่งอาจารย์เมืองตักกสิลาแล้ว พระองค์ได้แสดง ศิลปแห่ง
การต่อสู้ ต่อหน้าพระทีน่ ง่ั แห่งเหล่ามัลลกษัตริย์ โดยการกระโดดพุง่ ทะยานขึน้ ไป ในอากาศ
สูงถึง ๔๐ เมตร เพียงเพือ่ จะฟาดฟันดาบลงไปยังกองไม้ไผ่ทม่ี ดั รวมกัน ๖๐ มัด นีถ่ า้ หากมีมดั
ไม้ไผ่มากกว่านี้ พระองค์กค็ งกระโดดขึน้ สูงกว่านี้ ความจริงก็ไม่มปี ญ
ั หาใด ในการแสดงครัง้ นีเ้ ลย
หากเป็นความไม่พอ พระทัยของพันธุลกุมารเอง ทีไ่ ด้ยนิ เสียงดัง “กริก๊ ” เบา ๆ ในตอนทีฟ่ นั ไม้ไผ่
๖๐ มัดขาดกระเด็ดกระดอน “จะใส่ซเ่ี หล็กในมัดไม้ไผ่ ใยจึงไม่ยอม บอกให้เรารับรู้ ถ้ารูก้ อ่ น
ว่ามีซเ่ี หล็กถูกซุกซ่อนอยูภ่ ายใน เรานีไ้ ซร้จะใช้พลังให้มากกว่านี้ ศัพทเสียงใดก็คงไม่มใี นสาย
ธารแห่งการฟัน แต่การแอบทำ�การเยียงนี้ เป็นทีใ่ ห้เราเสียหน้า เป็นยิง่ นัก เพราะประจักษ์วา่
มีเสียงเล็ดรอดออกมา ฤาเราจะเข่นฆ่าฟาดฟันพวกทีใ่ ส่ซน่ี น้ั ให้บรรลัย” ดูเหมือนเหตุการณ์
จะบานปลาย พระมารดาบิดาจึงทรงขอร้องให้เรือ่ งราวจบลง พันธุลกุมารจึงทรงดัน้ ด้นสูเ่ มือง
สาวัตถี อันเป็นถิน่ ทีพ่ ระเจ้าปเสนทิโกศล สหายรักครองเมือง
ในภาคต้นแห่งชีวติ ทีเ่ มืองสาวัตถีน้ี ดูเหมือนขบวนแห่งความโชคดีจะพากัน เดินพาเหรด
เรียงแถวเข้าสูช่ วี ติ ของพันธุลกุมาร ได้รบั ความไว้วางใจให้ด�ำ รงตำ�แหน่งสำ�คัญ ๆ ไม่วา่ จะเป็น
เสนาบดี ทหารเอกคูร่ าชบัลลังก์ เป็นผูด้ แู ลกระทรงยุตธิ รรม ว่าด้วยการฟ้องร้อง คดีความ
กระทรงกลาโหม ว่าด้วยการทหารรักษาดินแดน และอืน่ ๆ อีกมากมาย ดังโบราณว่าไว้ บุญมา
วาสนาช่วย ทีป่ ว่ ยก็หายทีห่ น่ายก็รกั ยิง่ ได้ยอดหญิงมัลลิกาเป็นคูช่ วี ติ ช่วยผลิตสายโลหิตให้ได้
บุตรชายลูกแฝดถึง ๑๖ คู่ แต่ละผูแ้ ต่ละคน ผ่านการฝึกฝนและเรียนรู้ เก่งกาจเกินใครจัดเทียมทัน
จะหาความโชคดีของผูใ้ ดมายิง่ ใหญ่ปานพันธุลเสนาบดี ยิง่ ตำ�นานเรือ่ งการแพ้ทอ้ งของนางมัลลิกา
ชายาสุดทีร่ กั ดูชา่ งเป็นเรือ่ งราวทีม่ หัศจรรย์พนั ธุล์ กึ นางต้องได้ดม่ื และสรงสนานในสระโบกขรณี
อันเป็นทีก่ ระทำ�พิธรี าชาภิเษก ของเหล่ากษัตริยเ์ มืองไพสาลี เพือ่ ความสมฤดีแห่งศรีภรรยา
พันธุลเสนาบดีจงึ อุม้ องค์ยอดกัลยาขึน้ สูร่ ถเทียมม้า แล้วพุง่ ทะยานไป

46
ฝ่ายเจ้ามหาลิ พระโอรสเพือ่ นซีข้ องพันธุลเสนาบดี แม้จะมีดวงตาทีม่ ดื บอด แต่เซ้นท์
สำ�นึกถึงเหตุการณ์ในอนาคตนัน้ สว่างไสวนัก รูจ้ กั พลังแห่งการต่อสูข้ องพันธุละเป็นอย่างดี
เพือ่ เป็นเพือ่ นเรียนในสำ�นักอาจารย์เดียวกันมา จึงสัง่ เหล่าทหารกล้าผูด้ แู ลรักษา เมืองไพสาลี
“อย่าขัดขวางเจ้าพันธุละเมือ่ เขามา คราเมือ่ เขาไปก็อย่าได้ตดิ ตาม หากไม่ยอมฟังเราเฝ้าขืน
ติดตาม เมือ่ ได้ยนิ เสียงคำ�รามดังสายฟ้า จงพากันรีบกลับคืนมายังเวียงวัง” เหตุการณ์ทกุ
อย่างเป็นไปตามทีเ่ จ้ามหาลิได้มองเห็น เหล่าทหารทีเ่ ฝ้าประตูสระโบกขรณี เห็นว่ามีพวกมาก
เข้าขัดขวาง ผลคือถูกพันธุลเสนาบดีย�ำ่ ยีแทบวายปราณ จากนัน้ จึงอุม้ ศรีภรรยาลงสรงสนาน
จนแช่มชืน่ เบิกบาน ความแพ้ทอ้ งได้คลายลดปลดเปลือ้ งมิเนิน่ นาน แล้วจะพา ภรรยาพุง่ ทะยาน
ออกจากเมือง กองทหารรักษาเมือง พอทราบเรือ่ งทีเ่ กิด จึงรวบรวมพลังติดตามกระชัน้ ชิด
โดยไม่คดิ ไม่ใส่ใจในคำ�ทัดทานของเจ้ามหาลิ
ฝ่ายพันธุลเสนาบดีพอทราบว่ามีกองทหารติดตามมาจึงหันมาบอกศรีภรรยายอดดวงใจ
“น้องหญิงของพี่ จงคอยหันกลับไปมองเหล่ากองทหาร เพลาใดทีเ่ ห็นยอดธง ของเหล่าของ
เหล่าปัจจามิตรเรียงกันแนบชิดเป็นเส้นตรง อย่างได้งงพะวงเฉย รีบบอกพีเ่ ลย นะน้องรัก”
เมือ่ ได้รบั สัญญาณจากมัลลิกา พันธุลเสนาบดีจงึ คว้าสหัสสถามธนูทม่ี คี วามหน่วงหนักเท่ากับ
กำ�ลังแห่งบุรษุ ถึงหนึง่ พันจึงจะพากันยกไหว แล้วจึงหันกลับพาดลูกดอกกับเส้นสาย ความหน่วง
จากการน้าวสายธนู ยังผลให้ลอ้ รถจมลงไปในแผ่นดินจนถึงเพลารถ ครัน้ แล้วจึงได้ปล่อยลูกธนู
เพชฌฆาตพุง่ ออกไป ด้วยระดับความเร็วและเร่งร้อน ไม่มใี ครสามารถมองเห็นวิถแี ห่งลูกศรได้
เพียงสัมผัสได้แต่เสียงกัมปนาทปานฟ้าผ่า ลูกธนูได้ทะลุงอนรถทีม่ ธี งปักอยูป่ ลายยอดของรถ
เทียมม้าของเหล่าทหารทีต่ ดิ ตามมาทุกคัน และแน่นอนว่า ลูกธนูได้ทะลุรา่ งของทหารทุกคน
แต่เหล่าทหารผูโ้ ชคร้ายยังไม่ทราบว่าเกิดอะไรขึน้ เมือ่ ตามจนทันและล้อมศัตรูผอู้ กุ อาจไว้ จึงได้
ทราบความจริงจากเจ้าพันธุละว่า ทุกท่านได้ตอ้ งศรพิฆาตของเราแล้ว ไม่มใี ครจะมีชวี ติ อยูไ่ ด้
ไม่เชือ่ ลองถอดเกราะของใครสักคนออกมาดู พอเปิดเกราะป้องกันชีพของทหารจิตอาสาเท่านัน้
แหละ เลือดได้พงุ่ กระสานซ่านเซ็นออกจากร่างของทหารผูน้ น้ั นอนลงตายทันที “เรานีม้ กี รุณา
ไม่ฆา่ ทุกท่านในทันที ให้ทกุ ท่านนีก้ ลับ ไปสัง่ เสียคนรักก่อนจากลา”
อนิจจา ความโชคดีของพันธุลเสนาบดีเดินมาได้ครึง่ ทาง เพราะความเก่งกาจเกินคน
เพราะชือ่ เสียงท่วมท้นจนเกินเจ้านาย และเพราะการยุแยงตะแคงรัว่ ของขัว้ ฝักฝ่ายผูเ้ สีย ผล
ประโยชน์ ในทีส่ ดุ พันธุลเสนาบดีจงึ ถูกเพือ่ นรักผูเ้ ป็นเจ้าเหนือหัว ผูม้ คี วามริษยาเกาะกินใจ
จึงได้วางอุบาย สัง่ ทหารกองใหญ่กรีฑาทัพฟาดฟันจนบรรลัย สิน้ ชีพตักษัยพร้อมทัง้ บุตร ๓๒ คน

47
นีเ่ ป็นเพียงตัวอย่างแห่งยอดมหากาพย์ ยังมีเรือ่ งราวทีว่ จิ ติ รพิศดารกว่านีอ้ กี มากต่อมาก
ขอเพียงนักเรียนสนใจใคร่ศกึ ษา เปิดดวงตาการศึกษาขึน้ มาดู จะซึมซับเรียนรูส้ าระข้อคิดได้
มากมายจนน่ามหัศจรรย์ พราวพร่างด้วยความผูกพันแห่งเพือ่ น ความซือ่ สัตย์ในรัก ความทรนง
ยืนหยัดเพือ่ ความถูกต้อง คนผูย้ ตุ ธิ รรมย่อมได้รบั การสรรเสริญ คนพาลย่อมมีใจไม่มน่ั คง ตัง้ ใจ
เรียนเถิดลูกศิษย์ทร่ี กั ยังมีขมุ ทรัพย์แห่งปัญญารออยู่ รอความรักความพากเพียรของพวกเธอ
เข้าไปขุดค้น แล้วจะรูว้ า่ ยอดแห่งมหากาพย์อยูใ่ นมือเรา

48
พ่อปกครองลูก
พระมหาสุธี อาสโภ ป.ธ.๙
เจ้าอาวาสวัดวัดเชิงเลน จังหวัดนครปฐม พระวิทยากรชั้นประโยค ป.ธ.๔

การอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ครัง้ อดีตจนถึงปัจจุบนั มีคณะพระสังฆาธิการ


ทุกลำ�ดับชัน้ นำ�โดย พระเดชพระคุณพระอุบาลีคณ ุ มู าจารย์ (ปัญญา อินทฺ ปญฺโญ ป.ธ.๖)
อดีตเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ พระอารามหลวง ผูเ้ ป็นประธาน มีการร่วมมือกันเป็นอย่างดี
สมัยปัจจุบนั นี้ โดยมี พระเดชพระคุณพระธรรมโพธิมงคล เจ้าคณะภาค ๑๔ ผูเ้ ป็น
ประธานในการดูแลปฏิบตั งิ าน ให้ค�ำ ชีแ้ นะแนวทางในด้านการศึกษาบาลี ของคณะสงฆ์ภาค ๑๔
ให้มคี ณ ุ ภาพ โดยมีคณะพระวิทยากรผูม้ คี ณ ุ วุฒแิ ละวัยวุฒิ มาช่วยอบรมให้กบั พระภิกษุสามเณร
ผูก้ �ำ ลังศึกษาบาลี เพือ่ เตรียมตัวก่อนสอบสนามหลวง ให้มเี ทคนิคความรูเ้ ตรียมตัวก่อนสอบ
จึงมีการดูแลเอาใจใส่ทกุ อย่างเป็นอย่างดี เปรียบดังลูกของตนทีต่ อ้ งคอยเอาใจใส่ เพือ่ ไม่ให้ขาด
ตกบกพร่อง หวังว่าพระภิกษุสามเณรทีก่ �ำ ลังศึกษาบาลี จะได้มกี �ำ ลังใจในการศึกษาและประพฤติ
ปฎิบตั ใิ ห้สมควรแก่สมณสารูปของตน และพระภิกษุสามเณรเหล่านัน้ จะได้น�ำ สิง่ ทีไ่ ด้รบั ในการ
อบรมในครัง้ นี้ นำ�ไปใช้ในวันข้างหน้า ให้เกิดประโยชน์ตนและประโยชน์ผอู้ น่ื เพือ่ เป็นศาสน
ทายาท เป็นกำ�ลังของพระพุทธศาสนาต่อไป
หลังจากพระรุน่ เก่าได้จากไป พระรุน่ ใหม่ตอ้ งทำ�หน้าทีแ่ ทน ถ้าไม่ได้รบั การถ่ายทอดแล้ว
จะไม่มแี นวทางในการปฎิบตั ใิ ห้ส�ำ เร็จผลไปด้วยดี ข้าพเจ้าเองก็ได้รบั การอบรมจากสถานทีอ่ บรม
ณ วัดไร่ขงิ แห่งนี้ ตัง้ แต่เริม่ เรียนบาลี จนปัจจุบนั ได้จบการศึกษาเปรียญธรรม ๙ ประโยค ก็ได้เห็น
การทำ�งานของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ มีการทำ�งานแบบเข้มแข็ง ยึดหมัน่ อุดมการณ์ในด้านการศึกษา
บาลีเป็นอย่างดี จนเป็นผลิตผลทางการศึกษาระดับแนวหน้าของคณะสงฆ์ไทย ถ้าพระภิกษุ
สามเณรทีก่ �ำ ลังศึกษาบาลีอยูใ่ นขณะนี้ ไม่ได้รบั การเอาใจใส่ทกุ เรือ่ ง รับรองเลยได้วา่ จะไม่มี
บุคลากรทีม่ คี ณ ุ ภาพเกิดขึน้ ให้กบั คณะสงฆ์ของภาค ๑๔ และคณะสงฆ์ไทย คณะสงฆ์ภาค ๑๔
จึงเปรียบดังพ่อปกครองลูก ทีอ่ ยูใ่ นความดูแลของตนเสมอมา
ดังนัน้ พระภิกษุสามเณรผูก้ �ำ ลังศึกษาบาลีอยูค่ ณะนี้ จงมีก�ำ ลังใจในการศึกษาให้ส�ำ เร็จ
ลุลว่ งไปด้วยดี ว่าเรานัน้ มีผปู้ กครองทีด่ ี มีแบบอย่างทีด่ ี มีผนู้ �ำ ดี แล้วนำ�ไปประพฤติปฏิบตั ใิ ห้ดี
ดังโบราณว่า ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น

49
บาลีกับการพัฒนา
พระมหาประจักษ์ ปญฺญาลาภี ป.ธ.๙
พระวิทยากรชั้นประโยค ป.ธ.๔ วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร

อันบาลี สักขีศาสน์ ธาตุภาษา


มีคณ
ุ ค่า น่าจะเรียน เปลีย่ นศักดิศ์ รี
แปลปิฎก สาธกพจน์ บทบาลี
เป็นสักขี วจีปราชญ์ ศาสน์เจริญ ฯ
ภิกษุ มหาวีโร
เราทัง้ หลายมีความเชือ่ ว่า ภาษาบาลี คือภาษาทีพ่ ระศาสดาของเราทัง้ หลาย ใช้ประกาศ
เผยแผ่หลักคำ�สอนจนตลอดพระชนม์ชพี พระสาวกรุน่ ต่อ ๆ มา ได้ชว่ ยกันธำ�รงรักษาไว้ โดยการ
จารึกหลักคำ�สอนเป็นลายลักษณ์อกั ษรด้วยภาษาบาลีหรือภาษามคธ ลงในคัมภีรต์ า่ ง ๆ โดย
เฉพาะคัมภีรท์ ส่ี �ำ คัญคือ พระไตรปิฎก และสืบทอดต่อมาถึงปัจจุบนั หน้าทีข่ องเราในขณะนีค้ อื
รักษาและสีบทอดให้คงอยูแ่ ละส่งมอบให้กบั อนุชนรุน่ ต่อๆไป
ภาษาบาลีมคี ณ
ุ ค่าและมีอทิ ธิพลต่อการดำ�เนินชีวติ ของคนไทยมาอย่างยาวนาน จะเห็น
ได้วา่ ชือ่ -นามสกุล ของแต่ละคน ก็ลว้ นตัง้ มาจากภาษาบาลีแทบทัง้ นัน้ ด้านวรรณกรรม ภาษา
แนวคิด ความเชือ่ ศิลปะวิทยาการด้านต่าง ๆ ก็ลว้ นมีแนวคิดทีไ่ ด้รบั มาจากหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา ผ่านภาษาบาลีแทบทัง้ นัน้
ภาษาบาลี จึงเป็นเครือ่ งมือเข้าหาแก่นธรรม เปรียบเหมือนกุญแจไขเข้าสูส่ ารธรรม
คำ�สอนทีอ่ ยูใ่ นพระไตรปิฎก อันเป็นคัมภีรท์ บ่ี รรจุหลักคำ�สอนของพระพุทธเจ้า การศึกษาเล่าเรียน
ภาษาบาลี จึงเป็นเช่นกับการมอบเครือ่ งมือให้กบั ผูท้ ส่ี นใจในการค้นคว้าหาความลับ ทีย่ งั ไม่ถกู
เปิดเผยในแง่มมุ ต่าง ๆ เมือ่ ผูเ้ รียนมีเครือ่ งมือในการศึกษาหลักคำ�สอนจากพระไตรปิฎกแล้ว
ได้เรียนรูไ้ ด้คน้ คว้า และสามารถนำ�มาปฏิบตั ฝิ กึ หัดพัฒนาตน จนเป็นผลสำ�เร็จในแต่ละระดับแล้ว
ยังสามารถแนะนำ�สัง่ สอนผูอ้ น่ื ต่อได้ โดยการทำ�ให้หลักคำ�สอนสถิตอยูใ่ นตัวบุคคล แทนการสถิต
อยูใ่ นตำ�รา ชือ่ ว่ายังพระศาสนาให้ด�ำ รงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คง และเจริญรุง่ เรืองแผ่ขยายไป

50
ผูท้ แ่ี รกเริม่ ศึกษาภาษาบาลีกย็ อ่ มประสบปัญหา คือ ความยากลำ�บากในการเรียนด้วย
กันทัง้ สิน้ บางท่านท้อถอยตัง้ แต่เริม่ เห็น เริม่ เรียน ในช่วงต้นก็ดแู ข็งขัน แต่ครัน้ เรียนไปแล้วก็มี
ความเบือ่ หน่าย และคลายความเพียรละทิง้ ในทีส่ ดุ และปัจจุบนั เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทต่อ
วิถชี วี ติ ยิง่ ทำ�ให้ผเู้ รียนออกห่างจากการเรียนได้อย่างรวดเร็ว วิธกี ารอย่างหนึง่ ตามหลักคำ�สอน
ในทางพระพุทธศาสนา ทีจ่ ะทำ�ให้ผทู้ ป่ี ฏิบตั ติ ามสามารถเรียนบาลีประสบผลสำ�เร็จได้ คือ
๑. สร้างแรงบันดาลใจ มีความเชือ่ มัน่ และมีเป้าหมายในการเรียน ซึง่ แรงบันดาลใจใน
การเรียนบาลีนน้ี อกจากตัวผูเ้ รียนต้องมีตน้ แบบทีด่ ี ต้นแบบ คือ มีหลวงพ่อ หลวงพีม่ หา พีเ่ ณร
ทีเ่ ป็นเปรียญ ซึง่ ผ่านการศึกษาภาษาบาลีมา และเป็นแบบอย่างในทางการศึกษาทีด่ ี อีกประการหนึง่
แรงบันดาลใจ จะเกิดขึน้ ไม่ได้หรือไม่สมบูรณ์เลยถ้าหากขาดพีเ่ ลีย้ ง หรือกัลยาณมิตรทีด่ คี อยช่วย
เหลือเอาใจใส่ สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำ� ประคับประคอง ให้เป็นไปในแนวทางทีถ่ กู ต้องและ
บรรลุจดุ มุง่ หมายได้
๒. มุง่ มัน่ อย่างไม่ทอ้ ถอย ไม่ควรมีความคิดในแง่ลบต่อการเรียนบาลี เพราะจะทำ�ให้
แรงบันดาลใจทีต่ ง้ั ไว้หยุดชะงัก เกิดความถดถอยด้อยกำ�ลัง แต่จงมุง่ มัน่ ฟันฝ่า และจงบอกตนเอง
อยูเ่ สมอว่า “เราทำ�ได้” ไม่มสี ง่ิ ใดทีไ่ ด้มาอย่างง่ายดาย หากเกิดความท้อถอย ต้องมีพเ่ี ลีย้ งหรือ
กัลยาณมิตรทีด่ คี อยแนะนำ�คอยชักจูง เพือ่ ไม่ให้ละความพากเพียรพยายาม นึกถึงเป้าหมายทีต่ ง้ั
ไว้เสมอ ทำ�เหตุแห่งปัจจุบนั อย่างขันแข็งและอดทน สม่�ำ เสมอ
๓. เอาใจใส่ ทะยานไปสูเ่ ป้าหมายด้วยจิตใจทีห่ า้ วหาญพร้อมทัง้ การลงมือทำ�อย่าง
รอบคอบ และทำ�อย่างเต็มกำ�ลัง ไม่ปล่อยตัวเผลอใจไปกับสิง่ ทีช่ กั นำ�ให้ออกไปนอกทาง ละเว้น
สิง่ อันชักนำ�ให้ใจออกห่างจากพระบาลี เช่น เกมส์ อินเทอร์เนต เป็นต้น ใส่ใจมุง่ มันพัฒนาหาวิธี
การในการทีจ่ ะทำ�ให้บรรลุวตั ถุประสงค์ของการศึกษาภาษาบาลีให้ได้ หมัน่ ฝึกคิด อ่าน เขียน
และสอบถามครูบาอาจารย์ ในส่วนนีก้ ลั ยาณมิตร หรือพีเ่ ลีย้ งก็ตอ้ งเข้ามามีสว่ นช่วยในการให้ค�ำ
แนะนำ�ปรึกษา
๔. ไตร่ตรองพิจารณา ทบทวนตรวจสอบอย่างมีเหตุมผี ล หาจุดทีเ่ ป็นข้อบกพร่องทีต่ อ้ ง
แก้ไข ปรับปรุงวิธกี ารให้ดขี น้ึ ในขัน้ นีเ้ ป็นการใช้ปญั ญาพิจารณาหาวิธกี ารทีจ่ ะบรรลุผลสำ�เร็จให้ได้
ทุกก้าวย่างต้องฝ่าฟันอุปสรรคและขวากหนามแห่งความยากลำ�บากและความเหน็ดเหนื่อย
เมือ่ มีสติเป็นเครือ่ งพิจารณา แก้ไขด้วยปัญญา ปัญหาก็จะผ่านพ้นไปได้ และจะภูมใิ จกับความ
สำ�เร็จอันเกิดจากความพากเพียรทีเ่ ราทำ�
ในยุคปัจจุบนั ข้อมูลข่าวสารเกิดขึน้ และแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว การเรียนภาษาบาลี
ในฐานะเป็นภาษาศาสตร์เพียงอย่างเดียวอาจจะไม่เพียงพอต่อการดำ�รงพระศาสนา แต่ควรเรียนรู้
51
ควบคูก่ บั การบูรณาการเข้ากับศาสตร์อน่ื ๆ ด้วย อาจสร้างคุณประโยชน์ให้กบั พระศาสนาเพิม่
ขึน้ ได้ ทีก่ ล่าวมานีม้ ใิ ช่วา่ จะให้ละทิง้ การเรียนบาลีแล้วไปเรียนทางโลก แต่หมายความว่า เรียนรูแ้ ล้ว
ให้เก็บเอาสาระจากการเรียนด้วย มิใช่เรียนเพือ่ สอบผ่านไปในแต่ละชัน้ เพียงเท่านัน้ แต่เป็นการ
เรียนเพือ่ เพิม่ พูนสติปญั ญา พัฒนาตน พัฒนาจิตใจ พัฒนาสังคม และอยูร่ ว่ มกันได้อย่างมีความสุข

52
กำ�ลังใจ
พระมหาปริทัศน์ วรกิจฺโจ ป.ธ.๙
วัดเขื่อนเพชร อำ�เภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี

 การอบรมบาลีมกี อ่ นสอบ จัดประกอบรอบคอบยิง่ สิง่ ทีเ่ ห็น


“ภาคสิบสี”่ นีค้ รบเครือ่ งเรือ่ งประเด็น ด้วยมุง่ เน้นเป็นหลักดีชแ้ี จงกัน
“สีส่ บิ สี”่ ปีแล้วแนวทีจ่ ดั สารพัดชัดเจนเกณฑ์สร้างสรรค์
“วัดไร่ขงิ ” ทุกสิง่ ดีมยี นื ยัน “สิบห้าวัน” นัน้ เพียบพร้อมน้อมเปิดใจ
เริม่ ประชุมรวมกลุม่ ใหญ่สงสัยถาม “ยีส่ บิ สาม มกราคม” สมสมัย
“สีโ่ มงครึง่ ” ถึงเวลาว่ากันไป เรือ่ งอะไรไม่รกู้ นั เปิดบรรยาย
“ห้าโมงเย็น” เห็นว่าเวลาเหมาะ โดยเฉพาะเจาะจงจำ�นงหมาย
จึงแนะนำ�กรรมการงานมากมาย ให้ทกุ ฝ่ายได้รคู้ รบจบสมบูรณ์
โดย “เลขานุการ” ทำ�งานภาค เรือ่ งยุง่ ยากทัง้ มากน้อยพลอยสิน้ สูญ
“พระปริยตั วิ รานุกลู ” ได้เพิม่ พูนพร้อมมูลหมดปลดพะวง
“พระเทพคุณาภรณ์” กล่าวก่อนเพือ่ น ไม่แชเชือนเตือนสิง่ ดีมแี ก่สงฆ์
ปฏิสนั ถารหลักการกว้างอย่างเทีย่ งตรง หายงุนงงหมดสงสัยเข้าใจกัน
“เจ้าคณะจังหวัด” จัดกล่าวหมด จึงปรากฏบทความดีพถิ พี ถิ นั
“สีจ่ งั หวัด” พัฒนาสารพัน แต่ละท่านนัน้ “บัณฑิต” ลองคิดดู
“ประโยคเก้า” เท้าความหลังทุกจังหวัด เก่งถนัดรอบจัดด้วยจึงสวยหรู
สุดราบรืน่ น่าชืน่ ชมบรมครู คงคุน้ หูกนั อยูบ่ า้ งเพราะกว้างไกล
“พระเทพสาครมุน”ี มีหลักเพียบ ยากจะเทียบท่านเรียบร้อยคอยขานไข
ทางคณะ “สมุทรสาคร” แน่นอนใจ ผูเ้ ป็นใหญ่ไม่ทง้ิ กันมัน่ คงนาน
“นครปฐม” เหมาะสมดี “ทีอ่ งค์พระ” เป็น “สหบาลี” มีรากฐาน
“พระเทพมหาเจติยาจารย์” ท่านเป็นงานชำ�นาญสอน “กลอนกวี”
“ถิน่ สุพรรณ” นัน้ ลือเลือ่ งเมืองเกษตร แนวประเทศเขตพิกดั “ยุทธหัตถี”
“พระราชปริยตั เิ มธี” ยอดดีกรีน้ี “ดร.” เลิศเลองาม

53
“กาญจนบุร”ี นีเ้ มืองใหญ่ เป็นแนวไพรไกลสุดตาน่าเกรงขาม
น้�ำ ตกสวยด้วยสายธารขนานนาม คนติดตามความต่อเนือ่ งเรือ่ งบาลี
“เจ้าคณะจังหวัด” คอยจัดให้ จึงมัน่ ใจไม่นอ้ ยหน้าสง่าศรี
เจ้าคุณ “พระราชวิสทุ ธิเมธี” ท่านเต็มทีม่ รี างวัลนัน้ ได้การ
“หกโมงเย็น” เห็นว่าถึงวาระ “เจ้าคณะภาคสิบสี”่ ชีห้ ลักฐาน
“พระธรรมโพธิมงคล” สนใจงาน แถลงสารด้านนีพ้ ร้อมทีม่ า
กล่าวรายงานการจัดอย่างชัดแจ้ง ความเปลีย่ นแปลงแสดงไว้ให้ศกึ ษา
เรียนถวายบรรยายครบจบเวลา เป็นเนือ้ หาสาระต่อประธาน
ผูก้ ล่าวเปิดเลิศนักปราชญ์ “ราชบัณฑิต” ให้ขอ้ คิดติดประเด็นเน้นฉะฉาน
“พระมหาโพธิวงศาจารย์” ได้หลักการประมาณมากจากทีฟ่ งั
การอบรมเหมาะสมแล้วแนววางไว้ เพราะเป็นไปไม่สะดุดจุดมุง่ หวัง
ราบรืน่ ดีนเ้ี จ็ดเข้มเต็มพลัง จึงพร้อมพรัง่ ตัง้ ใจกันสำ�คัญเลย
พาหนะสะดวกหมด “รถรับส่ง” จุดประสงค์ตรงถึงทีช่ เ้ี ปิดเผย
เป็นระยะเต็มระบบจบลงเอย น่าชมเชยจึงเอ่ยไว้ให้รกู้ นั
“ทีพ่ กั ใหญ่” ไม่บกพร่อง “ห้องสุขา” เต็มอัตรา “ภัตตาหารการขบฉัน”
“น้�ำ ปานะ” ตระเตรียมไว้ให้ครบครัน จนถึงวันอันสิน้ สุดหยุดจบลง
“มอบรางวัล” อันตัง้ ใจให้ทกุ อย่าง เพือ่ “เสริมสร้างทางบาลี” ทีป่ ระสงค์
“ผูส้ อบได้ถวายหมด” กำ�หนดตรง เจตน์จ�ำ นงคงไว้ครบจบเสร็จการ
“หลวงปูใ่ หญ่” ไม่ผดิ หวังสิง่ ตัง้ มัน่ สมใจท่านอันเริม่ ไว้ในพืน้ ฐาน
“พระอุบาลีคณ ู ปู มาจารย์” ปณิธานสานต่อไปไร้กงั วล
สิง่ ทัง้ หมดปรากฏแล้วแนวครบถ้วน เมือ่ ทบทวนประมวลเห็นเป็นได้ผล
ได้หลักดีชเ้ี ฉพาะเจาะแยบยล เอ่ยทุกคนน่าสนใจ “ใครจัดการ”
“หลวงพ่อแย้ม” ยิม้ แก้มปริเป็นพิเศษ ท่านสังเกตเหตุสร้างสุขทุกสถาน
“พระเทพศาสนาภิบาล” “องค์สมภาร” ประสานให้ไม่ทง้ิ กัน
สิง่ เริม่ ต้นสนใจให้สบื เนือ่ ง จึงได้เรือ่ งเฟือ่ งฟูแท้ไม่แปรผัน
“ขัน้ เบสิกพลิกโฉมเลย” ทีเ่ อ่ยกัน “ขอบคุณท่าน” พรรณนามาทันที
พร้อมคณะ “พระเณรทีม่ สี ว่ นช่วย” เอือ้ อำ�นวยด้วยน้�ำ ใจไม่หน่ายหนี
“โยมทัง้ หลายได้รว่ มกัน” มัน่ คงดี เอือ้ อารีปรานียง่ิ ทุกสิง่ มา
“วันทีเ่ จ็ด กุมภาพันธ์” นัน้ สิน้ สุด ก็ถงึ จุดหยุดช่วงหมดห่วงหา

54
ต้องแยกย้ายขัน้ ปลายแล้วแนวเวลา “เก็บวิชาว่ามากพอสอบต่อไป”
หากผิดพลาดไม่อาจกล่าวเท้าความได้ สุดบรรยายขยายความตามสงสัย
ตัง้ จิตน้อมพร้อมคณะขออภัย ยกโทษให้ในครัง้ นีช้ แ้ี จงมา
รตนตฺตยานุภาเวน รตนตฺตยเตชสา
ด้วยเดชะพระไตรรัตน์วฒ ั นา ล้�ำ เลอค่าหาสิง่ ใดไร้เทียบทัน
ทัง้ “หลวงพ่อวัดไร่ขงิ ” สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ ์ งามวิจติ รฤทธิย์ ง่ิ ใหญ่ไม่แปรผัน
ผลสะท้อนพรประเสริฐเกิดเร็วพลัน ได้ครบครันหรรษาสุขทุกท่านเทอญ ฯ

กำ�ลังใจ ประโยค ๑–๒


 เรียนประโยคหนึง่ สองต้องใจสู ้ ขยันดูคมู่ อื สือ่ การสอน
พุทธพจน์บทบาลีมหี ลายตอน อย่าหนีกอ่ นถอนศรัทธาเมือ่ มาเรียน
ชัน้ ประเดิมเริม่ หนึง่ สองเป็นของใหม่ ก่อนอืน่ ใดไวยากรณ์ครูสอนเขียน
“สมัญญาภิธาน” อ่านพากเพียร จนแนบเนียนเปลีย่ น “สนธิ” วิเคราะห์ดู
เรือ่ งของ “นาม” และ “อัพยยศัพท์” แบบฉบับสดับไว้ให้คนุ้ หู
“อาขยาต” และ “กิตก์” ผิดถามครู ก็จะรูก้ ริ ยิ ามาอย่างไร
เรือ่ ง “สมาส” “ตัทธิต” คิดรอบคอบ ตัวประกอบจัดลง ณ ตรงไหน
ให้แม่นยำ�จำ�ถนัดเรือ่ งปัจจัย ถ้าสงสัยให้ดหู ลักจักทราบเลย
“ไวยากรณ์สเ่ี ล่ม” ท่องเต็มที ่ สอบแค่นส้ี บายใจไหมท่านเอ๋ย
ใครท่องได้ตอบได้หมดบทลงเอย อย่านิง่ เฉยปล่อยเลยไปใคร่ทบทวน
วิชา “แปล” แน่นอนในตอนต้น อาจจะบ่นทนไม่ไหวใจผันผวน
เดินประโยคโยกย้ายศัพท์จบั กระบวน ทำ�ให้ชวนหวนหันไม่ทนั การ
“ธรรมบท สีภ่ าค” ยากรอบแรก มีศพั ท์แปลกแยกอย่างไรไม่แตกฉาน
แปลรอบสองหายข้องใจไวเชีย่ วชาญ เพราะชำ�นาญอ่านคุน้ ศัพท์แม่นฉับพลัน

กำ�ลังใจ ป.ธ. ๓
 ถ้าอยากเป็น “มหา” อย่าเพิกเฉย เอ้อระเหยปล่อยเลยไปไม่ขยัน
ดูต�ำ รามุง่ หน้าจำ� “หลักสัมพันธ์” ทุกคืนวันหมัน่ ตรวจตรา “ไวยากรณ์”
ทัง้ การแปลทีส่ �ำ คัญ “พยัญชนะ” “โดยอรรถ” ล่ะอย่าละดูตามครูสอน

55
“วิชาบุรพภาค” ยากหลายตอน ถ้าผัดผ่อนถอนใจไม่ได้ความ
จะบอกว่าฝากไว้ให้ครูชว่ ย นักเรียนด้วยอำ�นวยไหมใคร่ขอถาม
ตัง้ สติวริ ยิ ะพยายาม ทัง้ ทำ�ตามคำ�แนะนำ�ในตำ�รา
ถ้าตัง้ ใจใฝ่เรียนรูด้ หู นังสือ ทัง้ คูม่ อื สิง่ สือ่ สารการศึกษา
คงได้เพชรเม็ดงามตามว่ามา เป็น “มหา” น่าชืน่ ชมสมใจปอง ฯ
“โดยพยัญชนะ” กะ “โดยอรรถ” เมือ่ ฝึกหัดชัดแจ้งใจไม่แปรผัน
เกิดทักษะกระบวนการฐานสำ�คัญ คิดตามทันประกันได้หายกังวล ฯ

กำ�ลังใจ ป.ธ.๔
ประโยคสีน่ น้ี ะสบายมาก เหมือนไม่ยากหากสูด้ หู นังสือ
“สองวิชา” ว่าไปอยูใ่ นมือ เขาตัง้ ชือ่ คือ “ชัน้ พัก” ทักกันมา
อย่างละเล่มเต็มทีก่ ม็ หี วัง วางแผนผังตัง้ ใจใฝ่ศกึ ษา
มหาแล้วแนวจำ�ในตำ�รา ความเนิน่ ช้าถ้าเห็นประเด็นรอง
“แปลไทยเป็นมคธ” จดจำ�ศัพท์ “วิชากลับ” จับหลักไว้ไม่เสียของ
แบบฉบับกำ�กับดูรทู้ �ำ นอง เกิดมุมมองส่องความตามบรรยาย
“ธรรมบท ภาคหนึง่ ” ซึง่ ไม่มาก ประโยคยากหากท่องไว้ไม่เสียหาย
“หลงเสียงนาง” อย่างว่า ชวนตาลาย จำ�แทบตาย “สงฆ์ยกวัตร” คัดทบทวน
“เทวทัตตัดงา” ถ้าไม่แม่น อาจง่อนแง่นแล่นไปใจผันผวน
นอกจากนีต้ คี วามตามสำ�นวน หลักประมวลถ้วนถีด่ มี ากมาย
“แปลมคธเป็นไทย” ใช้โดยอรรถ ตามถนัดจัดไว้ให้หลากหลาย
ของ “มหามกุฏ” สุดบรรยาย ฟังสบายคล้ายเทศน์สงั เกตดู
ของ “บุญสืบ อินสาร” ก็อา่ นง่าย วางจำ�หน่ายหลายแห่งแหล่งคุน้ หู
“มงคล ภาคหนึง่ ” นัน้ เข้าขัน้ ครู กำ�หนดรูค้ ไู่ ปไว้สอนคน
อย่าหยุดยัง้ ตัง้ ใจในบัดนี ้ ให้เต็มทีค่ ลีค่ ลายหายสับสน
จงพากเพียรเรียนรูส้ อู้ ดทน เร่งฝึกฝนผลดียอ่ มมีมา ฯ

กำ�ลังใจ ป.ธ. ๕
ประโยคห้า “มหา” แล้วก็แจ๋วสิ ใช้สติด�ำ ริรอบประกอบผล
“สองวิชา” ว่าพอไหวไม่กงั วล เรียนแยบยลสนใจก็ได้ความ

56
“แปลไทยเป็นมคธ” จดจำ�ศัพท์ “วิชากลับ” จับหลักดีอย่าผลีผลาม
“ธรรมบท สอง สาม สี”่ นีต้ ดิ ตาม มีอยู่ “สามเล่ม” นัน้ หมัน่ ทวนดู
“แปลมคธเป็นไทย” ใส่ใจท่อง ก็จะคล่องมองสบายง่ายคุน้ หู
“มงคลภาคทีส่ อง” ของมีครู กำ�หนดรูแ้ น่นอนย่อมผ่อนคลาย
ประโยคห้าอย่ารวนเรให้เหหัน เริม่ ขยันตัง้ ใจยังไม่สาย
“ไวยากรณ์แม่นยำ�” จำ�ง่ายดาย เดาทางได้หายกังวลจนสอบเลย ฯ

กำ�ลังใจ ป.ธ. ๖
 ประโยคหกพกหลักการประมาณมาก เพราะเริม่ ยากหลากสำ�นวนชวนให้หลง
พยายามตามจีไ้ ปจะไม่งง อย่างนีค้ งเริม่ บรรเทาพอเข้าใจ
“แปลไทยเป็นมคธ” อย่าลดละ ฝึกทักษะเพือ่ ขจัดตัดสงสัย
“วิชากลับ” ศัพท์แสงแผลงออกไป แบบอย่างไรดูให้ย�ำ้ จำ�ติดตา
“ธรรมบทสีเ่ ล่ม” ต้องเต็มที ่ ยากง่ายมีนส้ี �ำ คัญหมัน่ ศึกษา
“ท้องนิทาน” “การแก้อรรถ” หัดตรวจตรา “รูปคาถา” ศัพท์หาลงตรงกับความ
“แปลมคธเป็นไทย” ใคร่ครวญหน่อย เน้นบ่อยบ่อยอย่าปล่อยไปข้องใจถาม
“โยชนา” มาประกอบตรวจสอบตาม จะก้าวข้ามสงสัยในทันที
“แปลสามนต์เล่มสอง” มองดูยาก อาจลำ�บากจากสำ�นวนชวนถอยหนี
อดทนไปไม่ยอ่ ท้อพร้อมต่อตี เรียนเต็มทีน่ ส้ี �ำ คัญมัน่ ใจตน
ถึงเวลาเข้าสอบรอบคอบไว้ ตรวจทานให้ถว้ นถีย่ อ่ มมีผล
สอบผ่านมาปรากฏรูแ้ ก่ผคู้ น ปลืม้ กมลรับพัดใหม่ทใ่ี นวัง ฯ

กำ�ลังใจ ป.ธ.๗
 ประโยคเจ็ดเด็ดจริงสิง่ แปลกใหม่ ต้องตัง้ ใจใฝ่รอู้ ยูเ่ สมอ
ฝึกทักษะขยันกันเผลอเรอ อาจจะเบลอเจอจุดยากลำ�บากนาน
“แปลไทยเป็นมคธ” จดจำ�ศัพท์ “วิชากลับ” จับหลักไว้ขอไขขาน
รูปประโยคโยกย้ายได้หลักการ มีพน้ื ฐานชำ�นาญคล่องถูกต้องควร
“มงคล ภาคทีห่ นึง่ ” ซึง่ ยอกย้อน “ไวยากรณ์ออ่ นไป” ให้ผนั ผวน
จุดสงสัยให้ย�ำ้ จำ�ทบทวน “หลงสำ�นวน” รวนเรไขว้เขวเลย
“แปลมคธเป็นไทย” ไม่งา่ ยนะ อุตสาหะขยันนะท่านเอ๋ย
57
เร่งฝึกฝนสนใจหัดให้เคย บทลงเอยเผยความตามรูก้ นั
“แปลสามนต์ ภาคหนึง่ ” ซึง่ เล่มหนา “โยชนา” หาไว้ไม่คบั ขัน
ศัพท์ไหนงงสงสัยเปิดได้ทนั แก้จดุ นัน้ มัน่ ใจไขเนือ้ ความ
ประโยคเจ็ดเคล็ดลับกระชับแน่น ก็จะแม่นแสนสบายหายเกรงขาม
หมัน่ เข้าเรียนเพียรศึกษาพยายาม ลงสนามความกังวลย่อมพ้นไป ฯ

กำ�ลังใจ ป.ธ.๘
 ประโยคแปดแวดวงสงฆ์ทราบชัด ว่ายากจัดกัดฟันอย่าผันผวน
“สามวิชา” เนือ้ หาหลักตระหนักทวน ทัง้ หมดล้วนชวนย่อหย่อนอ่อนกำ�ลัง
“วิชาฉันท์” นัน้ ของใหม่ให้ฝกึ แต่ง รูห้ ลักแหล่งแห่ง “คณะ” กะแผนผัง
จัดศัพท์ลงตรงไหนใฝ่ระวัง อาจพลาดพลัง้ ไม่ตง้ั ใจ “ไวยากรณ์”
มี “หกฉันท์” ท่านกำ�หนดบทเรียนรู ้ ขยันดูสไู้ ปไม่ถอดถอน
เลือก “สามฉันท์” อันใจชอบสอบแน่นอน อย่ารีบร้อนก่อนส่งจงตรวจทาน
“แปลไทยเป็นมคธ” หมดทัง้ เล่ม ต้องจัดเต็มเข้มข้นจนแตกฉาน
“วิชากลับ” ศัพท์มากยากเอาการ ถ้าไม่อา่ นผ่านตาอย่าหวังเลย
ใช้ “สามนต์” หนาเตอะว่าเยอะอยู ่ กำ�หนดรูค้ หู่ ลักการนะท่านเอ๋ย
“ศัพท์วนิ ยั ” ไม่หลงจุดลงเอย หากเฉยเมยไม่เคยดูยากรูแ้ นว
“แปลมคธเป็นไทย” พอไปได้ อธิบายบรรยายเรือ่ งสืบเนือ่ งแถว
“วิสทุ ธิมรรค” หลักดีกม็ แี วว แปลจบแล้วจะแคล่วคล่องต้องทบทวน
ไวยากรณ์ออ่ นไปไม่ได้เรือ่ ง เพราะเป็นเครือ่ งเนิน่ ช้าพากลับหวน
ประโยคแปดแวดวงใหญ่จงใคร่ครวญ ผูต้ รวจล้วนปรากฏยศ “เจ้าคุณ”
ภูมชิ น้ั นีถ้ ถ่ี ว้ นทัง้ มวลหลัก ไม่ตระหนักกระอักชัวร์พาหัวหมุน
อรรถภาษาถ้าพลาดก็ขาดทุน เรียนเป็นบุญหนุนนำ�ธรรมเจริญ ฯ

กำ�ลังใจ ป.ธ.๙
 ประโยคเก้าเท้าความตามเนือ้ ผ้า “สามวิชา” ว่ายากหากไม่ฝนื
ดูต�ำ ราแทบอาเจียนเพียรกล้�ำ กลืน โซเชียลอืน่ ขืนใจนิง่ ตัดทิง้ ไป
“แต่งไทยเป็นมคธ” จดจำ�ท่อง สำ�นวนต้องคล่องถนัดตัดสงสัย
“หลักตีความ” ตามต้นเค้าพึงเข้าใจ “บาลีไทย” ไม่เข้าตาอย่าเขียนลง
58
“แปลไทยเป็นมคธ” กำ�หนดศัพท์ “วิชากลับ” จับจุดดีทป่ี ระสงค์
“วิสทุ ธิมรรค” หลักสูตรพูดชวนงง ทำ�ให้หลงไม่ตรงอรรถบัญญัตมิ า
หากดัดแปลงแต่งศัพท์ใหม่ไกลแบบมาก คงลำ�บากยากสอบผ่านการศึกษา
กรรมการท่านเน้นหนักหลักวิชา จะรอดตาถ้าอย่างนีไ้ ม่มที าง
“แปลมคธเป็นไทย” ดูให้ย�ำ้ “อภิธรรม” ซ้�ำ บ่อยค่อยสะสาง
“โยชนา” มาแก้เปิดแผ่วาง “สามเล่ม” อย่างหนาเตอะกันเลอะเลือน
ถ้ามุง่ หน้าฝ่าฟันครัน้ สอบได้ ก็สบายกายใจหาใดเหมือน
ประโยคเก้าเข้าที “มีเงินเดือน” เมือ่ เอ่ยเอือ้ นเทศนาการันตี
“พัดตาดเหลือง” เรืองรองดิน้ ทองปัก คนรูจ้ กั สำ�นักเด่นเป็นศักดิศ์ รี
เกียรติสงู ส่งวงศ์ตระกูลพูนทวี รับพัดนีพ้ ธิ ใี หญ่ทใ่ี นวัง
วิสาขบูชาวาระฤกษ์ เอิกเกริกเบิกประเด็นเห็นความหลัง
ขึน้ ทำ�เนียบไม่เงียบเหงาเราโด่งดัง รูท้ ว่ั ทัง้ สังฆมณฑลคนชืน่ ชม ฯ

59
โอวาทธรรมเรื่อง�“ฟังหูไว้หู”
เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์�(เกี่ยว�อุปเสโณ�ป.ธ.๙)
วัดสระเกศ�ราชวรมหาวิหาร�กรุงเทพมหานคร

เมื่อได้ยินอะไรในทางที่เสียแล้ว
ก็อย่าเพิ่งตัดสินใจว่าเสีย�เพราะเพียงแต่เขาพูดกัน
ต้องใคร่ครวญพิจารณาให้ดีเสียก่อนในลักษณะฟังหูไว้หู
ถ้ายังไม่เห็นเป็นที่ประจักษ์ด้วยตนเอง
ก็อย่าเพิ่งไปต่อหรือไปเสริม�ให้เกิดความเสียหายขึ้น

60
สถิติ และข้อมูล
61
ประกาศเจ้าคณะภาค�๑๔
เรื่อง�แต่งตั้งคณะกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔
ปีการศึกษา��๒๕๖๑

� �เพื่อให้การอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔�ปีที่�๔๔�ประจำ�ปี�๒๕๖๑�ระหว่างวันที่�๒๔�มกราคม�ถึง�วันที่�๗�
กุมภาพันธ์�พ.ศ.�๒๕๖๑�ดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อย�มีประสิทธิภาพ�และบรรลุวัตถุประสงค์ตามนโยบายของคณะสงฆ์�
� �อาศัยอำ�นาจตามความในข้อ�๑๐�(๑)�และ�(๒)�แห่งกฎมหาเถรสมาคม�ฉบับที่�๒๓�(พ.ศ.�๒๕๔๑)�ว่าด้วย
ระเบียบการปกครองคณะสงฆ์� ออกตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์� พ.ศ.�๒๕๐๕�แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ์�(ฉบับที่�๒)�พ.ศ.�๒๕๓๕�จึงแต่งตั้งให้ผู้มีรายนามดังต่อไปนี้�เป็นคณะกรรมการอบรมบาลีก่อนสอบ�ภาค�๑๔�
ปีที่�๔๔�ประกอบด้วย�:

คณะกรรมการกองอำ�นวยการ
� ๑.�พระธรรมโพธิมงคล� เจ้าคณะภาค�๑๔� ประธานกรรมการ
� ๒.�พระเทพคุณาภรณ์� รองเจ้าคณะภาค�๑๔� รองประธานกรรมการ
� ๓.�พระธรรมเสนานี� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม� รองประธานกรรมการ
� ๔.�พระธรรมพุทธิมงคล� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี� รองประธานกรรมการ
� ๕.�พระราชรัตนวิมล� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี� รองประธานกรรมการ
� ๖.�พระศรีปริยัติโกศล� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี� รองประธานกรรมการ
� ๗.�พระสุธีธรรมนาท� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี� รองประธานกรรมการ
� ๘.�พระครูปราการลักษาภิบาล� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม� รองประธานกรรมการ
� ๙.�พระครูอดุลพัฒนาภรณ์� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม� รองประธานกรรมการ
� ๑๐.�พระครูกาญจนสิรินธร� ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี� รองประธานกรรมการ
62
๑๑. พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร รองประธานกรรมการ
๑๒. พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร รองประธานกรรมการ
๑๓. พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม รองประธานกรรมการ
๑๔. พระราชปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี รองประธานกรรมการ
๑๕. พระราชวิสุทธิเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี รองประธานกรรมการ
๑๖. พระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม รองประธานกรรมการ
๑๗. พระราชวิสุทธาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี รองประธานกรรมการ
๑๘. พระปริยัติคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี รองประธานกรรมการ
๑๙. พระมงคลกิตติวิบูลย์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี รองประธานกรรมการ
๒๐. พระมหาวิสูตร วิสุทฺธิปญฺโญ ปธ.๙ รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี รองประธานกรรมการ
๒๑. พระราชวิสุทธาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอสามพราน กรรมการ
๒๒. พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม กรรมการ
๒๓. พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอำ�เภอนครชัยศรี กรรมการ
๒๔. พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอำ�เภอสามพราน กรรมการ
๒๕. พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางเลน กรรมการ
๒๖. พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอำ�เภอบางเลน กรรมการ
๒๗. พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน กรรมการ
๒๘. พระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน กรรมการ
๒๙. พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอำ�เภอดอนตูม กรรมการ
๓๐. พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอำ�เภอพุทธมณฑล กรรมการ
๓๑. พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี กรรมการ
๓๒. พระวิมลภาวนานุสิฐ วิ. ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า กรรมการ
๓๓. พระครูศาสนกิจจาภิรม ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า กรรมการ
๓๔. พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า กรรมการ
๓๕. พระปริยัติวรคุณ เจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง กรรมการ
๓๖. พระรัตนเวที เจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง กรรมการ
๓๗. พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอดอนเจดีย์ กรรมการ

63
๓๘. พระครูศรีประจันตคณารักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ กรรมการ
๓๙. พระครูศาสนกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอสามชุก กรรมการ
๔๐. พระครูศรีสุตาคม เจ้าคณะอำ�เภอเดิมบางนางบวช กรรมการ
๔๑. พระครูธรรมสารรักษา เจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง กรรมการ
๔๒. พระครูศาสนกิจจานุยุต เจ้าคณะอำ�เภอหนองหญ้าไซ กรรมการ
๔๓. พระโสภณกาญจนาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี กรรมการ
๔๔. พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าคณะอำ�เภอท่าม่วง กรรมการ
๔๕. พระครูจริยาภิรัต เจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา กรรมการ
๔๖. พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค กรรมการ
๔๗. พระครูวรกาญจนโชติ เจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ กรรมการ
๔๘. พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอำ�เภอบ่อพลอย กรรมการ
๔๙. พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอำ�เภอพนมทวน กรรมการ
๕๐. พระครูสิริกาญจโนภาส เจ้าคณะอำ�เภอเลาขวัญ กรรมการ
๕๑. พระครูสิริพุทธิคุณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอศรีสวัสดิ์ กรรมการ
๕๒. พระวิสุทธิพงษ์เมธี เจ้าคณะอำ�เภอศรีสวัสดิ์ กรรมการ
๕๓. พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอำ�เภอสังขละบุรี กรรมการ
๕๔. พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ เจ้าคณะอำ�เภอด่านมะขามเตี้ย กรรมการ
๕๕. พระครูกาญจนธรรมธัช เจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ กรรมการ
๕๖. พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๙ เจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา กรรมการ
๕๗. พระครูสุทธิธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอเมืองสมุทรสาคร กรรมการ
๕๘. พระครูสีลาธิการี เจ้าคณะอำ�เภอกระทุ่มแบน กรรมการ
๕๙. พระมงคลพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอำ�เภอบ้านแพ้ว กรรมการ
๖๐. พระมหาไกวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม กรรมการ
๖๑. พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอบางเลน กรรมการ
๖๒. พระครูโกศลธรรมรัตน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอกำ�แพงแสน กรรมการ
๖๓. พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี กรรมการ
๖๔. พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี กรรมการ

64
๖๕. พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รองเจ้าคณะอำ�เภอบางปลาม้า กรรมการ
๖๖. พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง กรรมการ
๖๗. พระครูอนุกูลปัญญากร รองเจ้าคณะอำ�เภอสองพี่น้อง กรรมการ
๖๘. พระครูสุวรรณประชานุกูล รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง กรรมการ
๖๙. พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ รองเจ้าคณะอำ�เภออู่ทอง กรรมการ
๗๐. พระครูสุวรรณปริยัตยาทร รองเจ้าคณะอำ�เภอดอนเจดีย์ กรรมการ
๗๑. พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอศรีประจันต์ กรรมการ
๗๒. พระครูโกศลคชเขต รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง กรรมการ
๗๓. พระครูคชเขตบุรารักษ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอด่านช้าง กรรมการ
๗๔. พระเมธีปริยัติวิบูล รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี กรรมการ
๗๕. พระมหาบุญรอด มหาวีโร รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี กรรมการ
๗๖. พระครูวิบูลกาญจโนภาส รองเจ้าคณะอำ�เภอท่ามะกา กรรมการ
๗๗. พระครูกาญจนวุฒิกร รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค กรรมการ
๗๘. พระครูกาญจนสุตาภรณ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอไทรโยค กรรมการ
๗๙. พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ รองเจ้าคณะอำ�เภอทองผาภูมิ กรรมการ
๘๐. พระครูศรีกาญจนารักษ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอบ่อพลอย กรรมการ
๘๑. พระครูพิศาลจารุวรรณ รองเจ้าคณะอำ�เภอเลาขวัญ กรรมการ
๘๒. พระครูวุฒิกาญจนวัตร รองเจ้าคณะอำ�เภอศรีสวัสดิ์ กรรมการ
๘๓. พระครูปริยัติกาญจนโสภณ รองเจ้าคณะอำ�เภอหนองปรือ กรรมการ
๘๔. พระมหาสันติ โชติกโร ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอห้วยกระเจา กรรมการ
๘๕. พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสมุทรสาคร กรรมการ
๘๖. พระครูสิริชยาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะตำ�บลบ้านใหม่ กรรมการ
๘๗. พระครูจินดากิจจานุรักษ์ เจ้าคณะตำ�บลบางช้าง กรรมการ
๘๘. พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าคณะตำ�บลไร่ขิง กรรมการ
๘๙. พระครูวรดิตถานุยุต เจ้าคณะตำ�บลบ้านใหม่ กรรมการ
๙๐. พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ ป.ธ.๗ รักษาการแทนเจ้าคณะตำ�บลยายชา กรรมการ
๙๑. พระรัตนสุธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง กรรมการ

65
๙๒. พระกิตติสุวัฒนาภรณ์ เจ้าอาวาสวัดเทวสังฆาราม กรรมการ
๙๓. พระภาวนาวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมดีศรีวราราม กรรมการ
๙๔. พระญาณวิกรม เจ้าอาวาสวัดท่าไม้ กรรมการ
๙๕. เจ้าคณะพระสังฆาธิการจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร กรรมการ
๙๖. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กรรมการ
๙๗. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร กรรมการ
๙๘. คณะอุบาสก อุบาสิกา จังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร กรรมการ

คณะกรรมการอุปถัมภ์
๑. สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ กรรมการมหาเถรสมาคม วัดญาณเวศกวัน/นครปฐม
๒. พระพรหมดิลก เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร วัดสามพระยา/กรุงเทพฯ
๓. พระมหาโพธิวงศาจารย์ ราชบัณฑิต วัดราชโอรสาราม/กรุงเทพฯ
๔. พระพรหมกวี เจ้าคณะภาค ๑๓ วัดกัลยาณมิตร/กรุงเทพฯ
๕. พระพรหมเวที เจ้าคณะภาค ๑๕ วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
๖. พระพรหมเสนาบดี รองเจ้าคณะภาค ๗ วัดปทุมคงคา/กรุงเทพฯ
๗. พระธรรมโพธิมงคล เจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี/กรุงเทพฯ
๘. พระธรรมพุทธิมงคล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี
๙. พระเทพโสภณ รองเจ้าคณะภาค ๘ วัดราชบุรณะ/กรุงเทพฯ
๑๐. พระเทพคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพฯ
๑๑. พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม/สมุทรสาคร
๑๒. พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
๑๓. พระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดไร่ขิง/นครปฐม
๑๔. พระเทพวิสุทธิโสภณ รองเจ้าคณะภาค ๒ วัดราชคฤห์/กรุงเทพฯ
๑๕. พระเทพสุวรรณเมธี รองเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร วัดสุวรรณาราม/กรุงเทพฯ
๑๖. พระราชวชิรโมลี รองเจ้าคณะภาค ๑๐ วัดสวนพลู/กรุงเทพฯ
๑๗. พระราชปริยัติสุธี รองเจ้าคณะภาค ๓ วัดธรรมามูล/ชัยนาท
๑๘. พระราชรัตนวิมล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเก่า/กาญจนบุรี

66
๑๙. พระราชปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดสุวรรณภูมิ/สุพรรณบุรี
๒๐. พระราชวิสุทธิเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลฯ/กาญจนบุรี
๒๑. พระราชวิสุทธาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดพระแท่นดงรังฯ/กาญจนบุรี
๒๒. พระราชปริยัติวรคุณ เจ้าอาวาส วัดป้อมวิเชียรโชติการาม/สมุทรสาคร
๒๓. พระราชปริยัติมุนี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดพระเชตุพนฯ/กรุงเทพฯ
๒๔. พระศรีปริยัติโกศล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี
๒๕. พระเมธีธรรมานันท์ เจ้าอาวาส วัดดอนหวาย/นครปฐม
๒๖. พระศรีสุธรรมเวที ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดพระปฐมเจดีย์ฯ/นครปฐม
๒๗. พระศรีธวัชเมธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดราชบุรณะ/กรุงเทพฯ
๒๘. พระกิตติสุวัฒนาภรณ์ เจ้าอาวาส วัดเทวสังฆาราม/กาญจนบุรี
๒๙. พระญาณวิกรม เจ้าอาวาส วัดท่าไม้/สมุทรสาคร
๓๐. พระมงคลวรสิทธิ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม วัดลาดปลาเค้า/นครปฐม
๓๑. พระปริยัติคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดธัญญวารี/สุพรรณบุรี
๓๒. พระมงคลกิตติวิบูลย์ รองเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดวิมลโภคาราม/สุพรรณบุรี
๓๓. พระสุธีธรรมนาท ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดบ้านถ้ำ�/กาญจนบุรี
๓๔. พระครูปราการลักษาภิบาล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดใหม่ปิ่นเกลียว/นครปฐม
๓๕. พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดเดชานุสรณ์/นครปฐม
๓๖. พระครูกาญจนสิรินธร ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเก่า/กาญจนบุรี
๓๗. พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดโสภณาราม/สมุทรสาคร
๓๘. พระมหาวิสูตร วิสุทฺธิปญฺโญ ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดเทวสังฆาราม/กาญจนบุรนี
๓๙. พระปริยัติวรานุกูล เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี/กรุงเทพฯ
๔๐. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ.๗ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพฯ
๔๑. พระศรีวิสุทธิโกศล เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๒ วัดราชคฤห์/กรุงเทพฯ
๔๒. พระครูสิริสารนิวิฐ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม/สมุทรสาคร
๔๓. พระครูสุธีเจติยานุกูล เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
๔๔. พระครูศรีกาญจนวิสุทธิ ์ เลขานุการเจา้ คณะจังหวัดกาญจนบุร ี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม/กาญจนบุรี
๔๕. พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ จอ. เมืองนครปฐม วัดพะนียงแตก/นครปฐม

67
๔๖. พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ จอ. นครชัยศรี วัดสำ�โรง/นครปฐม
๔๗. พระพิพัฒน์ศึกษากร จอ. สามพราน วัดบางช้างเหนือ/นครปฐม
๔๘. พระครูถาวรศีลวัตร ทป.จอ. บางเลน วัดลานคา/นครปฐม
๔๙. พระศรีวิสุทธิวงศ์ จอ. บางเลน วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
๕๐. พระครูอาทรภัทรกิจ ทป.จอ. กำ�แพงแสน วัดโพธิ์งาม/นครปฐม
๕๑. พระครูอมรบุญญารักษ์ จอ. กำ�แพงแสน วัดบ่อน้ำ�จืด/นครปฐม
๕๒. พระศรีธีรวงศ์ จอ. ดอนตูม วัดพระประโทณเจดีย์/นครปฐม
๕๓. พระครูบวรธรรมานุสิฐ จอ. พุทธมณฑล วัดมะเกลือ/นครปฐม
๕๔. พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ จอ. เมืองสุพรรณบุรี วัดปราสาททอง/สุพรรณบุรี
๕๕. พระครูศาสนกิจจาภิรม ทป.จอ. บางปลาม้า วัดดาว/สุพรรณบุรี
๕๖. พระครูโสภณคุณาธาร จอ. บางปลาม้า วัดสาลี/สุพรรณบุรี
๕๗. พระปริยัติวรคุณ จอ. สองพี่น้อง วัดสองพี่น้อง/สุพรรณบุรี
๕๘. พระครูกิตติสุวรรณวัฒน์ ทป.จอ. อู่ทอง วัดโภคาราม/สุพรรณบุรี
๕๙. พระรัตนเวที จอ. อู่ทอง วัดเขาดีสลัก/สุพรรณบุรี
๖๐. พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ จอ. ดอนเจดีย์/เลข.จจ.สุพรรณบุรี วัดดอนเจดีย์/สุพรรณบุรี
๖๑. พระครูศรีประจันตคณารักษ์ จอ. ศรีประจันต์ วัดดอนบุบผาราม/สุพรรณบุรี
๖๒. พระครูศาสนกิจจาภรณ์ จอ. สามชุก วัดลาดสิงห์/สุพรรณบุรี
๖๓. พระครูศรีสุตาคม จอ. เดิมบางนางบวช วัดกำ�มะเชียร/สุพรรณบุรี
๖๔. พระครูธรรมสารรักษา จอ. ด่านช้าง วัดบรรหารแจ่มใส/สุพรรณบุรี
๖๕. พระครูศาสนกิจจานุยุต จอ. หนองหญ้าไซ วัดหนองทราย/สุพรรณบุรี
๖๖. พระโสภณกาญจนาภรณ์ จอ. เมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลฯ/กาญจนบุรี
๖๗. พระครูกาญจนสุตาคม จอ. ท่าม่วง วัดวังขนายทายิการาม/กาญจนบุรี
๖๘. พระครูจริยาภิรัต จอ. ท่ามะกา วัดดงสัก/กาญจนบุรี
๖๙. พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ จอ. ไทรโยค วัดน้ำ�ตก/กาญจนบุรี
๗๐. พระครูวรกาญจนโชติ จอ. ทองผาภูมิ วัดปรังกาสี/กาญจนบุรี
๗๑. พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ จอ. บ่อพลอย วัดทุ่งมะสัง/กาญจนบุรี
๗๒. พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ.๙ จอ. พนมทวน วัดพังตรุ/กาญจนบุรี

68
๗๓. พระครูสิริกาญจโนภาส จอ. เลาขวัญ วัดเขาวัง/กาญจนบุรี
๗๔. พระวิสุทธิพงษ์เมธี จอ. ศรีสวัสดิ์ วัดไชยชุมพลฯ/กาญจนบุรี
๗๕. พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ.๙ จอ. สังขละบุรี วัดวังก์วิเวการาม/กาญจนบุรี
๗๖. พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ จอ. ด่านมะขามเตี้ย วัดท่าเสด็จ/กาญจนบุรี
๗๗. พระครูกาญจนธรรมธัช จอ. หนองปรือ วัดหนองไม้เอื้อย/กาญจนบุรี
๗๘. พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๙ จอ. ห้วยกระเจ้า วัดทิพย์สุคนธาราม/กาญจนบุรี
๗๙. พระครูสุทธิธรรมาภรณ์ จอ. เมืองสมุทรสาคร วัดสุทธิวาตาวราราม/สมุทรสาคร
๘๐. พระครูสีลาธิการี จอ. กระทุ่มแบน วัดหนองพะอง/สมุทรสาคร
๘๑. พระมงคลพัฒนาภรณ์ จอ. บ้านแพ้ว วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร/สมุทรสาคร
๘๒. พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ.๙ รจอ. เมืองนครปฐม วัดพระงาม/นครปฐม
๘๓. พระครูโกวิทสุตการ รจอ. นครชัยศรี วัดโคกเขมา/นครปฐม
๘๔. พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รจอ. บางเลน วัดสุขวัฒนาราม/นครปฐม
๘๕. พระครูโกศลธรรมรัตน์ รจอ. กำ�แพงแสน วัดวังน้ำ�เขียว/นครปฐม
๘๖. พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รจอ. เมืองสุพรรณบุรี วัดมะนาว/สุพรรณบุรี
๘๗. พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รจอ. เมืองสุพรรณบุรี วัดพระลอย/สุพรรณบุรี
๘๘. พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รจอ. บางปลาม้า วัดสวนหงส์/สุพรรณบุรี
๘๙. พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.๗ รจอ. สองพี่น้อง วัดพรสวรรค์/สุพรรณบุรี
๙๐. พระครูอนุกูลปัญญากร รจอ. สองพี่น้อง วัดไผ่โรงวัว/สุพรรณบุรี
๙๑. พระครูสุวรรณประชานุกูล รจอ. อู่ทอง วัดเขากำ�แพง/สุพรรณบุรี
๙๒. พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ รจอ. อู่ทอง วัดห้วยมงคล/สุพรรณบุรี
๙๓. พระครูสุวรรณปริยัตยาทร รจอ. ดอนเจดีย์ วัดธัญญวารี/สุพรรณบุรี
๙๔. พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ รจอ. ศรีประจันต์ วัดหนองเพียร/สุพรรณบุรี
๙๕. พระครูพิมลสุวรรณเขต รจอ. สามชุก วัดวิมลโภคาราม/สุพรรณบุรี
๙๖. พระครูสิริสิกขการ รจอ. เดิมบางนางบวช วัดเขาดิน/สุพรรณบุรี
๙๗. พระครูวิริยศาสนกิจ รจอ. เดิมบางนางบวช วัดเขาดิน/สุพรรณบุรี
๙๘. พระครูโกศลคชเขต รจอ. ด่านช้าง วัดด่านช้าง/สุพรรณบุรี
๙๙. พระครูคชเขตบุรารักษ์ รจอ. ด่านช้าง วัดหนองมะค่าโมง/สุพรรณบุรี

69
๑๐๐. พระเมธีปริยัติวิบูล รจอ. เมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลฯ/กาญจนบุรี
๑๐๑. พระมหาบุญรอด มหาวีโร ป.ธ.๕ รจอ. เมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลฯ/กาญจนบุรี
๑๐๒. พระครูวิบูลกาญจโนภาส รจอ. ท่ามะกา วัดพระแท่นดงรัง/กาญจนบุรี
๑๐๓. พระครูกาญจนวุฒิกร รจอ. ไทรโยค วัดลุ่มสุ่ม/กาญจนบุรี
๑๐๔. พระครูกาญจนสุตาภรณ์ รจอ. ไทรโยค วัดไชยชุมพลชนะสงราม/กาญจนบุรี
๑๐๕. พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ รจอ. ทองผาภูมิ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ/กาญจนบุรี
๑๐๖. พระครูศรีกาญจนารักษ์ รจอ. บ่อพลอย วัดเขาวงจินดาราม/กาญจนบุรี
๑๐๗. พระครูพิศาลจารุวรรณ รจอ. เลาขวัญ วัดทุ่งกระบ่ำ�/กาญจนบุรี
๑๐๘. พระครูวุฒิกาญจนวัตร รจอ. ศรีสวัสดิ์ วัดถ้ำ�องจุ/กาญจนบุรี
๑๐๙. พระครูปริยัติกาญจนโสภณ รจอ. หนองปรือ วัดสมเด็จเจริญ/กาญจนบุรี
๑๑๐. พระมหาสันติ โชติกโร ป.ธ.๙ รจอ. ห้วยกระเจา วัดราษฎร์ประชุมชนาราม/กาญจนบุรี
๑๑๑. พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ รจอ. เมืองสมุทรสาคร วัดหลังศาลประสิทธิ์/สมุทรสาคร
๑๑๒. พระครูสุกิตติวราภรณ์ ทป.จต. พระปฐมเจดีย์ วัดวังตะกู/นครปฐม
๑๑๓. พระครูพิพิธเจติยาภิบาล จต. พระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
๑๑๔. พระครูสุวรรณเมธาภรณ์ จต. พระประโทน วัดไร่เกาะต้นสำ�โรง/นครปฐม
๑๑๕. พระครูปฐมวราจารย์ จต. ดอนยายหอม วัดดอนยายหอม/นครปฐม
๑๑๖. พระครูวิมลประชานาถ ทป.จต. บางแขม วัดดอนเสาเกียด/นครปฐม
๑๑๗. พระครูสุจิตตานันท์ จต. บางแขม วัดวังเย็น/นครปฐม
๑๑๘. พระครูหริภูมิรักษ์ จต. สวนป่าน วัดหนองดินแดง/นครปฐม
๑๑๙. พระครูปฐมธรรมรักษ์ จต. โพรงมะเดื่อ วัดโพรงมะเดื่อ/นครปฐม
๑๒๐. พระครูปลัดสาธุวัฒน์ จต. ทัพหลวง วัดวังตะกู/นครปฐม
๑๒๑. พระครูปฐมสุตากร จต. บางยาง วัดหนองกระโดน/นครปฐม
๑๒๑. พระครูสถิตบุญเขต จต. บางกระเบา วัดกลางบางแก้ว/นครปฐม
๑๒๒. พระครูพิจิตรสรคุณ จต. ท่าพระยา วัดบางแก้ว/นครปฐม
๑๒๓. พระมหาเสวย ติสฺสวํโส จต. ศีรษะทอง วัดน้อยเจริญสุข/นครปฐม
๑๒๔. พระครูสิริชัยสถิต จต. สัมปทวน วัดสัมปตาก/นครปฐม
๑๒๕. พระครูสิริชัยรังสี จต. ห้วยพลู วัดพุทธธรรมรังษี/นครปฐม

70
๑๒๖. พระครูปฐมโชติวัฒน์ จต. วัดละมุด วัดละมุด/นครปฐม
๑๒๗. พระครูจันทเขมคุณ จต. ศรีมหาโพธิ์ วัดทุ่งน้อย/นครปฐม
๑๒๘. พระครูจารุวัฒนคุณ จต. ไร่ขิง วัดหอมเกล็ด/นครปฐม
๑๒๙. พระครูจินดากิจจานุรักษ์ จต. บางช้าง วัดจินดาราม/นครปฐม
๑๓๐. พระครูวรดิตถานุยุต จต. บ้านใหม่ วัดท่าพูด/นครปฐม
๑๓๑. พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ ป.ธ.๗ รก.จต.ยายชา วัดทรงคะนอง/นครปฐม
๑๓๒. พระครูไพศาลกิตติวรรณ จต. บางระกำ� วัดเวฬุวนาราม/นครปฐม
๑๓๓. พระครูโสภณกิจวิบูล จต. บางภาษี วัดบางภาษี/นครปฐม
๑๓๔. พระครูปุญญาภิสันท์ จต. บางไทรป่า วัดบางไผ่นารถ/นครปฐม
๑๓๕. พระครูเกษมถาวรคุณ จต. ไผ่หูช้าง วัดบางเลน/นครปฐม
๑๓๖. พระครูวิจิตรปทุมานันท์ จต. บัวปากท่า วัดบัวหวั่น/นครปฐม
๑๓๗. พระมหาปรีชา ภูริปญฺโญ ป.ธ.๗ จต. บางหลวง วัดบางหลวง/นครปฐม
๑๓๘. พระครูปิยธรรมพิมล จต. บางปลา วัดบางปลา/นครปฐม
๑๓๙. พระครูปฐมจินดากร จต. ทุ่งลูกนก วัดไร่แตงทอง/นครปฐม
๑๔๐. พระครูวิมลชัยสิทธิ์ ทป.จต. กระตีบ วัดไผ่รื่นรมย์/นครปฐม
๑๔๑. พระครูอดุลประชารักษ์ จต. กระตีบ วัดเจริญราษฎร์บำ�รุง/นครปฐม
๑๔๒. พระครูพินิตสุตาคม จต. ห้วยขวาง วัดลาดหญ้าไทร/นครปฐม
๑๔๓. พระครูปฐมเมธาภรณ์ จต. ทุ่งขวาง วัดปลักไม้ลาย/นครปฐม
๑๔๔. พระครูวิธานธรรมนาถ จต. กำ�แพงแสน วัดทุ่งกระพังโหม/นครปฐม
๑๔๕. พระครูสุมนสุนทรกิจ จต. ห้วยม่วง วัดทะเลบก/นครปฐม
๑๔๖. พระครูไพโรจน์ภัทรคุณ จต. ดอนข่อย วัดสระพัง/นครปฐม
๑๔๗. พระครูปฐมปัญญาภรณ์ จต. สามง่าม วัดทุ่งสีหลง/นครปฐม
๑๔๘. พระครูปฐมวรญาณ จต. บ้านหลวง วัดดอนพุทรา/นครปฐม
๑๔๙. พระครูวิชัยวรคุณ ทป.จต. ห้วยด้วน วัดทุ่งพิชัย/นครปฐม
๑๕๐. พระครูพิทักษ์ธรรมกิตต์ จต. ห้วยด้วน วัดหัวถนน/นครปฐม
๑๕๑. พระครูถาวรธรรมาภิมณฑ์ จต. ศาลายา วัดหทัยนเรศวร์/นครปฐม
๑๕๒. พระครูศรีรัตนวิภูษิต จต. โคกโคเฒ่า วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ/สุพรรณบุรี

71
๑๕๓. พระมหาจำ�เริญ สุวฑฺฒโน ป.ธ.๓ จต. ดอนกำ�ยาน วัดนิเวศน์ธรรมาราม/สุพรรณบุรี
๑๕๔. พระครูโพธิสุวรรณคุณ จต. ดอนโพธิ์ทอง วัดดอนโพธิ์ทอง/สุพรรณบุรี
๑๕๕. พระครูวิโรจน์สุวรรณคุณ จต. ตลิ่งชัน วัดสามทอง/สุพรรณบุรี
๑๕๖. พระครูวิสิฐปัญโญภาส จต. ทับตีเหล็ก วัดแก้ว/สุพรรณบุรี
๑๕๗. พระครูสุวรรณวีรานุวัตร จต. ท่าพี่เลี้ยง วัดโพธิ์คลาน/สุพรรณบุรี
๑๕๘. พระครูดิลกคณานุสิฐ จต. ท่าระหัด วัดท่าโขลง/สุพรรณบุรี
๑๕๙. พระครูปัญญาสุวรรณวัฒน์ จต. บ้านโพธิ์ วัดโพธิ์ท่าทราย/สุพรรณบุรี
๑๖๐. พระครูสุมนต์วิริยคุณ จต. พิหารแดง วัดสว่างอารมณ์/สุพรรณบุรี
๑๖๑. พระครูไพศาลธรรมวงศ์ จต. โพธิ์พระยา วัดแค/สุพรรณบุรี
๑๖๒. พระครูสุวรรณคุณวัฒน์ จต. รั้วใหญ่ เขต ๑ วัดกุฎีทอง/สุพรรณบุรี
๑๖๓. พระครูศรีสุธรรมนาถ จต. รั้วใหญ่ เขต ๒ วัดสารภี / สุพรรณบุรี
๑๖๔. พระครูสังวรสีลวิมล จต. สนามคลี วัดสังฆมงคล/สุพรรณบุรี
๑๖๕. พระครูสิริวิริยาภรณ์ จต. สนามชัย วัดปู่บัว/สุพรรณบุรี
๑๖๖. พระครูสิริกิตติคุณ จต. สระแก้ว วัดสังฆจายเถร/สุพรรณบุรี
๑๖๗. พระครูสุวรรณธรรมาภิมณฑ์ จต. สวนแตง วัดศรีสันต์มณฑาราม/สุพรรณบุรี
๑๖๘. พระครูวินัยธร บุญสข สิริจนฺโท จต. ดอนมะสัง วัดสองเขตสามัคคี/ สุพรรณบุรี
๑๖๙. พระครูสังฆรักษ์ สมจิตร ปญฺญาวุโธ จต. ศาลาขาว วัดโรงช้าง / สุพรรณบุรี
๑๗๐. พระครูอนุกูลสุวรรณกิจ จต. กฤษณา วัดราษฎร์บำ�รุง/สุพรรณบุรี
๑๗๑. พระปลัดสมทบ ปรกฺกโม จต. โคกคราม เขต ๑ วัดกลาง/สุพรรณบุรี
๑๗๒. พระครูใบฎีกา สามารถ ขนฺติวโร จต. โคกคราม เขต ๒ วัดน้อย/สุพรรณบุรี
๑๗๓. พระครูวิสุทธิ์สุวรรณวัฒน์ จต. จรเข้ใหญ่ วัดศาลาท่าทราย/สุพรรณบุรี
๑๗๔. พระครูปลัด วีรพัฒน์ โรจนธมฺโม จต. ตะค่า วัดชีปะขาว/สุพรรณบุรี
๑๗๕. พระมหาภูวนาท สุชาโต ป.ธ.๙ จต. บางปลาม้า เขต ๑ วัดลานคา/สุพรรณบุรี
๑๗๖. พระครูวิมลปริยัติกิจ จต. บางปลาม้า เขต ๒ วัดขุนไกร/สุพรรณบุรี
๑๗๗. พระครูสุวรรณธรรมานุสิฐ จต. บางใหญ่ วัดบางแม่หม้าย/สุพรรณบุรี
๑๗๘. พระครูวิมลวัฒนกิจ จต. บ้านแหลม วัดป่าพฤกษ์/สุพรรณบุรี
๑๗๙. พระครูอุดมอรรถโกศล จต. ไผ่กองดิน วัดองครักษ์/สุพรรณบุรี

72
๑๘๐. พระครูสุวรรณกิจจาทร ทป.จต. มะขามล้ม วัดตปะโยคาราม/สุพรรณบุรี
๑๘๑. พระใบฎีกา จำ�นง ปิยวณฺโณ จต. มะขามล้ม วัดตะลุ่ม/สุพรรณบุรี
๑๘๒. พระใบฎีกา นันทชัย ชุตินฺธโร จต. วังน้ำ�เย็น วัดดอนยอ/สุพรรณบุรี
๑๘๓. พระครูสุวัจน์ธรรมคุณ จต. วัดดาว วัดโพธิ์ตะควน/สุพรรณบุรี
๑๘๔. พระครูเวฬุวันปัญญาวัฒน์ จต. วัดโบสถ์ วัดไผ่เดี่ยว/สุพรรณบุรี
๑๘๕. พระครูสิริวุฒิรังษี จต. สาลี วัดช่องลม/สุพรรณบุรี
๑๘๖. พระสมุห์ กิติศักดิ์ ยโสธโร จต. ต้นตาล วัดใหม่นพรัตน์/สุพรรณบุรี
๑๘๗. พระครูพิพัฒน์สุวรรณสุนทร จต. สองพี่น้อง วัดร่มโพธิ์ทอง/สุพรรณบุรี
๑๘๘. พระครูสุตาภรณ์พิสุทธิ์ จต. บางตาเถร วัดไผ่โรงวัว/สุพรรณบุรี
๑๘๙. พระครูปิยสีลสังวร จต. บางตะเคียน วัดไชยนาราษฎร์/สุพรรณบุรี
๑๙๐. พระครูพิพัฒน์เจติยาภรณ์ จต. หัวโพธิ์ วัดท่าเจดีย์/สุพรรณบุรี
๑๙๑. พระครูดิลกวัฒนาภรณ์ จต. หนองบ่อ วัดบางซอ/สุพรรณบุรี
๑๙๒. พระครูจันทธรรมรังษี จต. บ่อสุพรรณ วัดหัวกลับ/สุพรรณบุรี
๑๙๓. พระครูสุวรรณสมโณภาส จต. บ้านกุ่ม วัดสว่างอารมณ์ราษฎร์/สุพรรณบุรี
๑๙๔. เจ้าอธิการอุดม ฑีฆายุโก จต. ทุ่งคอก วัดทุ่งคอก/สุพรรณบุรี
๑๙๕. พระครูพิจิตรสุวรรณาภรณ์ จต. ศรีสำ�ราญ วัดสระพังกร่าง/สุพรรณบุรี
๑๙๖. พระสมุห์ นิพนธ์ จรณธมฺโม จต. บางพลับ วัดดงตาล/สุพรรณบุรี
๑๙๗. พระครูสุวรรณศาสนกิจ จต. หนองโอ่ง เขต ๑ วัดโคกสำ�โรง/สุพรรณบุรี
๑๙๘. พระครูสิริสุวรรณาภรณ์ จต. หนองโอ่ง เขต ๒ วัดคอกวัว/สุพรรณบุรี
๑๙๙. พระครูรัตนคีรีพิทักษ์ จต. ดอนคา เขต ๑ วัดคีรีรัตนาราม/สุพรรณบุรี
๒๐๐. พระสมุห์ ขันทอง เมธิโก จต. ดอนคา เขต ๒ วัดหนองกระโซ่/สุพรรณบุรี
๒๐๑. พระมหารุ่งอโนทัย กลฺยาโณ ป.ธ.๘ จต. จรเข้สามพัน วัดโพธาราม/สุพรรณบุรี
๒๐๒. พระครูอนุกูลปัญญาวุธ จต. กระจันต์-เจดีย์ วัดโพธาราม/สุพรรณบุรี
๒๐๓. พระครูวิสิฐกิจจาทร จต. อู่ทอง วัดดงเย็นวิปัสสนา/สุพรรณบุรี
๒๐๔. พระครูโอภาสจารุธรรม จต. สระยายโสม วัดคลองตัน/สุพรรณบุรี
๒๐๕. พระครูสุวรรณปัญจมิตร จต. สระพังลาน-ดอนมะเกลือ วัดปัญจมิตรฯ/สุพรรณบุรี
๒๐๖. พระครูสันติวรธรรม จต. ยุ้งทลาย วัดดอนหอคอย/สุพรรณบุรี

73
๒๐๗. พระครูกมลวิสุทธิวัฒน์ จต. บ้านดอน วัดยางไทยเจริญผล/สุพรรณบุรี
๒๐๘. พระครูอาทรธรรมประทีป จต. บ้านโข้ง วัดจำ�ปา/สุพรรณบุรี
๒๐๙. พระครูสุวรรณธรรมาภิรักษ์ จต. พลับพลาไชย เขต ๑ วัดชัยเภรีย์/สุพรรณบุรี
๒๑๐. พระครูโสภณชยานุศาสก์ จต. พลับพลาไชย เขต ๒ วัดโสภาวนาราม/สุพรรณบุรี
๒๑๑. พระครูปลัด อนันต์ อานนฺโท จต. ไร่รถ วัดชีธาราม/สุพรรณบุรี
๒๑๒. พระครูสุวรรณสันติวงษ์ จต. สระกระโจม เขต ๑ วัดสระกระโจม/สุพรรณบุรี
๒๑๓. พระครูวิรุฬห์วรธรรม จต. สระกระโจม เขต ๒ วัดหนองสลักได/สุพรรณบุรี
๒๑๔. พระครูสุวรรณสันติวงศ์ จต. หนองสาหร่าย เขต ๑ วัดหนองสาหร่าย/สุพรรณบุรี
๒๑๕. พระครูสุวรรณธรรมรัตน์ จต. หนองสาหร่าย เขต ๒. วัดสระด่าน/สุพรรณบุรี
๒๑๖. พระมหาอุทิศ อุเทโส ป.ธ.๓ จต. ดอนเจดีย์ วัดดอนเจดีย์/สุพรรณบุรี
๒๑๗. พระครูวิบูลปัญญารัตน์ จต. ทะเลบก วัดทะเลบก/สุพรรณบุรี
๒๑๘. พระครูภัทรกิตติสาร จต. วังยาง วัดสัปรสเทศ/สุพรรณบุรี
๒๑๙. พระครูพิสิฐสรภาณ จต. บางงาม วัดเกาะ/สุพรรณบุรี
๒๒๐. พระครูประจันตศีลาภรณ์ จต. บ้านกร่าง วัดโพธิ์ศรีเจริญ/สุพรรณบุรี
๒๒๑. พระครูวินัยธรเสวก ปนฺนภาโร จต. ปลายนา วัดวสันตาราม/สุพรรณบุรี
๒๒๒. พระครูสุวรรณธรรมวัฒน์ จต. มดแดง วัดวังพลับใต้/สุพรรณบุรี
๒๒๓. พระครูกิตติคุณวุฒิ จต. ศรีประจันต์ วัดยาง/สุพรรณบุรี
๒๒๔. พระครูปัญญาศาสนธำ�รง จต. ดอนปรู วัดสามจุ่น/สุพรรณบุรี
๒๒๕. พระครูพิสุทธิรัตนาภรณ์ จต. วังน้ำ�ซับ วัดเถรพลาย/สุพรรณบุรี
๒๒๖. พระครูสุวรรณวาปีพิทักษ์ จต. หนองผักนาก วัดหนองโรงรัตนาราม/สุพรรณบุรี
๒๒๗. พระครูวิสาลวรานุวัตร จต. บ้านสระ วัดหนองสังข์ทอง/สุพรรณบุรี
๒๒๘. พระครูสิทธิปัญญากร จต. หนองสะเดา วัดดอนไร่/สุพรรณบุรี
๒๒๙. พระครูสาทรสุวรรณคุณ จต. ย่านยาว วัดบางขวาก/สุพรรณบุรี
๒๓๐. พระครูสุวรรณวิจิตร จต. สามชุก วัดสามชุก/สุพรรณบุรี
๒๓๑. พระครูวิกรมปริยัตยากร จต. กระเสียว วัดหนองบัวทอง/สุพรรณบุรี
๒๓๒. พระครูวิมลสุวรรณาภรณ์ จต. วังลึก วัดนางพิมพ์/สุพรรณบุรี
๒๓๓. พระมหาไพสิทธิ์ จิรวฑฺฒโน จต. เขาพระ วัดท่าช้าง/สุพรรณบุรี

74
๒๓๔. พระครูสุวรรณกิตติชัย จต. เขาดิน วัดกาบบัว/สุพรรณบุรี
๒๓๕. พระครูวิโรจน์สมณคุณ จต. ทุ่งคลี วัดวุ้งสุทธาวาส/สุพรรณบุรี
๒๓๖. พระปลัด ไพรัช ปญฺญาวุโธ จต. นางบวช วัดนางบวช/สุพรรณบุรี
๒๓๗. พระครูสุวรรณปุญญารักษ์ จต. เดิมบาง วัดเดิมบาง/สุพรรณบุรี
๒๓๘. พระครูสุวรรณวรเขต จต. หัวเขา วัดน้ำ�พุ/สุพรรณบุรี
๒๓๙. พระครูกัลยาณธรรมโชติ จต. หัวนา วัดหัวนา/สุพรรณบุรี
๒๔๐. เจ้าอธิการอำ�นาจ อํสุธมฺโม จต. ยางนอน วัดสามเอก/สุพรรณบุรี
๒๔๑. พระครูโกมุทสุวรรณาภรณ์ จต. บ่อกรุ วัดบ่อกรุ/สุพรรณบุรี
๒๔๒. พระครูสุวรรณโพธิธัช จต. ป่าสะแก วัดโพธิ์ทอง/สุพรรณบุรี
๒๔๓. พระครูเกษมคชรักษ์ จต. ห้วยขมิ้น เขต ๑ วัดบ้านทุ่ง/สุพรรณบุรี
๒๔๔. พระครูสมุห์ บุญเลิศ สุทฺธาโส จต. ห้วยขมิ้น เขต ๒ วัดกกเต็น/สุพรรณบุรี
๒๔๕. พระปลัด ปิยะ มหาลาโภ จต. ด่านช้าง เขต ๑ วัดบรรหารแจ่มใส/สุพรรณบุรี
๒๔๖. พระครูพิทักษ์คชเขต จต. ด่านช้าง เขต ๒ วัดหนองปลากระดี่/สุพรรณบุรี
๒๔๗. พระครูวิสิฐสุวรรณคุณ จต. ด่านช้าง เขต ๓ วัดพุน้ำ�ร้อน/สุพรรณบุรี
๒๔๘. พระครูสุวรรณจันทนิวิฐ จต. องค์พระ วัดองค์พระ/สุพรรณบุรี
๒๔๙. พระครูเวฬุกาญจนวงค์ จต. หนองมะค่าโมง เขต ๑ วัดเวฬุวันคีรีวงค์/สุพรรณบุรี
๒๕๐. พระครูพิมลสรกิจ จต. หนองมะค่าโมง เขต ๒ วัดบรรหารแจ่มใส/สุพรรณบุรี
๒๕๑. พระครูวิบูลนาคประทีป จต. วังคัน วัดทับผึ้ง/สุพรรณบุรี
๒๕๒. พระครูสุตาภิวัฒน์ จต. นิคมกระเสียว วัดหนองยาว/สุพรรณบุรี
๒๕๓. พระครูโสภิตสุวรรณาภรณ์ จต. วังยาว วัดดงเสลา/สุพรรณบุรี
๒๕๔. เจ้าอธิการสมใจ ปภาโต จต. แจงงาม วัดสามัคคีธรรม/สุพรรณบุรี
๒๕๕. พระครูเกษมสุวรรณคุณ จต. ทัพหลวง วัดหนองกระถิน/สุพรรณบุรี
๒๕๖. พระครูปลัด มธานนท์ จิรวฑฺฒโน จต. หนองขาม วัดหนองขาม/สุพรรณบุรี
๒๕๗. พระครูโสภณชนาภิวัฒน์ จต. หนองโพธิ์ วัดหนองจิกยาว/สุพรรณบุรี
๒๕๘. พระใบฎีกา อดิเรก อนุตฺตโร จต. หนองราชวัตร วัดหนองทราย/สุพรรณบุรี
๒๕๙. พระครูกิตติวีรานุวัฒน์ จต. หนองหญ้าไซ วัดหนองหลวง/สุพรรณบุรี
๒๖๐. พระครูวิวิธกาญจนคุณ จต. ปากแพรก วัดถ้ำ�สัตตบรรณคูหา/กาญจนบุรี

75
๒๖๑. พระครูปริยัติวชิรกาญจน์ จต. แก่งเสี้ยน วัดถ้ำ�ขุนไกร/กาญจนบุรี
๒๖๒. พระครูกาญจนวัฒน์ จต. หนองบัว วัดถ้ำ�พุทธาวาส/กาญจนบุรี
๒๖๓. พระครูสุภัทรกาญจนกิจ จต. ลาดหญ้า วัดเย็นสนิทธรรมาราม/กาญจนบุรี
๒๖๔. พระครูสันติชัยกาญจน์ จต. วังด้ง วัดสันติราษฎร์บำ�รุงวราราม/กาญจนบุรี
๒๖๕. พระครูปัญญากาญจนวิทย์ จต. ช่องสะเดา วัดหมอเฒ่า/กาญจนบุรี
๒๖๖. พระครูสิริกาญจโนบล จต. หนองหญ้า วัดเขาเทพนิมิต/กาญจนบุรี
๒๖๗. พระครูอุปถัมภ์ธรรมวัฒน์ จต. วังเย็น วัดถ้ำ�เจริญธรรม/กาญจนบุรี
๒๖๘. พระมหาชาตรี ชุติปญฺโญ ป.ธ.๔ จต. เกาะสำ�โรง วัดถ้ำ�มังกรทอง/กาญจนบุรี
๒๖๙. พระครูปริยัติกาญจนโชติ จต. บ้านเก่า เขต ๑ วัดวังเย็น/กาญจนบุรี
๒๗๐. พระครูบวรกาญจนธรรม จต. บ้านเก่า เขต ๒ วัดตะเคียนงามฯ/กาญจนบุรี
๒๗๑. พระครูวัชรกาญจนาภรณ์ จต. วังขนาย วัดศรีสุวรรณาวาส/กาญจนบุรี
๒๗๒. พระสมุห์ ทองพูล สิริปญฺโญ จต. บ้านใหม่ วัดต้นลำ�ไย/กาญจนบุรี
๒๗๓. พระครูวิสุทธิกาญจนคุณ จต. เขาน้อย วัดมโนธรรมาราม/กาญจนบุรี
๒๗๔. พระครูกาญจนสุตคุณ จต. ท่าล้อ วัดศรีโลหะราษฎร์บำ�รุง/กาญจนบุรี
๒๗๕. พระครูโสภณกาญจนกิจ จต. ม่วงชุม วัดถ้ำ�เสือ/กาญจนบุรี
๒๗๖. พระครูสุกิจกาญจนสาร จต. รางสาลี่ วัดเขาธรรมอุทยาน/กาญจนบุรี
๒๗๗. พระมหาสุวัฒน์ สุวฑฺฒโน ป.ธ.๓ จต. วังศาลา วัดวังศาลา/กาญจนบุรี
๒๗๘. พระครูสุจิตกาญจนคุณ จต. หนองตากยา เขต ๑ วัดหนองตากยาอภัยสัตว์/กาญจนบุรี
๒๗๙. พระครูสุนทรกาญจนาคม จต. หนองตากยา เขต ๒ วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม/กาญจนบุรี
๒๘๐. พระครูสุขวรกาญจน์ จต. หนองพังตรุ วัดหนองพังตรุ/กาญจนบุรี
๒๘๑. พระครูปัญญากาญจนาภรณ์ จต. ดอนขมิ้น วัดห้วยตะเคียน/กาญจนบุรี
๒๘๒. พระครูวิสาลกาญจนกิจ จต. ตะคร้ำ�เอน วัดตะคร้ำ�เอน/กาญจนบุรี
๒๘๓. พระครูกาญจนธรรมวิสุทธิ์ จต. ท่ามะกา วัดท่ามะกา/กาญจนบุรี
๒๘๔. พระครูปัญญาวชิรกาญจน์ จต. พงตึก วัดใหม่รางวาลย์/กาญจนบุรี
๒๘๕. พระครูพุทธมัญจาภิบาล จต. พระแท่น วัดพระแท่นดงรัง/กาญจนบุรี
๒๘๖. พระครูถาวรกาญจนกิตติ์ จต. สำ�นักคร้อ วัดท่าเรือ/กาญจนบุรี
๒๘๗. พระครูกิตติกาญจนวงศ์ จต. เขาสามสิบหาบ วัดเขาสามสิบหาบ/กาญจนบุรี

76
๒๘๘. พระครูกาญจนสวัสดิคุณ จต. หวายเหนียว วัดแสนตอ/กาญจนบุรี
๒๘๙. พระครูสุทธิสารโสภิต จต. ท่าเสา เขต ๑ วัดพุตะเคียน/กาญจนบุรี
๒๙๐. พระครูกาญจนกิจธำ�รง จต. ท่าเสา เขต ๒ วัดพุพง/กาญจนบุรี
๒๙๑. พระครูวิมลกาญจนรักษ์ จต. ไทรโยค เขต ๑ วัดวังพระวิเวกวนาราม/กาญจนบุรี
๒๙๒. พระครูปัญญากาญจนาภรณ์ จต. ไทรโยค เขต ๒ วัดเขาสามชั้น/กาญจนบุรี
๒๙๓. พระครูปัญญากาญจนาภรณ์ ทป.จต. ลุ่มสุ่ม เขต ๑ วัดเขาสามชั้น/กาญจนบุรี
๒๙๔. พระครูอนุรักษ์กาญจนาทร จต. ลุ่มสุ่ม เขต ๒ วัดพุน้อย/กาญจนบุรี
๒๙๕. พระมหาสุรัตน์ ถาวโร จต. วังกระแจะ เขต ๑ วัดแก่งสามัคคี/กาญจนบุรี
๒๙๖. พระครูกาญจนสิริโชติ จต. วังกระแจะ เขต ๒ วัดแก่งสารวัตร/กาญจนบุรี
๒๙๗. พระครูกาญจนสวัสดิ์โชติ จต. บ้องตี้ วัดเขาน้อยชินราช/กาญจนบุรี
๒๙๘. พระมหาชูศักดิ์ กิจฺจกาโร จต. ศรีมงคล วัดไตรรัตนาราม/กาญจนบุรี
๒๘๙. พระครูกาญจนบุญญารักษ์ จต. สิงห์ วัดพุปลู/กาญจนบุรี
๓๐๐. พระครูเกษมกาญจนกิจ จต. ลิ่นถิ่น เขต ๑ วัดลิ่นถิ่นพัฒนาราม/กาญจนบุรี
๓๐๑. พระครูสุกิจกาญจนโสภิต จต. ลิ่นถิ่น เขต ๒ วัดผาสุกิจสุวรรณเขต/กาญจนบุรี
๓๐๒. พระครูสีลกาญจนคุณ จต. หินดาด วัดหินดาด/กาญจนบุรี
๓๐๓. พระครูกาญจนสิทธิคุณ จต. สหกรณ์นิคม วัดหินดาดผาสุการาม/กาญจนบุรี
๓๐๔. พระครูพิสุทธิ์กาญจนาภรณ์ จต. ท่าขนุน เขต ๑ วัดปรังกาสี/กาญจนบุรี
๓๐๕. พระครูวิลาศกาญจนธรรม จต. ท่าขนุน เขต ๒ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ/กาญจนบุรี
๓๐๖. พระครูสุจิณบุญกาญจน์ จต. ห้วยเขย่ง วัดท่ามะเดื่อ/กาญจนบุรี
๓๐๗. พระครูกิตติกาญจนธรรม จต. ปิล๊อก วัดห้วยเจริญศรัทธาราม/กาญจนบุรี
๓๐๘. พระครูสุวิมลกาญจนวัฒน์ จต. ชะแล เขต ๑ วัดพุทโธภาวนา/กาญจนบุรี
๓๐๙. พระครูสถิตกาญจนวงศ์ จต. ชะแล เขต ๒ วัดเหมืองสองท่อธรรมสถิตย์/กาญจนบุรี
๓๑๐. พระครูประภัสสรกาญจนกิจ จต. หนองกุ่ม เขต ๑ วัดวิเศษสุขาราม/กาญจนบุรี
๓๑๑. พระครูกาญจนสิริพัฒน์ จต. หนองกุ่ม เขต ๒ วัดเสาหงส์/กาญจนบุรี
๓๑๒. พระครูวิมลกาญจนรัตน์ จต. บ่อพลอย เขต ๑ วัดเขาพระศรีรัตนาราม/กาญจนบุรี
๓๑๓. พระอธิการวัชร นิมโล จต. บ่อพลอย เขต ๒ วัดเขาแดง/กาญจนบุรี
๓๑๔. พระครูโสภณกาญจนคุณ จต. หลุมรัง วัดหลุมรัง/กาญจนบุรี

77
๓๑๕. พระครูไพศาลนวการ จต. หนองรี เขต ๑ วัดโป่งรี/กาญจนบุรี
๓๑๖. เจ้าอธิการอำ�นาจ เขมงฺกโล จต. หนองรี เขต ๒ วัดหนองรี/กาญจนบุรี
๓๑๗. พระครูโสภณกาญจนพัฒน์ จต. หนองโรง วัดห้วยสะพาน/กาญจนบุรี
๓๑๘. พระครูพิศาลวิริยกิจ ทป.จต. พนมทวน เขต ๑ วัดบ้านทวน/กาญจนบุรี
๓๑๙. พระครูกาญจนสมาจาร จต. พนมทวน เขต ๑ วัดดอนงิ้ว/กาญจนบุรี
๓๒๐. พระครูดิลกสุตคุณ จต. พนมทวน เขต ๒ วัดตรีมิตรประดิษฐาราม/กาญจนบุรี
๓๒๑. พระครูสุตกาญจนวงศ์ จต. ทุ่งสมอ-ดอนเจดีย์ วัดปลักเขว้า/กาญจนบุรี
๓๒๒. พระมหาจรัญ อมโร จต. รางหวาย วัดศรีพนมเขต/กาญจนบุรี
๓๒๓. พระครูวิศิษฏ์ปิยธรรม จต. พังตรุ วัดโป่งกูบ/กาญจนบุรี
๓๒๔. พระครูผาสุกกาญจนธรรม จต. เลาขวัญ เขต ๑ วัดเลาขวัญ/กาญจนบุรี
๓๒๕. พระครูกาญจนบุญญาคม จต. เลาขวัญ เขต ๒ วัดพุบอน/กาญจนบุรี
๓๒๖. พระครูโสภณกาญจนเขต จต. ทุ่งกระบ่ำ� เขต ๑ วัดนางาม/กาญจนบุรี
๓๒๗. พระครูขันติกาญจนคุณ จต. ทุ่งกระบ่ำ� เขต ๒ วัดน้ำ�ลาด/กาญจนบุรี
๓๒๘. พระครูวิจิตรกาญจนาภรณ์ จต. หนองนกแก้ว วัดช่องกลิ้ง/กาญจนบุรี
๓๒๙. พระครูวิมลกาญจนาคม จต. หนองประดู่ เขต ๑ วัดหนองประดู่/กาญจนบุรี
๓๓๐. พระครูวิจิตรกาญจนธรรม จต. หนองประดู่ เขต ๒ วัดหนองไก่เหลือง/กาญจนบุรี
๓๓๑. พระครูวิสุทธิ์กาญจนวัฒน์ จต. หนองปลิง เขต ๑ วัดหนองไก่ต่อ/กาญจนบุรี
๓๓๒. พระครูพัฒนกาญจโนภาส จต. หนองปลิง เขต ๒ วัดพรหมณี/กาญจนบุรี
๓๓๓. พระครูพิมลกาญจนธรรม จต. หนองปลิง เขต ๓ วัดหนองฝ้าย/กาญจนบุรี
๓๓๔. พระครูบวรกาญจนวงศ์ จต. หนองโสน วัดน้ำ�คลุ้ง/กาญจนบุรี
๓๓๕. พระครูสุชาติกาญจนวงศ์ จต. หนองฝ้าย วัดเขาวงพระจันทร์/กาญจนบุรี
๓๓๖. พระครูสวัสดิ์กาญจนารักษ์ จต. หนองเป็ด วัดท่าสนุ่น/กาญจนบุรี
๓๓๗. พระครูนครินทรารักษ์ จต. ท่ากระดาน วัดพ่อขุนเณร/กาญจนบุรี
๓๓๘. พระครูอินทกาญจนโชติ จต. ด่านแม่แฉลบ วัดศรีสวัสดิ์/กาญจนบุรี
๓๓๙. พระครูสุนทรกาญธรรม จต. นาสวน เขต ๑ วัดองสิต/กาญจนบุรี
๓๔๐. พระครูโสภณกาญจนพิสุทธิ์ จต. นาสวน เขต ๒ วัดวังผาแดง/กาญจนบุรี
๓๔๑. พระครูสุชัยกาญจนกิจ จต. เขาโจด วัดเขาเหล็ก/กาญจนบุรี

78
๓๔๒. พระครูวิสุทธิกาญจนกิจ จต. แม่กระบุง วัดถ้ำ�เนรมิต/กาญจนบุรี
๓๔๓. พระครูพิทักษ์กาญจนธรรม จต. หนองลู วัดห้วยกบ/กาญจนบุรี
๓๔๔. พระครูอาทรกาญจนธรรม จต. ปรังเผล วัดวังขยาย/กาญจนบุรี
๓๔๕. พระครูวิโรจน์กาญจนสิทธิ์ จต. ไล่โว่ วัดบ้านใหม่พัฒนา/กาญจนบุรี
๓๔๖. พระครูกาญจนปัญญาธร จต. จรเข้เผือก เขต ๑ วัดถ้ำ�อ่างหิน/กาญจนบุรี
๓๔๗. พระครูปิยกาญจนธรรม จต. จรเข้เผือก เขต ๒ วัดหนองหญ้าปล้อง/กาญจนบุรี
๓๔๘. พระครูกาญจนวชิราทร จต. ด่านมะขามเตี้ย วัดหนองโสนเทียมจันทร์/กาญจนบุรี
๓๔๙. พระครูวชิรกาญจนสาร จต. หนองไผ่ วัดไทรทองพัฒนา/กาญจนบุรี
๓๕๐. พระครูโสภิตกาญจนธรรม จต. กลอนโด วัดแหลมทอง/กาญจนบุรี
๓๕๑. พระครูประโชติกาญจนธรรม จต. หนองปรือ เขต ๑ วัดหนองหูช้าง/กาญจนบุรี
๓๕๒. พระครูอมรชยาภิวัฒน์ จต. หนองปรือ เขต ๒ วัดหนองปรือ/กาญจนบุรี
๓๕๓. พระครูอดุลกาญจนธรรม จต. หนองปรือ เขต ๓ วัดทุ่งโป่งบูชาธรรม/กาญจนบุรี
๓๕๔. พระครูสันติวรกาญจน์ จต. หนองปรือ เขต ๔ วัดสันติวนาราม/กาญจนบุรี
๓๕๕. พระครูสุชาติคีรีเขต จต. สมเด็จเจริญ วัดเขาแหลม/กาญจนบุรี
๓๕๖. พระครูกาญจนธรรมวุฒิ จต. หนองปลาไหล วัดหนองปลาไหล/กาญจนบุรี
๓๕๗. พระครูสุชัยกาญจนสิทธิ์ จต. ดอนแสลบ เขต ๑ วัดหนองนางเลิ้ง/กาญจนบุรี
๓๕๘. พระครูสุกิจกาญจนากร จต. ดอนแสลบ เขต ๒ วัดห้วยยาง/กาญจนบุรี
๓๕๙. พระครูวิมลกาญจนาภรณ์ จต. สระลงเรือ เขต ๑ วัดบ้านพนมนาง/กาญจนบุรี
๓๖๐. พระครูกาญจนกิจวิวัฒน์ จต. สระลงเรือ เขต ๒ วัดพรหมนิมิต/กาญจนบุรี
๓๖๑. พระปลัด ธวัช สุทฺธจิตฺโต จต. ห้วยกระเจา วัดต้นมะม่วง/กาญจนบุรี
๓๖๒. พระครูวรกาญจโนบล จต. วังไผ่ วัดวังไผ่/กาญจนบุรี
๓๖๓. พระครูสาครรัตนาภรณ์ จต. มหาชัย วัดโคกขาม/สมุทรสาคร
๓๖๔. พระครูอุทัยธรรมสาคร จต. ท่าฉลอม วัดบางหญ้าแพรก/สมุทรสาคร
๓๖๕. พระครูวิสุทธิ์สิทธิคุณ จต. โกรกกราก วัดโกรกกราก/สมุทรสาคร
๓๖๖. พระครูสาครสีลโสภณ จต. นาดี วัดป้อมวิเชียรโชติการาม/สมุทรสาคร
๓๖๗. พระครูโสภณสาครกิจ จต. บ้านเกาะ วัดพันธุวงษ์/สมุทรสาคร
๓๖๘. พระครูสาครศุภกิจ จต. คอกกระบือ วัดราษฎร์บำ�รุง/สมุทรสาคร

79
๓๖๙. พระครูสาครสิริคุณ จต. บางกระเจ้า วัดศรีวนาราม/สมุทรสาคร
๓๗๐. พระครูศรีปริยัติสาคร จต. บ้านบ่อ วัดบางตะคอย/สมุทรสาคร
๓๗๑. พระครูกิตติสาครธรรม จต. บางโทรัด วัดบางพลี/สมุทรสาคร
๓๗๒. พระครูสาครพิพัฒนโสภณ จต. นาโคก วัดนาโคก/สมุทรสาคร
๓๗๓. พระครูสุนทรสาครกิจ จต. ท่าไม้ วัดศรีสำ�ราษฎร์บำ�รุง/สมุทรสาคร
๓๗๔. พระครูสาครสุวรรณรัตน์ จต. ท่าเสา วัดสุวรรณรัตนาราม/สมุทรสาคร
๓๗๕. พระครูสาครคุณาภรณ์ จต. บางยาง วัดหนองนกไข่/สมุทรสาคร
๓๗๖. พระครูสาครสุตาภิวัฒน์ จต. หนองบัว วัดหนองสองห้อง/สมุทรสาคร
๓๗๗. พระครูประโชติสาครธรรม จต. หลักสอง วัดหลักสองราษฎร์บำ�รุง/สมุทรสาคร
๓๗๘. พระครูจันทรสุวรรณสาคร จต. ยกกระบัตร วัดโรงเข้/สมุทรสาคร
๓๗๙. พระครูสาครธรรมสถิต จต. สวนส้ม วัดสุนทรสถิต/สมุทรสาคร
๓๘๐. เจ้าคณะพระสังฆาธิการจังหวัดนครปฐม จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดสมุทรสาคร
๓๘๑. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
๓๘๒. สำ�นักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร
๓๘๓. คณะอุบาสก อุบาสิกา ประชาชน จังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร

คณะกรรมการแผนกปกครอง
๑. พระธรรมเสนานี ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ที่ปรึกษา
๒. พระธรรมพุทธิมงคล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ปรึกษา
๓. พระราชรัตนวิมล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ที่ปรึกษา
๔. พระราชวิสุทธาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอำ�เภอสามพราน ที่ปรึกษา
๕. พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม หัวหน้า
๖. พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร รองหัวหน้า
๗. พระราชวิสุทธิเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี รองหัวหน้า
๘. พระราชปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี รองหัวหน้า
๙. พระรัตนสุธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๑๐. พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอำ�เภอดอนตูม ผู้ช่วย

80
๑๑. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ.๗ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ หัวหน้าปกครองนักเรียนนอกภาค
๑๒. พระครูสุธีเจติยานุกูล เลข.จจ.นครปฐม หัวหน้าปกครองจังหวัดนครปฐม
๑๓. พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เลข.จจ.สุพรรณบุรี หัวหน้าปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี
๑๔. พระครูศรีกาญจนวิสุทธิ์ เลข.จจ.กาญจนบุรี หัวหน้าปกครองจังหวัดกาญจนบุรี
๑๕. พระครูสิริสารนิวิฐ เลข.จจ.สมุทรสาคร หัวหน้าปกครองจังหวัดสมุทรสาคร
๑๖. พระครูปลัด ประวิทย์ วรธมฺโม เลข.รจจ.นครปฐม ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดนครปฐม
๑๗. พระครูสุวรรณปริยัติยาทร เลข.รจจ.สุพรรณบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี
๑๘. พระปลัด วิทยา สุนฺทรธมฺโม เลข.รจจ.สุพรรณบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดสุพรรณบุรี
๑๙. พระครูศรีธรรมวราภรณ์ เลข.รจจ.กาญจนบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดกาญจนบุรี
๒๐. พระสมุห์ วิโรจน์ วิโรจโน เลข.รจจ.กาญจนบุรี ผู้ช่วยหัวหน้าปกครองจังหวัดกาญจนบุรี

ฝ่ายปกครองประจำ�ตลอดโครงการ
๑. พระครูปฐมธีรวัฒน์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง นครปฐม

ฝ่ายวิชาการ
๑. พระมหาโพธิวงศาจารย์ ป.ธ.๙ ราชบัณฑิต/วัดราชโอรสาราม หัวหน้า
๒. พระพรหมดิลก ป.ธ.๙ เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร วัดสามพระยา
๓. พระพรหมกวี ป.ธ.๙ เจ้าคณะภาค ๑๓ วัดกัลยาณมิตร
๔. พระพรหมเวที ป.ธ.๙ เจ้าคณะภาค ๑๕ วัดพระปฐมเจดีย์
๕. พระพรหมเสนาบดี ป.ธ.๗ เจ้าคณะภาค ๗ วัดปทุมคงคา
๖. พระธรรมโพธิมงคล ป.ธ.๙ เจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี
๗. พระธรรมพุทธิมงคล ป.ธ.๘ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์
๘. พระเทพโสภณ ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะภาค ๘ วัดราชบุรณะ
๙. พระเทพคุณาภรณ์ ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุญชร
๑๐. พระเทพสาครมุนี ป.ธ.๙ เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม
๑๑. พระเทพมหาเจติยาจารย์ ป.ธ.๙ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดพระปฐมเจดีย์
๑๒. พระเทพวิสุทธิโสภณ ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะภาค ๒ วัดราชคฤห์

81
๑๓. พระราชวชิรโมลี ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะภาค ๑๐ วัดสวนพลู
๑๔. พระราชวิสุทธิเมธี ป.ธ.๙ เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
๑๕. พระราชปริยัติเมธี ป.ธ.๙ เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดสุวรรณภูมิ
๑๖. พระราชปริยัติสุธี ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะภาค ๓ วัดธรรมามูล
๑๗. พระราชปริยัติมุนี ป.ธ.๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดพระเชตุพนฯ
๑๘. พระศรีปริยัติโกศล ป.ธ.๙ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์
๑๙. พระเมธีธรรมานันท์ ป.ธ.๙ เจ้าอาวาส วัดดอนหวาย
๒๐. พระศรีสุธรรมเวที ป.ธ.๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดพระปฐมเจดีย์ฯ
๒๑. พระศรีธวัชเมธี ป.ธ.๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง วัดราชบุรณะ
๒๒. พระสุธีธรรมนาท ป.ธ.๗ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดบ้านถ้ำ�

ฝ่ายเลขานุการ
๑. พระเทพสุวรรณเมธี ป.ธ.๘ รองเจ้าคณะกรุงเทพมหานคร ที่ปรึกษา
๒. พระเทพศาสนาภิบาล ป.ธ.๓ รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม หัวหน้า
๓. พระราชวรเมธี ป.ธ.๕ เลขานุการเจ้าคณะภาค ๒ รองหัวหน้า
๔. พระศรีธวัชเมธี ป.ธ.๙ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดราชบูรณะ รองหัวหน้า
๕. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ.๗ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ รองหัวหน้า
๖. พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ ป.ธ.๔ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี ผู้ช่วย
๗. พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ ป.ธ.๖ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร ี ผู้ช่วย
๘. พระครูปลัดสาธุวัฒน์ เจ้าคณะตำ�บลทัพหลวง ผู้ช่วย
๙. พระครูพิศิษฏ์จริยานุยุต เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๑ ผู้ช่วย
๑๐. พระครูโสภณวีรานุวัตร ป.ธ.๔ ผู้ช่วยเจ้าอาววาสวัดป่าเลไลยก์ วรวิหาร ผู้ช่วย
๑๑. พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ ป.ธ.๓ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้ช่วย
๑๒. พระครูสิริสารนิวิฐ ป.ธ.๕ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร ผู้ช่วย
๑๓. พระครูสุธีเจติยานุกูล ป.ธ.๖ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม ผู้ช่วย
๑๔. พระครูศรีกาญจนวิสุทธิ์ ป.ธ.๖ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี ผู้ช่วย

82
ประจำ�กองเลขานุการ
๑. พระปริยัติวรานุกูล ป.ธ.๕ เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ หัวหน้า
๒. พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ ป.ธ.๓ วัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๓. พระมหาสมชาย วรเมธี ป.ธ.๗ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔. พระมหาเขมา อนุชาโต ป.ธ.๔ วัดพระปฐมเจดีย์ ผู้ช่วย
๕. พระปลัด สรพงษ์ ปญฺญาพโล วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖. พระครูปลัด พงศ์พันธ์ ขนฺติโสภโณ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๗. พระครูปลัด พงษ์พันธ์ วํสวโร วัดวังน้ำ�ขาว ผู้ช่วย
๘. พระครูสมุห์ธวัชชัย เขมจาโร วัดหอมเกร็ด ผู้ช่วย
๙. พระมหาทัศนะ ทสฺสนีโย ป.ธ.๗ วัดเทวราชกุญชร ผู้ช่วย
๑๐. พระมหาณัฐพล ปุญฺญตีรโก ป.ธ.๓ วัดหนองกระโดน ผู้ช่วย
๑๑. พระอดุลศักดิ์ จกฺกรตโน ประโยค ๑-๒ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๒. สามเณรนพรัตน์ มูลกระโทก ป.ธ.๕ วัดนิมมานรดี ผู้ช่วย
๑๓. นายทรงศักดิ์ ชวศุภกุล ป.ธ.๖ วัดนิมมานรดี ผู้ช่วย

เจ้าหน้าที่สนับสนุนและประสานงานฝ่ายวิชาการและกองตรวจ
๑. พระครูปฐมธรรมวงศ์ ป.ธ.๓ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง หัวหน้า
๒. พระมหาเกริกสัน ญาณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙ วัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๓. พระมหาวรวิทย์ วรวิชฺชกิตฺติ ป.ธ.๙ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔. พระมหาอรชุน อริยวํโส ป.ธ.๙ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕. พระมหาชนะชัย โสตฺถิโก ป.ธ.๙ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖. พระมหาอดิเรก อติเรโก ป.ธ๘ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๗. พระมหาวุฒิพงษ์ กิตฺติปญฺโญ ป.ธ.๘ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๘. พระมหาประกาศิต สิริเมโธ ป.ธ.๘ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๙. พระมหาขวัญชนก สิกฺขาสโภ ป.ธ.๘ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๐. พระมหาธาวิน รตนเมธี ป.ธ.๘ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๑. พระมหาบุญโชติ ปุญโชติ ป.ธ.๗ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย

83
๑๒. พระมหาวัชร วชิรเวที ป.ธ.๗ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๓. พระมหาวิง จิตฺตาสโภ ป.ธ.๖ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๔. พระมหาพุฒิแผน ปญฺญาวุโธ ป.ธ.๖ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๕. พระมหาวรเชษฐ์ อาวุธปญฺโญ ป.ธ.๖ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๖. พระมหาสุรศักดิ์ จิตฺตทนฺโต ป.ธ.๖ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๗. พระมหากิตติ กิตฺติเมธี ป.ธ.๖ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย

เจ้าหน้าที่ฝ่ายบันทึกข้อมูลและสถิติ
๑. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ.๗ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ หัวหน้า
๒. พระมหาคำ�สิงห์ สิหนนฺโท ป.ธ.๗ กองงานเลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ รองหัวหน้า
๓. พระมหาปฐมพล วรญาณเมธี ป.ธ.๔ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๔. พระมหาศรัณยู ฉนฺทจิตฺโต ป.ธ.๕ กองงานเลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๕. พระปลัด คำ�พันทอง สนฺตจิตฺโต กองงานเลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๖. พระมหาพงศธร ธมฺมภาณี ป.ธ.๖ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๗. พระครูปลัด นที สิปฺปเมธี ป.ธ.๓ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๘. พระปลัด ไพศาล วิสาลวาที ป.ธ.๓ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๙. สามเณรสุธน นาลี ป.ธ.๘ กองงานเลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย
๑๐. นายทรงศักดิ์ ชวศุภกุล ป.ธ.๖ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผูช้ ่วย

เจ้าหน้าที่ฝ่ายประสานงานและปฏิสันถาร
๑. พระปริยัติวรานุกูล ป.ธ.๕ เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ หัวหน้า
๒. พระมหามนูญ ปริญฺญาโณ ป.ธ.๗ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ รองหัวหน้า
๓. พระมหาวิเชียร ชาตวชิโร ป.ธ.๙ วัดพระพุทธบาท ผู้ช่วย
๔. พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี ผู้ช่วย
๕. พระมหาปฐมพล วรญาณเมธี ป.ธ.๔ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี ผู้ช่วย
๖. พระมหาพงศธร ธมฺมภาณี ป.ธ.๖ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผู้ช่วย
๗. พระครูปลัด นที สิปฺปเมธี ป.ธ.๓ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผู้ช่วย
๘. พระปลัด ไพศาล วิสาลวาที ป.ธ.๓ กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ ผู้ช่วย

84
แผนกประชาสัมพันธ์
๑. พระเทพศาสนาภิบาล รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม / เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง หัวหน้า
๒. พระปริยัติวรานุกูล เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ รองหัวหน้า
๓. พระมหาเกริกสัน ญาณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙ ครูสอนพระปริยัติธรรมวัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๕. พระครูปฐมธีรวัฒน์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕. พระครูปฐมธรรมวงศ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖. พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๗. พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดนิมมานรดี ผู้ช่วย

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก


๑. พระเทพสาครมุนี ป.ธ.๙ วัดเจษฎาราม/สมุทรสาคร หัวหน้า
๒. พระราชวิสุทธิเมธี ป.ธ.๙ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม/กาญจนบุรี รองหัวหน้า

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก


๑. พระศรีวิสุทธิวงศ์ ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒. พระมหายวง ทิวากโร ป.ธ.๙ วัดป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๓. พระมหาวีระ วีรปญฺโญ ป.ธ.๙ วัดพระงาม นครปฐม
๔. พระมหามาณะ มหาธีโร ป.ธ.๗ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕. พระมหาชาญชัย ชยาภิภู ป.ธ.๗ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม

วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ก


๑. พระมหาชัยชุมพล ชุตินฺธโร ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒. พระมหาวรทัส วรทสฺสโน ป.ธ.๘ วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี
๓. พระมหาปรัชญ์กวินท์ ภูริสิทฺโธ ป.ธ.๘ วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี
๔. พระมหากฤชนันต์ สุวฑฺฒโน ป.ธ.๗ วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี
๕. พระมหาศรเทพ ธมฺมวโร ป.ธ.๗ วัดท่าพูด นครปฐม
85
๖. พระมหาสุภาพ ทนฺตกาโย ป.ธ.๗ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗. พระมหาวัฒนา จนฺทโสภโณ ป.ธ.๖ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘. พระมหาสันติ สิริเทโว ป.ธ.๖ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙. พระมหาสมคิด จารุวณฺโณ ป.ธ.๖ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐. พระมหาชุมพล สุทสฺสี ป.ธ. ๖ วัดหนองกระโดน นครปฐม
๑๑. พระมหาอำ�นวย ถิรธมฺโม ป.ธ.๖ วัดราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร
๑๒. พระมหาวีรชน ฐิตสีโล ป.ธ.๖ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓. พระมหาสุชัย โชติญาโณ ป.ธ.๕ วัดกงลาด นครปฐม
๑๔. พระมหาวีระศักดิ์ อภิวฑฺฒโน ป.ธ.๕ วัดวังศาลา กาญจนบุรี
๑๕. พระมหาภูวนัย ภทฺทจารี ป.ธ.๕ วัดวังตะกู นครปฐม
๑๖. สามเณรอาชัญ สอาดเอี่ยม ป.ธ.๖ วัดปากน้ำ� กรุงเทพมหานคร
๑๗. สามเณรปัฐวิกรณ์ ใหม่เอี่ยม ป.ธ.๕ วัดราษฎร์บูรณะ กรุงเทพมหานคร

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข


๑. พระมหาอำ�นวย อภิญาโณ ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒. พระมหาสมคิด ยสพโล ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓. พระมหาวิเชียร ฐิตปุญฺโญ ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔. พระมหาฉัตรชัย ภทฺทสาโร ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕. พระมหาสัมฤทธิ์ อธิจิตฺโต ป.ธ.๕ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖. พระมหาพรสุเทพ สุเทโว ป.ธ.๖ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม

วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข


๑. พระมหาอนุรักษ์ กนฺตสีโล ป.ธ.๙ วัดพรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๒. พระมหาอุโลม อาทโร ป.ธ.๗ วัดป้อมวิเชียรโชติการาม สมุทรสาคร
๓. พระมหาวันเฉลิม อเนญฺชธิติ ป.ธ.๗ วัดพรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๔. พระมหาอานนท์ ภูริวฑฺฒโน ป.ธ.๖ วัดเจษฎาราม สมุทรสาคร
๕. พระมหาบันลือศักดิ์ ยสวฑฺฒโก ป.ธ.๖ วัดสุทธิวาตวราราม สมุทรสาคร

86
๖. พระมหาอนุชิต สิริวุฑฺโฒ ป.ธ.๖ วัดป้อมวิเชียรโชติการาม สมุทรสาคร
๗. พระมหาสุรพัฒน์ สีลสุทฺโธ ป.ธ.๖ วัดราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๘. พระมหาทศพล จนฺทวํโส ป.ธ.๕ วัดบางปิ้ง สมุทรสาคร
๙. พระมหาภูชิต สิริปญฺโญ ป.ธ.๖ วัดแหลมสุวรรณาราม สมุทรสาคร
๑๐. พระมหาพีรพงษ์ ปิยธมฺโม ป.ธ.๖ วัดใต้บ้านบ่อ สมุทรสาคร
๑๑. พระมหาอนุสรณ์ จารุมโย ป.ธ.๕ วัดหนองกระโดน นครปฐม
๑๒. พระมหาเจริญ ฉตฺตมงฺคโล ป.ธ.๔ วัดหนองกลางด่าน ราชบุรี
๑๓. พระมหาวัชรินทร์ วิริยเตโช ป.ธ.๖ วัดดอนโฆสิตาราม สมุทรสาคร
๑๔. พระมหาเอกชัย ฐิตสีโล ป.ธ.๕ วัดเจษฏาราม สมุทรสาคร
๑๕. พระมหาปฏิพัทธ์ สิริวิชฺโช ป.ธ.๕ วัดสุทธิวาตวราราม สมุทรสาคร
๑๖. พระมหาชำ�นาญ อคฺคชโย ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๗. พระมหาเบ็น วํสธโร ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๘. พระมหาณัฐพล ณฏฺฐพโล ป.ธ.๕ วัดพรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๑๙. พระมหาขจรศักดิ์ วีรกิตฺติ ป.ธ.๕ วัดพรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๒๐. สามเณรนริศ นาคยิ้ม ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๑. สามเณรไชยโรจน์ ละครศรี ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๒. สามเณรอมรเทพ เกตุบุตร ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๓. สามเณรชัยธวัช อุสาหะ ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๔. สามเณรสุรชัย กองแก ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๕. สามเณรจุฑาวัฒน์ หลวงคำ� ป.ธ.๕ วัดบางปิ้ง สมุทรสาคร

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ค


๑. พระมหาวีรธิษณ์ วรินฺโท ป.ธ.๙ วัดป้อมวิเชียรโชติการาม สมุทรสาคร
๒. พระมหาบดินทร์ ญาณวุโธ ป.ธ.๙ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม กาญจนบุรี
๓. พระมหาเจริญ จิรนนฺโท ป.ธ.๘ วัดบางปิ้ง สมุทรสาคร

87
วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ค
๑. พระมหาบุญโชค พุทฺธสีโล ป.ธ.๘ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม กาญจนบุรี
๒. พระครูศรีกาญจนากร ป.ธ.๖ วัดพุประดู่ กาญจนบุรี
๓. พระมหาปัญญา ธมฺมวีโร ป.ธ.๖ วัดพังตรุ กาญจนบุรี
๔. พระมหานนธรรมพล ขนฺติวโร ป.ธ.๖ วัดเขาน้อยเทียมสวรรค์ ราชบุรี
๕. พระมหาอิทธิ์ อคฺคเตโช ป.ธ.๖ วัดทับคล้อ พิจิตร
๖. พระมหาถนอม ฐานวโร ป.ธ.๖ วัดไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๗. พระมหาบรรจง ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๖ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๘. พระมหาพรชัย ชยเมธี ป.ธ.๖ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๙. สามเณรอิศวรา คำ�สุนี ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๐. สามเณรนันทวัฒน์ เกิดสุข ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๑. สามเณรธนากร แจ่มศรี ป.ธ.๕ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๒. สามเณรภรากรณ์ วงษ์เศษ ป.ธ.๖ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๓. สามเณรธนูศิลป์ บุญขาว ป.ธ.๖ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ.๓ ห้อง ก


๑. พระอุดมธรรมเมธี ป.ธ.๙ วัดพระงาม นครปฐม
๒. พระมหาณรงค์ พุทฺธสโร ป.ธ.๙ วัดวังตะกู นครปฐม
๓. พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ.๙ วัดพระงาม นครปฐม
๔. พระมหาเอนก มหคฺฆปญฺโญ ป.ธ.๙ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๕. พระมหาปรีชา ภูริปญฺโญ ป.ธ.๗ วัดบางหลวง นครปฐม
๖. พระมหาชัยนิวัฒน์ อริยปญฺโญ ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗. พระมหาภพพล เตชพโล ป.ธ.๘ วัดปรีดาราม นครปฐม

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ.๓ ห้อง ข


๑. พระเมธีปริยัติวิบูล ป.ธ.๙ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม กาญจนบุรี
๒. พระครูศรีกาญจนกิตติ ป.ธ.๗ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม กาญจนบุรี
88
๓. พระมหาพลากร วชิรญาโณ ป.ธ.๘ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔. พระมหาสุนทร สุนฺทรเมธี ป.ธ.๘ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๕. พระมหาลิขิต ชยวิญฺญู ป.ธ.๗ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๖. พระมหาวิชัย วิชโย ป.ธ.๗ วัดสวนหงส์ สุพรรณบุรี
๗. พระมหาเกียรติศักดิ์ กุสลาสโภ ป.ธ.๗ วัดเทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๘. พระมหาสัณฑยา ธีรธารี ป.ธ.๗ วัดวังขนายทายิการาม กาญจนบุรี

วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ป.ธ.๓


๑. พระมหาสันติ โชติกโร ป.ธ.๙ วัดราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๒. พระมหาสมัคร ธมฺมิโก ป.ธ.๙ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๓. พระมหาจรูญ สิริภทฺโท ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔. พระมหาวิรัตน์ อธิปญฺโญ ป.ธ.๗ วัดพระงาม นครปฐม
๕. พระมหาฤทธิชัย ธีเรสุโต ป.ธ.๘ วัดพยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๖. พระมหาแสงเพชร สุทฺธิจิตฺโต ป.ธ.๘ วัดพระงาม นครปฐม
๗. พระมหาเอกรินทร์ กลฺยาโณ ป.ธ.๘ วัดพระงาม นครปฐม
๘. พระมหาสาวาน จนฺทเสโน ป.ธ.๗ วัดพระงาม นครปฐม
๙. พระมหาโบรา ภูริเมธี ป.ธ.๗ วัดไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๑๐. พระมหาเกริกชัย ภูมิโฆสโก ป.ธ.๗ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๑๑. พระมหาวิจิตร กลฺยาณจิตฺโต ป.ธ.๗ วัดมหาสวัสดิ์นาคพุฒารามม นครปฐม
๑๒. พระมหาณฐพงษ์ ณฏฺฐวํโส ป.ธ.๖ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๑๓. พระมหาเฉลิมชัย ฐานสิริ ป.ธ.๖ วัดวังน้ำ�ขาว นครปฐม
๑๔. พระมหาวีระ วีรนาโค ป.ธ.๖ วัดพยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๑๕. พระมหาวิง จิตฺตาสโภ ป.ธ.๖ วัดไร่ขิง นครปฐม
๑๖. พระมหาทองเหลือง สจฺจวโร ป.ธ.๖ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๑๗. พระมหาบันดิษฐ์ สิริคุตฺโต ป.ธ.๕ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๑๘. พระมหามนัสวิน ภูริปญฺโญ ป.ธ.๕ วัดพยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๑๙. พระมหาธานี จิรวฑฺฒโน ป.ธ.๕ วัดพยัคฆาราม สุพรรณบุรี

89
๒๐. พระมหาสรรชัย อิทฺธิญาโณ ป.ธ.๕ วัดพระงาม นครปฐม
๒๑. พระมหานมา ธมฺเมสโก ป.ธ.๖ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม
๒๒. พระมหารณชัย รณญฺชโย ป.ธ.๕ วัดพยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๒๓. พระมหายศกร ยโสธโร ป.ธ.๖ วัดพยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๒๔. พระมหาไมตรี สุภคฺโค ป.ธ.๕ วัดพระงาม นครปฐม

วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ.๔


๑. พระเมธีธรรมานันท์ ป.ธ.๙, วัดดอนหวาย นครปฐม
๒. พระมหาวิทูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙, ศศ.ม. วัดพระงาม นครปฐม
๓. พระมหาธเนศ จนฺทปญฺโญ ป.ธ.๙ วัดปรีดาราม นครปฐม
๔. พระมหาบุญลือ วิชฺชากโร ป.ธ.๙, ศษ.ม. วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕. พระมหาบัญชา วิสุทฺโธ ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม

วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ป.ธ.๔


๑. พระเมธีธรรมานันท์ ป.ธ.๙, วัดดอนหวาย นครปฐม
๒. พระมหาสุธี อาสโภ ป.ธ.๙ วัดเชิงเลน นครปฐม
๓. พระมหาประจักษ์ ปญฺญาลาภี ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔. พระมหาจักกรี ปิยธมฺโม ป.ธ.๙ วัดพระงาม นครปฐม
๕. พระมหาปริทัศน์ วรกิจฺโจ ป.ธ.๙ วัดเขื่อนเพชร เพชรบุรี
๖. พระมหาวิมล วิมโล ป.ธ.๙ วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพมหานคร
๗. พระมหาธนิต ธนิโต ป.ธ.๙ วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพมหานคร
๘. พระมหาสถาพร สุทฺธิเมธี ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙. พระมหาสงคราม สุเมโธ ป.ธ.๘ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐. พระมหาสิปวิชญ์ วชิรุปมญาโณ ป.ธ.๘ วัดพระงาม นครปฐม
๑๑. พระมหาณพล ปารติณฺโณ ป.ธ.๘ วัดชลประทานรังสฤษดิ์ นนทบุรี
๑๒. พระมหาโสภณ อาจิณฺณสีโล ป.ธ.๕ วัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร
๑๓. พระมหาวัลลภ สิริปญฺญโญ ป.ธ.๕ วัดวิชิตสังฆาราม ภูเก็ต

90
วิทยากรประจำ� ชั้นประโยค ป.ธ.๕
๑. พระเทพมหาเจติยาจารย์ ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒. พระศรีธีรวงศ์ ป.ธ.๙ วัดพระประโทณเจดีย์ นครปฐม
๓. พระมหาเชาวน์ วรเขโม ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔. พระมหาอรชุน อริยวํโส ป.ธ.๙ วัดไร่ขิง นครปฐม
๕. พระมหามานะ สุภาทโร ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖. พระมหาสมัย นิรุตฺติเมธี ป.ธ.๙ วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม

วิทยากรประจำ�กองตรวจ ชั้นประโยค ป.ธ.๕


๑. พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ.๙ วัดพังตรุ กาญจนบุรี
๒. พระมหาณรงค์ ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๙ วัดพระประโทณเจดีย์ นครปฐม
๓. พระมหาวรวิทย์ วรวิชฺชกิตฺติ ป.ธ.๙ วัดไร่ขิง นครปฐม
๔. พระมหาแสวง สํวโร ป.ธ.๘ วัดพระประโทณเจดีย์ นครปฐม
๕. พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.๗ วัดพรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖. พระมหาเชวง จรณธมฺโม ป.ธ.๘ วัดไร่ขิง นครปฐม
๗. พระมหาทศพร คุเณสโก ป.ธ.๖ วัดห้วยจระเข้ นครปฐม

แผนกจัดสถานที่
๑. พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง ประธานที่ปรึกษา
๒. พระราชวิสุทธาจารย์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองประธานที่ปรึกษา
๓. พระรัตนสุธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองประธานที่ปรึกษา
๔. พระครูปฐมธีรวัฒน์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง หัวหน้า
๕. พระครูโสภณปฐมาภรณ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๖. พระครูปฐมธรรมวงศ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๗. พระครูพิสิฐธรรมนันท์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๘. พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง รองหัวหน้า
๙. พระปลัด พุฒิพงศ์ กิตฺติวฑฺฒโน เลขานุการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
91
๑๐. พระครูวินัยธร สมัย เตชสีโล เลขานุการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๑. พระสมุห์ ปฐมชัย เขมธมฺโม เลขานุการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๒. พระสมุห์ วิทูร สุภธมฺโม เลขานุการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๓. พระมหาวิง จิตฺตาสโภ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๔. พระมหาชนะชัย โสตฺถิโก วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๕. พระใบฎีกา วราวุธ จิรธมฺโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๖. พระมหาวรวิทย์ วรวิชฺชกิตฺติ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๗. พระสมุห์ อภิเชษฐ์ อภิเชฏฺโฐ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๘. พระมหาอดิเรก อติเรโก วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๑๙. พระมหาประกาศิต สิริเมโธ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๐. พระสมุห์ สำ�อางค์ ปุญฺญสํวโร วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๑. พระทศพล พลปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๒. พระมหาอรชุน อริยวํโส วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๓. พระใบฎีกา ภมร คมฺภีรปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๔. พระเจษฏาคม สิริมงฺคโล วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๕. พระมหาวุฒิพงษ์ กิตฺติปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๖. พระสมโภช ติกฺขวีโร วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๗. พระมหาสุรศักดิ์ จิตฺตทนฺโต วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๘. พระคงศักดิ์ จกฺกรตโน วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๒๙. พระสมุห์ เสริมศักดิ์ เขมธมฺโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๐. พระปลัด สรพงษ์ ปญฺญาพโล วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๑. พระสมชาย จารุธมฺโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๒. พระครูใบฎีกา ธีรยุทธ จนฺทูปโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๓. พระนรินทร์ จนฺทโสภโณ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๔. พระมหาธนภูมิ ปุริสุตฺตโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๕. พระครูปลัด พงศ์พันธ์ ขนฺติโสภโณ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย

92
๓๖. พระไพรินทร์ จารุวณฺโณ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๗. พระมหาวรเชษฐ์ อาวุธปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๘. พระมหาจักรพงษ์ กวิวํโส วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓๙. พระมหาจักรกฤษ ทินฺนปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๐. พระมหาเกริกสัน ญาณสมฺปนฺโน วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๑. พระสานิต ฉินฺนาลโย วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๒. พระมหาขวัญชนก สิกฺขาสโภ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๓. พระมหาสมชาย วรเมธี วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๔. พระมหาเมธา สนฺตจิตฺโต วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๕. พระศรายุทธ สมจิตฺโต วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๖. พระสมุห์ นพดล กนฺตวีโร วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๗. พระวิรัช ธมฺมยุตฺโต วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๘. พระมหาธาวิน รตนเมธี วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔๙. พระพีรยุทธ ฐิตเมโธ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๐. พระมหาอลงกต วราลงฺกาโร วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๑. พระอดุลศักดิ์ จกฺกรตโน วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๒. พระณัฐกร ยสวฑฺฒโน วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๓. พระมหารัตกร กมลสุทฺโธ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๔. พระเปรมนุกูล สิรินนฺโท วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๕. พระศุภกริช ปญฺญาสโภ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๖. พระมหากิตติ กิตฺติเมธี วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๗. พระหฤษฏ อคฺคธมฺโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๘. พระพิเชฐ จนฺทโสรโต วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕๙. สามเณรสุเมธ อินทร์คำ�น้อย วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖๐. สามเณรสมเพชร พรำ�นัก วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖๑. สามเณรเกียรติศักดิ์ สุทธิจินดา วัดไร่ขิง ผู้ช่วย

93
๖๒. สามเณรพีรพล สุวรรณชาติ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖๓. สามเณรเกรียงศักดิ์ จิรัมย์ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖๔. สามเณรบัญชาพงษ์ นาคสุบุญทรัพย์ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖๕. สามเณรรณกฤต รุ่งกิตติวงศ์ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖๖. สามเณรชัยวัฒน์ พรำ�นัก วัดไร่ขิง ผู้ช่วย

แผนกปฐมพยาบาล
๑. นายแพทย์ปานเนตร ปางพุทธิพงศ์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ปรึกษา
๒. แพทย์หญิง สายจินต์ อิสีประดิษฐ์ ผอ.โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) หัวหน้า
๓. นายแพทย์สุนทร เสรีเชษฐพงศ์ ผอ.โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขิง) รองหัวหน้า
๔. คณะแพทย์และพยาบาล โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) ผู้ช่วย
๕. คณะแพทย์และพยาบาล โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขิง) ผู้ช่วย

แผนกรับบริจาค
๑. พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขิง หัวหน้า
๒. พระปลัด พุฒิพงศ์ กิตฺติวฑฺฒโน เลขานุการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๓. พระสมุห์ ปฐมชัย เขมธมฺโม เลขานุการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๔. พระสมุห์ วิทูร สุภธมฺโม เลขานุญการวัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕. พระใบฎีกา ภมร คมฺภีรปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖. พระมหาจักรกฤษ ทินฺนปญฺโญ วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๗. พระใบฎีกา สุนันท์ ปญฺญาวชิโร วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๘. พระพรชัย จนฺทสาโร วัดไร่ขิง ผู้ช่วย

แผนกเครื่องดื่ม
๑. พระครูพิสิฐธรรมนันท์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดไร่ขิง หัวหน้า
๒. พระสมุห์ นพดล กนฺตวีโร วัดไร่ขิง รองหัวหน้า

94
๓. พระครูใบฎีกา วิชัย สุขวฑฺฒโก วัดรางกำ�หยาด ผู้ช่วย
๔. พระหฤษฐ์ อคฺคธมฺโม วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๕. พระพิเชษฐ์ จนฺทโสรโต วัดไร่ขิง ผู้ช่วย
๖. พระศรายุทธ สมจิตฺโต วัดไรขิง ผู้ช่วย

ขอให้ท่านที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการ ได้ช่วยรับเป็นภารธุระเพื่อให้การอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ปีที่


๔๔ ประจำ�ปี ๒๕๖๑ ดำ�เนินไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและสำ�เร็จลุล่วงด้วยดี
ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันที่ ๑ เดือน มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑

(พระธรรมโพธิมงคล)
เจ้าคณะภาค ๑๔

95
สถิตินักศึกษาผู้เข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔
ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม
และสอบไล่ได้ในสนามหลวง
เริ่มตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ - พ.ศ. ๒๕๖๐

สถิติ พ.ศ.๒๕๒๗
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๒๗ ๑-๒ ๒๒๒ ๒๒๒ ๘๐ ๑๔๒ ๓๖.๐๓
๓ ๑๖๗ ๑๖๗ ๗๗ ๙๐ ๔๖.๑๐
๔ ๖๒ ๖๒ ๓๗ ๒๕ ๕๙.๖๗
๕ ๖๐ ๖๐ ๒๓ ๓๗ ๓๘.๓๓
รวม ๕๑๑ ๕๑๑ ๒๑๗ ๒๙๔ ๔๒.๔๖

สถิติ พ.ศ.๒๕๒๘
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๒๘ ๑-๒ ๓๕๖ ๓๕๖ ๑๕๘ ๑๙๘ ๔๔.๓๘
๓ ๑๘๖ ๑๘๖ ๑๒๐ ๖๖ ๖๔.๕๒
๔ ๓๕ ๓๕ ๔๔ ๔๑ ๕๑.๗๙
๕ ๕๒ ๕๒ ๒๐ ๓๒ ๓๘.๔๖
รวม ๖๗๙ ๖๗๙ ๓๔๒ ๓๓๗ ๕๐.๓๖

96
สถิติ พ.ศ.๒๕๒๙
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๒๙ ๑-๒ ๓๒๙ ๓๒๙ ๑๓๙ ๑๙๓ ๔๑.๓๓
๓ ๒๔๘ ๒๔๘ ๑๔๘ ๑๐๐ ๕๙.๖๗
๔ ๑๓๒ ๑๓๒ ๖๖ ๖๖ ๕๐.๐๐
๕ ๘๑ ๘๑ ๓๐ ๕๑ ๓๗.๐๓
รวม ๗๙๐ ๗๙๐ ๓๘๓ ๔๑๐ ๔๘.๑๐

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๐
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๐ ๑-๒ ๔๓๔ ๔๓๔ ๑๔๗ ๒๘๗ ๓๓.๘๗
๓ ๓๐๕ ๓๐๕ ๑๘๑ ๑๒๔ ๕๙.๓๔
๔ ๑๘๗ ๑๘๗ ๑๐๘ ๗๙ ๕๗.๗๕
๕ ๘๔ ๘๔ ๔๖ ๓๘ ๕๔.๗๖
รวม ๑,๐๑๐ ๑,๐๑๐ ๔๘๒ ๕๒๘ ๔๗.๗๒

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๑
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๑ ๑-๒ ๔๓๕ ๔๓๕ ๑๘๕ ๒๕๐ ๔๒.๕๒
๓ ๒๔๐ ๒๔๐ ๑๓๑ ๑๐๙ ๕๔.๕๘
๔ ๑๖๖ ๑๖๖ ๖๔ ๑๐๒ ๓๘.๕๕
๕ ๑๐๓ ๑๐๓ ๕๒ ๕๑ ๔๕.๔๘
รวม ๙๔๔ ๙๔๔ ๔๓๒ ๕๑๒ ๔๕.๗๖

97
สถิติ พ.ศ.๒๕๓๒
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๒ ๑-๒ ๔๓๕ ๔๓๕ ๑๔๕ ๒๙๐ ๓๓.๓๓
๓ ๒๖๐ ๒๖๐ ๑๔๑ ๑๑๙ ๕๔.๒๓
๔ ๑๓๒ ๑๓๒ ๕๐ ๘๒ ๓๗.๘๗
๕ ๖๔ ๖๔ ๓๕ ๒๙ ๕๔.๖๘
รวม ๘๙๐ ๘๙๑ ๓๗๑ ๕๒๐ ๔๑.๖๓

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๓
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๓ ๑-๒ ๔๗๖ ๔๗๖ ๑๗๘ ๒๙๘ ๓๗.๓๙
๓ ๒๕๗ ๒๕๗ ๑๔๘ ๑๐๙ ๕๗.๕๙
๔ ๑๑๒ ๑๑๒ ๕๓ ๕๙ ๕๗.๓๒
๕ ๘๒ ๘๒ ๕๒ ๓๐ ๖๓.๔๑
รวม ๙๒๗ ๙๒๗ ๔๓๑ ๔๙๖ ๔๖.๔๙

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๔
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๔ ๑-๒ ๔๘๕ ๔๘๕ ๒๐๑ ๒๘๔ ๔๐.๔๔
๓ ๒๙๖ ๒๙๖ ๑๓๗ ๑๕๙ ๔๖.๒๘
๔ ๑๓๖ ๑๓๖ ๗๐ ๖๖ ๕๓.๘๕
๕ ๘๒ ๘๒ ๓๕ ๔๗ ๔๒.๖๘
รวม ๙๙๙ ๙๙๙ ๔๔๓ ๕๕๖ ๔๔.๓๔

98
สถิติ พ.ศ.๒๕๓๕
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๕ ๑-๒ ๔๓๐ ๔๓๐ ๑๖๗ ๒๖๔ ๓๘.๗๕
๓ ๒๓๓ ๒๓๓ ๑๕๓ ๑๓๑ ๕๓.๘๗
๔ ๙๕ ๙๕ ๘๗ ๕๒ ๖๒.๕๙
๕ ๖๙ ๖๙ ๒๔ ๘๐ ๒๓.๐๙
รวม ๘๑๕ ๘๑๕ ๔๓๑ ๕๒๗ ๔๔.๙๙

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๖
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๖ ๑-๒ ๔๑๘ ๔๑๘ ๑๑๖ ๓๐๒ ๒๗.๗๕
๓ ๒๓๓ ๒๓๓ ๑๗๗ ๙๖ ๕๘.๘๐
๔ ๑๘๗ ๑๘๗ ๕๑ ๔๔ ๕๓.๖๘
๕ ๘๔ ๘๔ ๒๑ ๘๐ ๓๐.๔๓
รวม ๘๑๕ ๘๑๕ ๓๒๕ ๔๙๐ ๓๙.๘๘

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๗
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๗ ๑-๒ ๓๑๓ ๓๑๓ ๑๑๑ ๒๐๒ ๓๕.๔๖
๓ ๑๗๓ ๑๗๓ ๙๐ ๘๓ ๕๒.๐๒
๔ ๑๑๔ ๑๑๔ ๖๔ ๕๐ ๕๖.๑๔
๕ ๘๗ ๘๗ ๕๕ ๓๒ ๖๓.๒๒
รวม ๖๘๗ ๖๘๗ ๓๒๐ ๓๖๗ ๔๖.๕๘

99
สถิติ พ.ศ.๒๕๓๘
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๘ ๑-๒ ๓๒๓ ๓๒๓ ๑๙๒ ๑๓๑ ๕๙.๔๔
๓ ๒๔๑ ๒๔๑ ๑๑๗ ๙๗ ๕๔.๖๗
๔ ๘๘ ๘๘ ๓๔ ๕๔ ๕๖.๑๔
๕ ๖๙ ๖๙ ๓๔ ๓๕ ๔๙.๒๘
รวม ๗๒๑ ๗๒๑ ๗๗๗ ๓๑๗ ๕๔.๒๘

สถิติ พ.ศ.๒๕๓๙
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๓๙ ๑-๒ ๓๗๔ ๓๗๔ ๑๓๘ ๒๓๖ ๓๖.๙๐
๓ ๒๘๔ ๒๘๔ ๙๙ ๑๔๒ ๓๔.๘๖
๔ ๑๑๕ ๑๑๕ ๖๒ ๓๙ ๕๓.๙๑
๕ ๔๐ ๔๐ ๑๘ ๓๒ ๔๕.๐๐
รวม ๘๑๓ ๘๑๓ ๓๑๗ ๔๓๒ ๓๘.๙๙

สถิติ พ.ศ.๒๕๔๐
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๐ ๑-๒ ๓๑๗ ๓๑๗ ๙๘ ๒๑๙ ๓๙.๙๑
๓ ๒๓๐ ๒๓๐ ๘๘ ๑๔๒ ๓๘.๒๖
๔ ๗๑ ๗๑ ๓๒ ๓๙ ๕๓.๙๑
๕ ๕๔ ๕๔ ๒๒ ๓๒ ๔๕.๐๐
รวม ๖๗๒ ๖๗๒ ๓๑๗ ๔๓๑ ๓๘.๙๙

100
สถิติ พ.ศ.๒๕๔๑
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๑ ๑-๒ ๑๕๐ ๑๕๐ ๓๒ ๑๑๘ ๒๑.๓๓
๓ ๑๑๔ ๑๑๔ ๓๒ ๘๒ ๒๘.๐๗
๔ ๔๐ ๔๐ ๑๐ ๓๐ ๒๕.๐๐
๕ ๒๖ ๒๖ ๑๗ ๙ ๖๕.๓๘
รวม ๓๓๐ ๓๓๐ ๙๑ ๒๓๙ ๒๗.๕๗

สถิติ พ.ศ.๒๕๔๒
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๒ ๑-๒ ๓๒๓ ๓๒๓ ๗๕ ๓๐๗ ๑๙.๖๓
๓ ๑๒๓ ๑๒๓ ๒๗ ๙๖ ๒๑.๙๕
๔ ๘๘ ๘๘ ๔๐ ๔๘ ๔๕.๔๕
๕ ๓๑ ๓๑ ๑๐ ๒๑ ๓๒.๒๕
รวม ๖๒๔ ๖๒๔ ๑๕๒ ๔๗๒ ๒๔.๓๕

สถิติ พ.ศ.๒๕๔๓
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๓ ๑-๒ ๓๘๔ ๓๘๔ ๑๐๒ ๒๘๒ ๒๖.๕๖
๓ ๑๔๔ ๑๔๔ ๖๐ ๘๔ ๔๑.๖๖
๔ ๓๖ ๓๖ ๒๓ ๑๓ ๖๓.๘๘
๕ ๔๘ ๔๘ ๒๐ ๒๘ ๔๑.๖๖
รวม ๖๑๒ ๖๑๒ ๒๐๕ ๔๗๒ ๓๓.๕๐

101
สถิติ พ.ศ.๒๕๔๔
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๔ ๑-๒ ๓๒๒ ๓๒๒ ๑๔๓ ๑๗๙ ๔๔.๔๑
๓ ๑๕๑ ๑๕๑ ๘๑ ๗๐ ๕๓.๖๔
๔ ๖๖ ๖๖ ๔๐ ๒๖ ๖๐.๖๐
๕ ๒๕ ๒๕ ๑๑ ๑๔ ๔๔.๐๐
รวม ๕๖๔ ๕๖๔ ๒๗๕ ๒๘๙ ๔๘.๗๖

ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๔ รูป


ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๓๗ รูป

สถิติ พ.ศ.๒๕๔๕
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๕ ๑-๒ ๔๐๓ ๔๐๓ ๙๙ ๓๐๔ ๒๓.๓๒
๓ ๒๑๖ ๒๑๖ ๑๐๒ ๑๑๔ ๔๗.๒๒
๔ ๗๖ ๗๖ ๔๐ ๗๖ ๕๒.๖๓
๕ ๓๙ ๓๙ ๑๖ ๒๓ ๔๑.๐๒
รวม ๗๓๔ ๗๓๔ ๒๕๗ ๔๗๗ ๓๕.๐๑

ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๔ รูป


ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๑๓๔ รูป

102
สถิติ พ.ศ.๒๕๔๖
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๖ ๑-๒ ๒๑๑ ๒๑๑ ๔๓ ๑๖๘ ๒๐.๓๘
๓ ๑๑๒ ๑๑๒ ๔๘ ๖๔ ๔๒.๘๖
๔ ๕๐ ๖๐ ๓๕ ๑๕ ๗๐.๐๐
๕ ๒๕ ๒๕ ๑๑ ๑๔ ๔๔.๐๐
รวม ๒๙๘ ๒๙๘ ๑๓๗ ๒๖๑ ๓๔.๔๒

ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๔ รูป


ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๒๔ รูป

สถิติ พ.ศ.๒๕๔๗
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๗ ๑-๒ ๒๑๖ ๒๑๖ ๘๓ ๑๓๓ ๓๘.๔๓
๓ ๑๒๙ ๑๒๙ ๕๗ ๗๒ ๔๔.๑๙
๔ ๖๒ ๖๒ ๔๑ ๒๑ ๖๖.๑๓
๕ ๕๔ ๕๔ ๒๗ ๒๗ ๕๐.๐๐
รวม ๔๖๑ ๔๖๑ ๒๐๘ ๒๕๓ ๔๕.๑๒

ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาแปลมคธเป็นไทย สอบได้ ๖ รูป


ชั้นประโยค ๑-๒ เฉพาะวิชาไวยากรณ์ สอบได้ ๒๗ รูป

103
สถิติ พ.ศ.๒๕๔๘
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๘ ๑-๒ ๒๗๒ ๒๗๒ ๔๘ ๑๘๘ ๓๐.๘๘
๓ ๑๕๓ ๑๕๓ ๗๓ ๘๐ ๔๗.๗๑
๔ ๗๓ ๗๓ ๔๕ ๒๘ ๖๑.๖๔
๕ ๕๓ ๕๓ ๓๓ ๒๐ ๖๒.๒๖
รวม ๔๖๑ ๔๖๑ ๒๐๘ ๒๕๓ ๔๕.๑๒

สถิติ พ.ศ.๒๕๔๙
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๔๙ ๑-๒ ๑๙๑ ๑๙๑ ๖๗ ๑๒๔ ๓๕.๐๘
๓ ๑๕๐ ๑๕๐ ๗๓ ๗๗ ๔๘.๖๗
๔ ๘๕ ๘๕ ๔๖ ๓๙ ๕๔.๑๒
๕ ๗๓ ๗๓ ๔๑ ๓๒ ๕๖.๑๖
รวม ๔๙๙ ๔๙๙ ๒๒๗ ๒๗๒ ๔๕.๔๙

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๐
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๐ ๑-๒ ๑๙๑ ๑๙๑ ๖๓ ๑๒๘ ๓๒.๙๙
๓ ๑๒๘ ๑๒๘ ๔๙ ๗๙ ๓๘.๒๙
๔ ๗๒ ๗๒ ๔๓ ๔๓ ๔๐.๒๘
๕ ๔๘ ๔๘ ๒๖ ๒๖ ๔๘.๘๓
รวม ๔๓๙ ๔๓๙ ๑๖๓ ๒๗๖ ๓๗.๑๒

104
สถิติ พ.ศ.๒๕๕๑
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๑ ๑-๒ ๑๗๐ ๑๗๐ ๓๘ ๑๓๒ ๒๒.๓๕
๓ ๙๘ ๙๘ ๒๔ ๗๔ ๒๔.๔๙
๔ ๕๑ ๕๑ ๒๐ ๓๑ ๓๙.๑๒
๕ ๕๑ ๕๑ ๑๗ ๓๔ ๓๓.๓๓
รวม ๓๗๐ ๓๗๐ ๙๙ ๒๗๑ ๒๖.๗๖

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๒
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๒ ๑-๒ ๑๔๐ ๑๔๐ ๓๖ ๑๐๔ ๒๕.๗๑
๓ ๘๙ ๘๙ ๒๐ ๖๙ ๒๒.๔๗
๔ ๖๘ ๖๘ ๓๘ ๓๐ ๕๕.๘๘
๕ ๓๐ ๓๐ ๙ ๒๑ ๓๐.๐๐
รวม ๓๒๗ ๓๒๗ ๑๐๓ ๒๒๔ ๓๑.๕๐

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๓
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๓ ๑-๒ ๑๔๘ ๑๔๘ ๓๖ ๑๑๒ ๒๔.๓๒
๓ ๙๐ ๙๐ ๒๒ ๖๘ ๒๔.๔๔
๔ ๕๕ ๕๕ ๑๗ ๓๘ ๓๐.๙๐
๕ ๔๓ ๔๓ ๒๐ ๒๓ ๔๖.๕๑
รวม ๓๓๖ ๓๓๖ ๙๕ ๒๔๑ ๒๘.๒๗

105
สถิติ พ.ศ.๒๕๕๔
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๔ ๑-๒ ๑๕๓ ๑๕๓ ๓๓ ๑๓๑ ๑๔.๓๗
๓ ๑๑๑ ๑๑๑ ๔๖ ๖๕ ๔๑.๔๔
๔ ๔๘ ๔๘ ๒๒ ๓๖ ๔๕.๘๓
๕ ๓๐ ๓๐ ๘ ๒๒ ๒๖.๖๖
รวม ๓๔๒ ๓๔๒ ๙๘ ๒๔๔ ๒๘.๖๕

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๕
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๕ ๑-๒ ๑๗๒ ๑๗๒ ๔๗ ๑๒๕ ๒๗.๓๒
๓ ๙๐ ๙๐ ๓๒ ๕๘ ๓๕.๕๕
๔ ๖๕ ๖๕ ๒๒ ๔๓ ๓๓.๘๔
๕ ๓๙ ๓๙ ๖ ๓๓ ๑๕.๓๘
รวม ๓๖๖ ๓๖๖ ๑๐๓ ๒๕๙ ๒๙.๒๓

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๖
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๖ ๑-๒ ๑๘๓ ๑๘๓ ๖๐ ๑๒๓ ๓๒.๗๘
๓ ๑๐๒ ๑๐๒ ๒๘ ๗๒ ๒๗.๔๕
๔ ๕๗ ๕๗ ๓๐ ๒๗ ๕๒.๖๓
๕ ๓๒ ๓๒ ๙ ๒๓ ๒๘.๑๒
รวม ๓๗๔ ๓๗๔ ๑๒๗ ๒๔๕ ๓๓.๙๕

106
สถิติ พ.ศ.๒๕๕๗
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๗ ๑-๒ ๑๘๖ ๑๘๖ ๕๘ ๑๒๘ ๓๑.๑๘
๓ ๑๒๔ ๑๒๔ ๓๑ ๙๓ ๒๕.๐๐
๔ ๕๓ ๕๓ ๒๓ ๓๐ ๔๓.๓๙
๕ ๔๑ ๔๑ ๑๙ ๒๒ ๔๖.๓๔
รวม ๔๐๔ ๔๐๔ ๑๓๑ ๒๗๓ ๓๒.๔๒

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๘
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๘ ๑-๒ ๓๖๕ ๓๖๕ ๘๔ ๒๘๑ ๒๓.๐๑
๓ ๒๒๓ ๒๒๓ ๖๔ ๑๕๙ ๒๘.๖๙
๔ ๑๐๑ ๑๐๑ ๔๙ ๕๒ ๔๘.๕๑
๕ ๔๙ ๔๙ ๒๗ ๒๒ ๕๕.๑๐
รวม ๗๓๘ ๗๓๘ ๒๒๔ ๕๑๔ ๓๐.๓๕

สถิติ พ.ศ.๒๕๕๙
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๕๙ ๑-๒ ๓๙๕ ๓๙๕ ๗๓ ๓๒๒ ๑๘.๔๘
๓ ๒๑๖ ๒๑๖ ๔๙ ๑๖๗ ๒๒.๖๙
๔ ๙๒ ๙๒ ๕๔ ๓๘ ๕๘.๗๐
๕ ๖๗ ๖๗ ๔๐ ๒๗ ๕๙.๗๐
รวม ๗๗๐ ๗๗๐ ๒๑๖ ๕๕๔ ๒๘.๐๕

107
สถิติ พ.ศ.๒๕๖๐
พ.ศ. ประโยค ป.ธ. สมัครสอบ เข้าสอบ สอบได้ สอบตก คิดเป็น %
๒๕๖๐ ๑-๒ ๓๗๗ ๓๗๗ ๘๕ ๒๙๒ ๒๒.๕๕
๓ ๒๐๑ ๒๐๑ ๗๘ ๑๒๓ ๓๘.๘๑
๔ ๖๘ ๖๘ ๑๘ ๕๐ ๒๖.๔๗
๕ ๗๘ ๗๘ ๓๑ ๔๗ ๓๙.๗๔
รวม ๗๒๔ ๗๒๔ ๒๑๒ ๕๑๒ ๒๙.๒๘

กราฟแสดงสถิตินักเรียนเข้าอบรมบาลีก่อนสอบ และสอบได้
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๐
สำ�นักอบรมบาลีก่อนสอบสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

108
109
สถิตินักเรียนเข้าอบรมบาลีก่อนสอบ และสอบได้
ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๘ ถึง พ.ศ. ๒๕๖๐
สำ�นักอบรมบาลีก่อนสอบสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

ประโยค ๑-๒ เข้าสอบ ๑๐,๑๖๒ รูป


สอบได้ ๓,๗๒๓ รูป
สอบตก ๖,๔๓๙ รูป
ประโยค ป.ธ.๓ เข้าสอบ ๖,๖๙๖ รูป
สอบได้ ๓,๓๔๕ รูป
สอบตก ๓,๔๗๔ รูป
ประโยค ป.ธ.๔ เข้าสอบ ๓,๑๙๓ รูป
สอบได้ ๑,๖๓๑ รูป
สอบตก ๑,๕๖๒ รูป
ประโยค ป.ธ.๕ เข้าสอบ ๒,๐๔๓ รูป
สอบได้ ๙๓๙ รูป
สอบตก ๑,๑๐๔ รูป

ที่ผ่านเข้ารับการอบรม ฯ ๒๒,๐๙๔ รูป


สอบได้ ๙,๖๓๘ รูป
สอบตก ๑๒,๕๕๙ รูป
คิดเป็นเปอร์เซ็นต์ ๔๓.๖๒ %
นักเรียนและพระวิทยากร ในสำ�นักอบรมแห่งนี้ สอบไล่ได้ประโยค ป.ธ.๙ จำ�นวน ๑๐๖ รูป

110
สถิตินักเรียน
การอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม ถึง วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑

ชั้น ประโยค ๑-๒ ประโยค ป.ธ.๓ ประโยค ป.ธ.๔ ประโยค ป.ธ.๕ รวม
จังหวัด พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
นครปฐม ๖๙ ๒๘ ๔๙ ๑๗ ๒๙ ๕ ๙ ๔ ๒๑๐
สุพรรณบุรี ๓๓ ๔๓ ๑๒ ๒๗ ๑๒ ๑๑ ๕ ๓ ๑๔๖
กาญจนบุรี ๒๔ ๕๑ ๒๓ ๘ ๗ ๒ ๖ - ๑๒๑
สมุทรสาคร ๓๗ ๑๖ ๒๓ ๕ ๑๘ - ๒ ๑ ๑๐๒
กรุงเทพมหานคร ๙ ๘ ๑๓ ๓ ๗ ๔ ๒ ๑ ๔๗
ภูเก็ต - - ๓ - ๑ ๑ - - ๕
สมุทรปราการ ๓ - - - ๑ - - - ๔
ตราด - ๑ - ๑ - - - - ๒
สกลนคร - ๑ - - - - - - ๑
อยุธยา - - ๑ - - - - - ๑
เพชรบุรี - - ๑ - - - - - ๑
ราชบุรี - ๑ ๑ - ๑ - - - ๓
นครสวรรค์ - - ๑ - - - - - ๑
รวมแต่ละชั้น ๓๒๔ ๑๘๘ ๙๙ ๓๓ ๖๔๔
หมายเหตุ : รวมพระภิกษุ ๔๐๒ รูป
รวมสามเณร ๒๔๒ รูป
บาลีศึกษา ๕ คน
- ภายในภาค ๑๔ ๕๗๙ รูป
- นอกภาค ๖๕ รูป

111
สถิตินักเรียน
การอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม ถึง วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ชั้นประโยค ๑-๒
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค
พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๖๙ ๒๘ ๓๓ ๔๓ ๒๔ ๕๑ ๓๗ ๑๖ ๑๒ ๑๑
รวม ๙๗ รูป รวม ๗๖ รูป รวม ๗๕ รูป รวม ๕๓ รูป รวม ๒๓ รูป
รวมประโยค ๑-๒ นักเรียน ๓๒๖ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๑๗๕ รูป สามเณร จำ�นวน ๑๔๙ รูป

ชั้นประโยค ป.ธ.๓
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค
พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๔๙ ๑๗ ๑๒ ๒๗ ๒๓ ๘ ๒๓ ๕ ๒๐ ๔
รวม ๖๖ รูป รวม ๓๙ รูป รวม ๓๑ รูป รวม ๒๘ รูป รวม ๒๔ รูป
รวมประโยค ป.ธ.๓ นักเรียน ๑๙๑ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๑๒๗ รูป สามเณร จำ�นวน ๖๑ รูป

112
ชั้นประโยค ป.ธ.๔
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค
พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๒๙ ๕ ๑๒ ๑๑ ๗ ๒ ๑๘ - ๑๐ ๕
รวม ๓๔ รูป รวม ๒๓ รูป รวม ๙ รูป รวม ๑๘ รูป รวม ๑๕ รูป
รวมประโยค ป.ธ.๔ นักเรียน ๙๙ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๗๕ รูป สามเณร จำ�นวน ๒๓ รูป

ชั้นประโยค ป.ธ.๕
นครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี สมุทรสาคร นอกภาค
พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร พระภิกษุ สามเณร
๙ ๔ ๕ ๓ ๖ - ๒ ๑ ๒ ๑
รวม ๑๓ รูป รวม ๘ รูป รวม ๖ รูป รวม ๓ รูป รวม ๓ รูป
รวมประโยค ป.ธ.๕ นักเรียน ๓๓ รูป โดยแบ่งเป็นพระภิกษุ จำ�นวน ๒๔ รูป สามเณร จำ�นวน ๙ รูป

รวมนักเรียนที่เข้าอบรมฯ
- ในภาค ๑๔ จำ�นวน ๕๗๙ รูป
- นอกภาค จำ�นวน ๖๕ รูป

113
สถิติพระวิทยากร และนักเรียน
การอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

พระวิทยากร พระวิทยากร
ประโยค นักเรียน รวม
ประจำ�ชั้น กองตรวจ
๑-๒ ๓๒๖ ๑๕ ๕๖ ๔๐๐
๓ ๑๙๑ ๑๕ ๒๓ ๒๒๙
๔ ๑๐๑ ๕ ๑๑ ๑๑๗
๕ ๓๑ ๖ ๙ ๔๖
รวม ๖๔๙ ๔๑ ๑๐๒ ๗๙๒

- รวมพระวิทยากร จำ�นวน ๑๔๓ รูป


- รวมนักเรียน จำ�นวน ๖๔๙ รูป
- รวมทั้งสิ้น จำ�นวน ๗๙๒ รูป

114
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๐ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
วิชา แปลมคธเป็นไทย
ประโยค ๑-๒ “ธรรมบท ภาค ๑ - ๔ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๔๔ ๑ ๑ จักขุปาล ๓ จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ - ปตฺถนํ กตฺวา ปกฺกามิ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๑ ๑ จักขุปาล ๓ สาวตฺถิยํ กิร มหาสุวณฺโณ - ทฺวินฺนํเยว วิวเรสุํ ฯ
๒๕๓๘ ๑ ๑ จักขุปาล ๓ - ๔ สาวตฺถิยํ กิร - วสฺสาวาเส วสิ ฯ
๒๕๔๐ ๑ ๑ จักขุปาล ๔ - ๕ ตสฺมึ สมเย สตฺถา - ปญฺหํ น ปุจฺฉติ ฯ
๒๕๔๗ ๑ ๑ จักขุปาล ๗ - ๘ มนุสฺสา วตฺตสมฺปนฺเน - ภนฺเต อปฺปมตฺตา โหถาติ ฯ
๒๕๔๗ ๒ ๑ จักขุปาล ๘ - ๙ เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส - ปุจฺฉิยมาโนปิ น กเถสิ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ ๑ จักขุปาล ๑๑ - ๑๒ เวชฺโช ทิสฺวา กึ ภนฺเต - กตฺวา คามํ ปวิสึสุ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๒ ๑ จักขุปาล ๑๒ - ๑๓ เถโรปิ อิตเร สฏฺฐิภิกฺขู - อนุคนฺตฺวา ปริเทวิตฺวา นิวตฺตึสุ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๒๕ - ๒๖ ตสฺมึ ขเณ มฏฺฐกุณฺฑลี - โรทนฺโต อฏฺฐาสิ ฯ
๒๕๒๔ ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๒๖ - ๒๘ พฺราหฺมโณ ตํ ทิสฺวา - โก นีธ กนฺทตํ พาลฺยตโรติ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๒ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๓๑ - ๓๒ พฺราหฺมโณปิ เคหํ คนฺตวา - นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ ฯ
๒๕๒๕ ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๓๒ - ๓๓ ทฺวีหิ ชเนหิ กถิตํ - ตุฏฺฐึ ปเวเทสิ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ ๑ กาลียักขินี ๔๒ - ๔๓ เอโก กิร กุฎุมฺภิกปุตฺโต - วุจฺจมานาปิ ปุนบฺปุนํ กเถสิ ฯ
๒๕๕๓ ๑ ๑ กาลียักขินี ๔๓ วญฺฌิตฺถี ตํ กถํ สุตฺวา - ทุติยมฺปิ ตเถว ปาเตสิ ฯ
๒๕๕๓ ๒ ๑ กาลียักขินี ๔๓ - ๔๔ อถ นํ ปฏิวิสฺสกิตฺถิโย - กุกฺกุฏี หุตฺวา นิพฺพตฺติ ฯ
๒๕๕๘ ๑ ๑ โกสัมพี ๕๘-๕๙ อถ นํ สตฺถา – มหาราชาติ ฯ
๒๕๕๘ ๒ ๑ โกสัมพี ๕๙ อนาถปิณฺฑิโกปิ – ภาริยํ กตนฺติ อาห ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ ๑ จุลลกาลมหากาล ๖๑ สุภานุปสฺสึ – สงฺกิเลสญฺจ กเถสิ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๒ ๑ จุลลกาลมหากาล ๖๑ – ๖๒ ตํสุตฺวา มหากาโล – วิหารํ อาคจฺฉติ ฯ
๒๕๓๖ ๑ ๑ จุลลกาล ๖๒ - ๖๓ เถโร กึ ปน - ทสฺเสตฺวา ฌาเปสฺสามีติ ฯ
๒๕๒๐ ๑ ๑ จุลลกาล ๖๗ - ๖๘ สตฺถา มา ภิกฺขเว – วีริยกรณวิรหิตํ ฯ
๒๕๒๐ ๒ ๑ จุลลกาล ๖๘ - ๖๙ ปสหตีติ อภิภวติ - น สกฺโกตีติ อตฺโถ ฯ

115
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๓๗ ๑ ๑ เทวทัต ๗๐ - ๗๑ อุปาสโก นครวีถิยํ - วิจรตีติ วทึสุ ฯ
๒๕๑๗ ๑ ๑ สัญชย ๘๓-๘๔ อถสฺส เอตทโหสิ - มหาสมโณติ คาถมาห ฯ
๒๕๔๖ ๑ ๑ นันทเถระ ๑๐๕ - ๑๐๖ สตฺถา หิ ปวตฺติตปวรธมฺม - สตฺถา ตตฺถาปิ น คณฺหิ ฯ
๒๕๑๐ ๑ ๑ จุนทสูกริก ๑๑๖ - ๑๑๗ อิธ โสจติ เปจฺจ โสจตีติ - มหานิรยสนฺตาโป อุปฏฺฐหิ.
๒๕๑๕ ๑ ๑ จุนทสูกริก ๑๑๖ - ๑๑๗ ฉาตกกาเล สกเฏน - ขาทิตฺวา เสสํ วิกฺกีณาติ ฯ
๒๕๑๐ ๒ ๑ จุนทสูกริก ๑๑๗ - ๑๑๙ อวีจิสนฺตาโป นาม - ผรุโส สตฺโต ทิฏฺฐปุพฺโพติ ฯ
๒๕๓๕ ๒ ๑ ธัมมิกอุบาสก ๑๒๐ - ๑๒๑ สาวตฺถิยํ กิร - อาคเมถาติ อาห ฯ
๒๕๓๔ ๑ ๑ เทวทัต ๑๒๙ -๑๓๐ อปรภาเค สตฺถริ - ลาภสกฺการํ นิพฺพตฺเตสิ ฯ
๒๕๓๓ ๑ ๑ เทวทัต ๑๓๑ - ๑๓๒ เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ - สทฺธึ เอกโต ว อเหสุ ํฯ
๒๕๒๘ ๑ ๑ สุมนาเทวี ๑๔๒ โส โสตาปนฺโนปิ - เอวํ คหปตีติ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๒ ๑ เทวสหายกภิกขุ ๑๔๖ สตฺถา สาธุ สาธูติ - อิมา คาถา อภาสิ ฯ
๒๕๑๑ ๒ ๑ เทวสหาย ๑๔๖ - ๑๔๗ พหุมฺปิ เจ สหิตํ - น ทุสฺสีลสฺส ฯ
๒๕๓๒ ๑ ๑ เทวสหาย ๑๔๗ ตํ อาจริเย - น ทุสฺสีลสฺส ฯ
๒๕๓๙ ๑ ๒ สามาวดี ๑ - ๒ อปฺปมาโท อมตํ ปทนฺติ - เต ตถา กรึสุ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ ๒ สามาวดี ๒ – ๓ อปรภาเค เวฏฺฐทีปกตาปโส - โกจิ อุปทฺทโว อตฺถึติ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๒ ๒ สามาวดี ๓ อาม อาวุโส หตฺถึ - หตฺถี ปลาเปตฺวา วสิ ฯ
๒๕๕๖/๑ ๑ ๒ สามาวดี ๙ – ๑๐ ตํ ทิวสญฺจ โคปาลกสฺส - ภตึ กโรนฺตี วสิ ฯ
๒๕๕๖/๑ ๒ ๒ สามาวดี ๑๐ – ๑๑ สาปิ โข สุนขี - เอกมนฺเต นิปชฺชติ ฯ
๒๕๔๙/๑ ๑ ๒ สามาวดี ๑๒ - ๑๓ ติรจฺฉานา นาเมเต อุชุชาติกา - กุจฺฉิจฺสมึ ปฏิสนฺธึ คณฺหิ ฯ
๒๕๕๒/๑ ๑ ๒ สามาวดี ๒๐ เสฏฺฐิโน ปเนกา ธีตา อตฺถิ - อวตฺถริตฺวา คณฺหิ ฯ
๒๕๕๒/๑ ๒ ๒ สามาวดี ๒๑ อถ นํ ปุจฺฉิ กุหึ โส - โอตริตฺวา ทุสฺสนฺเตเยวสฺส พนฺธิฯ
๒๕๕๒/๒ ๑ ๒ สามาวดี ๒๒ - ๒๓ เสฏฺฐิโน ยํ กาเรมิ ตํ น โหติ - คมิสฺสสิ อจฺฉ ตาวาติ อาหฯ
๒๕๕๒/๒ ๒ ๒ สามาวดี ๒๓ - ๒๔ เสฏฺฐิโน โรโค พลวา ชาโต - อตฺตโน ปุริเส อาณาเปสิ ฯ
๒๕๑๖ ๑ ๒ สามาวดี ๔๐ - ๔๑ อถ นํ พฺราหฺมโณ อาห - อิมํ คาถมาห ฯ
๒๕๕๔/๑ ๑ ๒ สามาวดี ๔๘ – ๔๙ อเถกทิวสํ มาคนฺทิยา อตฺตโน - ตสฺมึ กาเล อุปฺปนฺนานิ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๒ ๒ สามาวดี ๔๙ – ๕๐ มาคนฺทิยา ตาสํ กิญฺจิ - ติสฺโส คาถา อภาสิ ฯ
๒๕๑๐ ๑ ๒ สามาวดี ๕๖-๕๘ มาคนฺทิยา ยมหํ กโรมิ - คติ โก อภิสมฺปราโยติ ฯ
๒๕๑๐ ๒ ๒ สามาวดี ๕๘ - ๕๙ สนฺเตตฺถ ภิกฺขเว - ญาติคณํ ปกฺโกสาเปหีติ.

116
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๓๙ ๒ ๒ สามาวดี ๖๑ เอวํ วุตฺเต ภิกฺขู สตฺถารํ - พุทฺธนฺตเร ปุพฺพกมฺมํ ฯ
๒๕๕๙ ๑ ๒ กุมฺภโฆสก ๖๖-๖๗ ราชคหนครสฺมึ หิ – ภตกวีถึ ปาปุณิ ฯ
๒๕๕๙ ๒ ๒ กุมฺภโฆสก ๖๗-๖๘ อถ นํ ภตกา ทิสฺวา – เอตํ าตุ วฏฺฏตีติ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ ๒ จูฬปนฺถกตเถร ๗๘-๗๙ โส กิร กสฺสปสมฺมาสมฺพทุ ธฺ กาเล - ปาโต ว วิพภฺ มิต ุ ปายาสิ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๒ ๒ จูฬปนฺถกตเถร ๗๙ สตฺถา ปจฺจสู กาเลเยว โลกํ – คนฺตวฺ า ปญฺญตฺตาสเน นิสที ิ ฯ
๒๕๑๔ ๑ ๒ จูฬปันถก ๗๙ - ๘๐ จูฬปนฺถโกปิ สุริยํ - วิคตรชสฺส สาสเน….ติ ฯ
๒๕๔๕ ๑ ๒ จูฬปันถก ๘๔ - ๘๕ ตทา พาราณสีราชา - อตฺถิ ตํ อาเนหีติ ฯ
๒๕๑๘ ๒ ๒ มหากัสสป ๙๑ - ๙๒ สตฺถา เชตวเน นิสินฺนโกว - อกิจฺเฉน อเวกฺขตีติ ฯ
๒๕๑๒ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๑๑ - ๑๑๒ โส วิเสเสตฺวา กมฺมฏฺฐานํ - กโรนฺโต คจฺฉตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๒๓ โส จินฺเตสิ อยํ อุปาสิกา - สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ ฯ
๒๕๔๓ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๒๕ - ๑๒๖ สตฺถา ตสฺส ภิกฺขุโน - นิพฺพานธาตุยา ปรินิพฺพายิ ฯ
๒๕๔๑ ๑ ๒ จิตตหัตถ ๑๓๕ ตสฺมึ ขเณ ตสฺส ภริยา - ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ
๒๕๓๐ ๑ ๒ ปูติคัตติสสะ ๑๔๖ - ๑๔๗ พุทฺธานญฺจ นาม - หุตฺวา มญฺจเก นิปชฺชิ ฯ
๒๕๓๐ ๒ ๒ ปูติคัตติสสะ ๑๔๗ สตฺถา ตสฺส อุสฺสีสเก - ปฐวิยํ เสสฺสตีติ ฯ
๒๕๒๖ ๑ ๒ นันทโคปาลก ๑๔๙ - ๑๕๐ สาวตฺถิยํ กิร - วนฺทิตฺวา นิวตฺติ ฯ
๒๕๒๖ ๒ ๒ นันทโคปาลก ๑๕๐ - ๑๕๑ อถ นํ เอโก ลุทฺธโก - สีสํ อุกฺขิปิตุ น เทตีติ ฯ
๒๕๓๘ ๒ ๒ โสเรยย ๑๕๓ ปุริสา หิ อิตฺถิโย อิตฺถิโย - อิตฺถีภาวํ ปฏิลภิ ฯ
๒๕๒๙ ๑ ๒ โสเรยย ๑๕๖ ปุริสลิงฺเค ปาตุภูตมตฺเตเยว -โสเรยฺยตฺเถโรติ นามํ อโหสิ ฯ
๒๕๒๙ ๒ ๒ โสเรยย ๑๕๖ - ๑๕๘ ชนปทวาสิโน ตํ ปวตฺตึ - เสยฺยโส นํ ตโต กเรติ ฯ
๒๕๑๗ ๒ ๓ มรีจิกัมมฐาน ๓ - ๔ สตฺถา คนฺธกุฏิยํ - มหานิพฺพานํ คจฺเฉยฺยาติ ฯ
๒๕๕๑/๑ ๑ ๓ วิฑูฑภ ๕ - ๖ ตตฺรายํ อนุปุพฺพีกถา - ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๑ ๓ วิฑูฑภ ๖ - ๗ อเถกทิวสํ ราชา - อานนฺทตฺเถรสฺส ภารมกาสิ ฯ
๒๕๔๙/๑ ๒ ๓ วิฑูฑภ ๖ - ๗ อเถกทิวสํ ราชา - อานนฺทตฺเถรสฺส ภารมกาสิ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๒ ๓ วิฑูฑภ ๗ ราชา ภิกฺขุสงฺเฆ - มหาปุญฺญา อภินีหารสมฺปนฺนา ฯ
๒๕๕๑/๑ ๒ ๓ วิฑูฑภ ๗ - ๘ อานนฺทตฺเถโรปิ - ภิกฺขู อามนฺเตตฺวา อิมํ สุตฺตมาห ฯ
๒๕๕๕/๒ ๑ ๓ วิฑูฑภ ๘ – ๙ สตฺถา ภิกฺขูนํ โทสํ อวตฺวา - ปุฏฺโฐ อตีตํ อาหริ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๒ ๓ วิฑูฑภ ๑๑ – ๒๒ ราชา ภิกฺขุสงฺเฆน สทฺธึ - อาเนยฺยาถาติ เปเสสิ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ ๓ วิฑูฑภ ๒๐ - ๒๑ วิฑูฑโภปิ รชฺชํ - มหนฺเตน พเลน นิกฺขมิ ฯ

117
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๒ ๑ ๓ วิฑูฑภ ๒๑ - ๒๒ สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปน - จ ชีวิตํ ลภึสุ ฯ
๒๕๒๑ ๑ ๓ วิฑูฑภ ๒๓ - ๒๔ วิฑูฑโภปิ มยฺหํ - นทิยํ วิสํ ปกฺขิปึสูติ ฯ
๒๕๒๑ ๒ ๓ วิฑูฑภ ๒๔ - ๒๕ สตฺถา อาคนฺตฺวา - นิมุชฺชาเปตีติ ฯ
๒๕๓๓ ๒ ๓ ปาฏิกาชีวก ๓๙ - ๔๐ พุทฺธานญฺจ มคฺคเทสเกน - วฏฺฏตีติ วตฺวา (อาห) ฯ
๒๕๕๕/๑ ๑ ๓ ฉัตตปาณิ ๔๑ – ๔๒ สาวตฺถิยํ หิ ฉตฺตปาณิ - วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ
๒๕๕๕/๑ ๒ ๓ ฉัตตปาณิ ๔๒ – ๔๓ สตฺถา กุปิตภาวํ ญตฺวา - ครุกาเนตฺถ เทวาติ.
๒๕๔๘/๒ ๒ ๓ วิสาขา ๔๕ - ๔๖ สา กิร องฺครฎฺเฐ - ทสพลสฺส ปจฺจุคฺคมนํ กโรหีติ ฯ
๒๕๔๓ ๒ ๓ วิสาขา ๔๘ - ๔๙ มหาปุญฺญาย หิ อิตฺถิยา - อิทํ วยกลฺยาณํ นาม ฯ
๒๕๔๔ ๒ ๓ วิสาขา ๕๗ - ๕๘ อถ เสฺว มม ธีตา - กิญฺจิ อเสเสตฺวา นิกฺขมึสุ ฯ
๒๕๔๒ ๒ ๓ วิสาขา ๖๑ เสฏฺฐี กลฺยาณํ เอสา - กึ โทสํ ปสฺสตีติ ฯ
๒๕๕๐/๑ ๑ ๓ วิสาขา ๗๐ - ๗๑ อเถกทิวสํ สตฺถา - จินฺเตตฺวา เถรสฺส ปตฺตํ คณฺหิ ฯ
๒๕๒๗ ๑ ๓ มหากัสสปะ ๘๑ - ๘๒ ตสฺมึ ขเณ สกฺโก - สามีติ ปฏิวจนํ อทาสิ ฯ
๒๕๑๓ ๑ ๓ ครหทิน ๙๑ - ๙๒ โส ตสฺมึ ทฺวินฺนํ - อสุจินา มกฺขยึสูติ ฯ
๒๕๑๒ ๒ ๓ ครหทิน ๙๘ - ๙๙ สตฺถา อนุโมทนํ กโรนฺโต - วิโรจติ โสภตีติ ฯ
๒๕๑๙ ๒ ๓ อัญญตรปุริส ๑๐๙ - ๑๑๐ โสปิ ปุริโส ตตฺเถว - อสกฺโกนฺตานํ อติทีโฆเยวาติ ฯ
๒๕๒๓ ๑ ๓ อานนทเสฏฐี ๑๒๑ - ๑๒๒ สา ตํ กิจฺเฉน โปสยมานา - มหาชนกาโย สนฺนิปติ ฯ
๒๕๒๓ ๒ ๓ อานนทเสฏฐี ๑๒๒ - ๑๒๓ สตฺถา มูลสิรึ อามนฺเตตฺวา - สุขํ อุปฺปาทยึสูติ ฯ
๒๕๒๗ ๒ ๓ สุมนมาลาการ ๑๓๔ - ๑๓๖ อถ มาลากาโร - นิกฺขมนฺโต นาม นตฺถิ ฯ
๒๕๑๔ ๒ ๓ ชมพุกาชีวก ๑๕๒ - ๑๕๓ สตฺถา มหาชนสฺส - ตปจรณโต มหนฺตตรนฺติ ฯ
๒๕๓๑ ๑ ๓ สุธัมมะ ๑๖๕ - ๑๖๖ สตฺถา ตยา อุปาสโก - อิจฺฉา มาโน จ วฑฺฒตีติ ฯ
๒๕๓๑ ๒ ๓ สุธัมมะ ๑๖๖ - ๑๖๗ ตตฺถ อสนฺตนฺติ - นววิธมาโน จ วฑฺฒตีติ ฯ
๒๕๔๖ ๒ ๓ วนวาสิติสสะ ๑๘๖ - ๑๘๗ อานนฺทตฺเถโร กิร – การุญฺญตโร ฯ
๒๕๔๐ ๒ ๔ ราธเถระ ๑ - ๒ อเถกทิวสํ สตฺถา - กติปาเหเนว อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ
๒๕๑๘ ๑ ๔ ราธเถระ ๒ - ๓ อถ นํ สตฺถา ปฏิสนฺถารํ - วิตฺถาเรตฺวา กเถสิ ฯ
๒๕๕๗/๑ ๑ ๔ ราธเถระ ๑ - ๒ โส (ราโธ) กิร คิหิกาเล - ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชสิ ฯ
๒๕๕๗/๑ ๒ ๔ ราธเถระ ๒ - ๓ ตสฺส ภตฺตคฺเค อาสนปริยนฺเต -วิตฺถาเรตฺวา กเถสิ ฯ(ตัดถาถา)
๒๕๕๐/๑ ๒ ๔ มหากัปปินะ ๑๑ อเถกทิวสํ วิหาเร - จีวรานิ สชฺชยึสุ ฯ
๒๕๖๐ ๑ ๔ มหากัปปินะ ๙-๑๐ อตีเต กิรายสฺมา – ปจฺเจกพุทฺธา อธิวาสยึสุ ฯ

118
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๖๐ ๒ ๔ มหากัปปินะ ๑๐ สา คามํ ปวิสิตฺวา - กตฺวา ปกฺกมึสุ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๑ ๔ มหากัปปินะ ๑๙ – ๒๐ สตฺถา ตสฺสา อาคมนภาวํ – เอกจฺเจ วทนฺติ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๒ ๔ มหากัปปินะ ๒๐ สตฺถา ปน ตา อุปสิกาโย – อุทานํ อุทาเนตีติ ฯ
๒๕๓๕ ๑ ๔ ปัณฑิตสามเณร ๒๑ - ๒๒ อตีเต กิร - คณฺหถาติ. สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ
๒๕๒๒ ๑ ๔ ปัณฑิตสามเณร ๒๔ - ๒๕ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐี - นว ตณฺฑุลนาฬิโย อเหสุํ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๒ ๔ ปัณฑิตสามเณร ๒๖ - ๒๗ ตํ ทิวสํ ปน สตฺถา -ภติยา กตฺตพฺพนฺติ ปุจฺฉิ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ ๔ ปัณฑิตสามเณร ๓๕-๓๖ อถสฺส เตเชน – ปูเรตฺวา อทํสุ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๒ ๔ ปัณฑิตสามเณร ๓๖ เถโร หรณาการํ ทสฺเสสิ – เถโร วิสฺสชฺเชสิ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ ๔ ธัมมิก ๔๗ - ๔๘ สาวตฺถิยํ หิ เอโก อุปาสโก น - จิรสฺเสว อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ
๒๕๔๕ ๒ ๔ มหากัสสปะ ๕๕ - ๕๖ เอกสฺมึ หิ สมเย สตฺถา - ปริสาย สทฺธึ นิวตฺตสฺสูติ ฯ
๒๕๑๖ ๒ ๔ เพฬัฏฐสีสะ ๕๙ - ๖๐ สตฺถา เอตสฺมึ นิทาเน - น สกฺกา ปญฺญาเปตุนฺติ ฯ
๒๕๓๗ ๒ ๔ อนุรุทธ ๖๑ เอกสฺมึ หิ ทิวเส เถโร - ตํ สตฺถา สูจิปาสเก อาวุณิ ฯ
๒๕๑๓ ๒ ๔ สารีปุตตัตเถร ๖๗ - ๖๘ สตฺถา ตํ กถํ สุตฺวา - สํสารา นาม น โหนฺตีติ ฯ
๒๕๔๑ ๒ ๔ ขทิรวนิยิยเรวัต ๗๘ - ๗๙ ตตฺถ ปน เทฺว - นิวาสนฏฺฐานสทิสํ อุปาสิเกติ ฯ
๒๕๓๔ ๒ ๔ ทารุจีริย ๙๖ - ๙๗ โส เอวํ วตฺวา ตรมานรูโป - น ปริปุณฺณนฺติ อาห ฯ
๒๕๑๙ ๑ ๔ กุณฑลเกสี ๑๐๒ อถ นํ สา ติกฺขตฺตุ ตตฺถ - ตตฺถ วิจกฺขณาติ ฯ
๒๕๒๒ ๒ ๔ อนัตถปุจฉก ๑๐๗ - ๑๐๘ โส กิร พฺราหฺมโณ - เนว สกฺกุเณยฺยาติ ฯ
๒๕๒๕ ๒ ๔ สารีปุตต ๑๑๑ - ๑๑๓ ตมฺปิ หิ เถโร - อภิวาทนเมว เสยฺโยติ ฯ
๒๕๑๑ ๑ ๔ อายุวฑฺฒนกุมาร ๑๑๔ - ๑๑๕ สตฺถา ทีฆายุโก โหหีติ - สตฺถุ สนฺติกํ อคมาสิ ฯ
๒๕๒๘ ๒ ๔ อายุวฑฺฒนกุมาร ๑๑๔ - ๑๑๕ สตฺถา ทีฆายุโก โหหีติ - ปริวุโต วิจรติ ฯ
๒๕๒๔ ๒ ๔ อายุวฑฺฒนกุมาร ๑๑๖ (สตฺถา) อิมํ คาถมาห - วฑฺฒนํ นาม นตฺถีติ ฯ
๒๕๓๒ ๒ ๔ สังกิจจสามเณร ๑๑๗ - ๑๑๙ สา ตสฺมึ กุจฺฉิคเต - อยํ สงฺกิจฺจสามเณโร นาม ฯ
๒๕๑๕ ๒ ๔ ปฏาจาร ๑๔๐ - ๑๔๒ สตฺถา ตสฺสา วจนํ สุตฺวา - มรนฺติเยวาติ จินฺเตสิ ฯ
๒๕๓๖ ๒ ๔ พหุปุตติกา ๑๔๘ - ๑๔๙ อถ นํ กติปาหจฺจเยน - เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห ฯ

119
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
วิชาแปลมคธเป็นไทย
ประโยค ป.ธ.๓ “ธรรมบท ภาค ๕ - ๘ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๕๑/๒ ๑ ๕ จูเฬกสาฎก ๑ - ๒ วิปสฺสิทสพลสฺส กาลสฺมึ - เมติ ติกฺขตฺตุ ํ มหาสทฺทมกาสิ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๒ ๕ จูเฬกสาฎก ๒-๓ ราชา ปเสนทิโกสโล - เต ตถา กรึสุ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๑ ๕ จูเฬกสาฎก ๓ – ๔ ราชา สตสหสฺสคฺฆนเก - กลฺยาณกมฺมํ กาตพฺพนฺติ อาห ฯ
๒๕๔๕ ๑ ๕ จูเฬกสาฎก ๓ - ๔ ภิกฺขู ธมฺมสภายํ - ปาปนินฺนเมว โหตีติ ฯ
๒๕๕๔ ๒ ๕ อนาถปิณฑิกะ ๙ – ๑๐ อนาถปิณฺฑิโก หิ วิหารเมว - เวลามสุตฺตมสฺส กเถสิ ฯ
๒๕๓๘ ๑ ๕ อนาถปิณฑิกะ ๑๒ - ๑๓ สา สาธุ เทวาติ - ภทฺรานิ ปสฺสตีติ ฯ
๒๕๕๐/๑ ๑ ๕ อนาถปิณฑิกะ ๑๒ - ๑๔ สตฺถา กลฺยาณปาปกานํ - ภทฺรานิเยว ปสฺสตีติ ฯ
๒๕๕๔ ๑ ๕ พิฬาลปทกะ ๑๘ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐี จินฺเตสิ - โถกํปิ อาจินนฺติ ฯ
๒๕๕๗ ๑ ๕ สุปปพุทธะ ๔๒ โส กิร อยํ มม ธีตรํ - ยถาสุตํ อาโรเจสิ ฯ
๒๕๕๗ ๒ ๕ สุปปพุทธะ ๔๒ – ๔๓ โส ตสฺส วจนํ สุตฺวา - นปฺปสเหยฺย มจฺจูติ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ ๕ ฉัพพัคคีย์ ๔๔ - ๔๕ สตฺถา เตสํ - หนาเปยฺยาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๕ ๑ ๕ โมคคัลลานะ ๖๓ - ๖๔ โย ทณฺเฑณ อทณฺเฑสุ - อุปฺปชฺชตีติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๑ ๕ ปิโลติกะเถระ ๗๗ - ๗๘ ตํ สุตฺวา สตฺถา - ทุลฺลโภติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๒ ๕ อธิมานิกภิกขุ ๑๐๑ ปญฺจสตา กิร ภิกฺขู – ตานิ ทิสฺวาน กา รตีติ ฯ (คาถา)
๒๕๔๐ ๑ ๕ ปฐมโพธิ ๑๑๕ - ๑๑๖ อเนกชาติสํสารนฺติ - อนุวิจรินฺติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ ๕ มหาธนเศรษฐีบุตร ๑๑๘ อถสฺส น จิรสฺเสว - ภุญฺชิตุํ อารภิ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๑ ๕ มหาธนเศรษฐีบุตร ๑๑๘ -๑๑๙ โส สเตนปิ สตทฺวเยนปิ – วิย ชาโตติ (อาห) ฯ
๒๕๓๒ ๑ ๖ โพธิราชกุมาร ๓ สตฺถา อปฺปวิสิตฺวา ว - อตีตํ อาหริตฺวา ทสฺเสสิ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๑ ๖ มหากาลอุบาสก ๑๖ - ๑๗ สตฺถา อาม ภิกฺขเว - ยานกํ โยเชตฺวา ปายาสิ ฯ
๒๕๔๐ ๒ ๖ มหากาล ๑๖ - ๑๗ อตีเต กิร - เอกํ มณิรตนํ อตฺถิ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๒ ๖ มหากาลอุบาสก ๑๗ – ๑๘ อถสฺส ยานกํ เสเธนฺตา - อภิมตฺถติ วิทฺธํเสตีติ ฯ
๒๕๓๗ ๑ ๖ เทวทัตต ๑๙ - ๒๐ สตฺถา อาคนฺตฺวา กาย - นามาติ อตฺโถ ฯ

120
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๙/๑ ๑ ๖ กาลตฺเถระ ๒๒ - ๒๓ สา เอกทิวสํ ยาโตว - ฆาตาย พลฺลตีติ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ ๖ เปสการธีตุ ๔๐ - ๔๑ ปิตา ปนสฺสา - ตํ สตฺถา อาห ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ ๖ เปสการธีตุ ๔๓ อถสฺสา สตฺถา มยา - ปาปุณาตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๒ ๖ เปสการธีตุ ๔๓ - ๔๔ สาปิ ตสรปจฺฉึ - อาหตฺตํ ปาปุณีติ ฯ
๒๕๔๒ ๑ ๖ จิญฺจมาณวิกา ๔๖ - ๔๗ ปฐมโพธิยํ หิ - สตฺถารํ นาเสหีติ ฯ
๒๕๔๗ ๒ ๖ อสทิสทาน ๕๒ - ๕๓ อถ นํ มลฺลิกา - สพฺพํ กาเรสิ ฯ
๒๕๓๘ ๒ ๖ ยมกปาฏิหาร ๗๖ อถ นํ ฆรณี นาม - เอกมนฺตํ อฏฺฐาสิ ฯ
๒๕๕๑/๑ ๑ ๖ ยมกปาฏิหาร ๗๔ - ๗๕ ราชา เอวรูโป - สตฺถา อากาเส รตนจงฺกมํ มาเปสิ ฯ
๒๕๕๐/๑ ๒ ๖ ยมกปาฏิหาร ๘๐ - ๘๑ กตมํ ตถาคตสฺส - ยมกปฺปาฏิหาริเย ญาณนฺติ ฯ
๒๕๕๑/๑ ๒ ๖ ยมกปาฏิหาร ๘๑ - ๘๒ ตสฺมึ ขเณ มหาชโน - ปาณโกฏีนํ ธมฺมาภิสมโย อโหสิ ฯ
๒๕๔๕ ๒ ๖ ยมกปาฏิหาร ๘๒ - ๘๓ สตฺถา ปาฏิหาริยํ - ปฏิจฺฉาทยมานํ ขิปิ ฯ
๒๕๓๓ ๑ ๖ ยมกปาฏิหาร ๙๑ - ๙๒ สพฺพพุทฺธานํ กิร อวิชหิตเมว - อุปธาเรถาติ อาหํสุ ฯ
๒๕๕๒/๑ ๑ ๖ อัตตโนบุพพกรรม ๙๓ - ๙๔ โส เอเกกสฺส - เอกวสฺสํ วิย จ ชาตนฺติฯ
๒๕๔๗ ๑ ๖ เอกรปัตตะ ๙๘ - ๙๙ อถ นํ สตฺถา - อติวิย ทุลฺลโภติ ฯ
๒๕๕๒/๑ ๒ ๖ วัชชีปุตตกภิกษุ ๑๐๗ - ๑๐๘ ทุปฺปพฺพชฺชํ ทุรภิรมนฺติ - ปีฬีโต เอวมาห ฯ
๒๕๓๙ ๑ ๖ ปัญจสตะ ๑๕๒ ทารกา มหากสฺสปตฺเถรํ - โหติเยวาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๒ ๒ ๖ นันทิยะ ๑๕๗ - ๑๕๘ จิรปฺปวาสึ ปุริสํ - เสสญาตกา วิยาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๓ ๑ ๖ อุตฺตราอุปาสิกา ๑๖๖ - ๑๖๗ ปุณฺโณ เถรํ ทิสฺวา - ภตฺตกิจจํ อกาสิ ฯ
๒๕๕๕ ๑ ๖ อุตฺตราอุปาสิกา ๑๖๘ -๑๖๙ อถสฺส ปาโตว กสิตฏฺฐานํ - สุวณฺณเมว อโหสิ ฯ
๒๕๕๕ ๒ ๖ อุตฺตราอุปาสิกา ๑๗๒ –๑๗๓ สา อุตฺตราย อาฆาตํ - ขมนฺเต ขมิสฺสามีติ ฯ
๒๕๓๐ ๑ ๖ อตุลอุบาสก ๑๘๖ สตฺถา ตสฺส กถํ - พฺรหฺมุนาปิ ปสํสิโตติ ฯ
๒๕๓๐ ๒ ๖ อตุลอุบาสก ๑๘๖ - ๑๘๗ ตตฺถ โปราณเมตนฺติ - ปสํสิโตเยวาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๔ ๑ ๗ โลฬุทายีเถระ ๑๔ อสชฺฌสยมาลา มนฺตา - มลฏฺฐานิยตฺตา มลนฺติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๙ ๑ ๗ อญฺญตรกุลปุตฺต ๑๕ – ๑๖ อถ นํ สตฺถา – นิมฺมลา โหถาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๙ ๒ ๗ จูฬสาริภิกฺขุ ๑๗ โส กิร เอกทิวสํ – สุเขน ชีวิตุ สกฺกา ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ ๗ จูฬสาริภิกฺขุ ๑๗-๑๘ กากสูเรนาติ สูรกากสทิเสน – อหิริเกน สุชีวนฺติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๒ ๗ จูฬสาริภิกฺขุ ๑๘-๑๙ ธิสินาติ อสุกตฺเถโร นาม – ปาปชีวิตเมวาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๓ ๒ ๗ จูฬสารีภิกษุ ๑๗ - ๑๘ สตฺถา ภิกฺขเว อหิริโก - อหิริเกน สุชีวนฺติ อตฺโถ ฯ

121
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๓๙ ๒ ๗ เมณฑกะ ๓๐ เอวํ วิปสฺสิพุทฺธกาเล - ตตฺเถว ชีวถาติ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๒ ๗ เมณฑกะ ๓๑ - ๓๒ ตสฺมึ ขเณ - ปตฺเต โอกิริ ฯ
๒๕๔๖ ๑ ๗ เมณฑกะ ๓๖ - ๓๗ เอวํ มหานุภาโว - วชฺชํ ฉาเทตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๓ ๒ ๗ วินิจฉัย ๔๑ -๔๒ สตฺถา น ภิกฺขเว - น โหตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๔ ๑ ๗ สัทธิวิหาริกฯ ๗๗ - ๗๘ อถ นํ สตฺถา - อุปจารชฺฌานํ อุปฺปชฺชิ ฯ
๒๕๓๗ ๒ ๗ อัตตโน ๘๗ เอกสฺมึ หิ สมเย - ภยํ น อุปฺปชฺชตีติ ฯ
๒๕๓๒ ๒ ๗ อัตตโน ๙๑ – ๙๒ เตน ยงฺกิญฺจีติ วุตฺตมตฺเตเยว - สตฺถารํ ยาจึสุ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๑ ๗ อัตตโน ๙๒ - ๙๓ คงฺคาย นิพฺพตฺตา - อุทิกฺขมาโน อฏฺฐาสิ ฯ
๒๕๓๖ ๑ ๗ อัตตโน ๙๒ - ๙๓ มยํ กึ นุ กโรมาติ - นิมฺมิตพุทฺธํ มาเปสิ ฯ
๒๕๓๔ ๒ ๗ อัตตโน ๙๖ - ๙๗ สตฺถา อิทํ อตีตํ - ตํ มตฺตาสุขํ จเชยฺยาติ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๒ ๗ อัตตโน ๙๖ - ๙๗ สตฺถา อิทํ อตีตํ - สมฺปสฺสํ วิปุลํ สุขนฺติ ฯ
๒๕๕๓ ๑ ๗ ทุพพจภิกขุ ๑๒๗ - ๑๒๘ เอโก กิร ภิกฺขุ - น มหปฺผลํ โหตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๓ ๒ ๗ อิสสาปกตอิตถี ๑๒๙ - ๑๓๐ สา อิสฺสาปกตา ตํ ทาสึ - กตฺวา นานุตปฺปตีติ ฯ
๒๕๓๑ ๑ ๗ อัตตโน ๑๓๖ - ๑๓๗ วตฺถุ อปฺปมาทวคฺคสฺส - อิมา คาถา อภาสิ ฯ
๒๕๓๑ ๒ ๗ อัตตโน ๑๓๗ - ๑๓๘ อหํ นาโคว สงฺคาเม - อุตฺตริตโรติ อตฺโถ ฯ
๒๕๒๙ ๑ ๗ ปริชิณณะ ๑๔๑ โสปิ นสฺส วสลีติ - ภควา เตนุปสงฺกมีติ ฯ
๒๕๒๙ ๒ ๗ ปริชิณณะ ๑๔๑ - ๑๔๒ สตฺถา เอกมนฺตํ นิสินฺเนน - ฆาเตสฺสามิ โวติ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ ๗ สาณุสามเณร ๑๔๙ - ๑๕๐ อถ โส สามเณโร - ภูมิยํ วิปฺผนฺทิ ฯ
๒๕๔๑ ๑ ๗ มาร ๑๕๙ - ๑๖๐ อถ นํ สตฺถา - อิมา คาถา อภาสิ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ ๘ วิพภันตกภิกษุ ๑๔ – ๑๕ เถโร ปิณฺฑาย – ฆราวาสพนฺธนเมว ธารตีติ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๒ ๘ พันธนาคาร ๑๖ – ๑๗ เอกสฺมึ กิร กาเล – ปพฺพชึสูติ อาห ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ ๘ อุคฺคเสน ๒๖-๒๗ เทสนาวยสเน จตุราสีติยา – อตีตํ อาหริ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๒ ๘ อุคฺคเสน ๒๗-๒๘ อตีเต กิร กสฺสปทสพลสฺส – อรหตฺเต ปติฏฐตีติ ฯ
๒๕๖๐ ๑ ๘ มาร วตฺถุ ๓๓-๓๔ เอกทิวสํ หิ วิกาเล – (มหาปุริโส) ติ วุจฺจตีติ ฯ
๒๕๖๐ ๒ ๘ อปุตฺตกเสฏฺฐี ๔๒-๔๓ ตสฺส กิร กาลกิริยํ – ปูเรตฺวา อทาสิ ฯ
๒๕๔๔ ๒ ๘ สักกเทวราช ๔๐ - ๔๑ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ - ธมฺมทานเมว เสฏฺฐํ ฯ
๒๕๓๖ ๒ ๘ ธัมมาราม ๕๙ - ๖๐ ภิกฺขุ ตถาคตสฺส - อาวชฺชนฺโตติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๑ ๒ ๘ ปัญจทายก ๖๓ - ๖๔ สตฺถา ตสฺส จ - อทสฺเสตฺวา น ปกฺกมนฺติ ฯ

122
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๕๘ ๑ ๘ ปัญจทายก ๖๓ – ๖๕ สา เอวมยํ สมณํ – มุนิ เวทยนฺตีติ (คาถาฯ)
๒๕๕๘ ๒ ๘ ปัญจทายก ๖๕ พฺราหฺมโณ ตํ สุตฺวา ว – ภิกฺขูติ วุจฺจตีติ ฯ
๒๕๔๖ ๒ ๘ สันตกายเถระ ๗๘ - ๗๙ ตสฺส กิร หตฺถปาทกุกฺกุจฺจนฺนาม - วุจฺจตีติฯ
๒๕๔๘/๒ ๒ ๘ นังคลกูฏเถระ ๘๐-๘๘ โส พุทฺธานํ - ภทฺรํว วาณิโชติ ฯ
๒๕๔๙/๑ ๒ ๘ ปเสนฺทิโกศล ๑๐๕ - ๑๐๖ ปเสนฺทิโกสโล กิร - จบคาถา ฯ
๒๕๕๖ ๒ ๘ ปิลินทวัจฉะ ๑๔๑ โส กิรายสฺมา เอหิ - ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณนฺติ ฯ
๒๕๓๕ ๒ ๘ สิวลี ๑๕๑ - ๑๕๒ เอกสฺมึ หิ สมเย - ปพฺพชิโต อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ ๘ โชติกะ ๑๘๐ – ๑๘๑ อชาตสตฺตุกุมาโรปิ - มุทฺทิกํปิ กฑฺฒิตํ นาสกฺขิ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๒ ๘ โชติกะ ๑๘๑ อถ นํ เสฏฺฐี - ตมหํ พฺรูมิ พฺราหฺมณนฺติ ฯ
๒๕๕๖ ๑ ๘ ธัมมทินนาเถรี ๑๘๗–๑๘๙ สา ลทฺธุปสมฺปทา - พฺราหฺมณํ วทามีติ อตฺโถ ฯ

123
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
ประโยค ป.ธ.๓ วิชา สัมพันธ์ไทย
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๔๑ ๑ ๕ อนาถบิณฑิกะ ๑๓ - ๑๔ ปาโปปิ ปสฺสตี - ภทฺรานิเยว ปสฺสตีติ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ ๕ พิฬาลปทกะ ๑๘ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐี - โถกํปิ อาจินนฺติ ฯ
๒๕๓๗ ๑ ๕ มหาโมคคัลลานะ ๖๓ - ๖๔ โย ทณฺเฑน - ญาตีนํ ปริกฺขยํ วา ฯ
๒๕๓๐ ๑ ๕ มัลลิกาเทวี ๑๑๐ - ๑๑๑ อถ นํ สตฺถา - สทฺธึ กเถนฺตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๙ ๑ ๕ โลฬุทายี ๑๑๓ - ๑๑๔ โส สํวจฺฉรมตฺเตน - น วฑฺฒตีติ ฯ
๒๕๔๔ ๑ ๕ โลฬุทายี ๑๑๔ อปฺปสฺสุตายํ ปุริโส - หุตฺวา วิจรติ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๑ ๖ โพธิราชกุมาร ๓ สตฺถา อปฺปวิสิตฺวาว - สตฺถา อตีตํ อาหริตฺวา ทสฺเสสิ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ ๖ โพธิราชกุมาร ๓ สตฺถา อปฺปวิสิตฺวา ว – อาหริตฺวา ทสฺเสสิ ฯ
๒๕๓๖ ๑ ๖ โพธิราชกุมาร ๔ - ๕ อตฺตานญฺเจ - นํ กโรติ ฯ
๒๕๔๙/๑ ๑ ๖ มารธีตา ๖๕ - ๖๖ เริ่มคาถา - จบแก้อรรถ
๒๕๕๘ ๑ ๖ ยมกปกฏิหาริย์ ๙๒ – ๙๓ สตฺถา สารีปุตฺโต – อาโรเปตํุ สมตฺโถติ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๑ ๖ อัญญตร ๑๒๘-๑๒๘ โส สตฺถารา วุตฺตฏฺฐาเนเยว - วตฺวา อิมํ คาถมาห ฯ
๒๕๕๓/๑ ๑ ๖ นันทิยะ ๑๕๖-๑๕๗ อถสฺส เต เทวปุตฺตา - เทวตา อภินนฺทนฺตีติ อาห ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ ๗ โคฆาตกปุตตะ ๓ - ๔ ปณฺฑุปลาโสว ทานิสิ - ปาปุณิสฺสสีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๑ ๗ โคฆาตกปุตตะ ๕ - ๖ อุปนีตวโยว ทานิสิ - คหิตาเนว โหนฺติ ฯ
๒๕๔๐ ๑ ๗ ติสสเถระ ๑๐ สาปิ สตฺตเม ทิวเส - อิมํ คาถมาห ฯ
๒๕๔๕ ๑ ๗ จูฬสาริภิกขุ ๑๗ - ๑๘ สุชีวํ อหิริเกน - คามาภิมุโข ว โหติ ฯ
๒๕๕๐/๑ ๑ ๗ วินิจฉัย ๔๑ - ๔๒ น เตน โหติ - ปวุจฺจตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๒/๑ ๑ ๗ อปุตตกะเสฏฐี ๔๓ - ๔๔ เตน วุตฺตํ ยํ - หนฺติ อญฺเญว อตฺตานนฺติฯ
๒๕๕๕/๒ ๑ ๗ เอกุทานเถระ ๔๔ – ๔๕ เตสุ เอโก เตปิฏกตฺเถโร - โย ธมฺมํ นปฺปมชฺชตีติ.
๒๕๕๕ ๑ ๗ สมพหุลภิกขุ ๔๗– ๔๘ เอกสฺมึ หิ สมเย - สาธุรูโปติ วุจฺจตีติ ฯ
๒๕๕๑/๑ ๑ ๗ สมฺพหุลภิกฺขุ ๕๕ - ๕๖ เต สพฺเพปิ เอกทิวสํ - เอวํ อปฺปวตฺตโกปิ ภโว ทุกฺโขติ ฯ

124
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๕๗/๒ ๑ ๗ โปฐิลตฺเถระ ๗๒ – ๗๓ โส นีหตมาโน สามเณรสฺส - ปทีปุชฺชลนํ วิย อโหสิ ฯ
๒๕๕๗ ๑ ๗ สารีปุตตเถระ ๗๗ – ๗๘ เถโรปิ สการณํ สอุปมํ - กมฺมฏฺฐานสปฺปายนฺติ จินฺเตสิ ฯ
๒๕๔๒ ๑ ๗ ภัททิยภิกขุ ๑๐๐ - ๑๐๑ ยํ หิ กิจฺจํ - อภาวํ คจฺฉนฺตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๗ ๑ ๗ วัชชีปุตตกะ ๑๐๙ - ๑๑๐ ทุรภิรมํ ทุราวาสา - น ภเวยฺยาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๘ ๑ ๗ จูฬสุภัททา ๑๑๕ - ๑๑๖ ตสฺมึ ขเณ - ปกาเสนฺตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๔ ๑ ๗ ทุพพจภิกษุ ๑๒๗-๑๒๘ กุโส ยถา ทุคฺคหิโต - มหปฺผลํ โหตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ ๗ สุนทรีปริพพาชิกา ๑๒๑-๑๒๒ ราชา เตนหิ - สมา ภวนฺตีติ อตฺโถฯ
๒๕๖๐ ๑ ๗ ทุกฺขปีฬิสตฺต ๑๒๓ อายสฺมา หิ มหาโมคฺคลฺลาโน – ปจฺจนฺตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๕ ๑ ๗ อาคันตุกะ ๑๓๑ - ๑๓๒ นครํ ยถา - โสจนฺตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ ๗ อตฺตโน วตฺถุ ๑๓๖-๑๓๗ วตฺถุ อปฺปมาทวคฺคสฺส – สพฺเพ อกฺโกสนฺตีติ ฯ
๒๕๒๙ ๑ ๗ อัตตโน ๑๓๗-๑๓๘ (สตฺถา) อหํ อานนฺท สงฺคามํ - อชฺฌุเปกฺขนํ เม ภาโร ฯ
๒๕๔๓ ๑ ๗ นิคคัณหะ ๑๓๒ อลชฺชิตาเย - ทุคฺคตึ คจฺฉนฺตีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ ๗ สานุสามเณร ๑๔๙ - ๑๕๐ โส อุกฺกณฺฐิตภาวํ – อาลิงฺคิตฺตฺวา อุรูสุ นิปชฺชาเปสิ ฯ
๒๕๕๙ ๑ ๗ สานุสามเณร ๑๕๓ อถสฺส อจิรุปสมฺปนฺนสฺส – วิติกฺกมิตุ ทสฺสามีติ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๑ ๘ กปิลมัจฉะ ๑ - ๒ ตสฺส ปริยตฺตึ นิสฺสาย - ภิกฺขู ฉฑฺฑยึสุ ฯ
๒๕๓๑ ๑ ๘ อุคคเสนเศรษฐี ๒๕ – ๑๖ เถโร คนฺตฺวา วํสสฺส - น อุปคจฺฉสีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ ๘ อปุตตกเศรษฐี ๔๒ ตสฺส กิร กาลกิริยํ - ตสฺส ปุพฺพกมฺมํ กเถสิ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๑ ๘ อังกุรเทวบุตร ๔๕ - ๔๖ ติณโทสานิ เขตฺตานีติ - เทเสนฺโต อิมา คาถา อภาสิฯ
๒๕๕๔ ๑ ๘ ปัญจภิกขุ ๔๘ - ๔๙ เตสุ กิร เอเกโก อิมํ คาถํ ทสฺเสสิ ฯ (ทสฺเสตฺวา)
๒๕๓๒ ๑ ๘ สามเณร ๑๓๘-๑๓๙ ตสฺมึ ขเณ สกฺโก - ตุมฺเห น กุชฺฌิตฺถาติ ฯ
๒๕๕๖ ๑ ๘ มหาปันถกเถระ ๑๔๐ โส หิ อายสฺมา - ตมหํ พฺราหฺมณํ วทามีติ อตฺโถ ฯ
๒๕๕๖ ๑ ๘ สีวลีเถระ ๑๕๑ - ๑๕๒ เอกสฺมึ หิ สมเย - ทุกฺขํ นิตฺถินฺนนฺติ ฯ
๒๕๓๓ ๑ ๘ โชติกเถระ ๑๗๒-๑๗๓ เหฏฺฐาคงฺคาย จ เทฺว - ปพฺพาเชถ นนฺติ อทาสิ ฯ

125
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
ประโยค ป.ธ.๔ วิชา แปลมคธเป็นไทย
“มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๑ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๔๔ ๑ ปณามกถา ๑ ๑ ปณามคาถา - ตํ สุณาถ สมาหิตาติ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๑ อุปฺปตฺติกถา ๓ ๓ - ๔ ตํ สุตฺวา มุตมงฺคลิโก - สกลชมฺพุทีเป ปากฏา ฯ
๒๕๕๔/๒ ๑ อุปฺปตฺติกถา ๓ -๔ ๓ - ๔ เต ตโย อญฺญมญฺญํ - นิฏฺฐงฺคโต นาโหสิ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ นิทานตฺถวณฺณนา ๖ ๖ อิทานิ ยนฺตํ มงฺคลสุตฺตสฺส - เอวํ อีทิสเมวาตฺยตฺโถ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ นิทานตฺถวณฺณนา ๘ – ๙ ๘ – ๙ อภิกฺกนฺตาย รตฺติยาติ - เอกปสฺสํ. ภาวนปุํสกเมตํ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๒ นิทานตฺถวณฺณนา ๙ – ๑๐ ๙ อฏฺฐาสีติ ฐานํ กปฺเปสิ - ฐิตา โข สาตฺยาทิ ฯ
๒๕๔๐ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๑๗ ๑๓ – ๑๔ อเสวนา นาม อภชนา - ทุกฺกฏกมฺมการี จาติ ฯ
๒๕๔๐ ๒ พาลปณฺฑิตกถา ๑๘ – ๑๙ ๑๔ ๑๕ ปณฺฑิตา นาม เยเกจิ - เต พาลา นาม ฯ
๒๕๔๙ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๑๙ – ๒๐ ๑๕ อปโร นโย - สุวโปตกาทิวตฺถุ กเถตพฺพํ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๒๐-๒๑ ๑๖-๑๗ ตตฺถ ปณฺฑิตา ว เสวิตพฺพา – รุกฺขจฺฉายาย นิปชฺชิ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๒ พาลปณฺฑิตกถา ๒๑-๒๒ ๑๗ ตทา สพฺเพ โจรา – ปสํสิตฺวา อิตรํ นินฺทิ ฯ
๒๕๕๙ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๒๙ – ๓๑ ๒๔-๒๕ เอวํ นิชฺชีวกวตฺถุมฺปิ – นกฺขตฺตปภํ ว จนฺทิมาติ (คาถา) ฯ
๒๔๔๖ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๓๓ – ๓๔ ๒๗ อปิจ เย เกจิ - ติณาคาเรปิ เอเสว นโย ฯ
๒๕๕๙ ๒ พาลปณฺฑิตกถา ๓๕ – ๓๗ ๒๙-๓๐ ภยนฺติ ภีตเจตโส – ภเชถ ปุริสุตฺตเมติ (คาถา) ฯ
๒๕๔๙ ๒ พาลปณฺฑิตกถา ๓๙ – ๔๐ ๓๒ โส(ตาปโส) วรํ คณฺหณฺโต - อทสฺสนเมว สุนฺทรนฺติ ฯ
๒๕๕๐ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๔๐ ๓๓ – ๓๔ ตาปโส ปุนญฺญํ วรํ - สุขนฺติปิ ปาโฐ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ พาลปณฺฑิตกถา ๔๓ ๓๕ – ๓๗ เทวทตฺโต กิร สตฺถารํ - ปวิสิตฺวา อวีจิมฺหิ นิพฺพตฺติ ฯ
๒๕๓๒ ๑ พาลปณฺฑิตกถา ๕๕ ๕๑ ตตฺถ ยสฺมา โย - พาลอเสวนํ วิญฺญาเปสิ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๒ ปูชากถา ๖๙ ๗๕ – ๗๖ เอวํ ตาว อามิสปูชา - จิรฏฺฐิติกามตาย จ ฯ
๒๕๔๓ ๑ ปูชากถา ๗๐ ๗๗ ตตฺถ ธมฺมานุธมฺมปฏิปทา - มหาปรินิพฺพานสุตฺตวณฺณนานโยฯ
๒๕๔๗ ๑ ปฏิรูปเทสวาสกถา ๘๗ ๙๓ เอตฺถ จ ทสฺสนานุตฺตริยนฺติ - เอกงฺคุตฺตรวณฺณนาย นโย ฯ
๒๕๓๙ ๑ ปุพฺเพกตปุญฺญตากถา ๑๐๐ ๑๑๑ สตฺถา ปน อิมํ - ปณฺฑิตา กตปุญฺญตนฺติ ฯ

126
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๘ ๑ อตฺตสมฺมาปณิธิกถา ๑๑๐ - ๑๑๑ ๑๓๐-๑๓๑ อิจฺเจเต สพฺเพ ทุสฺสีลํ - สพฺพทุกฺขํ เทติ ฯ
๒๕๔๘ ๒ อตฺตสมฺมาปณิธิกถา ๑๑๒ ๑๓๑-๑๓๒ มิจฺฉาฐปิตญฺหิ จิตฺตํ - อุกฺขิปิตู น เทตีติ ฯ
๒๕๕๐ ๒ พาหุสจฺจกถา ๑๒๑ ๑๓๙ อิติ พหุสฺสุตสฺส - อธิปฺปเตยฺยสุตฺตวณฺณนา ฯ
๒๕๔๑ ๑ พาหุสจฺจกถา ๑๒๓-๑๒๔ ๑๔๐-๑๔๒ วุตฺตํ หิ ภควตา - อุปฏฺฐานนฺติ อาห อิธาติอาทึ
สหชาตนามกาเยนาติ - ยากโรตีติ ตฏฏีกา ฯ (ต่อ)
๒๕๒๙ ๑ สิปฺปกถา ๑๒๘-๑๒๙ ๑๔๙-๑๕๐ สิปฺปํ นาม อนาคาริยาคาริยวเสน - วุจฺจตีติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๑ ๑ สิปฺปกถา ๑๓๑ ๑๕๐ - ๑๕๑ ตตฺถ ยตฺร หีติ - อนฺวาธิกํ อาโรเปตพฺพํ.
๒๕๒๙ ๒ สิปฺปกถา ๑๓๓-๑๓๔ ๑๕๒-๑๕๓ ตทา อญฺญตรสฺส ภิกฺขุโน – อลฺลิยาปนวตฺถขณฺฑํ ฯ
๒๕๕๔ ๑ วินยกถา ๑๔๗ ๑๖๙ วินโย นาม อนาคาริยาคาริยวเสน - น ตโต ปรนฺติ ฯ
๒๕๔๒ ๑ วินยกถา ๑๕๕–๑๕๖ ๑๗๔-๑๗๕ ตสฺมา ยํ ยํ - สผลา อโหสิ ฯ
๒๕๕๕ ๑ วินยกถา ๑๕๖ ๑๗๕-๑๗๖ ตํ สุตฺวา สฏฺฐิยา - จูฬจฺฉราสงฺฆาตสุตฺตวณฺณนานโยฯ
๒๕๕๕ ๒ วินยกถา ๑๕๗ ๑๗๖ จตุปฺปาริสุทฺธิสีลํ วา - วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตํ ปาปุณิ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ วินยกถา ๑๗๔ ๑๘๗-๑๘๘ อินฺทฺริยสํวรสีลญฺหิ น ปุเนวํ - วนฺทิตฺวา นิวตฺติ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๑ วินยกถา ๑๗๔ ๑๘๗ อินฺทริยสํวรสีลญฺหิ - ปุปฺผิตภาวํ ชานาติ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๒ วินยกถา ๑๗๔-๑๗๕ ๑๘๗-๑๘๙ ราชา เถรสฺส คุณสมฺปตฺตึ - ภิกฺขเว สมฺมาอาชีโวติ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ วินย กถา ๑๗๗-๑๗๘ ๑๘๙-๑๙๐ ตตฺถ ปฏิกขฺ ติ ตฺ เวชฺชกมฺมนฺติ – อกตวิญญฺ ตฺตยิ าปิ ปริเยสิตพฺพํ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๒ วินย กถา ๑๗๘-๑๘๐ ๑๙๐-๑๙๑ อกตวิญฺญตฺติ นาม วท – มชฺชนฺติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๕๖ ๑ วินยกถา ๑๘๐–๑๘๒ ๑๙๑-๑๙๒ อริฏฺฐปจนนฺติ เอตฺถ - อาสีวิสา วิย ปริวชฺเชตพฺพา ฯ
๒๕๕๖ ๒ วินยกถา ๑๘๓-๑๘๕ ๑๙๒-๑๙๓ ตทุภยญฺจ อปริคฺคหิตธูตงฺคสฺส-อฏฺฐกถาจริเยหิ วุตฺตํฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ วินยกถา ๑๘๕-๑๘๗ ๑๙๓-๑๙๔ ตสฺมา ภิกฺขุนา นาม - วตฺวา อตีตํ อาหริ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๒ วินยกถา ๑๘๘–๑๘๖ ๑๙๔-๑๙๕ อตีเต พาราณสิยํ โพธิสตฺโต - วตฺวา อตีตํ อาหริ ฯ
๒๕๔๑ ๒ วินยกถา ๑๙๑-๑๙๓ ๑๙๖-๑๙๗ รูปิยสิกฺขาปทวณณฺนาทีสุ - นามาติ วุตฺตํ ฯ
ตสฺมา ยถาวุตฺตมาทีนวํ - ปริโภเค ปริโภเคติ ฯ (ต่อ)
๒๕๔๓ ๒ วินยกถา ๑๙๓-๑๙๖ ๑๙๗-๑๙๘ วุตฺตญฺจฏฺฐกถาสุ จีวรํ - กตฺวาติอาทินฺติ วิมติวิโนทนี ฯ
๒๕๔๒ ๒ วินยกถา ๒๐๑ ๒๐๑-๒๐๒ พฺรหฺมชาลฏีกายํ – สมฺมาทิฏฐิสุตฺตฏีกา ฯ
๒๕๓๗ ๑ วินยกถา ๒๐๓-๒๐๔ ๒๐๒-๒๐๔ ปรปริคฺคหิเต - ..เสวนาธิปฺปาเยนาติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๖๐ ๑ วินย กถา ๒๐๔-๒๐๕ ๒๐๔-๒๐๕ ตตฺถ อคมนียฏฺฐานํ – มคฺเคน มคฺคปฏิปตฺติอธิวาสนนฺติ ฯ
๒๕๖๐ ๒ วินย กถา ๒๐๗-๒๐๘ ๒๐๖ ยถาวุตฺตญฺเจตํ ติวิธํ – นิทสฺสนนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ

127
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๕ ๑ วินยกถา ๒๐๙-๒๑๐ ๒๐๗-๒๐๘ มุสาติ วิสํวาทนปุเรกฺขารสฺส-ติพฺพตาย มหาสาวชฺโช ฯ
๒๕๔๗ ๒ วินยกถา ๒๑๑-๒๑๒ ๒๐๘-๒๐๙ อปโร นโย ฯ คหฏฐานํ – ทูสิตจิตฺตสฺสาติ อตโถ ฯ
๒๕๓๔ ๑ วินยกถา ๒๒๒-๒๒๓ ๒๑๕-๒๑๖ ยถาวุตฺตญฺเจตํ ติวิธํ - อธิปฺปาโยติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๖ ๑ วินยกถา ๒๒๒ ๒๑๕ ยถาวุตฺตญฺเจตํ ติวิธํ – อฏฺฐสาลินีนโย ฯ
๒๕๓๔ ๒ วินยกถา ๒๒๔ ๒๑๖-๒๑๗ สุคติทุคฺคตีสุ อุปฺปชฺชนํ - ทฏฺฐพฺพนฺติ ตทนุฏีกา ฯ
๒๕๓๑ ๒ วินยกถา ๒๓๔ ๒๒๓-๒๒๔ สชฺฌายนฺตีติ ตํ ทิฏฺฐิทีปกํ - กิมฺปเนสาติอาทิ วุตฺตํ ฯ
๒๕๓๕ ๑ วินยกถา ๒๓๕-๒๓๖ ๒๒๕-๒๒๖ อิติ อนนฺตริยกมฺมโตปิ - วทนฺตีติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๖ ๒ วินยกถา ๒๔๕ ๒๓๑-๒๓๒ กมฺมปถสทฺทตฺโถ ตุ - ทฏฺฐพฺพนฺติ สงฺคีติสุตฺตาทิฏีกาฯ
๒๕๔๕ ๒ วินยกถา ๒๕๐-๒๕๒ ๒๓๓-๒๓๕ สมฺปตฺตวิรติ สมาทานวิรตีติ - ทฺวารมฺปิ กายทฺวารํ ฯ
๒๕๓๒ ๒ วินยกถา ๒๕๕ ๒๓๖-๒๓๗ เอตฺถาห นนุ ปาปวิรติ - ตตฺถ ทสฺสิตาติ ฯ
๒๕๕๔ ๒ วินยกถา ๒๕๗ ๒๓๘-๒๓๙ โพธิสตฺโต ตสฺส อนุกมฺปาย - สุสมาหิตา จรนฺติ ฯ
๒๕๓๐ ๑ สุภาสิตวาจากถา ๒๖๐-๒๖๑ ๒๔๑-๒๔๒ วาจาสทฺโท กรณสาธโน-ยถาวุตฺตวณฺณนาหิ วิรุชฺฌติ ฯ
๒๕๓๐ ๒ สุภาสิตวาจากถา ๒๖๒-๒๖๔ ๒๔๒ สุภาสิตลกฺขณนฺตุ ปญฺจหิ - อนนุวชฺชา จ วิญฺญูนนฺติฯ
๒๕๔๓ ๒ สุภาสิตวาจากถา ๒๖๖-๒๖๗ ๒๔๕ มุสาวาทา เวรมณฺยาทิกํ - .....วาจาสํวตฺตนิโก โหตีติ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๑ สุภาสิตวาจากถา ๒๗๐ ๒๔๘-๒๔๙ ตสฺมา ทุพฺภาสิตวาจาสงฺขาตํ - อสมฺผปฺปลาโปว กาตพฺโพ ฯ
๒๕๕๘ ๑ โคนันทิวิศาล ๒๗๒ ๒๔๙ – ๒๕๐ ตสฺมา อปฺปิยวจนสงฺขาตํ – สมุทาจรสีติ อาห ฯ
๒๕๕๘ ๒ โคนันทิวิศาล ๒๗๒ ๒๕๐ – ๒๕๑ พฺราหฺมโณ คนฺตวา – อโหสีติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๒ สุภาสิตวาจากถา ๒๗๕ ๒๕๒ อตีเต พาราณสิยํ จตฺตาโร- อเภชฺชสหาโย อโหสีติ ฯ
๒๕๕๒ ๑ สุภาสิตวาจากถา ๒๘๔-๒๘๕ ๒๖๐-๒๖๑ อิติ สุภาสิตภาสนาทีหิ - สุตฺวา อรหตฺตมฺปตฺโต ฯ
๒๕๕๒ ๒ สุภาสิตวาจากถา ๒๘๕ ๒๖๑-๒๖๒ พุทฺธนฺตเร จ อญฺญตโร - วิญฺญาเปตีติ อธิปฺปาโย ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ มาตาปิตุอุปัฏฐานกถา ๒๙๔ ๒๖๙ – ๒๗๐ อุโภปิเจเต พฺรหฺมา – เทวา นาม ฯ
๒๕๕๘/๒ ๒ มาตาปิตุอุปัฏฐานกถา ๒๙๔ ๒๗๐ – ๒๗๑ ยสฺมา จ ปุตฺตา – ทสฺเสตาโรติ ฯ
๒๕๓๓ ๑ สุภาสิตวาจากถา ๒๙๕-๒๙๖ ๒๗๑-๒๗๓ พฺรหฺมาติ มาตาปิตโร - โสณนนฺทชาตเกปิ อาคตา ฯ
๒๕๔๖ ๒ ปุพฺเพกตปุญฺญตา ๓๐๓-๓๐๔ ๒๗๗-๒๗๘ เตสํ เภสชฺชํ กโรโตปิ - ทาตพฺพนฺติ ตพฺพณณนา ฯ
๒๕๓๙ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๓๔-๓๓๕ ๓๑๒ อิติ ยถาวุตฺตํ - ทิสาติ เวทิตพฺพาติ ฯ
๒๕๕๓ ๑ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๓๖ ๓๑๕ อิธ ปน พฺราหฺมณ - ชาณุสฺโสณิสุตฺตํ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๓๖ ๓๑๔-๓๑๕ เอโก กิร ชาณุสฺโสณิ - ตํ ทานํ อุปกปฺปตีติ ฯ
๒๕๕๓ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๓๗ ๓๑๖ ตตฺถ มยมสฺสูติ เอตฺถ - เอวมาหาติ ตพฺพณฺณนานโยฯ

128
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๕๑ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๔๓ ๓๒๓ อิทานิ ยสฺมา อิทํ - สกฺกจฺจํ อนุโมทเรติ ฯ (ต่อ)
๒๕๓๓ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๔๗ ๓๒๖ ยสฺมา เปตา อิโต- อิทํ ปจฺจตฺตวจนนฺติ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๑ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๔๗ ๓๒๖ ยสฺมา เปตา อิโต - อิทํ ปจฺจตฺตวจนนฺติ ฯ
๒๕๕๑ ๑ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๖๐ ๓๓๕-๓๓๖ เตนาห ปญฺจกงฺคุตฺตเร - มยา โภเคหิ กตา ฯ
๒๕๓๕ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๖๐-๓๖๑ ๓๓๕-๓๓๖ เตนาห ปญฺจกงฺคุตฺตเร - วาริตาติ วุตฺตํ โหติ ฯ
๒๕๕๑ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๖๔ ๓๓๗-๓๓๘ อุปฏฺฐิตาติ มยา โภเคหิ - โส สคฺเค ปโมทตีติ ฯ
๒๕๕๗ ๑ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๖๔-๓๖๗ ๓๓๘-๓๓๙ ตสฺมา อิมํ - นิเวเสนฺติ ปติฏฺฐาเปนฺติ ฯ
๒๕๓๗ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๖๕-๓๖๗ ๓๓๘ อิติ ภรณาทิอุปฏฺฐานํ - นิเวเสนฺติ ปติฏฺฐาเปนฺติ ฯ
๒๕๕๗ ๒ มาตาปิตุอุปฏฺฐาน ๓๗๑-๓๗๔ ๓๔๒-๓๔๓ เอวํ วุตฺตปฺปการํ มาตาปิตโร - ปุตฺตํ ปฏฺเฐนฺติ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๑ ปุตฺตทารสงฺคหก ๓๗๘ ๓๔๗-๓๔๘ ตโย หิ ปุตฺตา - สงฺขยํ คจฺฉนฺตีติ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๒ ปุตฺตทารสงฺคหก ๓๘๐-๓๘๒ ๓๔๘-๓๔๙ ทารา นาม วีสติ – สงฺคีติสุตฺตสมฺมาทิฏฺฐิสุตฺตฏีกา ฯ
๒๕๕๓/๒ ๒ ปุตฺตทารสงฺคหก ๓๘๓ ๓๕๐-๓๕๑ อปฺเปน วา พหุนา วา - สญฺจริตฺตวณฺณนานโย ฯ
๒๕๕๔/๒ ๒ อนากุลกมฺมนฺต ๔๑๐ ๓๖๗-๓๖๘ โย ปน อติสีตาทีนิ - อจฺเจนฺติ มาณเวติ ฯ

129
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
วิชา แปลไทยเป็นมคธ
ประโยค ป.ธ. ๔ “ธรรมบท ภาค ๑ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๕๑/๒ ๑ ๑ จักขุบาล ๕ - ๖ ตทา สาวตฺถียํ สตฺต - อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ ฯ
๒๕๓๖ ๑ ๑ จักขุบาล ๕ ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต - ธมฺมสฺสวนตฺถาย คจฺฉนฺติ ฯ
๒๕๓๖ ๒ ๑ จักขุบาล ๕ - ๖ พุทฺธา จ นาม ธมฺมํ - ฆราวาเสน ปพฺพชิสฺสามีติ ฯ
๒๕๓๔ ๑ ๑ จักขุบาล ๖- ๗ ตํ สุตฺวา มหาปาโล - ปพฺพชิสฺสาเมวาหํ ตาตาติ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๒ ๑ จักขุบาล ๖ - ๖ อถ นํ สตฺถา นตฺถิ - ปุญฺญานิ กาตุํ มา เอวมกตฺถาติ ฯ
๒๕๔๔ ๑ ๑ จักขุบาล ๗ (โส) ลทฺธปพฺพชฺชูปสมฺปโท - ปิณฺฑาย ปาวิสิ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ ๑ จักฺขุบาล ๗ - ๘ มนุสฺสา วตฺตสมฺปนฺเน - กริสฺสามีติ ปวาเรส ฯ
๒๕๔๙ ๑ ๑ จักฺขุบาล ๑๒-๑๓ เถโรปิ อิตเร - ปริเกวิตฺวา นิวตฺตึสุ ฯ
๒๕๕๔ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๒-๑๓ มา โว อาวุโส - เปเสถ ภนฺเตติ ฯ
๒๕๕๔ ๒ ๑ จักขุบาล ๑๓ - ๑๔ อถ นํ ปพฺพาเชตฺวา - สเร นิมิตฺตํ คณฺหิ ฯ
๒๕๓๖ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๔ อิตฺถีสทฺโท วิย หิ อญฺโญ -ยถยิทํ ภิกฺขเว อิตฺถีสทฺโทติ ฯ
๒๕๔๐ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๔ - ๑๕ อิตฺถีสทฺโท วิย หิ - ยฏฺฐิโกฎิคฺคหณกิจฺจํ นตฺถีติ ฯ
๒๕๓๙ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๖ เถรสฺสาปิ สีลเตเชน -จกฺขุนา เถรํ อทฺทส ฯ (ต่อ)
๒๕๓๙ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๖ อถสฺส เอตทโหสิ สจาหํ - คมิสฺสามิสฺส สนฺติกนฺติ ฯ (ต่อ)
๒๕๓๙ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๖ - ๑๗ อุปคนฺตฺวา จ ปน - ภวิสฺสตีติ สลฺลกฺเขสิ ฯ (ต่อ)
๒๕๕๔/๒ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๗ - ๑๘ โส เถรสฺเสวตฺถาย - มหาเมโฆ อุฏฺฐหิ ฯ
๒๕๕๘ ๑ ๑ จักขุปาล ๑๗ – ๑๘ โส เถรสฺเสวตฺถาย – ตทภิมุขา อเหสุ ฯ
๒๕๔๖ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๘ - ๑๙ อเถกทิวสํ ทิสาวาสิโน - น ทิฏฺโฐ ภนฺเตติ ฯ
๒๕๕๘ ๒ ๑ จักขุปาล ๑๘ – ๑๙ ตสฺมึขเณ มหาเมโฆ – นตฺถิภิกฺขเวติ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๑ ๑ จักขุบาล ๑๙ อตีเต พาราณสิยํ - จกฺขุปาโล อโหสิฯ
๒๕๕๙ ๑ ๑ มฏฺฐกุณฺฑลี ๒๓ สาวตฺถียํ กิร อทินฺนปุพฺพโก นาม – เอกํ เวชฺชํ ปกฺโกสิ ฯ

130
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๗ ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๒๓ - ๒๔ สาวตฺถิยํ กิร อทินฺนปุพฺพโก - อาลินฺเท นิปชฺชาเปสิ ฯ
๒๕๓๖ ๒ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๒๔ ตํ ทิวสํ ภควา - อาฬาหเน วิจริสฺตีติ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๒ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๒๕ - ๒๖ ตสฺมึ ขเณ มฏฺฐกุณฺฑลี - กหํ เอกปุตฺตกาติ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ ๑ มัฏฐกุณฑลี ๓๑ - ๓๒ อถ นํ เทวปุตฺโต - นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ ฯ
๒๕๕๙ ๒ ๑ มฏฺฐกุณฺฑลี ๓๑-๓๒ พฺราหฺมโณปิ เคหํ คนฺตฺวา – สคฺเค นิพฺพตฺตภาโว กถิโตติ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ ๑ ติสสเถระ ๓๕ - ๓๖ โส กิรายสฺมา ภควโต - เอกมนฺตํ นิสีทึสุ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ ๑ ติสสเถระ ๓๙ - ๔๐ นารโท สพฺพํ - ปาทมูเล โอนมาเปสิ ฯ
๒๕๓๑ ๑ ๑ ติสสเถระ ๓๗ - ๓๘ เทวโล นาม ตาปโส - ทฺวารมชฺเฌ ติริยํ นิปชฺชิ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ ๑ กาลียักษิณี ๔๒ - ๔๓ เอโก กิร กุฏุมฺพิกปุตฺโต - วุจฺจมานาปิ ปุนปฺปุนํ กเถสิ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ ๑ กาลียกฺขินิยาอุปฺปตฺต ิ ๔๒-๔๓ เอโก กิร กุฏุมฺพิกปุตฺโต – สามิกสฺส ฆเร อกาสิ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๒ ๑ กาลียกฺขินิยาอุปฺปตฺต ิ ๔๓ อถสฺสา เอตทโหสิ – สา ตมติถํ อาโรเจสิ (อาโรเจตฺวา) ฯ
๒๕๕๖/๒ ๒ ๑ กาลียักษิณี ๔๓ - ๔๔ วญฺฌิตฺถี ตํ กถํ สุตฺวา - ตติยวาเร น กเถสิ ฯ
๒๕๓๕ ๑ ๑ กาลียักษิณี ๔๖ ตสฺมึ สมเย สตฺถา - เอส ธมฺโม สนนฺตโนติ ฯ
๒๕๓๙ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๔๙ - ๕๐ โกสมฺพิยํ หิ โฆสิตาราเม - อหญฺญมญฺญํ กลหํ วฑฺฒยึสุ ฯ
๒๕๕๗ ๑ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๔๙ - ๕๐ โกสมฺพิยํ หิ โฆสิตาราเม - อหญฺญมญฺญํ กลหํ วฑฺฒยึสุ ฯ
๒๕๕๗ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๐ ตโต วินยธโร โอกาสํ - โกลาหลํ อคมาสิ ฯ
๒๕๓๔ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๐ - ๕๑ อเถโก ภิกฺขุ ตถาคตํ ปตฺตาติ - วฏฺฏกชาตกํ กเถสิ ฯ
๒๕๕๖ ๑ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๒ - ๕๓ โกสมฺพีวาสิโนปิ โข - ตํ อนฺโตวสฺสํ วีตินาเมสุํ ฯ
๒๕๕๑/๑ ๑ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๓ - ๕๔ อถโข โส หตฺถินาโค ยูถา - สพฺเพตานิ กโรติ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๕ อเถโก มกฺกโฏ ตํ - อจฺฉราสหสฺสปริวาโร อโหสิ ฯ
๒๕๓๓ ๑ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๕ - ๕๖ ตถาคตสฺส ตตฺถ - วนฺทิตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ
๒๕๕๗ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๕ - ๕๖ ตถาคตสฺส ตตฺถ - พุทฺธุปฏฺฐาโก เอโสติ อาห ฯ
๒๕๕๑/๑ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๖ - ๕๗ โส ตตฺเถว ทณฺฑํ - นาควคฺเค ติสฺโส คาถาโย อภาสิ ฯ
๒๕๔๖ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๘ - ๕๙ โกสมฺพิกา ภิกฺขู - ภควนฺตํ ขมาเปสุํ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๑ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๘ - ๕๙ โส หิ สตฺถารํ - นิสีทนฺติ น ติฏฺฐนฺติ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๒ ๑ โกสัมพิกภิกษุ ๕๙ อาคตาคตา สตฺถารํ - อิมํ คาถมาห ฯ
๒๕๕๕ ๑ ๑ จุลลกาลมหากาล ๖๔ - ๖๖ เถโร อิทํ สรีรํ - สตฺถารํ นิมนฺตยึสุ ฯ
๒๕๕๕ ๒ ๑ จุลลกาลมหากาล ๖๖ ตทา ปน อาสนปญฺญาปนตฺถํ - ตสฺส ปพฺพชฺชนฺตรยนฺติ ฯ

131
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๓๕ ๒ ๑ เทวทัต ๗๐ เอกสฺมึ หิ สมเย - คณฺหถาติ เถรํ นิมนฺเตสิ ฯ
๒๕๓๘ ๑ ๑ เทวทัต ๗๑ อุปาสโก เตนหิ เอกสฺมึ - ปารุปิตฺวา วิจรตีติ วทึสุ ฯ
๒๕๕๖ ๒ ๑ เทวทัต ๗๑ อถสฺส เอโก กุฏุมฺพิโก - ปารุปิตฺวา วิจรตีติ วทึสุ ฯ
๒๕๓๘ ๑ ๑ เทวทัต ๗๒ อตีเต พาราณสิยํ - โส ตเถว กโรติ ฯ
๒๕๓๗ ๑ ๑ เทวทัต ๗๒ - ๗๓ อตีเต พาราณสิยํ - วิลมฺพมาโน อาคจฺฉติ ฯ
๒๕๓๒ ๑ ๑ สัญชัย ๗๕ - ๗๖ อมฺหากํ หิ สตฺถา - ยาวตายุกํ ฐตฺวา (อฏฺฐาสิ) ฯ
๒๕๔๔ ๒ ๑ สัญชัย ๗๙ - ๘๐ เอวํ โลเก เอกสฏฺฐิยา - ตตฺเถว วาสํ กปฺเปสิ ฯ
๒๕๓๓ ๒ ๑ สัญชัย ๘๑ - ๘๒ เทฺว ปน ชนา - ญาตนฺติ วุตฺเต (อาห) ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ ๑ สญชัยปริพาชก ๘๑ – ๘๒ เตน โข ปน สมเยน – กติกํอกํสุ ฯ
๒๕๓๑ ๒ ๑ สัญชัย ๘๒ - ๘๓ เอวํ เตสุ กติกํ กตฺวา - กุณฺฑิกาย อุทกํ อทาสิ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๒ ๑ สญชัยปริพาชก ๘๒ – ๘๓ เอวํ เตสุ กติกํ – อุปญาตํมคฺคนฺติ ฯ
๒๕๔๘/๑ ๒ ๑ สัญชัย ๘๒ - ๘๓ ตสฺมึ สมเย - มยฺหํ ภาโรติ อาห ฯ
๒๕๕๐/๒ ๒ ๑ สัญชัย ๘๕ - ๘๖ สารีปุตฺตตฺเถโร จ - นาหํ คมิสฺสามีติ ฯ
๒๕๕๒ ๑ ๑ สัญชัย ๘๕ - ๘๖ สารีปุตฺตตฺเถโร จ - ตุมฺเห อาจริยาติ ปกฺกมึสุ ฯ
๒๕๕๒ ๒ ๑ สัญชัย ๘๖ เตสุ คจฺฉนฺเตสุ - สญฺชยสฺส อุปริมคฺคกิจฺจํ น นิฏฺฐาสิ ฯ
๒๕๔๗ ๒ ๑ สัญชัย ๘๖ - ๘๗ อายสฺมา มหาโมคฺคลฺลาโน - ทตฺวา ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิสิ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๑ ๑ สัญชัย ๘๗ สารีปุตฺตตฺเถโรปิ ปพฺพชิตทิวสโต - ปาฏิโมกฺขํ อุทฺทิสิ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๒ ๑ สัญชัย ๘๗ - ๘๘ ภิกฺขู อุชฺฌายึสุ สตฺถา - อาม ภนฺเตติ ฯ
๒๕๖๐ ๑ ๑ สญฺชย วตฺถุ ๙๐ ยสกุลปุตฺตปมุขา ปญฺจปญฺญาส – โอโลเกตฺวา ทมฺมีติ ฯ
๒๕๖๐ ๒ ๑ สญฺชย วตฺถุ ๙๑ อุรุเวลกสฺสปาทโย ปน – พุทฺธุปฏฺฐานํ กโรติ ฯ
๒๕๒๙ ๑ ๑ สัญชัย ๙๑ - ๙๓ รญฺโญ ปน อปเรปิ - คเหตฺวา ทานํ เทนฺติ ฯ
๒๕๒๙ ๒ ๑ สัญชัย ๙๓ กมฺมกรานํ ปน ปุตฺตา - มุขํ โอโลเกตฺวา ทมฺมีติ ฯ
๒๕๔๑ ๑ ๑ สัญชัย ๙๓ - ๙๔ ตทา ปน เตสํ - รญฺโญ อตฺตานํ ทสฺสยึสุ ฯ
๒๕๔๓ ๑ ๑ สัญชัย ๙๔ - ๙๕ โส ปุนทิวเส เวฬุวนํ - ทิพฺพตฺตภาเวน สณฺฐหึสุ ฯ
๒๕๔๒ ๑ ๑ สัญชัย ๙๕ - ๙๖ อคฺคสาวกา ปน ภนฺเต - อิสิปพฺพชฺชํ ปพฺพชิ ฯ
๒๕๔๕ ๑ ๑ สัญชัย ๙๖ - ๙๗ เตน สมเยน อโนมทสฺสี - คเหตฺวา เอกมนฺตํ นิสีทิ ฯ
๒๕๔๑ ๒ ๑ สัญชัย ๙๗ - ๙๘ ตสฺมึ สมเย จตุสตฺตติสหสฺสา - ปตฺเต ปติฏฺฐาเปสิ ฯ
๒๕๔๓ ๒ ๑ สัญชัย ๙๘ - ๙๙ ตโต ภตฺตกิจฺจํ กตฺวา - อิทฺธิวิสโย เหส ฯ

132
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๒ ๒ ๑ สัญชัย ๙๙ - ๑๐๐ เอวํ นิสินฺเน สตฺถริ - ภิกฺขโวติ หตฺถํ ปสาเรสิ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ ๑ สญฺชย วตฺถุ ๑๐๑-๑๐๒ สรทตาปโสปิ อนฺเตวาสิกตฺเถรานํ – อภิสกฺการํ สชฺเชหีติ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๒ ๑ สญฺชย วตฺถุ ๑๐๒-๑๐๓ สิริวฑฺฒโณ ตสฺส วจนํ – ทุติยสาวโก ภเวยฺยนฺติ ฯ
๒๕๔๙/๑ ๒ ๑ นันทเถระ ๑๐๕-๑๐๖ สตฺถา หิ - วตฺตุ ํ นาสกฺขิ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๑ ๑ นันทเถระ ๑๐๗ - ๑๐๘ สตฺถา กปิลวตฺถุปุรํ – นํ สามิกํ กโรมีติ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๒ ๑ นันทเถระ ๑๐๘ อถโข ภควา อายสฺมนฺตํ - มหาธมฺมปาลชาตกํ กเถสิ ฯ
๒๕๓๒ ๒ ๑ นันทเถระ ๑๑๐ - ๑๑๑ อสฺโสสุํ โข ภิกฺขู - นนฺโท อรหตํ อโหสิ ฯ
๒๕๕๓ ๑ ๑ ธัมมิกอุบาสก ๑๒๐ - ๑๒๑ อถสฺส อปรภาเค โรโค - อุฏฺฐายาสนา ปกฺกมึสุ ฯ
๒๕๔๐ ๒ ๑ ธัมมิกอุบาสก ๑๒๑-๑๒๒ อุปาสโก โถกํ วีตินาเมตฺวา - รถํ น ปสฺสติ ฯ
๒๕๕๓ ๒ ๑ ธัมมิกอุบาสก ๑๒๒-๑๒๓ เต ขิปึสุ ฯ - ตาหิ สทฺธึ กเถสีติ ฯ
๒๕๕๐/๑ ๑ ๑ เทวทัตตะ ๑๒๖ อถ นํ ปุตฺโต - อุฏฺฐหตีติ อาห ฯ
๒๕๕๐/๑ ๒ ๑ เทวทัตตะ ๑๒๗-๑๒๘ ตโต ภทฺทิโย - ตมตฺถํ อาโรเจสิ ฯ
๒๕๔๐ ๒ ๑ เทวทัตตะ ๑๓๑ - ๑๓๒ เทวทตฺตสฺสาปิ กมฺมํ - สงฺฆเภทาย ปรกฺกมิ ฯ
๒๕๓๗ ๒ ๑ เทวทัตตะ ๑๓๖ เทวทตฺโตปิ โข นว- อาฆาโต นตฺถีติ ฯ
๒๕๓๗ ๒ ๑ เทวทัตตะ ๑๓๖ - ๑๓๗ ภิกฺขู กิร ปญฺจนฺนํ - เต ปฐวึ ปวิสึสุ ฯ
๒๕๓๐ ๑ ๑ เทวสหาย ๑๔๔ - ๑๔๕ สาวตฺถีวาสิโน หิ - เทฺว สหายกภิกฺขู ภนฺเตติ วทนฺติ ฯ
๒๕๓๐ ๒ ๑ เทวสหาย ๑๔๕ เอวํ เถเร ปุนปฺปุนํ - อิตโร ตํ สพฺพํ กเถสิ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๑ ๑ เทวสหาย ๑๔๔ - ๑๔๕ ภิกฺขู สตฺถุ สนฺติเก - วฏฺฏตีติ จินฺเตสิ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๒ ๑ เทวสหาย ๑๔๕ - ๑๔๖ ตตฺถ ตตฺถ นิสีทนฺตา - ปสํสามตฺตํปิ น กรีติ ฯ

133
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
วิชา แปลมคธเป็นไทย
ประโยค ป.ธ. ๕ “มงฺคลตฺถทีปนี ภาค ๒ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๕๔/๒ ๑ ทานกถา ๑๐ -๑๑ ๗ - ๘ อิทมโวจ ภควา - ปพฺพชิโตติ ฉฬงฺคสุตฺตวณฺณนา ฯ
๒๕๕๑/๒ ๑ ทานกถา ๑๐ -๑๑ ๗-๘ อิทมโวจ ภควา - ปพฺพชิโตติ ฉฬงฺคสุตฺตวณฺณนา ฯ
๒๕๔๐ ๑ ทานกถา ๑๒ - ๑๔ ๘ - ๙ ฉฬงฺคสมนฺนาคตนฺติ - วุตฺตานีติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๔/๒ ๒ ทานกถา ๑๓ - ๑๔ ๘ - ๙ ทกฺขนฺติ วฑฺเฒนฺติ - วุตฺตานีติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๑/๒ ๒ ทานกถา ๑๓ - ๑๔ ๘ - ๙ ทกฺขนฺติ วฑฺเฒนฺติ - ปฐมวคฺควณฺณนา ฯ
๒๕๓๘ ๑ ทานกถา ๑๕ - ๑๖ ๙ -๑๐ ยญฺญสฺส สมฺปทาติ - อธิปฺปาโยติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๓/๒ ๑ ทานกถา ๒๑ ๑๒ - ๑๓ อนุคฺคหปูชนิจฺฉาวเสน หิ - ผลโต อสงฺเขยฺยํ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๒ ทานกถา ๒๑ ๑๓ - ๑๔ โก เนสํ วิเสโสติ - เขตฺตสมฺปตฺติยา มหปฺผลํ โหตีติ ฯ
๒๕๓๗ ๑ ทานกถา ๒๑ ๑๔ - ๑๕ เตสุ ติสรณคตสฺส - อุตฺตรตา ปากฏาเอว ฯ
๒๕๔๖ ๑ ทานกถา ๒๑ ๑๕ - ๑๖ พุทฺธปฺปมุขอุภโตสงฺฆสฺส - นยํ ปหายาติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๖๐ ๑ ทาน กถา ๒๑ ๑๔-๑๕ เตสุ ติสรณคตสฺส – อุตฺตริตรตา ปากฏาเอว ฯ
๒๕๖๐ ๒ ทาน กถา ๒๑ ๑๕-๑๖ ตถา หิ อุปริมํ – อุปเทนสฺสาปิ น โหติเยว ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ ทาน กถา ๒๖ ๒๐-๒๒ สนฺทิฏฺฐิกนฺติ อสมฺปรายิกตาย – อพนฺธสฺสาติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๖๐/๒ ๒ ทาน กถา ๒๗ ๒๒ ทายโก ทานปตีติ – มาฆสุตฺตวณฺณนา ฯ
๒๕๔๗ ๑ ทานกถา ๔๓ ๓๗ - ๓๙ สเจปิ หิ - ชินาตีติ ธมฺมปทวณฺณนา ฯ
๒๕๕๒ ๑ ทานกถา ๔๓ - ๔๕ ๓๙ - ๔๐ ธมฺมรโสติ - สพฺพนฺธิตพฺพนฺติ ตฏฺฏีกา
๒๕๔๔ ๑ ทานกถา ๔๔ - ๔๖ ๓๙ - ๔๐ ยา เจสา - ธมฺโม เทเสตพฺโพติ ฯ
๒๕๕๐ ๑ ทานกถา ๕๐ - ๕๑ ๔๓ - ๔๔ ธมฺมทานมฺปน ยสฺมา - สมาธิยตีติ ตพฺพณฺณนา ฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ ทานกถา ๕๐ - ๕๑ ๔๓ - ๔๔ ธมฺมทานมฺปน ยสฺมา - สมาธิยตีติ ตพฺพณฺณนา ฯ
๒๕๕๖/๒ ๒ ทานกถา ๕๒ ๔๔ - ๔๕ วิมุตฺตายตนนฺติ - นสฺสิตุนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๓ ๑ ธัมมจริยากถา ๕๕ ๔๗ - ๔๘ อิธ คหปตโย เอกจฺโจ - จตุพฺพิธํ วาจาย .. โหติ ฯ

134
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๕๓ ๒ ธัมมจริยากถา ๕๘ - ๖๐ ๕๒ - ๕๔ เอหมฺโภ ปุริสาติ อาลปนเมตํ - ปหายาติ อตฺโถ ฯ
๒๕๓๑ ๑ ธัมมจริยากถา ๖๐ -๖๑ ๕๔ - ๕๕ ตตฺถ อณฺฑกาติ ยถา - จูฬหตฺถิปโทปมาทิวณฺณนา ฯ
๒๕๓๓ ๑ ธัมมจริยากถา ๖๓ - ๖๔ ๕๖ -๕๗ กาเล วทตีติ กาลวาที - ภยเภรวสุตฺตวณฺณนา ฯ
๒๕๔๓ ๑ ธัมมจริยากถา ๖๖ ๕๘ - ๕๙ สมฺมา โสภนา - คเหตพฺพํ ฯ
๒๕๔๗ ๒ ธัมมจริยากถา ๖๙ ๖๐ - ๖๑ อิติ ภควา - นิทฺทิฏฺโฐติ สาเลยฺยกวณฺณนา ฯ
๒๕๕๖ ๑ ธัมมจริยากถา ๗๐ ๖๓ - ๖๔ ปหายาติ วา - ปวตฺตมาโน วุตฺโต ฯ
๒๕๕๖ ๒ ธัมมจริยากถา ๗๐ ๖๔ - ๖๕ มิชฺชติ สินิยฺหตีติ - จูฬหตฺถิปโทปมจตุกฺกงฺคุตฺตรฏีกาฯ
๒๕๕๒ ๒ ธัมมจริยากถา ๗๔-๗๖ ๖๕ - ๖๖ อสุกวีถึ วา อุทฺทิสฺส - รุกฺเขติอาทินฺติ สาเลยฺยกฏีกาฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ ธัมมจริยากถา ๘๙ ๗๗ - ๗๘ ทานเมว อุปนิสฺสโย - วุตฺตนฺติ ตฏฺฏีกาฯ
๒๕๕๑ ๑ อนวัชชกัมมะ ๑๐๖ - ๑๐๘ ๙๒ - ๙๓ ยมฺปนฏฺฐกนิปาเต - กตฺตพฺพตา ทสฺสิตา ฯ
๒๕๕๗ ๑ อนวัชชกัมมะ ๑๑๗ - ๑๑๘ ๙๗ - ๙๙ กาโลติ ภิกฺขูนํ -น วีติกฺกโมติ ขุทฺทกปาฐวณฺณนา ฯ
๒๕๔๑ ๑ อนวัชชกัมมะ ๑๒๔ - ๑๒๖ ๑๐๑ - ๑๐๒ มญฺจปีฐปาทา หิ - มญฺจปฺปฏิปาทกนฺติ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๑ อนวัชชกัมมะ ๑๒๔-๑๒๕ ๑๐๑ มญฺจปีฐปาทา หิ - นิฏฺฐเมตฺถ คนฺตพฺพํ ฯ
๒๕๕๗ ๒ อนวัชชกัมมะ ๑๒๖ - ๑๒๗ ๑๐๑ - ๑๐๒ มญฺจปฺปฏิปาทกา ตุ - พฺรหฺมชาลอุโปสถสุตฺตฏีกา ฯ
๒๕๕๗/๒ ๒ อนวัชชกัมมะ ๑๒๙-๑๓๐ ๑๐๓-๑๐๕ ตมฺปน อุปวสนฺเตน - ปรวิหึสาปฏิสยุตฺตาติ ตฏฏีกา ฯ
๒๕๓๖ ๑ ปาปวิรัติ ๑๖๓ ๑๓๑-๑๓๒ กมฺมกฺกิเลสาติ วจนโต - กายวจีมโนกมฺมานีติ ฯ
๒๕๓๑ ๒ ปาปวิรัติ ๑๗๑-๑๗๒ ๑๓๕-๑๓๖ ฏีกากาโร หิ ยทิปิ - มุสา ภณิเต อสฺสมโณ โหตีติ ฯ
๒๕๕๑ ๒ ปาปวิรัติ ๑๘๔ - ๑๘๕ ๑๔๒-๑๔๓ ยสฺมา ปน ตํตํเวรโต - อุปฺปาเทตพฺพนฺติอาทิมาห ฯ
๒๕๔๓ ๒ ปาปวิรัติ ๑๙๑ - ๑๙๒ ๑๔๗-๑๔๙ มชฺชปานาทีนโว ปน - การณนฺติ ตพฺพณฺณนา ฯ
๒๕๕๐ ๒ มิจฉาจาร ๒๐๗-๒๐๙ ๑๖๐-๑๖๑ อตีเต สาวตฺถิยํ - อนฺโต ภวิสฺสตีติ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๒ มิจฉาจาร ๒๐๘ - ๒๑๑ ๑๖๑-๑๖๒ สการํ วตฺวา นิมุคฺโค - โลหกุมฺภีชาตกํ เทเสสิ ฯ
๒๕๔๙ ๑ อารตี วิรตีกถา ๒๓๖-๒๓๗ ๑๗๙-๑๘๐ ตสฺมา อริยธมฺมสงฺคตา - วุจฺจตีติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๓๔ ๑ อัปปมาทคาถา ๒๔๐-๒๔๑ ๑๘๒-๑๘๓ อปฺปมาโท นาม ปมาทสฺส – วิภงฺควณฺณนา ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ คารวกถา ๒๖๒ ๑๙๔-๑๙๕ ครู นาม ครุกาตพฺพา - ปูเชตพฺพํ น ปูเชติ ฯ
๒๕๔๑ ๒ คารวกถา ๒๖๖ - ๒๖๗ ๑๙๗-๑๙๙ ยสฺมา ปน อคารเว - สงฺคีติสุตฺตฏีกา ฯ
๒๕๔๒ ๑ คารวกถา ๒๖๘ ๑๙๙-๒๐๐ โย เจติยงฺคณํ - ทุวิธนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๔๘ ๑ คารวกถา ๒๖๙-๒๗๐ ๒๐๐-๒๐๑ สณฺฐาโร ปฏิสณฺฐาโรติ - ธมฺมกถนนฺติ ตฏฺฎีกา ฯ
๒๕๔๘ ๒ คารวกถา ๒๗๒ ๒๐๑-๒๐๒ ปฏิสณฺฐารโก โหตีติ - อาทาย คนฺตพฺพํ ฯ

135
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๒ ๒ คารวกถา ๒๗๔-๒๗๕ ๒๐๔-๒๐๕ อนามฏฺฐปิณฺฑปาโต - ปิณฺฑปาโตติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๔๐ ๒ นิวาตกถา ๒๘๖-๒๘๗ ๒๑๗ นิวาโต นาม - สณฺหวาจตาติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๒ ๑ สันตุฏฐี ๒๙๓ ๒๒๔ สนฺตุฏิ นาม - สเมน ตุสฺสโกติ วุจฺจตีติ ฯ
๒๕๓๖ ๒ สันตุฏฐี ๓๐๒ ๒๓๑-๒๓๓ อิมินา ปน - จตุตฺถปณฺณาสกวณฺณนา จ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ สันตุฏฐิกถา ๓๐๓ – ๓๐๔ ๒๓๓ – ๒๓๔ จีวรปิณฺฑปาตานํ – คจฺฉนฺตีติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๐ ๑ สันตุฏฐี ๓๐๗ ๒๓๕-๒๓๗ จีวรตฺถาย คจฺฉนฺตสฺส - สตฺต วาเร วิชฺฌิตพฺพ ฯ
๒๕๓๐ ๒ สันตุฏฐี ๓๐๗ ๒๓๗-๒๓๘ เอว กโรนตสฺส หิ - ปณฺณรส สนฺโตสา ฯ
๒๕๕๘/๒ ๒ สันตุฏฐิกถา ๓๐๙ – ๓๑๑ ๒๔๓ – ๒๔๔ เอวมฺปเภโท – ติรจฺฉานคตานมฺปิ ฯ
๒๕๕๘ ๑ สันตุฏฐิกถา ๓๒๐ – ๓๒๒ ๒๕๒ – ๒๕๓ มหนฺตานิ วตฺถูนิ – วิภงฺควณฺณนา ฯ
๒๕๕๘ ๒ สันตุฏฐิกถา ๓๕๐ – ๓๕๑ ๒๖๗ – ๒๖๘ เอวํ ปจฺจยปฺปิจฺฉปฺปฎิปทํ – อาปชฺชตีติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๔๕ ๑ สันตุฏฐี ๓๓๓-๓๓๔ ๒๕๙-๒๖๐ เอวมฏฺฐกถาสุ ปาปิจฺฉ - ทสุตฺตรสุตฺตวณฺณนา ฯ
๒๕๓๗ ๒ กตัญญุตา ๓๖๔-๓๖๕ ๒๗๗-๒๗๘ ตตฺถ อาจาริยูปชฺฌายาติ - อุปชฺฌาติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๓๓ ๒ กตัญญุตา ๓๖๙ ๒๘๐ ตโมติ อปฺปกาสภาเวน - อตฺโถ เวทิตพฺโพติ ตฏฏีกา ฯ
๒๕๔๕ ๒ กตัญญุตา ๓๗๐ ๒๘๐-๒๘๑ นีจกุลปจฺฉาชาติอาทิเกน - ปุคฺคลปญฺญตฺติ ฏีกาฯ
๒๕๓๙ ๑ ธัมมัสสวน ๓๘๒ ๒๙๘-๒๙๙ กาเลน ธมฺมสฺสวนํ - อฏฺฐานฆาตวเสน ทีเปตพฺพา ฯ
๒๕๕๕/๒ ๒ ธัมมัสสวน ๓๙๒ ๓๐๘-๓๐๙ โสตานุคตานนฺติ ยถาวโต - ปฏิวิทฺธาติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๙ ๑ ธมฺมสวนกถา ๓๙๙-๔๐๐ ๓๑๖-๓๑๗ เอวํ ธมฺมสวนํ – อสมฺภวโตติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๙ ๒ ธมฺมสวนกถา ๔๐๑-๔๐๒ ๓๑๗-๓๑๘ ถูลผุสิตเกติ มหาผุสิตเก – ปญฺจธมฺมา สํวตฺตนฺตีติ ฯ
๒๕๔๙ ๒ ขัตติกถา ๔๑๒-๔๑๓ ๓๒๖-๓๒๗ เอวํ ปุณฺณตฺเถร - อธิวาสนกฺขตฺตีติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ ขนฺติกถา ๔๓๑-๔๓๒ ๓๓๖-๓๓๘ เอวํ ขนฺติยุตฺโต ปุคฺคโล – อนุปสนฺตา เวเทหิกาติ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๒ ขนฺติกถา ๔๓๓ ๓๓๘ อิติ ยตฺตกา คุณา - อุปสนฺโตติ เวทิตพฺโพติ ฯ
๒๕๓๔ ๒ โสวจัสสตากถา ๓๔๕-๓๔๖ ๓๔๐-๓๔๑ โสวจสฺสตา นาม - วุตฺตปฺปฏิปกฺขนเยนาติ ตฏฏีกา ฯ
๒๕๔๘/๒ ๒ โสวจัสสตากถา ๔๔๑ ๓๔๓-๓๔๔ สุวโจ จ นาม อตฺตโนปิ - ภิกฺขเว สิกฺขิตพฺพนฺติ ฯ
๒๕๕๕ ๑ สมณทัสสนกถา ๔๕๖ ๓๕๕-๓๕๖ ขีณาสวสฺส โลกุตฺตรสีลํ - ฌานวิปสฺสนาติอาทิ วุตฺตํ ฯ
๒๕๕๕ ๒ สมณทัสสนกถา ๔๕๗-๔๕๙ ๓๕๗-๓๕๙ อิทานิ เยน การเณน - วิตฺถารโต วุตฺตํ ฯ
๒๕๓๙ ๒ ตปกถา ๔๗๐-๔๗๒ ๓๖๖-๓๖๗ ตโป นาม - ตปนโต วิริยนฺติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ ตปกถา ๔๗๔ ๓๖๘-๓๖๙ อินฺทฺริเยสุ คุตฺตทฺวาโรติ - วิสุทฺธิมคฺโค ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ ตปกถา ๔๙๑-๔๙๒ ๓๘๘-๓๘๙ เอวํ สตฺถา อตึตํ - ปฏิลภตีติ อตฺโถ ฯ

136
พ.ศ. ข้อ เรื่อง เลขข้อ หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๖ ๒ อริยสัจจะ ๕๒๖-๕๒๗ ๔๐๘-๔๐๙ ตตฺถ ปุริมานิ เทฺว สจฺจานิ – มคฺคสํยุตฺตฎีกา ฯ
๒๕๔๔ ๒ นิพพาน ๕๓๘ ๔๑๕-๔๑๖ นิพพานํ นาม - สพฺพภวานิ ตาทิโนติ ฯ
๒๕๒๙ ๑ เขมจิต ๖๐๑-๖๐๓ ๔๖๓-๔๖๕ เอว ราชฺโ - ธมฺมเสนาปตินา วุตฺโต ฯ
๒๕๒๙ ๑ เขมจิต ๖๐๔-๖๐๕ ๔๖๕-๔๖๖ อิฏานิฏเ ตาทีติ - ทุติยปณฺณาสกวณฺณนา ฯ
๒๕๓๕ ๑ เขมจิต ๖๐๕-๖๐๖ ๔๖๕-๔๖๖ อาหุเนยฺโยติ อาหุติสงฺขาตํ – โลกสฺสาติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๘ ๒ เขมจิต ๖๐๖ ๔๖๖-๔๖๗ อาเนตฺวา หุติตพฺพนฺติ - โลกสฺสาติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๓๕ ๒ เขมจิต ๖๐๗ ๔๖๗-๔๖๘ เอวเมตํ อปฺปวตฺตกฺ.... - นานุภวนฺติ ทสฺสนายาติ ฯ
๒๕๕๔ ๑ เอกาทสมคาถา ๖๑๔-๖๑๖ ๔๗๑-๔๗๒ กตฺวานาติ กริตฺวา มาโรติ - วุตฺตนฺติ ตฏฺฏีกา ฯ
๒๕๕๔ ๒ เอกาทสมคาถา ๖๑๗-๖๑๘ ๔๗๒-๔๗๓ มปราชิตาติ มกาโร คาถาพนฺธสุขตฺถํ - วุตฺโตติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๓๒ ๒ เอกาทสมคาถา ๖๒๕ ๔๗๗-๔๗๘ อิทานิ สพฺพมงฺคเลสุ - ... ตนฺเตสมงฺคลมุตฺตมนฺติ ฯ

137
สถิติข้อสอบบาลีสนามหลวง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๒๙ ถึง พ.ศ.๒๕๖๐
วิชา แปลไทยเป็นมคธ
ประโยค ป.ธ.๕ “ธรรมบท ภาค ๒ - ๔ เรียงหน้า”
รวบรวมโดย... พระมหาวชิรวิชญ์ วชิรเมธี ป.ธ.๗

พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ


๒๕๕๑/๒ ๑ ๒ สามาวดี ๑ - ๒ อตีเต อลฺลกปฺปรฏฺเฐ อลฺลกปฺปราชา - เต ตถา กรึสุ ฯ
๒๕๕๑/๒ ๒ ๒ สามาวดี ๓ - ๔ ตสฺมึ สมเย โกสมฺพิยํ - อตฺตโน ปณฺฑิตตาย อธิวาเสสิ ฯ
๒๕๓๒ ๑ ๒ สามาวดี ๑๒ - ๑๓ ติรจฺฉานา นาเมเต - กุจฺฉิสฺมึ ปฏิสนฺธึ คณฺหิ ฯ
๒๕๕๐ ๑ ๒ สามาวดี ๒๒ - ๒๓ ตํ สุตฺวา เสฏฺฐิโน - ตเถว ปฏิปชฺชิฯ
๒๕๕๑ ๑ ๒ สามาวดี ๒๔ ปวิฏฺฐกาเล ปน เสฏฺฐิปุตฺโต - ตํขณญฺเญว กาลมกาสี ฯ
๒๕๕๑ ๒ ๒ สามาวดี ๓๐ - ๓๑ อเถกทิวสํ ตสฺมึ นคเร นกฺขตฺติ - ตถา สาสนํ ปาเหสิ ฯ
๒๕๔๐ ๑ ๒ สามาวดี ๓๖ - ๓๗ โส จินฺเตสิ อยฺโย - ยถาติ อนุโมทนํ อกาสิฯ
๒๕๕๙ ๑ ๓ วิสาขา ๔๗ เตน โข ปน สมเยน – กตฺตพฺพยุตฺตกํ อกาสิ ฯ
๒๕๕๙ ๒ ๓ วิสาขา ๔๗-๔๘ ราชาปิสฺส มหนฺตํ – ฉวิกลฺยาณํ วยกลฺยาณนฺติ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๑ ๓ วิสาขา ๕๑-๕๒ พฺราหฺมณา ตสฺสา กถนกาเล – เอกโต ว อคมํสุ ฯ
๒๕๕๙/๒ ๒ ๓ วิสาขา ๕๒-๕๓ ธนํ ตาว – อนุภวิสฺสนฺตีติ สํวิทหิ ฯ
๒๕๓๔ ๑ ๒ สามาวดี ๕๕ - ๕๖ ตา เอกทิวสํ เถรสฺส - ทินฺนานิ สตสหสฺสขตฺตุํ ลภิ.
๒๕๔๔ ๑ ๒ กุมภโฆสก ๗๒ - ๗๓ ราชา อเนกสตานิ - อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒตีติ ฯ
๒๕๔๘ ๑ ๒ จูฬปันถก ๘๔ - ๘๕ ตทา พาราณสีราชา - นิเวสนํ ปาวิสิฯ
๒๕๓๓ ๑ ๒ มหากัสสปะ ๙๑ - ๙๒ เอกสฺมึ หิ ทิวเส - ธีโร พาเล อเวกฺขตีติ ฯ
๒๕๓๘ ๑ ๒ สักกะ ๙๖ - ๙๗ สกฺโก มหาลิ - ขิปฺปเมว นํ ปฏิวิเนยฺยนฺติ ฯ
๒๕๕๔ ๑ ๒ นิคมวาสิติสส ๑๑๒ - ๑๑๓ เอกสฺมึ หิ สาวตฺถิโต - ยาจิโต อตีตํ อาหริ ฯ
๒๕๕๔ ๒ ๒ นิคมวาสิติสส ๑๑๓ - ๑๑๔ อตีเต หิมวนฺเต คงฺคาตีเร - กเถนฺโต อิมํ คาถมาห ฯ
๒๕๓๖ ๑ ๒ เมฆิยะ ๑๑๖ - ๑๑๗ สตฺถา ปน ตีหิ - ปเนกํ จิตฺตนฺติ วุตฺตํ ฯ
๒๕๔๒ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๑๙ - ๑๒๐ เต ตตฺถ วสนฺตา - นาม นตฺถิ ฯ
๒๕๕๔/๒ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๑๙ อถ เน โย ตสฺส - เภสชฺชํ กริสฺสามาติ ฯ
๒๕๔๖ ๑ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๒๐ - ๑๒๑ อุปาสิกา เอเกกฏฺฐานโต - จ อาคมึสุ ฯ

138
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๕๔/๒ ๒ ๒ อัญญตรภิกขุ ๑๒๑-๑๒๒ เตสํ สปฺปายาหารํ - ตสฺสา คุณกถํ กถยึสุ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๑ ๒ อัญญตรภิกฺขุ ๑๒๕ สตฺถา ตสฺส ภิกฺขุโน - อกาสีติ จินฺเตสิ ฯ
๒๕๓๕ ๑ ๒ อารัทธวิปัสสก ๑๔๑-๑๔๒ เต อญฺญมญฺญํ ตุยฺหํ - ปวิเสยฺยาถาติ อุยฺโยเชสิ ฯ
๒๕๓๗ ๑ ๒ โสเรยยะ ๑๕๒ สมฺมาสมฺพุทฺเธ สาวตฺถิยํ - น ชานาถาติ วทึสุ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๑ ๒ โสเรยยะ ๑๕๖-๑๕๗ ชนปทวาสิโน ตํ ปวตฺตึ - นํ ตโต กเรติ ฯ
๒๕๓๖ ๒ ๓ มรีจิ ๓ - ๔ โส กิร สตฺถุ - อทสฺสนํ มจฺจุราชสฺส คจฺเฉติ ฯ
๒๕๔๐ ๒ ๓ มรีจิ ๓ โส กิร สตฺถุ - ภิชฺชนสภาโวเอวาติ วตฺวา ฯ
๒๕๖๐ ๑ ๓ วิทูฑภะ ๙-๑๐ อิติ โข มหาราช – วนฺทิตฺวา ปกฺกมึสุ ฯ
๒๕๖๐ ๒ ๓ วิทูฑภะ ๑๐-๑๑ กปฺปกนฺเตวาสิเกน สทฺธึ – สุวณฺณวณฺโณ อโหสิ ฯ
๒๕๕๒ ๑ ๓ วิทูฑภะ ๑๔ - ๑๕ อเถกา ทาสี - ปกติปริหารเมว ทาเปสิ ฯ
๒๕๕๒ ๒ ๓ วิทูฑภะ ๑๕ - ๑๖ สา นจิรสฺเสว คพฺภํ - อาคตมคฺเคเนว ปายาสิ ฯ
๒๕๕๒/๒ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๑๗ พนฺธุโล เตนหิ อิมา - ชีวิตกฺขยํ ปตฺตา ฯ
๒๕๕๒/๒ ๒ ๓ วิฑูฑภะ ๑๗ - ๑๘ อเถกทิวสํ วินิจฺฉเย กุฏฏฺฏปราชิตา - มหาโยเธ เปเสสิ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๑๗ - ๑๘ อเถกทิวสํ วินิจฺฉเย - ปุตฺเตหิ สีสํ ฉินฺทึสุ ฯ
๒๕๓๕ ๒ ๓ วิฑูฑภะ ๑๘ - ๑๙ ตํทิวสํ มลฺลิกาย เทวิยา - อุฏฺฐายาสนา วิหารํ อคมาสิ ฯ
๒๕๕๖/๒ ๒ ๓ วิฑูฑภะ ๑๘ - ๑๙ ตํทิวสํ มลฺลิกาย - ราชา สมฺปฏิจฺฉิ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๑ ๓ วิฑูฑภ วตฺถุ ๑๙-๒๐ สาปิ ทฺวตฺตึสสุณิสาโย – รชฺชสุขํ นานุโภติ ฯ
๒๕๖๐/๒ ๒ ๓ วิฑูฑภ วตฺถุ ๒๐ ตทา สตฺถา สากิยานํ – สรีรกิจฺจํ กาเรสิ ฯ
๒๕๔๕ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๒๐ - ๒๑ วิฑูฑโภปิ รชฺชํ - จตุตฺถวาเร นาคเมสิ ฯ
๒๕๔๗ ๑ ๓ วิฑูฑภะ ๒๔ สตฺถา ตํ กถํ สุตฺวา - อาทาย คจฺฉตีติ ฯ
๒๕๔๙/๒ ๒ ๓ ปติปูชิกา ๒๘ - ๒๙ ปุนทิวเส ภิกฺขู - กุรุเต วสนฺติ ฯ
๒๕๔๘/๒ ๑ ๓ มัจฉริโกสิยเสฏฐี ๓๒ - ๓๓ อถ สตฺถา ปาโตว - เอกธูโม อโหสิฯ
๒๕๔๘ ๒ ๓ มัจฉริโกสิยเสฏฐี ๓๕ - ๓๖ ปุนทิวเส สายณฺหสมเย - เอวํ คาเม มุนี จเรติ ฯ
๒๕๔๓ ๑ ๓ ปาฏิกาชีวก ๓๙ - ๔๐ พุทฺธานญฺจ มคฺคเทสเกน - นาสกฺขิ ฯ
๒๕๕๕ ๑ ๓ วิสาขา ๔๙ - ๕๐ ตสฺมึ ปน นคเร - กํสตาลสฺสโร วิย นิจฺฉรติ ฯ
๒๕๕๕ ๒ ๓ วิสาขา ๕๐ - ๕๑ อถ เน ปุน มธุรสทฺเทน - น ธาวิตมฺหิ ตาตาติ ฯ
๒๕๔๑ ๑ ๓ วิสาขา ๕๗ - ๕๘ อถ เสฺว มม - สทฺธึ ธีตรํ อุยฺโยเชสิ ฯ
๒๕๓๑ ๑ ๓ วิสาขา ๖๐ - ๖๑ วิสาขา สสุรํ วีชมานา - มยฺหํ โทสํ โสธาเปถาติ ฯ
139
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๗ ๒ ๓ วิสาขา ๖๑ - ๖๒ เสฏฺฐี กลฺยาณํ - อทตฺวา วสิตุนฺติ ฯ
๒๕๕๐/๒ ๒ ๓ วิสาขา ๖๑ เสฏฺฐี กลฺยาณํ - กึ โทสํ ปสฺสสีติ ฯ
๒๕๕๐ ๒ ๓ วิสาขา ๗๕ - ๗๖ สตฺถา สมิชฺฌิสฺสติ - กุสลํ พหุนฺติฯ
๒๕๕๖ ๑ ๓ มหากัสสปะ ๘๐ - ๘๑ เอกสฺมี หิ ทิวเส - อิมินา ว เทวาติ ฯ
๒๕๕๖ ๒ ๓ มหากัสสปะ ๘๒ - ๘๓ ตทา เถโร จินฺเตสิ - อุทานํ อุทาเนสิ ฯ
๒๕๕๓ ๑ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๐๐-๑๐๑ ราชา กิร ปเสนทิโกสโล - วนฺทิตฺวา อฏฺฐาสิ ฯ
๒๕๕๓ ๒ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๐๑-๑๐๒ อถ นํ ราชา - ภตฺตํ ปกฺกํ อโหสิ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๑ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๐๒ โส อนุจฺฉิฏฺฐํ กตฺวา ว - อรุณวตีมตฺตีกํ อทาสิ ฯ
๒๕๕๕/๒ ๒ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๐๒-๑๐๓ ราชา ปน จินฺเตสิ - ตํ อิตฺถึ อาเนสฺสามีติ ฯ
๒๕๕๘ ๑ ๓ อัญญตรบุรุษ ๑๐๔ – ๑๐๖ วุตฺตํปิ เจตํ – ตสฺโสวาทํกโรหีติ ฯ
๒๕๕๘ ๒ ๓ อัญญตรบุรุษ ๑๐๖ อถโข ราชา – มยาอิธานีโตติ ฯ
๒๕๓๘ ๒ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๐๘-๑๐๙ โส ภาริยํ วติทํ - สทฺธมฺมํ อวิชานตนฺติ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๑ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๑๒-๑๑๓ สกฺโก อหํปิ ตํ - ปุปฺผมุฏฺฐินา ปูเชสิ ฯ
๒๕๕๓/๒ ๒ ๓ อัญญตรปุริสะ ๑๑๓ ปุน ราชา อาห-อนุสฺสรนฺตี โรทามีติ อาห. (วตฺวา)
๒๕๔๙ ๑ ๓ ติณฐิภทราโจร ๑๒๔ เต กิร สทา - จบคาถา
๒๕๔๖ ๒ ๓ กสกวัตถุ ๑๓๓ อถ นํ ราชา กสฺมา - วิปากํ ปฏิเสวตีติ ฯ
๒๕๓๙ ๑ ๓ อุบลวัณณา ๑๔๐ สา กิร ปทุมุตฺตรพุทฺธสฺส - นามํ อกํสุ ฯ
๒๕๓๙ ๒ ๓ อุบลวัณณา ๑๔๑ ตสฺสา อจิรปพฺพชิตายเอว - อภิญฺญาหิ จ ฯ
๒๕๓๙ ๒ ๓ อุบลวัณณา ๑๔๑-๑๔๒ มาตุลปุตฺโต ปนสฺสา – อถ (พาโล) ทุกฺขํ นิคจฺฉตีติ ฯ
๒๕๔๓ ๒ ๓ วนวาสีติสสะ ๑๘๘-๑๘๙ ภิกฺขูนํ ธมฺมสภายํ - พฺรูหเยติ จบคาถา ฯ
๒๕๓๐ ๑ ๓ วนวาสีติสสะ ๑๗๔-๑๗๕ ทุคฺคตกาเล ทินฺนทานํ ปน - ทินฺนปายสฺส นิสฺสนฺโท ฯ
๒๕๓๐ ๑ ๓ วนวาสีติสสะ ๑๗๕-๑๗๖ ชาตมงฺคลทิวเส ปน - อปฺโปทกมธุปายาสเมว อทํสุ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๑ ๓ วนวาสิติสสเถระ ๑๗๖ – ๑๗๗ ทารโก วุฑฺฒิมนฺวาย – ปิณฺฑาย ปาวิสิ ฯ
๒๕๕๘/๒ ๒ ๓ วนวาสิติสสเถระ ๑๗๗ – ๑๗๘ ปุเนกทิวสํ สามเณโร – กมฺพเล ปฏิจฺฉาเทหีติ ฯ
๒๕๓๗ ๒ ๔ มหากัปปินะ ๑๔ - ๑๕ สตฺถาปิ ตํ ทิวสํ - วิย มา อโหสีติ ฯ
๒๕๕๗ ๑ ๔ มหากัปปินะ ๑๖ - ๑๗ สตฺถา อาคมิสฺสติ นุ โข - เทฺว สาสนานิ อาโรเจสุํ ฯ
๒๕๕๗ ๑ ๔ มหากัปปินะ ๑๘ สา เตสํ ภริยาโย - คนฺตฺวา ปพฺพชิสฺสามีติ ฯ

140
พ.ศ. ข้อ ภาค เรื่อง หน้า เริ่ม - จบ
๒๕๔๑ ๒ ๔ บัณฑิต ๒๑ - ๒๒ อตีเต กิร กสฺสปสมฺมา - สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ
๒๕๔๙ ๒ ๔ บัณฑิต ๒๑ - ๒๒ อตีเต กิร กสฺสปสมฺมา - สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๑ ๔ บัณฑิต ๒๑ - ๒๒ อตีเต กิร กสฺสปสมฺมา - สตฺถา อธิวาเสสิ ฯ
๒๕๔๔ ๒ ๔ บัณฑิต ๒๒ - ๒๓ โส คามํ ปวิสิตฺวา - น ชานาสีติ ฯ
๒๕๕๗/๒ ๒ ๔ บัณฑิต ๒๓ - ๒๔ โส ตสฺมึ กเถนฺเต - โกฏฺเฏติ เจว โอผุนาติ ฯ
๒๕๓๒ ๒ ๔ บัณฑิต ๓๓ เถโร อฏฺฐเม ทิวเส - มาติกา นาม สามเณราติ ฯ
๒๕๒๙ ๑ ๔ ปัญจสตภิกษุ ๔๕ - ๔๖ สาวตฺถีวาสิโน สตฺถุ - วิตฺถาเรน กเถสิ ฯ
๒๕๒๙ ๒ ๔ ธัมมิกเถระ ๔๗ - ๔๘ สาวตฺถิยํ กิร เอโก - นิกฺขมิตฺวา ปพฺพชฺชิ ฯ (ต่อ)
๒๕๔๘/๒ ๒ ๔ ธัมมัสสวนะ ๔๙ - ๕๐ สาวตฺถิยํ กิร เอกวีถิวาสิโน - มจฺจุเธยฺยํ สุทุตฺตรนฺติ ฯ
๒๕๔๒ ๒ ๔ โกสัมพีวาสิติสสะ ๗๑ - ๗๒ โส คนฺตฺวา - อุปสนฺตสฺส ตาทิโนติ จบคาถา ฯ
๒๕๒๙ ๒ ๔ ขทิรวนิยเรวต ๗๕ มาตาปิสฺส เรวตกุมารํ - ปพฺพชิตุํ วฏฺฏตีติ ฯ (ต่อ)
๒๕๓๓ ๒ ๔ ขทิรวนิยเรวต ๗๗ - ๗๘ โถกํ คตกาเล อานนฺทตฺเถโร - ...ฐานสตานิ จ มาเปสิ ฯ
๒๕๓๔ ๒ ๔ ขทิรวนิยเรวต ๗๘ - ๗๙ ตตฺถ ปน เทฺว - ทิสฺวา อาทาย ปกฺกมึสุ ฯ
๒๕๔๕ ๒ ๔ ขทิรวนิยเรวต ๗๙ - ๘๐ อุปาสิกา จินฺเตสิ - ตํ ภูมิรามเณยฺยกนฺติ ฯ
๒๕๓๑ ๒ ๔ ปฏาจารา ๑๓๖ - ๑๓๘ อถ เตสํ คจฺฉนฺตานํ - เวเคน อุทเก ปติ ฯ

141
บัญช�ผู้เข้�รับก�รอบรมบ�ลีก่อนสอบ
คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๓
และสอบประโยคบาลี ชั้นประโยค ๑-๒ ได้ ในสนามหลวง พ.ศ.๒๕๖๐

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระมาณพ ภูมิมาณโว มั่นศรีจันทร์ ๔๘ ๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระญาณกิตติ์ อตฺถกาโร อิ่นคำ ๓๒ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระวิบูลย์ ธมฺมวิปุโล วงศ์สนันท์ ๖๑ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระวรวิชญ์ นนฺทปญฺโญ ปฐมนันทกุล ๒๓ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ สามเณรสุชัชพงษ์ พุ่มรัก ๑๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ สามเณรสุนทร ชารีเพ็ง ๑๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ สามเณรธวัชชัย สามบุญเที่ยง ๑๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ สามเณรนิติพัฒน์ เชี่ยวชาญ ๑๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ สามเณรวิบูล เฌียต ๑๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐ สามเณรสาธกา กานุสนธิ์ ๑๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๑ สามเณรพงศกร ดวงเพ็ชร์ ๑๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๒ สามเณรพุฒิชัย สินมา ๑๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓ พระชุติพัฒน์ โชติวฑฺฒโน โชคอำนวย ๒๖ ๒ พระงาม นครปฐม
๑๔ พระนันทวัฒน์ ภูริวฑฺฒโน ระวัน ๒๑ ๑ พระงาม นครปฐม
๑๕ สามเณรไชยณรงค์ สุดประเสริฐ ๑๕ พระงาม นครปฐม
๑๖ พระสุวิทย์ ยติเชฏฺโฐ จิวไว้วรณ์ ๓๐ ๖ ไผ่ล้อม นครปฐม
๑๗ พระจิรพงศ์ นนฺทมาโน กิจหว่าง ๕๖ ๒ ห้วยจระเข้ นครปฐม
๑๘ สามเณรธีรดนย์ อริยมงคลสกุล ๑๖ หนองกระโดน นครปฐม
๑๙ พระทัศนัย สุทสฺสโน เสรีเอื้อเฟื้อ ๓๙ ๖ ลานแหลม นครปฐม
๒๐ พระรัตนกฤช มนสิทฺโธ ภูมิภักดิ์ ๓๓ ๕ ลาดหญ้าไทร นครปฐม

142
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๒๑ พระกิตติ มหาวีโร หาสิตพานิชกุล ๓๔ ๔ ไร่ขิง นครปฐม
๒๒ พระประสิทธิ์ ปสิทฺธิโก ไกรสุข ๕๕ ๒ ไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๒๓ สามเณรนพพร เปมะวัฒนะ ๑๗ โพรงมะเดื่อ นครปฐม
๒๔ สามเณรแสง คำ�งาม ๑๘ ปรีดาราม นครปฐม
๒๕ พระอิทธิพล สนฺตมโน บำ�รุงศรี ๒๘ ๗ บางช้างเหนือ นครปฐม
๒๖ พระสาธิต โชติโย พรหมเกศร ๕๒ ๙ นครชื่นชุ่ม นครปฐม
๒๗ สามเณรวัชระ ปัญญาคารวะ ๑๘ ธรรมศาลา นครปฐม
๒๘ พระภาณุพงศ์ กตปุญฺโญ แสงใส ๒๗ ๓ ทุ่งน้อย นครปฐม
๒๙ พระปฐมพงษ์ มงฺคลวํโส เรียบร้อยเจริญ ๒๘ ๗ ท่าข้าม นครปฐม
๓๐ พระวรวัฒน์ วรวฑฺฒโณ พลายงาม ๒๘ ๔ ดอนมะกอก นครปฐม
๓๑ พระทนงศักดิ์ ยโสธโร สว่างวงศ์ชัย ๓๒ ๒ ดอนมะกอก นครปฐม
๓๒ พระอมรวิทย์ นนฺทิโย ยิ้มเข็ม ๒๕ ๓ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๓ พระธีรพงษ์ อุตฺตโม ชัยวิภาส ๓๙ ๑ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๔ พระสุนทร อตฺตสุโภ เหลืองวรวัฒนา ๕๒ ๑๙ กำ�แพงแสน นครปฐม
๓๕ สามเณรนันทวัฒน์ ทองแกมแก้ว ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๖ สามเณรปรีชา พึ่งน้ำ� ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๗ สามเณรปฐวีกานต์ ชินวงษ์ ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๘ สามเณรพัชรพล เฟื่องสิน ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๙ สามเณรวิชัยยุทธ นาคชัย ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๐ สามเณรโชคชัย แก้ววันนา ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๑ สามเณรชัยวัฒน์ ทรดี ๑๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๒ สามเณรสุวิทย์ แก้วฝ่าย สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๓ สามเณรธันวา จำ�ปาจันทร์ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๔ สามเณรนพชัย จันทร์ทอง สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๕ พระสิทธิชัย ฐิตเมโธ สังข์วรรณะ ๓๑ ๕ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๔๖ สามเณรธีระยุทธ เกิดสวัสดิ์ ๑๙ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๔๗ สามเณรจิรายุทธ มากเทพวงษ์ ๑๕ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๔๘ สามเณรตะวัน ไข่ฟัก ๑๔ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๔๙ สามเณรทวีบูรณ์ ปัญญานี ๑๗ ดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
๕๐ สามเณรเตวิช พันธเดช ๑๙ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี

143
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๕๑ สามเณรทักษิณ ไพเราะ ๑๔ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๕๒ สามเณรพรเทพ นพรัตน์ ๑๘ ป้อมวิเชียรโชติการาม สมุทรสาคร
๕๓ พระสมภักดิ์ สิริวณฺโณ สังข์ทอง ๒๐ ๑ อุทยาราม สมุทรสาคร
๕๔ สามเณรสุรศักดิ์ แปะทู ๑๕ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๕๕ สามเณรธนชัย วสุธานที ๑๕ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๕๖ สามเณรทินกร อำ�รุงสายชล ๑๕ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๕๗ พระวรเมธ ธมฺมรตโน รัตนมหาวิชัย ๔๗ ๒ สุนทรสถิต สมุทรสาคร
๕๘ พระสมโภชน์ ธมฺมรโต อรุณโชค ๓๔ ๗ ศรีวนาราม สมุทรสาคร
๕๙ พระวัชรินทร์ อธิปญฺโญ นาเนกรังสรรค์ ๓๑ ๗ บางปิ้ง สมุทรสาคร
๖๐ พระสุพิชิด ฐิตโสภโณ สุริเย ๔๔ ๑๑ ธรรมจริยาภิรมย์ สมุทรสาคร
๖๑ พระมงคล ธมฺมจารี ฉ่ำ�มิ่งขวัญ ๒๘ ๗ โกรกกราก สมุทรสาคร
๖๒ สามเณรชีโต ๑๙ ไชยชุมพลฯ กาญจนบุรี
๖๓ พระนิเวสน์ ฐานุตฺตโม ไทรสังข์ฐิติกุล ๒๙ ๒ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๖๔ พระวิจิตร ฐิตสีโล ปัญญาชัยรักษา ๔๐ ๑ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๖๕ สามเณรเจษฎาพงศ์ เอี่ยมโสภณ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๖๖ สามเณรพีระเชษฐ์ แต้ยินดี วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๖๗ พระมาโนช อภิวิชฺโช ภารนันท์ ๓๒ ๕ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๖๘ พระการันต์ โสภณคุโณ ใสสด ๔๑ ๑ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๖๙ สามเณรกิจสุพัฒน์ จันโต ๔๐ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๗๐ สามเณรพิภพ ปานเทศ ๑๔ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๗๑ พระวิชา ฐานิโย แก้วแป้น ๕๖ ๒ น้ำ�ตก กาญจนบุรี
๗๒ พระสิริพงษ์ สนฺตมโน เสมจันทร์ ๒๗ ๓ ดงสัก กาญจนบุรี
๗๓ พระอิษฏนันท์ รกฺขิตสีโล ห้าวล้อม ๓๙ ๒ ดงสัก กาญจนบุรี
๗๔ สามเณรอดิศักดิ์ น้ำ�ใจสุข ๑๖ เขาสะพายแร้ง กาญจนบุรี
๗๕ สามเณรเอกภพ ไม้งาม ๑๖ เขาวงจินดาราม กาญจนบุรี
๗๖ พระกิตติศักดิ์ ธมฺมิโก เพชรน้ำ�รอบ ๔๒ ๑๕ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๗๗ พระพงษ์ธร กตปุญฺโญ สุริยะพงษ์ ๒๒ ๒ เทวราชกุญชร กรุงเทพฯ
๗๘ พระรอดซะ อินฺทโชโต พญากบ สุธรรมวดี กรุงเทพฯ
๗๙ สามเณรรุ่งโรจน์ ส้มศรีจันทร์ สุธรรมวดี กรุงเทพฯ

144
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๘๐ พระภาณุพงษ์ จิรวฑฺฒโน สาระวัน เทพนิมิต กรุงเทพฯ
๘๑ พระเฉลิมศักดิ์ จตฺตมโล ทองแม้น เทพนิมิต กรุงเทพฯ
๘๒ พระเกีรยงศักดิ์ กนฺตวีโร อินทรีย์ ๓๕ ๕ สะพาน กรุงเทพฯ
๘๓ พระสุกิต สุรปญฺโญ ปานยอด พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๘๔ พระอภิชาติ ชุติปญฺโญ ศรีแสง พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๘๕ สามเณรชาตรี รักษ์สัตย์ ๑๖ ราชสิทธาราม กรุงเทพฯ

145
บัญªÕ¼ÙŒà¢Œารับ¡ารÍบรÁบาÅÕ¡‹Í¹สÍบ
คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๓
และสอบบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๓ ได้ ในสนามหลวง พ.ศ.๒๕๖๐

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระณัฐนันท์ ฐิตคุโณ คุณอยู่ ๓๕ ๑๐ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระอานุกูล ธมฺมวุฑฺโฒ วัฒนกูล ๖๙ ๙ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระณัฐภูมิ สิริปุญฺโญ แสงอุทัยฉาย ๒๙ ๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระจักรพงษ์ ปญฺญาทีโป เกิดอินท์ ๒๘ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ พระอุตรา อุตฺตโร วรรณากรกิจ ๕๑ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ พระเฉลิมวุฒิ ฐานิโก ศิริพรสวรรค์ ๓๐ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ พระวันชนะ อุทโย เทพจันทร์ ๓๗ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ พระกันตพัฒน์ สุทฺธิญาโณ เดชแพง ๓๗ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ พระณัฐพงษ์ อธิฏฺฐาโน ยศเครือ ๒๕ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐ พระภัทรพงศ์ ภทฺรธมฺโม เตชรุ่งอรุณ ๒๕ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๑ สามเณรสหภาพ พิศเพ็ง ๒๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๒ สามเณรณัฐวุฒิ เรืองกัลป์ ๒๐ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓ พระพงศ์ปณต กนฺตธมฺโม แขตระกูล ๕๕ ๗ พระงาม นครปฐม
๑๔ สามเณรสุริยา วันเพ็ญ ๒๐ พระงาม นครปฐม
๑๕ สามเณรกฤษฎา โพนดวงกรณ์ ๑๙ พระงาม นครปฐม
๑๖ พระยุทธศักดิ์ วชิรธมฺโม ดำดี ๓๗ ๖ พระประโทณเจดีย์ นครปฐม
๑๗ พระสัจจวัฒณ์ วชิรญาโณ ฉัตรไทยแสง ๕๐ ๔ ไร่เกาะต้นสำโรง นครปฐม
๑๘ สามเณรสิทธิพร อุ่นอ่อน ๑๕ ไร่เกาะต้นสำโรง นครปฐม
๑๙ สามเณรนฤนาท เปลี่ยนลี้ ๒๐ พะเนียงแตก นครปฐม

146
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๒๐ พระบุญชัย ธมฺมธีโร ส่งเจริญทรัพย์ ๒๕ ๓ เกาะวังไทร นครปฐม
๒๑ พระอภิศักดิ์ ธมฺมสาโร หงษา ๓๓ ๙ ใหม่ปิ่นเกลียว นครปฐม
๒๒ พระอนุศิษฎ์ อภิปญฺโญ วงศ์แสงศักดิ์ ๒๗ ๔ หลวงประชาบูรณะ นครปฐม
๒๓ สามเณรณรงค์ศักดิ์ สุทนต์ ๒๑ ไร่ขิง นครปฐม
๒๔ พระธีรักษ์ วณฺณธโร วรรณฤมล ๓๑ ๓ บางช้างเหนือ นครปฐม
๒๕ สามเณรสุภชัย ปรีชาแสงจันทร์ ๑๗ ปรีดาราม นครปฐม
๒๖ พระทรงพล กตปุญฺโญ ครองเพชร ๓๓ ๑๐ วังน้ำ�ขาว นครปฐม
๒๗ พระสุรชาติ สุรชาโต สิทธิคุณสาร ๓๑ ๕ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๒๘ พระก่อภพ จิรสทฺโธ ตวงทวีทรัพย์ ๓๑ ๔ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๒๙ พระพงศกร ปโมทิโต กวีสุนทรเสนาะ ๒๘ ๑ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๐ พระวิชาญ ปิยสีโล ท่าน้ำ�ตื้น ๔๕ ๒๓ กำ�แพงแสน นครปฐม
๓๑ พระประมวล อริโย สุริยะคำ�วงษ์ ๖๘ ๑๗ สุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี
๓๒ พระสมหวัง ยโสธโร เจริญสุข ๓๒ ๑๒ สุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี
๓๓ พระปฐมฤกษ์ จารุธมฺโม ทองสอาด ๔๘ ๔ สุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี
๓๔ พระสมปราถนา อนาลโย แซ่ตัน ๒๔ ๔ อู่ยา สุพรรณบุรี
๓๕ พระมัธทานยี สิริปญฺโญ ล่ำ�สัน ๓๕ ๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๖ พระบุญธรรม ฉนฺทธมฺโม ทองทรัพย์ ๔๕ ๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๗ พระบุญตา เมธิโน ทรงศรี ๒๙ ๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๘ พระอนุรุทธ อภิชาโน เกณฑ์มา ๒๖ ๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๙ พระอาทิตย์ อินฺทรตโน บุญทอง ๓๐ ๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๐ พระพิพัฒน์ จนฺทสาโร ชื่นอารมย์ ๒๓ ๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๑ พระมนตรี มนาโป คงเพ็ชร ๕๖ ๒ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๒ สามเณรปฏิภัทร์ พานตา ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๓ สามเณรรามภูมิ อินทราศรี ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๔ สามเณรอิสริยะยศ น้อยพรหม ๑๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๕ สามเณรพิชญาภัค ภูลักษณ์ ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๖ สามเณรณัฐดนัย มะกรูดอินทร์ ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๗ พระปิยะ ปิยปุตฺโต จิตตั้งมั่นคง ๕๐ ๑๑ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๔๘ พระวรท กตปุญฺโญ ฤทธิ์มหันต์ ๒๑ ๑ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๔๙ สามเณรพูลทรัพย์ ปฐวีพนาสณฑ์ ๑๗ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี

147
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๕๐ พระเอกชัย จนฺทวณฺโณ ทับทิมทอง ๔๕ ๗ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๕๑ สามเณรกฤษดา กิมสาด ๑๙ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๕๒ สามเณรสมเดช จิตพิรา ๑๔ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๕๓ สามเณรทิวากร แก้วคำ�กอง ๑๔ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๕๔ สามเณรสมชาย เสนทอง ๑๙ คร้อพนัน กาญจนบุรี
๕๕ พระฐิติพันธุ์ ฐิติญาโณ จงเจริญถาวรกุล เขาวงจินดาราม กาญจนบุรี
๕๖ พระสมชาติ ยติโก จันดิษฐ์ ๓๘ ๖ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๕๖ พระสุภาพ กิตฺติทินฺโน กองแก้ว ๓๐ ๕ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๕๘ พระอนิวัฒน์ อนุวฑฺฒโน ศรีินิล ๒๘ ๔ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๕๙ พระสนอง ปญฺญาวโร ท้วมสมบูรณ์ ๔๐ ๑๐ บางน้ำ�วน สมุทรสาคร
๖๐ พระอุกกฤษฎ์ สุวีโร เขิมขันธ์ ๒๓ ๔ รางตันนิลประดิษฐ์ สมุทรสาคร
๖๑ พระวิศิษฏ์ ปุญฺญวฑฺฒโน อรธรรมรัตน์ ๓๒ ๗ เจษฎาราม สมุทรสาคร
๖๒ พระบุญเลิศ ปภาโส เลิศสง่า ๒๕ ๔ โกรกกราก สมุทรสาคร
๖๓ พระรุ่ง ฐานุตฺตโร ทองโสภา ๓๐ ๙ หลักสีร่ าษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๖๔ พระสุจินดา ธมฺมปาโล ชื่นสุวรรณ ๒๕ ๔ หลักสีร่ าษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๖๕ พระอนุกูล มหาวิริโย ล้ำ�เลิศวิทยา ๒๙ ๖ หลักสองราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๖๖ พระปิยะพล ปิยสีโล สังข์สำ�รวม ๓๙ ๔ ยกกระบัตร สมุทรสาคร
๖๗ พระทัตพล อธิปญฺโญ ปัญญาภรณ์ ๒๓ ๓ ธรรมโชติ สมุทรสาคร
๖๘ พระธีรพันธ์ ญาณวุฑฺโฒ ไหมสีงาม ๒๕ ๔ กระโจมทอง สมุทรสาคร
๖๙ พระชัยยุทธ เตชธมฺโม ตระการวาณิช ๓๓ ๔ รางตันนิลประดิษฐ์ สมุทรสาคร
๗๐ พระกิตติ กิตฺติญาโณ อยู่ประเสริฐ ๒๕ ๓ รางตันนิลประดิษฐ์ สมุทรสาคร
๗๑ พระชลัมพล กิตฺติสาโร เอมสิริสมบูรณ์ ๒๙ ๘ นิมมานรดี กรุงเทพฯ
๗๒ พระคมสันต์ อคฺคธมฺโม พลพิทักษ์ ๓๓ ๗ นิมมานรดี กรุงเทพฯ
๗๓ สามเณรจุลกิต สมแวง ๑๗ นิมมานรดี กรุงเทพฯ
๗๔ สามเณรวงษธร มุศิริ ๑๖ เทวราชกุญชร กรุงเทพฯ
๗๕ สามเณรณัฐนันท์ คำ�แสวง ๑๗ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๗๖ พระธวัชชัย ฐานวุฑฺโฒ หอมกระแจะ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๗๗ สามเณรวรรณชัย ระเนีย พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๗๘ สามเณรธนากร คะแนนศิลป์ ๑๖ สุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี

148
บัญªÕ¼ÙŒà¢Œารับ¡ารÍบรÁบาÅÕ¡‹Í¹สÍบ
คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๓
และสอบบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๔ ได้ ในสนามหลวง พ.ศ.๒๕๖๐

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระมหาทินรัตน์ อภินนฺโท ศรีสุวรรณ์ ๔๔ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ สามเณรอนุสรณ์ พันธ์เพชร ๑๘ ใหม่ห้วยลึก นครปฐม
๓ พระมหาเอกชัย ภทฺทโก กัณฑ์หามี ๒๖ ๓ อินทราราม นครปฐม
๔ สามเณรณัฐพล บุญชู ๑๕ ปรีดาราม นครปฐม
๕ พระมหาเอกวัฒน์ เอกคฺคจิตฺโต รัตนาวิทย์ ๒๗ ๓ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๖ พระมหาองอาจ อาสโภ สุนทรากานต์ ๓๒ ๑๐ ประชาราษฎร์บำรุง นครปฐม
๗ สามเณรศิวดล แสงชมภู ๑๘ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๘ สามเณรปัญญา กองแก ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๙ พระมหาสุรศักดิ์ มหาวีโร ปานคำราม ๒๗ ๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๐ พระมหาพงศกร ฐิตาจาโร จันขุนทด ๒๑ ๒ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๑ สามเณรก้องพนัส สัญนาค ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๒ พระมหาเริงฤทธิ์ สุภทฺโท สืบศรี ๓๕ ๕ โคกขาม สมุทรสาคร
๑๓ พระมหารัชชานนท์ ธีรปญฺโญ ปานจิตร ๒๗ ๗ ดอนโฆสิตาราม สมุทรสาคร
๑๔ พระมหากฤษฏิณ์ พัชร มนกิจฺโจ พงศธรไพบูลย์ ๒๙ ๙ กระโจมทอง สมุทรสาคร
๑๕ สามเณรราเชนทร์ รัตนบุรี ๑๗ นิมมานรดี กรุงเทพฯ
๑๖ สามเณรวุฒิชัย ไตรหล่อย ๑๖ นิมมานรดี กรุงเทพฯ
๑๗ พระมหาสุธา เขมโสภโณ รุณ ๓๐ ๗ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๑๘ สามเณรปัณณวิชญ์ คงศรี เสน่หา นครปฐม

149
บัญªÕ¼ÙŒà¢Œารับ¡ารÍบรÁบาÅÕ¡‹Í¹สÍบ
คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๓
และสอบบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๕ ได้ ในสนามหลวง พ.ศ.๒๕๖๐

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระมหาสุกฤติ สุขวฑฺฒโก เกตุทอง ๔๐ ๑๐ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระมหาณรงค์ชัย ฐิตปญฺโญ เพชรชู ๓๑ ๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระมหาบุญตอง โชตปฺปญฺโญ แอม ๒๙ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระมหาไมตรี สุภคฺโค สุวรรณลิน ๓๒ ๖ พระงาม นครปฐม
๕ พระมหาบดินทร์ อคฺคปญฺโญ นามไธสงค์ ๒๖ ๗ พระประโทณเจดีย์ นครปฐม
๖ พระมหาสมประสงค์ สณฺหวาโจ แพงพันธุ์ ๒๒ ๒ ไร่ขิง นครปฐม
๗ พระมหาไพบูลย์ วิปุโล จัดละ ๒๒ ๑ ไร่ขิง นครปฐม
๘ พระมหาวีระพงษ์ พลวํโส ใจเที่ยง ๓๔ ๗ คลองอ้อมใหญ่ นครปฐม
๙ พระมหากาวิน จิตธมฺโม จำปาสี ๒๙ ๑๐ หัวถนน นครปฐม
๑๐ พระมหาสมพงษ์ ฐิตคุโณ ศรีหมากสุก ๓๖ ๑๖ ป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี
๑๑ พระมหาชำนาญ อคฺคชโย เลิศลอยกุลชัย ๓๕ ๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๒ พระมหาเบ็น วํสธโร พงศ์ธาดาพร ๓๓ ๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๓ สามเณรนริศ นาคยิ้ม ๑๙ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๔ สามเณรสุรชัย กองแก ๑๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๕ สามเณรอมรเทพ เกตุนุตร ๑๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๖ สามเณรไชยโรจน์ ลครศรี ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๗ สามเณรชัยธวัช อุสาหะ ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๘ สามเณรศักดิ์สิทธิ์ ดอกรัง ๑๙ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๙ พระมหาขจรศักดิ์ วีรกิตฺติ เครือจ่าย ๒๒ ๓ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๒๐ พระมหาจักรวาล อคฺคธมฺโม ๒๒ ๒ ไชยชุมพลฯ กาญจนบุรี

150
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๒๑ พระมหาวีรกุล มหาวีโร สนกรุด ๒๙ ๖ ทองธรรมิการาม สมุทรสาคร
๒๒ สามเณรจุฑาวัฒน์ หลวงคำ� ๑๗ บางปิ้ง สมุทรสาคร
๒๓ พระมหาปฏิพัทธ์ สิริวิชฺโช มีทรัพย์ ๒๒ ๓ สุทธิวาตวราราม สมุทรสาคร
๒๔ พระมหาปราโมทย์ วิชฺชาธโร ศรีปาน ๓๔ ๘ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๒๕ พระมหาวินัย กิตฺติญาณเมธี ตาสามดี ๒๒ ๑ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๒๖ พระมหาเสถียร สิริญาณเมธี คำ�เรือง พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๒๗ สามเณรวิทวัส แสนนาม พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๒๘ พระมหาไพรัช จนฺทสาโร ตันเก่ง ๔๕ ๑๓ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๒๙ พระมหาอธิปัตย์ กิตฺติญาโณ ชูแก้ว ๓๕ ๑๒ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๓๐ พระมหาโสภณ อาจิณฺนสีโล วงศ์ประไพ ๒๗ ๕ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๓๑ พระมหาวัลลภ สิริปญฺโญ ฐานพันธ์ ๔๕ ๔ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต

151
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ñ-ò ห้ͧ ¡.
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปล ทดสอบ
ทดสอบนาม - อัพพย�ัพท์
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ � งแปลภาค ๑
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบ อาขยาต
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ � งแปลภาค ๒
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ กิตก์ ทดสอบแปลภาค ๒ � งแปลภาค ๒
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ � งแปลภาค ๒
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบ สมาส
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบ ตัทธิต
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ สมัญญาภิธาน - สนธิ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๔
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๔ ทดสอบแปลภาค ๔ � งแปลภาค ๔
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบบาลีไวยากรณ์ ๗ ข้อ ทดสอบแปลภาค ๔ � จฉิมนิเทศ
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด
หมายเหตุ : แปลภาคไหน ทดสอบภาคนั้น ออกไม‹เกินที่แปล

152
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ñ-ò ห้ͧ ¢.
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปล ทดสอบ
ทดสอบนาม - อัพพย�ัพท์
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ � งแปลภาค ๑
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบ อาขยาต
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ � งแปลภาค ๒
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ กิตก์ ทดสอบแปลภาค ๒ � งแปลภาค ๒
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ � งแปลภาค ๒
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบ สมาส
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบ ตัทธิต
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ สมัญญาภิธาน - สนธิ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๔
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๔ ทดสอบแปลภาค ๔ � งแปลภาค ๔
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบบาลีไวยากรณ์ ๗ ข้อ ทดสอบแปลภาค ๔ � จฉิมนิเทศ
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด

หมายเหตุ : แปลภาคไหน ทดสอบภาคนั้น ออกไม‹เกินที่แปล

153
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ñ-ò ห้ͧ ¤
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปล ทดสอบ
ทดสอบนาม - อัพพย�ัพท์
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ � งแปลภาค ๑
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ ทดสอบ อาขยาต
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๑ ทดสอบแปลภาค ๑ � งแปลภาค ๒
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ กิตก์ ทดสอบแปลภาค ๒ � งแปลภาค ๒
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ � งแปลภาค ๒
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๒ ทดสอบแปลภาค ๒ ทดสอบ สมาส
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ ทดสอบ ตัทธิต
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๓ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๓
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ สมัญญาภิธาน - สนธิ ทดสอบแปลภาค ๓ � งแปลภาค ๔
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ � งแปลภาค ๔ ทดสอบแปลภาค ๔ � งแปลภาค ๔
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบบาลีไวยากรณ์ ๗ ข้อ ทดสอบแปลภาค ๔ � จฉิมนิเทศ
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด

หมายเหตุ : แปลภาคไหน ทดสอบภาคนั้น ออกไม‹เกินที่แปล

154
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ».¸.ó ห้ͧ ¡.
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ แปล - �ัมพันธ์ (๕) ทดสอบ�ัมพันธ์ (๕) แปล - �ัมพันธ์ (๕)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๕) แปล - �ัมพันธ์ (๕) แปล - �ัมพันธ์ (๕)
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๕) สมัญญาภิธาน-สนธิ แปล - �ัมพันธ์ (๕)
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ นาม - อัพยย�ัพท์ แปล - �ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๖)
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๖)
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๖) อาขยาต - กิตก์ แปล - �ัมพันธ์ (๖)
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๗)
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ แปล - �ัมพันธ์ (๗) ทดสอบ�ัมพันธ์ (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๗)
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๗) สมาส - ตัทธิต แปล - �ัมพันธ์ (๗)
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๘)
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๘) แปล - �ัมพันธ์ (๘) แปล - �ัมพันธ์ (๘)
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๘) บุรพภาค แปล - �ัมพันธ์ (๘)
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๘) แปล - �ัมพันธ์ (รวม) แปล - �ัมพันธ์ (รวม)
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบไวยากรณ์ (รวม) อาจารย์สอนสรุป � จฉิมนิเทศ
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด

155
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ».¸.ó ห้ͧ ¢.
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ แปล - �ัมพันธ์ (๕) ทดสอบ�ัมพันธ์ (๕) แปล - �ัมพันธ์ (๕)
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๕) แปล - �ัมพันธ์ (๕) แปล - �ัมพันธ์ (๕)
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๕) สมัญญาภิธาน-สนธิ แปล - �ัมพันธ์ (๕)
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ นาม - อัพยย�ัพท์ แปล - �ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๖)
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๖)
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๖) อาขยาต - กิตก์ แปล - �ัมพันธ์ (๖)
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๖) แปล - �ัมพันธ์ (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๗)
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ แปล - �ัมพันธ์ (๗) ทดสอบ�ัมพันธ์ (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๗)
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๗) สมาส - ตัทธิต แปล - �ัมพันธ์ (๗)
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๗) แปล - �ัมพันธ์ (๘)
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๘) แปล - �ัมพันธ์ (๘) แปล - �ัมพันธ์ (๘)
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปล (๘) บุรพภาค แปล - �ัมพันธ์ (๘)
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบ�ัมพันธ์ (๘) แปล - �ัมพันธ์ (รวม) แปล - �ัมพันธ์ (รวม)
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบไวยากรณ์ (รวม) อาจารย์สอนสรุป � จฉิมนิเทศ
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด

156
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ».¸.ô
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๐.๓๐ ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๓๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ � งแปลมคธเป็ นไทย
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ สรุปแปลมคธเป็ นไทย
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด

157
ตารา§ÍºรมºาลÕชัéน»รÐâย¤ ».¸.õ
ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
วันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน/เดือน/พ.ศ. ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ ๑๓.๐๐ - ๑๗.๐๐ ๑๘.๐๐ - ๒๐.๐๐


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ทดสอบแปลมคธเป็ นไทย ทดสอบแปลไทยเป็ นมคธ แปลมคธเป็ นไทย
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ พิธ�� ด กลับวัด

158
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ñ-ò ห้ͧ ¡.
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระวิรัช กนฺตสีโล อนวัชมรรคา ๕๑ ๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระกว้าง ญาโณ บ้านหนองบัว ๒๙ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระสมจิตร ธมฺมสีโล เชี่ยวชาญ ๔๕ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระเธีย อชิโต ทรีว ๒๗ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ พระกวินฬพัฒน์ อิสฺสโร ณ สงขลา ๓๗ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ พระสุมิตร มุทิตมโน ช่างบุ ๒๖ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ พระสุระเชษฐ์ สุรเตโช ทุไธสง ๒๓ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ พระนันทวัฒน์ อคฺคธมฺโม เตชเอี่ยมสกุล ๔๙ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ พระสิทธิโชค สิทฺธิญาโณ แซ่จึง ๒๕ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐ พระวันชาติ พุทฺธสโร สังข์ขำ ๒๕ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๑ สามเณรสุรเกียรติ จูเจริญ ๒๐ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๒ สามเณรสิน ซีน ๒๐ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓ พระมนตรี ปญฺญาวุโธ มงคลศิริ ๕๙ ๑ พระประโทณเจดีย์ นครปฐม
๑๔ พระชนม์ ชาตวีโร ทองลินันท์ ๔๖ ๘ วังตะกู นครปฐม
๑๕ พระปัญญา ถิรสทฺโธ ประสพสินทร์ ๔๒ ๕ ไผ่ล้อม นครปฐม
๑๖ พระไฉน ชุติปญฺโญ ใจทน ๕๒ ๑ ไร่เกาะต้นสำโรง นครปฐม
๑๗ สามเณรดรัณภพ ปากดี ๑๔ ไร่เกาะต้นสำโรง นครปฐม
๑๘ สามเณรศิวกร อสิพงษ์ ๑๔ ไร่เกาะต้นสำโรง นครปฐม

159
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๙ พระปรัชญา ฐิติโก สระไพร ๓๔ ๕ บ้านยาง นครปฐม
๒๐ พระวีรพร พฺรหฺมปุญฺโญ เกตุแก้ว ๕๑ ๕ ทุ่งน้อย นครปฐม
๒๑ พระนรินทร์ นรินฺทโร สันตพงศ์ ๓๔ ๓ สำ�โรง นครปฐม
๒๒ สามเณรเอกพัน อินทอง ๑๔ ปรีดาราม นครปฐม
๒๓ พระครูปลัดสัมพิพัฒนศีลาจารย์ คุณวโร สวัสดิ์เสวี ๕๒ ๑๘ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๒๔ พระครูเมธังกร คุณวฑฺโฒ อิสรสกุล ๔๐ ๑๑ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๒๕ พระณัฐวุฒิ ณฏฺฐวุฑฺโฒ สุวรรณเวช ๒๒ ๑ ประชาราษฎร์บำ�รุง นครปฐม
๒๖ สามเณรวศิน จ้อยร่อย ๑๖ ประชาราษฎร์บำ�รุง นครปฐม
๒๗ พระศักดิ์ชัย สนฺตจิตฺโต เบาบาง ๒๘ ๙ ทุ่งกระพังโหม นครปฐม
๒๘ พระทินกร โชติวโร สุกันณ์ ๔๒ ๗ สี่แยกเจริญพร นครปฐม
๒๙ พระวิทยา อสิญาโณ ใหม่เจริญพร ๒๓ ๔ สี่แยกเจริญพร นครปฐม
๓๐ สามเณรชนาธิป สกุลปรางค์ทอง ๑๕ บางหลวง นครปฐม
๓๑ พระประสงค์ ฐิตสํวโร เจียรละม่อม ๕๔ ๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๒ พระสุเมธ สุจิณฺโณ สว่างศรี ๓๘ ๑ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๓ พระศราวุธ สํวุฑฺโฒ พุฒห้อย ๓๑ ๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๔ สามเณรราชัน เหล่ากอแก้ว ๑๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๕ สามเณรวงค์ศักดิ์ นาคใหญ่ ๑๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๖ สามเณรศุภกร แก้วกัณหา ๑๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๗ สามเณรณัฐพงษ์ แสงแดด ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๘ สามเณรอรรถพันธ์ อุสาหะ ๑๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๓๙ สามเณรอมรเทพ มิตรทอง ๑๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๐ สามเณรจักรรินทร์ บุระเนตร ๑๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๑ สามเณรพุทธชาติ โพธิ์อนันต์ ๑๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๒ สามเณรพรทวี พวงทอง ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๓ สามเณรรัชนนท์ กริสประจันทร์ ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๔ สามเณรทศนาถ มะลิพรม ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๕ สามเณรพนม คนงานดี ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๖ สามเณรพงค์ภรณ์ เอี่ยมศรี ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๗ พระสิทธิศักดิ์ สุทฺธิจิตฺโต จิ๋วเจริญ ๒๕ ๒ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี

160
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๔๘ พระพุทธิกร ธมฺมธโร เผด็จทุกข์ ๓๕ ๘ ปราสาททอง สุพรรณบุรี
๔๙ พระอนุชิต อลีโน มั่นปาน ๒๗ ๗ ปราสาททอง สุพรรณบุรี
๕๐ สามเณรกิตติ พีรกิจเดชา ๑๙ ปราสาททอง สุพรรณบุรี
๕๑ พระพงษ์ศักดิ์ สาสนวฑฺฒโน พูลสิน ๔๔ ๒ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๕๒ สามเณรสราวุฒิ ภูฆัง ๑๓ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๕๓ พระณัฐวัฒน์ กิตฺติภทฺโท ชายศรีชัยรัต ๒๓ ๓ เทพพิทักษ์ สุพรรณบุรี
๕๔ พระชาญชัย ชยานนฺโท ประมวล ๒๒ ๓ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๕๕ พระพงศภรณ์ กตปุญฺโญ นิยมล้อทิพย์ ๒๗ ๑ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๕๖ พระบัณฑิต อนุวํโส อ่อนศรี ๔๒ ๕ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๕๗ พระสุรปรีชา กุสลจิตโต บัวทอง ๔๑ ๓ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๕๘ สามเณรพรประสิทธิ์ อ่อนศรี ๑๗ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๕๙ สามเณรอานนท์ วงศ์รามัญ ๑๖ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๖๐ สามเณรพัสกร เขียวเซ็น ๑๔ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๖๑ สามเณรมานะ ทวีทรงพล ๑๓ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๖๒ สามเณรอภิสิทธิ์ ขุนทอง ๑๓ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๖๓ พระณรงค์ สนฺตมโน จันทร์มงคล ๓๖ ๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๖๔ สามเณรเกียรติศักดิ์ บ่อทรัพย์ ๑๕ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๖๕ พระสุทธินันท์ สุทฺธสทฺโธ แววฉิมพลี ๕๙ ๑๑ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๖๖ พระเกรียงไกร ธมฺมสาโร กรรณิการ์ ๓๗ ๙ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๖๗ พระอนันตพล ปชฺโชโต ครุฑสุวรรณ์ ๒๖ ๖ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๖๘ พระเหมื้อย ปญฺญาพโล ๒๔ ๓ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๖๙ พระทวีทรัพย์ ทีปงฺกโร ช่อรัก ๒๑ ๒ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๗๐ สามเณรรุ่งโรจน์ นุ่มสพ ๑๗ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๗๑ สามเณรกิตติโชค ขจรแกล้วกล้า ๑๓ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๗๒ พระสุขสันต์ สนฺติสุโข เวธศรี ๕๘ ๗ บ้านถ้ำ� กาญจนบุรี
๗๓ พระอนุสรณ์ อนิปฺผโล โสดา ๒๘ ๘ พระแท่นดงรัง กาญจนบุรี
๗๔ พระชูชัย ปภสฺสโร พ่วงงามพันธ์ ๓๗ ๒ พระแท่นดงรัง กาญจนบุรี
๗๕ พระธีรานนท์ สุธีโร เชียงกา ๕๘ ๖ สนามแย้ กาญจนบุรี
๗๖ พระจิรพงศ์ จิตปญฺโญ สุทธิรัตน์ ๓๓ ๓ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี

161
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๗๗ สามเณรวรโชติ ทองละมูล ๑๖ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๗๘ พระวิทย์ธวัช จิรธมฺโม หวานสนิท ๓๓ ๑๐ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๗๙ สามเณรจักรกฤษณ์ กองแก้ว ๑๙ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๘๐ พระธีรพงษ์ สิริสาโร ปั้นน้ำ�เงิน ๓๐ ๗ โกรกกราก สมุทรสาคร
๘๑ พระสำ�เนียง นวรตโน ศรีสุวรรณ ๔๒ ๕ สวนส้ม สมุทรสาคร
๘๒ พระวินัย ชุตินฺธโร ศรีจาด ๕๗ ๕ ยกกระบัตร สมุทรสาคร
๘๓ พระรุ่งทวี จตฺตสลฺโล เล้าประเสริฐ ๔๙ ๕ บางตะคอย สมุทรสาคร
๘๔ พระเพลิน รตนาโภ แก้วไพศาล ๔๒ ๕ บางปลา สมุทรสาคร
๘๕ พระปลัดพิพัฒน์ อคฺควฑฺฒโน บุญประเสริฐ ๔๗ ๒ นาโคก สมุทรสาคร
๘๖ พระสิทธิพงษ์ อธิธมฺโม วงษ์หงษ์ ๒๕ ๖ โสภณาราม สมุทรสาคร
๘๗ พระณัชชา สุทฺธิวโร อยู่เสงี่ยม ๒๕ ๑ โสภณาราม สมุทรสาคร
๘๘ พระสิงหวัฒน์ ปิยสีโล ทองม่วง ๓๖ ๖ ศรีสำ�ราญราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๘๙ พระชัยวัฒน์ อิสฺสโร คำ�ศรี ๓๙ ๓ หนองพะอง สมุทรสาคร
๙๐ พระกิตติ ปภากโร ชมชื่น ๒๗ ๒ ธรรมโชติ สมุทรสาคร
๙๑ พระชัยวัฒน์ ชินวโร สมมาก ๒๑ ๑ ฟุ้งประชาธรรมาราม สมุทรสาคร
๙๒ สามเณรชาลี แสงเสือไพลิน ๑๖ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๙๓ พระณรงค์ นรชโย มีศรี ๒๙ ๒ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๙๔ สามเณรอัสดา จิตรีเนื่อง ปราสาสิทธื ราชบุรี
๙๕ พระอาทิตย์ อภิปาโล ท่าจ๋อม ๓๒ ๔ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๖ พระพิริยะสรรค์ วิริยสกฺโก ศิริน้อย ๒๔ ๔ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๗ สามเณรพลสิทธิ์ ไชยศรี ๑๙ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๘ สามเณรสิทธิชัย ไชยศรี ๑๙ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๙ สามเณรวิชาญ พะเทพบริหาร ๑๕ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๑๐๐ สามเณรบอย ไพรพร ๑๙ บุญยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๑๐๑ สามเณรโสฬส ม้าเฒ่า ๑๕ บุญยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๑๐๒ สามเณรกิตติพงศ์ ไชยสิทธิ์ ๑๗ สุวรรณมงคล ตราด

162
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ñ-ò ห้ͧ ¢.
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระสมุห์ประชุม ปุญฺญาคโม ปานเทพอินทร์ ๗๑ ๑๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระกฤตณัฏฐ์ อาภากโร แคนดา ๓๖ ๙ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระดำรงค์ ปภสฺสโร จันทร์แจ้ง ๓๑ ๙ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระประเสริฐศักดิ์ ปญฺญาเสฏฺโฐ สิงหนาท ๒๙ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ พระทรงพล กิตฺติปญฺโญ ลาภภัทรนันท์ ๒๙ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ พระฮุง อินฺทปญฺโญ �ิม ๒๓ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ พระพันธ์ยศ พลสาโร แสงจำรัส ๕๖ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ พระพิพัฒน์ วิวฑฺฒโน พีรพัฒน์ดิษฐ์ ๔๗ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ พระพิชิตชัย พฺรหฺมชยวํโส ชาติวงษ์ ๓๐ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐ พระภาคิน สมิทฺธิชโย วงศ์ทอง ๓๔ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๑ พระรัตนพล กนฺตวีโร พันธ์ทองหล่อ ๒๑ ๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๒ สามเณรวัชรพงษ์ ปาประโคน ๑๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓ สามเณรคธาวุฒิ แพทย์นุเคราะห์ ๑๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๔ สามเณรฉัตรเทพ คำปานดี ๑๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๕ สามเณรพงศธร สระทองห้อย ๑๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๖ พระบุญเกิด ชาครธมฺโม สุวรรณศรศิลป์ ๔๘ ๕ พระงาม นครปฐม
๑๗ พระบุญเลิศ ธมฺมเขโม ชูศรี ๓๙ ๘ ห้วยจระเข้ นครปฐม
๑๘ พระภาสกร ฐานิสฺสโร ผ่องแสง ๖๐ ๙ ไผ่ล้อม นครปฐม
๑๙ สามเณรกิตติกร สุภาคะดี ๑๗ ไผ่ล้อม นครปฐม

163
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๒๐ พระสมบัติ ธมฺมิโก สุขทวีเลิศพงศ์ ๔๘ ๒๒ ลานตากฟ้า นครปฐม
๒๑ พระกิตติพงษ์ กิตฺติปญฺโญ ห้วยหงษ์ทอง ๒๕ ๒ โพรงมะเดื่อ นครปฐม
๒๒ พระชัชวาลย์ อธิจิตฺโต อยู่ประเสริฐ ๖๔ ๒ หนองกระโดน นครปฐม
๒๓ สามเณรวีระภัทร พรมจักร์ ๑๗ หนองกระโดน นครปฐม
๒๔ พระจรินทร์ สีตจิตฺโต เอี่ยมสะอาด ๔๗ ๔ หนองดินแดง นครปฐม
๒๕ พระดาม ยโสธโร ศรีอินทร์คำ� ๔๑ ๓ หนองดินแดง นครปฐม
๒๖ พระวิเชียร จนฺทสโร สุคนธา ๕๙ ๑๑ ตุ๊กตา นครปฐม
๒๗ พระสาธิต อินฺทญาโณ กลิ่นถนอม ๓๐ ๗ บางช้างเหนือ นครปฐม
๒๘ พระจักรพันธ์ อมโล ป้านสกุล ๒๗ ๒ บางช้างเหนือ นครปฐม
๒๙ พระเมธัส ฐานวีโร อินเบ้า ๒๙ ๗ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๐ พระภาวิต ภาวิโต แสงปัญญา ๒๘ ๓ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๑ พระอวิรุทธิ์ อวิรุทฺโธ ดวงใจ ๒๕ ๒ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๒ พระละม่อม ฉนฺทโก เนียมแตง ๗๔ ๖ มงคลประชาราม นครปฐม
๓๓ สามเณรกิจชนะพงศ์ ศรีเกิด ๑๗ - บางหลวง นครปฐม
๓๔ พระพัฒนิล ธมฺมเมธี จูแวน ๓๓ ๑ บางไผ่นารถ นครปฐม
๓๕ สามเณรธนณัฏฐ์ เดชณรงค์ณัฐกุล ๑๘ มหาสวัสดิ์ ฯ นครปฐม
๓๖ สามเณรวงศกร บุญประจำ� ๑๙ มหาสวัสดิ์ ฯ นครปฐม
๓๗ สามเณรศุภณัฐ สุดโสด ๑๘ มหาสวัสดิ์ ฯ นครปฐม
๓๘ สามเณรอดิเทพ เฟื่องไทย ๑๙ มหาสวัสดิ์ ฯ นครปฐม
๓๙ พระทวีพจน์ สิริปญฺโญ ชื่นภิรมย์ ๓๑ ๑ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๐ สามเณรพงษ์ศักดิ์ ยอดพูน ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๑ สามเณรคมสัน นามยี่ ๑๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๒ สามเณรศุภชัย พิมพ์สิงห์ ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๓ สามเณรเจตน์สฤษฎิ์ภูม
ิ ดวงจันทร์ ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๔ สามเณรกวีวัธน์ สิริทรัพย์ทวี ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๕ สามเณรจิรวัฒน์ ชัยธวัช ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๖ สามเณรตันติกร โล่ลา ๑๘ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๔๗ สามเณรชัยวัฒน์ จำ�ปาอ่อน ๑๗ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๔๘ สามเณรเอกชัย พาดำ�เนิน ๑๕ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๔๙ พระเทียนทัศ คมฺภีรปญฺโญ หนูนุรักษ์ ๒๒ ๒ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๕๐ พระจารุพงศ์ จารุโภ บุญปางวงษ์ ๒๗ ๗ พระลอย สุพรรณบุรี
๕๑ พระประเสริฐ จนฺทโก ลาสีเกตุ ๓๖ ๔ พระลอย สุพรรณบุรี
๕๒ พระสุเวช สุเวชฺโช หมื่นเดช ๓๘ ๖ ปราสาททอง สุพรรณบุรี

164
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๕๓ พระทีระภัทร ญาณโสภโน ทองรอด ๔๕ ๕ ปราสาททอง สุพรรณบุรี
๕๔ พระสหัสวรรษ ถิรจิตฺโต ผิวแก้วดี ๔๑ ๑ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๕ สามเณรธนกฤต กุลประสิทธิ์ ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๖ สามเณรศุภกร นิคคำ�หาร ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๗ สามเณรเมธาสิทธิ์ คนเพียร ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๘ สามเณรนพกร ศรีเลิศ ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๙ สามเณรอานนท์ ทูปขุนทด ๑๔ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๖๐ สามเณรศรวิชญ์ มีเค้า ๑๓ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๖๑ พระวิทยา ปิยธโร เซียงฉิน ๓๗ ๕ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๒ พระขจร มหาปญฺโญ ผมหอม ๕๓ ๓ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๓ พระโอภาส อนาลโย บุญรอด ๒๘ ๔ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๔ สามเณรธนพล เมืองพิล ๑๖ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๕ สามเณรนาวิกโยธิน ทองกัญญา ๑๖ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๖ สามเณรจิราวัฒน์ วานุนาม ๑๔ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๗ สามเณรอติชาติ พะโย ๑๓ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๘ สามเณรโชดก พะโย ๑๒ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๖๙ พระสมบูรณ์ ปริปุณฺโณ ทรัพย์เฉลิม ๖๖ ๕ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๗๐ สามเณรปฐมพร สุโพธิ์ ๑๘ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๗๑ สามเณรชญานนท์ นาคใหม่ ๑๕ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๗๒ พระโกศล โกสโล บุญธรรม ๓๖ ๖ คอกวัว สุพรรณบุรี
๗๓ สามเณรพงศ์ธร สระวังแก้ว ๑๕ คอกวัว สุพรรณบุรี
๗๔ พระภูวฤทธิ์ อิทฺธิธมฺโม อิทธิวรวงศ์ ๓๐ ๓ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๗๕ สามเณรเซโพเจ่ง ๑๙ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๗๖ สามณรเศรษฐา ทองอิ่ม ๑๘ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๗๗ สามเณรสุพรรณ สังขพิริยะ ๑๘ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๗๘ สามเณรพนิดา ๑๗ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๗๙ สามเณรอลงกรณ์ สุขเพราะนา ๑๗ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๐ สามเณรกฤตนัย พลจังหรีด ๑๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๑ สามเณรผ้าหวู่พ่อ ๑๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๒ สามเณรปกรณ์ชัย ไชยอนันติกูล ๑๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๓ สามเณรณฐคุณ พงษ์ธนัทปภา ๑๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๔ สามเณรธราเทพ อาจเอื้อม ๑๔ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๕ สามเณรธนพร ศรีสงคราม ๑๓ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี

165
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๘๖ สามเณรธนพล คำ�เชาร์ ๑๓ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๘๗ พระพินิจ ภูริปญฺโญ กรวยทอง ๓๒ ๔ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๘๘ สามเณรอภิเดช เจริญธรรม ๑๕ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๘๙ พระจารึก กิตฺติสาโร เกตุอ่ำ� ๕๑ ๗ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๐ พระอุดมพล อนีโฆ ลิ้มพงษ์ ๖๗ ๖ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๑ พระนวพร สุทฺธิโชโต ยิ้มประเสริฐ ๒๗ ๕ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๒ สามเณรชินาวุธ สำ�นัก ๑๗ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๓ พระวิทยา ทิฏฺฐธมฺโม ซิบเข ๓๕ ๖ ท่ามะกา กาญจนบุรี
๙๔ สามเณรอำ�นาจ พรมสร ๑๙ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๙๕ สามเณรสมเกียรติ สุภาพดี ๑๘ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๙๖ สามเณรปริญญา กวินบริสุทธิ์ ๑๗ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๙๗ สามเณรวิศรุต ขันทอง ๑๗ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๙๘ พระเจริญ ฉนฺทโก บุญยืน ๕๙ ๑๔ เขาวงจินดาราม กาญจนบุรี
๙๙ พระไกรภพ สิริภทฺโท ชูกลิ่น ๒๙ ๕ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๐ พระครูสังฆรักษ์ธีรศักดิ ์ อภิวณฺโณ กองบาง ๕๗ ๕ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๑ พระปลัดสมรักษ์ อธิปญฺโญ ทำ�จุน ๒๑ ๑ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๒ สามเณรภานุพงศ์ ชั้นสุวรรณพงศ์ ๑๘ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๓ สามเณรธีรภัทร ตรงดี ๑๔ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๔ สามเณรดนุสรณ์ ไชยเศษ ๑๖ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๕ พระพนม พลวโร ศรีรานนท์ ๕๓ ๖ หนองสองห้อง สมุทรสาคร
๑๐๖ พระสาทิตย์ อาทโร ภากิจรัตน์ ๓๔ ๓ ธัญญารามราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๑๐๗ สามเณรสินธร พงรัดดา ๑๗ ธัญญารามราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๑๐๘ พระญัตติพงษ์ เตชวณฺโณ พวงราช ๒๘ ๗ โพธิ์แจ้ สมุทรสาคร
๑๐๙ พระปิยะวัฒน์ ปญฺญาพโล นุตตะโร ๔๑ ๔ บางน้ำ�วน สมุทรสาคร
๑๑๐ พระธีรยุทธ อภิปญฺโญ แดงสอน ๓๒ ๒ บางปิ้ง สมุทรสาคร
๑๑๑ พระโชติวิทย์ โชติวโร พรมเกตุ ๒๒ ๒ เทพนรรัตน์ สมุทรสาคร
๑๑๒ สามเณรวิทยา สุกนคร ๑๗ เทพนรรัตน์ สมุทรสาคร
๑๑๓ สามเณรบุญสม ศรีสวัสดิ์ ๑๘ สุทธิวาตวราราม สมุทรสาคร
๑๑๔ สามเณรนันทวัฒน์ ทานุกรม ๑๙ โคกขาม สมุทรสาคร
๑๑๕ สามเณรศิรชัช ใจบุญ ๑๗ โคกขาม สมุทรสาคร
๑๑๖ พระชลิต อนุตฺตโร ท้องม้วน ๕๙ ๗ ศรีสุทธาราม สมุทรสาคร
๑๑๗ พระมณฑา จิตฺตทนฺโต ศรีฉ่ำ� ๕๘ ๒ สหกรณ์โฆสิตาราม สมุทรสาคร
๑๑๘ พระศิวา ภทฺทปญฺโญ ไม้สน ๒๗ ๒ ชีผ้าข้าว สมุทรสาคร

166
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๑๙ พระอุทัย รวิวณฺโณ โลระลุน ๔๔ ๒ ศรีสำ�ราญราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๑๒๐ พระสมศักดิ์ สุทฺธญาโณ จันทร์อ่อน ๒๔ ๑ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๑๒๑ พระวีระฤทธิ์ ญาณวีโร พิพัฒนาทรวรกุล ๔๑ ๓ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๑๒๒ พระอนุสรณ์ ปุสฺสวโร โบสถ์ถาวร ๕๙ ๑๗ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๑๒๓ สามเณรพีรวิท เบี้ยวเก็บ ๑๕ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพฯ
๑๒๔ พระสิทธิชัย สิทฺธิชยวฑฺฒโน พลวิชัย ๒๑ ๑ สุคันธาวาส สมุทรปราการ
๑๒๕ พระเรือง ญาณทีโป อานมา ๔๕ ๕ สุคันธาวาส สมุทรปราการ
๑๒๖ พระพรสถิตย์ ทีฆายุโก ขีดสีทอง ๔๖ ๔ สุคันธาวาส สมุทรปราการ

167
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ñ-ò ห้ͧ ¤.
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระฐิติ จนฺทโชโต พฤกษากร ๗๒ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระกัณฑพล อาภทฺธโร ภิรมย์รื่น ๔๙ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระสมบัตร ธมฺมทีโป กลั่นกสิกรณ์ ๔๓ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระธนันต์ชัย ธนนฺธโร ตุ่มพลอย ๓๗ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ พระชาญชัย ธมฺมชโย ชมสารวิวัฒน์ ๓๒ ๒ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ สามเณรณรงค์ฤทธิ์ ชุมแสง ๑๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ สามเณรศิริศักดิ์ มุ่งงาม ๑๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ สามเณรพงศกร วิลาไล ๑๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ พระศุภชัย ปญฺญาวชิโร ทัศเศษ ๓๐ ๗ พระงาม นครปฐม
๑๐ สามเณรเพียบ พานุต ๑๘ ไร่เกาะต้นสำโรง นครปฐม
๑๑ พระสมชาย โฆสโก ศักดิ์ศิริ ๕๗ ๖ ธรรมศาลา นครปฐม
๑๒ พระณัฐพล ปิยภาณี อติธนานันท์ ๒๕ ๑ ธรรมศาลา นครปฐม
๑๓ พระอนุชา สุขิโต เหมทอง ๓๑ ๑ ธรรมศาลา นครปฐม
๑๔ สามเณรทรงวุฒิ ศรีพรมมา ๑๓ ทัพหลวง นครปฐม
๑๕ พระสุรเดช ปญฺญารตโน อินขอม ๔๐ ๘ ลาดหญ้าแพรก นครปฐม
๑๖ พระยี่ ภทฺทาจาโร แก้วนวล ๒๖ ๖ อินทาราม นครปฐม
๑๗ พระสุรินทร์ จิตฺตกาโร ประเสริฐวาที ๕๖ ๒๗ ห้วยพลู นครปฐม
๑๘ พระจิรโชติ อตฺตทนฺโต สวนเวียง ๔๙ ๑๑ สัมปตาก นครปฐม
๑๙ พระสมุห์เสริมศักดิ์ เขมธมฺโม สงวนเชื้อ ๖๐ ๗ ไร่ขิง นครปฐม
๒๐ พระนรินทร์ จนฺทโสภโณ แหสุนทร ๓๙ ๗ ไร่ขิง นครปฐม

168
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๒๑ พระปณตพล คุตฺตสีโล โค้วปรีชา ๒๙ ๒ ไร่ขิง นครปฐม
๒๒ พระนครินทร์ จิณโนวาโท ตีพุก ๒๒ ๑ ไร่ขิง นครปฐม
๒๓ พระศุภกริช ปญฺญาสโภ สามารถกุล ๒๐ ๑ ไร่ขิง นครปฐม
๒๔ สามเณรบัญชาพงษ์ นาคสุบุญทรัพย์ ๑๙ ไร่ขิง นครปฐม
๒๕ สามเณรรัตนพล แสนสุด ๑๘ ไร่ขิง นครปฐม
๒๖ สามเณรเกียรติศักดิ์ สุทธิจินดา ๑๘ ไร่ขิง นครปฐม
๒๗ สามเณรสุเมธ อินทร์คำ�น้อย ๑๖ ไร่ขิง นครปฐม
๒๘ สามเณรรณกฤต รุ่งกิตติวงศ์ ๑๔ ไร่ขิง นครปฐม
๒๙ พระสุธีร์ สุธีโร สีมา ๖๕ ๑๒ สามพราน นครปฐม
๓๐ พระวิชัย วิสุทฺโท หมายมั่น ๔๘ ๔ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๓๑ พระบุญนำ� อคฺคปุญฺโญ จิระกุลกิตติ ๔๐ ๔ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๓๒ สามเณรปารเมศ นูมหันต์ ๑๓ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๓๓ พระสุภพัฒน์ สุภโร วิเชียร ๕๕ ๑๑ ไชนาวาส สุพรรณบุรี
๓๔ พระภาคิน ทีปธมฺโม บุรินทร์พศ ๖๒ ๖ ไชนาวาส สุพรรณบุรี
๓๕ พระชัยวัฒน์ ชยวฑฺฒโน อบกลิ่น ๖๖ ๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๖ สามเณรณัฐพงษ์ ปุมบัง ๑๓ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๗ สามเณรนิติธร รุ้งแจ้งรัมย์ ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๓๘ พระเขมชาติ สิริมงฺคโล ยังรอต ๖๗ ๔ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๓๙ พระณัฐพงษ์ กิตฺติวุฑฺโฒ วงษ์จันทร์ ๒๕ ๓ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๔๐ พระศิโรจน์ เตชพโล เพชรปานกัน ๖๖ ๒ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๔๑ สามเณรอนุชิต เค็มบิง ๑๖ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๔๒ สามเณรอติชาติ อินตะเป็ง ๑๕ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๔๓ พระประเทือง พนฺธมุตฺโต อ่างทอง ๕๐ ๒ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๔๔ พระอธิการทันจิต คุณธมฺโม ธูปบูชากร ๕๗ ๒๐ ปากดงท่าศาล สุพรรณบุรี
๔๕ พระอนุชา อนุตฺตโร พรมมา ๓๘ ๑๐ กำ�มะเชียร สุพรรณบุรี
๔๖ สามเณรสหเทพ ช่อรัก ๑๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๔๗ สามเณรธีรภัทร เต้าชุน ๑๖ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๔๘ สามเณรปริญญา ชงกุล ๑๕ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๔๙ สามเณรพงษภัทร พงษ์ธนัทปภา ๑๓ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๕๐ สามเณรรพีพัทร ดีสุดใจ ๑๓ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๕๑ พระสุวิทย์ เขมโก สังขวทัญญู ๒๕ ๖ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๕๒ พระนิรุติ คุณวโจ ศรีขำ� ๓๘ ๕ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๕๓ สามเณรปิยะพงษ์ มั่นเขตกิจ ๑๖ ถ้ำ�มังกรทอง กาญจนบุรี

169
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๕๔ สามเณรอิทธิชัย จันทร ๑๔ ถ้ำ�เขาปูน กาญจนบุรี
๕๕ พระภิเศก สุเมโธ ว่าชื่น ๔๑ ๓ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๕๖ สามเณรวศิน อนุวงศ์ ๑๕ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๕๗ สามเณรอภิชาติ สระศรี ๑๒ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๕๘ สามเณรนันทกร โยธาศรี ๑๒ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๕๙ สามเณรเจษฎา อินชา ๑๔ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๖๐ สามเณรจุมพล ศรีสงวน ๑๘ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๑ สามเณรสุทธิศักดิ์ ใจพอ ๑๘ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๒ สามเณรสมรักษ์ ไร้โจ ๑๗ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๓ สามเณรสุพรรณภูมิ แสงวิเวก ๑๖ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๔ สามเณรมินทดา ปานเปีย ๑๖ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๕ สามเณรศรายุทธ โพธิ์สาชัย ๑๕ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๖ สามเณรบัญชา ทรัพย์มิตร ๑๕ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๗ สามเณรธนชัย ยิ้มใหญ่หลวง ๑๔ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๘ สามเณรสมชัย อรุณศรีสุวรรณ ๑๔ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๖๙ สามเณรสมนึก ด้วงต้อย ๑๔ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๗๐ สามเณรเป็นเอก อุตตนคร ๑๔ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๗๑ สามเณรอนุชา เมืองโคตร ๑๔ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๗๒ สามเณรชยสิษฐ์ ชาลีกุล ๑๔ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๗๓ พระเอนก สุจินฺณธมฺโม ผิวบัวคำ� ๓๙ ๖ บ่อหว้า กาญจนบุรี
๗๔ พระพิเชษฐ์ จนฺทสาโร เปรมประสิทธิ์ ๒๙ ๑ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๗๕ พระปลัด สมรักษ์ อธิปญฺโญ ทำ�จุน ๒๐ ๑ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๗๖ สามเณรสิรภพ กองแก้ว ๑๖ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๗๗ สามเณรวริทธิ์ ม่วงกลม ๑๔ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๗๘ สามเณรอภิรชัย เจริญผล ๑๕ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๗๙ พระอนุชาติ ฐิตธมฺโม วัฒนามหามงคล ๕๖ ๔ โกรกกราก สมุทรสาคร
๘๐ พระพงศ์วิทธิ์ ฐิติคุโณ สุขสวัสดิ์ ๕๔ ๒ โกรกกราก สมุทรสาคร
๘๑ พระสุรฤทธิ์ ฐิติญาโณ โพธิ์เทศ ๒๘ ๒ โกรกกราก สมุทรสาคร
๘๒ พระตุลา อตฺถธมฺโม อรรถวัน ๖๒ ๕ คลองมะเดื่อ สมุทรสาคร
๘๓ สามเณรภูวนัย อ่วมจันทร์ ๑๖ ดอนโฆสิตาราม สมุทรสาคร
๘๔ พระพงษ์เทพ อโสโก แก่นแดง ๓๗ ๒ ศรีสุทธาราม สมุทรสาคร
๘๕ พระกิตติพัฒน์ สุกิตฺติโก พุ่มมณี ๓๗ ๓ สุทธิวาตวราราม สมุทรสาคร
๘๖ พระไชยยา รตินฺธโร เทพพิทักษ์ ๕๒ ๒ หนองพะอง สมุทรสาคร

170
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๘๗ สามเณรบุญชัย วนานิเวศ ๑๕ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๘๘ พระชาญชัย กนฺตวีโร สาครบุรี ๕๕ ๔ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๘๙ สามเณรจะกอ ลาวันพิมาน ๑๕ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๙๐ พระสมบัติ ฐานิโย หลิววัฒนกุล ๔๓ ๖ สะพานสูง กรุงเทพฯ
๙๑ พระโฆสิต สิริธมฺโม บัวบาน ๔๔ ๔ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๒ พระวัฒนา ธมฺมทินฺโน บ่อทอง ๒๔ ๔ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๓ สามเณรพลวัตร ฮ่มปลา ๑๔ พรหมวงศาราม กรุงเทพฯ
๙๔ สามเณรธงชัย เหมรัตนพร ๑๖ สุคันธาราม กรุงเทพฯ
๙๕ พระสุชาติ ธีรธมฺโม จันเทพ ๒๖ ๖ สุคันธาราม กรุงเทพฯ
๙๖ สามเณรนาวิน นากาวงศ์ ๑๘ บ้านตากแดด สกลนคร
๙๗ สิกขมานาธัมมรชฎา มนัสไชยกุล ๕๘ ทรงธรรมกัลยาณี นครปฐม
๙๘ แม่ชีเสาวคนธ์ บุญสิริ ๗๖ ดอนขมิ้น กาญจนบุรี

171
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ».¸.ó ห้ͧ ¡.
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระจารึก ธมฺมธโร เกตุเห่ง ๓๙ ๑๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระชาตรี กิตฺติปาโล แซ่เยื้อง ๓๓ ๑๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระอนันต์ ทีปธมฺโม พงษ์สมบูรณ์ ๒๘ ๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระธวัชชัย ภูริวิชฺโช เจริญยิ่งสถาพร ๕๓ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ พระบุญธรรม กลฺยาณจิตฺโต ชาวบางงาม ๓๙ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ พระมาณพ ภูมิมาณโว มั่นศรีจันทร์ ๔๘ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ พระศักดิ์ชัย วรธมฺโม ธนูทอง ๓๗ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ พระญาณกิตติ์ อตฺถกาโร อิ่นคำ ๓๓ ๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ พระกิตติ กิตฺติโก ชุ่มอุระ ๒๕ ๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐ พระวิบูลย์ ธมฺมวิปุโล วงศ์สนันท์ ๖๒ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๑ พระวันชัย สุวณฺณชโย หินทอง ๕๘ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๒ พระศุภชัย ปริปุณฺโณ ทองเต่าอินทร์ ๔๙ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓ พระวรวิชญ์ นนฺทปญฺโญ ปฐมนันทกุล ๒๔ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๔ พระปัญญา ฐิตสิริ มาฆะเซ็นต์ ๒๑ ๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๕ สามเณรพร้อมพงค์ สมพัตร์ ๑๙ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๖ สามเณรสุราวี วอน ๑๙ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๗ สามเณรสุนทร ชารีเพ็ง ๑๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๘ สามเณรสุชัชพงษ์ พุ่มรัก ๑๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม

172
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๙ สามเณรธวัชชัย สามบุญเที่ยง ๑๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒๐ สามเณรนิติพัฒน์ เชี่ยวชาญ ๑๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒๑ สามเณรสาธกา กานุสนธิ์ ๑๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒๒ สามเณรวิบูล เฌียต ๑๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒๓ สามเณรโบริน พอน ๑๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒๔ สามเณรพงศกร ดวงเพ็ชร์ ๑๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒๕ พระบรรดิฐ วิสารโท จิตงาม ๔๒ ๗ พระงาม นครปฐม
๒๖ พระนครินทร์ ธมฺมินฺทโชติ อินอุ่นโชติ ๒๗ ๗ พระงาม นครปฐม
๒๗ พระชุติพัฒน์ โชติวฑฺฒโน โชคอำ�นวย ๒๗ ๓ พระงาม นครปฐม
๒๘ พระจักรกฤษ ปุญฺญรกฺขิโต บุญกิจ ๒๔ ๒ พระงาม นครปฐม
๒๙ พระนันทวัฒน์ ภูริวฑฺฒโน ระวัน ๒๒ ๒ พระงาม นครปฐม
๓๐ สามเณรไชยณรงค์ สุดประเสริฐ ๑๖ พระงาม นครปฐม
๓๑ พระสุวิทย์ ยติเชฏฺโฐ จิวไว้วรณ์ ๓๐ ๗ ไผ่ล้อม นครปฐม
๓๒ พระอภิวัฒน์ อภิวฑฺฒโน มีอองตระกูล ๔๗ ๔ ไผ่ล้อม นครปฐม
๓๓ พระจตุพร จนฺทธมฺโม ไขแสง ๓๘ ๙ ธรรมศาลา นครปฐม
๓๔ พระพิชัย ปภาโส บัวโอภาส ๔๐ ๕ ธรรมศาลา นครปฐม
๓๕ สามเณรวัชระ ปัญญาคารวะ ๑๙ ธรรมศาลา นครปฐม
๓๖ พระพิเชษฐ์ สุเมโธ พงค์สมบูรณ์ ๔๐ ๑๙ ทัพหลวง นครปฐม
๓๗ พระพงษ์ศิริ กิตฺติปญฺโญ สงล่า ๒๖ ๔ ไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๓๘ พระประสิทธิ์ ปสิทฺธิโก ไกรสุข ๕๖ ๓ ไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๓๙ พระจิรพงศ์ นนฺทมาโน กิจหว่าง ๕๗ ๓ ห้วยจระเข้ นครปฐม
๔๐ พระสหัสนัย ฐานิสฺสโร เดือนฉาย ๔๓ ๙ หนองกระโดน นครปฐม
๔๑ สามเณรณรงค์ศักดิ์ เปาปราโมทย์ ๑๙ หนองกระโดน นครปฐม
๔๒ สามเณรธีรดนย์ อริยมงคลสกุล ๑๗ หนองกระโดน นครปฐม
๔๓ พระสุนทร ปภากโร แจ่มนิยม ๕๐ ๑๒ บางพระ นครปฐม
๔๔ พระอธิการเอนก คุณวโร อุ่นศิริ ๕๙ ๓๘ ลานแหลม นครปฐม
๔๕ พระทัศนัย สุกสฺสโน เสรีเอื้อเฟื้อ ๔๐ ๗ ลานแหลม นครปฐม
๔๖ พระสุนทร อตฺตสุโภ เหลืองวรวัฒนา ๕๓ ๒๐ ประชาราษฎร์บำ�รุง นครปฐม
๔๗ พระใบฎีกาบุญเกล้า นาคเสโน ปราบภัย ๓๖ ๑๑ ทะเลบก นครปฐม

173
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๔๘ พระมานพ มานิโต แย้มเดช ๓๕ ๙ สุวรรณรัตนาราม นครปฐม
๔๙ พระรัตนกฤช มนสิทฺโธ ภูมิภักดิ์ ๓๔ ๖ ลาดหญ้าไทร นครปฐม
๕๐ พระวรวัฒน์ วรวฑฺฒโน พลายงาม ๒๙ ๕ ดอนมะกอก นครปฐม
๕๑ พระทนงศักดิ์ ยโสธโร สว่างวงศ์ชัย ๓๓ ๓ ดอนมะกอก นครปฐม
๕๒ พระกิตติ มหาวีโร หาสิตพานิชกุล ๓๕ ๕ ไร่ขิง นครปฐม
๕๓ สามเณรศิรชัช ผ่องประโยชน์ ๑๙ ไร่ขิง นครปฐม
๕๔ พระอิทธิพล สนฺตมโน บำ�รุงศรี ๒๙ ๘ บางช้างเหนือ นครปฐม
๕๕ พระครูใบฎีกาโสภณ ธมฺมธโร เจริญกุล ๔๙ ๒๘ ปรีดาราม นครปฐม
๕๖ สามเณรแสง คำ�งาม ๑๙ ปรีดาราม นครปฐม
๕๗ พระวรากร สุมงฺคโล ไตรรัตน์ ๒๗ ๗ จินดาราม นครปฐม
๕๘ พระปฐมพงษ์ มงฺคลวํโส เรียบร้อยเจริญ ๒๙ ๘ ท่าข้าม นครปฐม
๕๙ พระสาธิต โชติโย พรมเกษร ๕๓ ๑๐ นครชื่นชุ่ม นครปฐม
๖๐ พระครูวรวงศ์ ถิรญาโณ กุลครอง ๓๑ ๙ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๖๑ พระไสว วชิรญาโณ ชีน้อย ๒๘ ๖ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๖๒ พระอมรวิทย์ นนฺทิโย ยิ้มเข็ม ๒๖ ๕ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๖๓ พระธีรพงษ์ อุตฺตโม ชัยวิภาส ๔๐ ๓ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๖๔ พระวิชญพงศ์ สุธมฺโม วงษ์พันธุ์ ๓๙ ๑๑ สระสี่เหลี่ยม นครปฐม
๖๕ พระชานนท์ สุเมธี เรืองศิริ ๒๙ ๘ บางหลวง นครปฐม
๖๖ สามเณรเอกพจน์ ภูฆัง ๑๘ เสนหา นครปฐม
๖๗ พระปกรณ์ ปกรโณ สังข์วรรณา ๕๓ ๑๕ ท่าพระยาจักร สุพรรณบุรี
๖๘ พระธนัท สิริวฑฺฒโน ศรีรุ่งเรือง ๒๖ ๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๖๙ สามเณรพงศ์ภัค บุญย่อ ๑๘ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๐ สามเณรสุเมธี ศรีประจันทร์ ๑๘ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๑ สามเณรณัฐพงศ์ จันทมาลี ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๒ สามเณรอุดม มุสิจะ ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๓ สามเณรชาญณรงค์ จูพราย ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๔ สามเณรนันทวัฒน์ ทองแกมแก้ว ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๕ สามเณรนภูรินทร์ ใต้คีรี ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๖ สามเณรปรีชา บูชา ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี

174
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด

๗๗ สามเณรปฐวีกานต์ ชินวงษ์ ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี


๗๘ สามเณรธนกมล นิลขำ� ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๗๙ สามเณรวัฒนลักษณ์ ปั้นทองคำ� ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๘๐ สามเณรพัชรพล เฟื่องสิน ๑๕ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๘๑ พระสิทธิชัย ฐิตเมโธ สังข์วรรณะ ๓๒ ๖ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๘๒ สามเณรอภิสิทธิ์ เค็มบิง ๑๖ พรสวรรค์ สุพรรณบุรี
๘๓ พระอาทิตย์ อาภาธโร น้อยพิมาย ๒๑ ๑ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๘๔ สามเณรเตวิช พันธเดช ๒๐ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๘๕ สามเณรทักษิณ ไพเราะ ๑๕ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๘๖ สามเณรทวีบูรณ์ ปัญญานี ๑๘ ดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี
๘๗ พระมาโนช อภิวิชฺโช ภารนันท์ ๓๓ ๖ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๘๘ พระสงคราม สํวโร จับสี ๔๖ ๔ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๘๙ พระการันต์ โสภณคุโณ ใสสด ๔๒ ๒ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๐ พระนัฐพงษ์ อภิปญฺโญ ดวงแก้ว ๔๓ ๑ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๑ สามเณรกิจสุพัฒน์ จันโต ๔๑ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๒ สามเณรพิภพ ปานเทศ ๑๕ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๓ สามเณรกฤษฎา ผดุงกิจ ๑๗ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๙๔ พระสิริพงษ์ สนฺตมโน เสมจันทร์ ๒๘ ๔ ดงสัก กาญจนบุรี
๙๕ พระอิษฏนันท์ รกฺขิตสีโล ห้าวล้อม ๔๐ ๓ ดงสัก กาญจนบุรี
๙๖ พระธวัชชัย ทีฆายุโก วงศ์หงสา ๓๙ ๑๑ ดงสัก กาญจนบุรี
๙๗ พระนิกร จารุวณฺโณ สมโรง ๔๖ ๖ พังตรุ กาญจนบุรี
๙๘ พระอรรถพล สุภโร ฮู้ทรง ๓๑ ๖ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๙๙ สามเณรสายชล ทดแก้ว ๑๙ - ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๑๐๐ พระพิชิต ปภสฺสโร คูสกุล ๕๑ ๕ น้อยนางหงษ์ สมุทรสาคร
๑๐๑ พระอยินเอสิกะ เอสิโก ๕๐ ๓๐ ศิริมงคล สมุทรสาคร
๑๐๒ พระใบฎีกาอนันตชัย มงฺคโล สิทธิมงคล ๔๐ ๑๒ สุทธิวาตวราราม สมุทรสาคร
๑๐๓ พระอภิสิทธิ์ ฐิตปญฺโญ จินตะบุบผา ๔๕ ๖ แหลมสุวรรณาราม สมุทรสาคร
๑๐๔ พระโชคชัย ฐิตวฑฺฒโน มิตรทอง ๒๖ ๑ ศรีสุทธาราม สมุทรสาคร
๑๐๕ พระวัชรินทร์ อธิปญฺโญ นาเนกรังสรรค์ ๓๒ ๘ บางปิ้ง สมุทรสาคร

175
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๐๖ พระสมโภชน์ ธมฺมรโต อรุณโชค ๓๔ ๗ ศรีวนาราม สมุทรสาคร
๑๐๗ สามเณรสุรศักดิ์ แปะทู ๑๖ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๑๐๘ สามเณรทินกร อำ�รุงสายชล ๑๖ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๑๐๙ พระวิศิษฎ์ วิชฺชาธโร การะเกษ ๓๔ ๔ สุคันธาราม กรุงเทพฯ
๑๑๐ พระกิตติภณ สุเมโธ แสงอินทร์ ๓๘ ๖ สุคันธาวาส กรุงเทพฯ
๑๑๑ พระสังวาลย์ กิตฺติฐาโน ภู่ทอง ๔๙ ๖ สุคันธาวาส กรุงเทพฯ
๑๑๒ สามเณรภูพาน แจ่มแจ้ง ๒๐ สุคันธาราม กรุงเทพฯ
๑๑๓ สามเณรภูวนาท พลมาตย์ ๑๘ สุคันธาราม กรุงเทพฯ
๑๑๔ พระเกรียงศักดิ์ กนฺตวีโร อินทรีย์ ๓๙ ๔ สะพาน กรุงเทพฯ
๑๑๕ พระเฉลิมศักดิ์ จตฺตมโล ทองแม้น ๓๔ ๓ เทพนิมิตต์ กรุงเทพฯ
๑๑๖ พระภาณุพงศ์ จิรวฑฺฒโน สาระวัน ๓๗ ๑๐ เทพนิมิตต์ กรุงเทพฯ
๑๑๗ พระเอกสิงห์ สนฺตจิตฺโต เอกเมมฆ ๕๓ ๓ โพธิ์พุฒตาล กรุงเทพฯ
๑๑๘ พระคมสันต์ ปริปุณฺโณ คะสะธรรม ๕๐ ๒๐ สวัสดิวารีสีมาราม กรุงเทพฯ
๑๑๙ พระโสภณ โสภโณ เขียวแก้ว ๒๘ ๓ ทับกาชเหนือ นครสวรรค์

176
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ».¸.ó ห้ͧ ¢.
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ สามเณรทินภัทร ทฤษฎี ๑๖ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๒ พระอธิการมารุตต์ รกฺขิโต อินรอดวงศ์ ๓๗ ๑๖ ลาดกระจับ สุพรรณบุรี
๓ พระมนู ปญฺญาวุฑฺโฒ กิจกระจ่าง ๗๐ ๑๓ โพธิ์คลาน สุพรรณบุรี
๔ พระอาทร จิตฺตกาโร คำยุธา ๓๓ ๑๐ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๕ พระอนุสรณ์ ฐิตคุโณ รุนคุณยงค์ ๓๖ ๙ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๖ พระพัชระ สุทฺธิจิตฺตโพธิ พงษ์ทวี ๒๐ ๑ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๗ สามเณรวิชัยยุทธ นาคชัย ๑๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๘ สามเณรโชคชัย แก้ววันนา ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๙ สามเณรภานุพงค์ วงษ์สุวรรณ ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๐ สามเณรธันวา จำปาจันทร์ ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๑ สามเณรนพชัย จันทร์ทอง ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๒ สามเณรชัยวัฒน์ ทรดี ๑๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๑๓ พระมงคล มงฺคโล ทาศรี ๓๗ ๑๑ สองพีน่ ้อง สุพรรณบุรี
๑๔ สามเณรปรีชา พึ่งน้ำ ๑๖ สองพี่นอ้ ง สุพรรณบุรี
๑๕ พระหลง สิริทตฺโต ทนเถื่อน ๖๕ ๑๐ วังตะกู สุพรรณบุรี
๑๖ สามเณรจิรายุทธ มากเทพวงษ์ ๑๖ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๑๗ สามเณรตะวัน ไข่ฟัก ๑๕ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๑๘ พระสุวัฒน์ ปญฺญาวุฑฺโฒ ท้าวสัน ๖๑ ๒๓ ท่าช้าง สุพรรณบุรี

177
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๙ สามเณรชนะพล คล้ายสุบรรณ ๑๕ หนองกระทุ่ม สุพรรณบุรี
๒๐ พระนัฐวุฒิ วรธมฺโม สุขสวัสดิ์ ๒๘ ๓ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๒๑ สามเณรชีโต ๒๐ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๒๒ พระประพันธ์ ชิตมาโร กัมมา ๒๙ ๕ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๒๓ พระนิเวศน์ ฐานุตฺตโม ไทรสังข์ฐิติกุล ๓๑ ๔ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๒๔ พระวิจิตร ฐิตสีโล ปัญญาชัยรักษา ๔๑ ๓ เทวสังฆาราม กาญจนบุรี
๒๕ พระสมภาร สิริปุญฺโญ เหมือนเขียว ๔๕ ๑๙ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๒๖ พระคมสันต์ ฐานสมฺปนฺโน ลิ้มแสงอุทัย ๓๕ ๒ วังเย็น กาญจนบุรี
๒๗ พระครูสมุห์จิระพงษ์ ญาณุตฺตโม ระเวีย ๕๗ ๓๗ วัดบ้านทอง กาญจนบุรี
๒๘ พระโสภณ ปิยสีโล ธีระวัฒน์ ๕๕ ๗ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๒๙ พระนที ญานธมฺโม เอมทอง ๒๔ ๔ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๓๐ พระสุชาติ ธมฺมาลโย เชื้อรุ่ง ๔๒ ๓ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๓๑ สามเณรพีระเชษฐ์ แต้ยินดี ๑๕ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๓๒ สามเณรเจษฎาพงศ์ เอี่ยมโสภณ ๑๓ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๓๓ พระนราวิชญ์ อติสโย เจิมจันทร์ ๒๗ ๖ ห้วยกรด กาญจนบุรี
๓๔ สามเณรอดิศักดิ์ น้ำ�ใจสุข ๑๗ เขาสะพายแร้ง กาญจนบุรี
๓๕ พระศุภณัฐ สุจิณฺโณ สุขสวัสดิ์ ๓๔ ๘ กระต่ายเต้น กาญจนบุรี
๓๖ พระอณัชฌา อนุขาโต โชระเวก ๒๗ ๑ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๓๗ พระสมศักดิ์ มหคฺฆปญฺโญ ไชยแสง ๒๔ ๑ ทุ่งมะสัง กาญจนบุรี
๓๘ สามเณรเอกภพ ไม้งาม ๑๗ เขาวงจินดาราม กาญจนบุรี
๓๙ พระชาญ มานิโต ทองดี ๔๔ ๑๑ สิริกาญจนาราม (ธ) กาญจนบุรี
๔๐ พระครูปลัดมนัส สิริภทฺโท ทับไกร ๔๘ ๒๒ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๔๑ พระเธียต สุทฺธิปาโล ไทย ๓๐ ๑๐ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๔๒ พระจิระเดช จิรเตโช ใจซื่อกุล ๓๔ ๙ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๔๓ สามเณรพรเทพ นพรัตน์ ๑๙ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๔๔ พระนพดล กุสลพนฺโธ อ่อนศิลานนท์ ๓๙ ๖ เทพนรรัตน์ สมุทรสาคร
๔๕ พระรังษี รตนโชโต เทศพันธ์ ๖๓ ๑๓ โกรกกราก สมุทรสาคร
๔๖ พระทิวา สุทฺธญาโณ วาสุกรี ๕๒ ๘ โกรกกราก สมุทรสาคร
๔๗ พระมงคล ธมฺมจารี ฉ่ำ�มิ่งขวัญ ๓๓ ๘ โกรกกราก สมุทรสาคร

178
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๔๘ พระธนพนธ์ ฐานุตฺตโม ทองย้อย ๒๐ โกรกกราก สมุทรสาคร
๔๙ พระวันชาติ โอภาสวีโร ลภัสพรโอฬาร ๕๒ ๒๙ แหลมสุวรรณาราม สมุทรสาคร
๕๐ พระปรีดี อธิปญฺโญ ศรีสวัสดิ์ ๔๕ ๖ ศาลพันท้ายนรสิงห์ สมุทรสาคร
๕๑ พระครูสาครสิริคุณ ขนฺติโก รอดไสว ๕๘ ๓๘ ศรีวนาราม สมุทรสาคร
๕๒ พระไกรสร จารุวํโส ภู่เทียน ๒๔ ๕ โรงเข้ สมุทรสาคร
๕๓ พระสุธรรม สุธมฺโม ล้อมสินทรัพย์ ๓๒ ๑๑ ยกกระบัตร สมุทรสาคร
๕๔ พระวรพล วรพโล เสือเดช ๔๘ ๙ ธรรมจริยาภิรมย์ สมุทรสาคร
๕๕ พระสุพิชิด ฐิตโสภโณ สุริเย ๔๕ ๑๒ ธรรมจริยาภิรมย์ สมุทรสาคร
๕๖ สามเณรธนชัย วสุธานที ๑๖ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๕๗ พระวิมล อาภากโร เปรื่องวิชา ๓๗ ๑๗ มหรรณพาราม กรุงเทพมหานคร
๕๘ พระแสง อินฺทโชโต พญากบ ๒๔ ๔ สุธรรมวดี กรุงเทพมหานคร
๕๙ สามเณรรุ่งโรจน์ ส้มศรีจันทร์ ๑๙ สุธรรมวดี กรุงเทพมหานคร
๖๐ พระอภิชาติ ชุติปญฺโญ ศรีแสง ๓๕ ๙ พรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๖๑ พระสุกิต สุรปญฺโญ ปานยอด ๓๐ ๖ พรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๖๒ พระกิตติ กิตฺติปาโล ไชยไชนิชย์ ๕๓ ๑๕ หลักสี่ กรุงเทพมหานคร
๖๓ พระศิริชัย ฐิตปุญฺโญ คำ�มา ประมุง อยุธยา
๖๔ พระลุน ลทฺธปญฺโญ ดม ๒๗ ๖ สุวรรณมงคล ตราด
๖๕ สามเณรพลชัย สัมฤทธิ์ ๑๗ สุวรรณมงคล ตราด
๖๖ พระเกิดไพศาล เกสรธมฺโม ไกรเกริกฤทธ์ ๔๖ ๓ ปราสาทสิทธิ์ ราชบุรี
๖๗ พระอนุพล อนุพโล สร้อยระย้า ๒๙ ๖ บางสามแพรก เพชรบุรี
๖๘ พระนเรศ ญาณวุฑฺโฒ คงแก้ว ๒๓ ๓ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๖๙ พระสมชาย ถามวโร ไชคำ� ๔๑ ๖ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๗๐ พระสมปอง ฐิตชโย แกตุเปลี่ยน ๒๘ ๔ บ้านเกาะสิเหร่ ภูเก็ต
๗๑ ภิกษุณีชมภัสสร ธมฺมภาวิตา ศรอินทร์ ๔๗ ๒ ทรงธรรมกัลยาณี นครปฐม
๗๒ แม่ชีสมใจ ด่านน้อย ๔๗ ๒๗ ปลักไม้ลาย นครปฐม

179
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ».¸.ô
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระมหาณัฐนันท์ ฐิตคุโณ คุณอยู่ ๓๕ ๑๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระมหาอานุกูล ธมฺมวุฑฺโฒ วัฒนกูล ๗๐ ๑๐ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระมหาณัฐภูมิ สิริปุญฺโญ แสงอุทัยฉาย ๓๐ ๙ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระมหาจักรพงษ์ ปญฺญาทีโป เกิดอินท์ ๒๙ ๘ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๕ พระมหาอุตรา อุตฺตโร วรรณากรกิจ ๕๒ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๖ พระมหาเฉลิมวุฒิ ฐานิโก ศิริพรสวรรค์ ๓๑ ๗ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๗ พระมหากันตพัฒน์ สุทฺธิญาโณ เดชแพง ๓๘ ๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๘ พระมหาสีมา ชินวํโส สอ ๒๕ ๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๙ พระมหาภัทรพงศ์ ภทฺรธมฺโม เตชรุ่งอรุณ ๒๕ ๔ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๐ พระมหามนตรี มนาโป คงเพ็ชร ๕๘ ๓ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๑ พระมหาลิขิต รสฺมิปุตฺโต ประกิ่ง ๒๑ ๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๒ สามเณรณัฐวุฒิ เรืองกัลป์ ๒๑ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๓ พระมหาพงศ์ปณต กนฺตธมฺโม แขตระกูล ๕๑ ๘ พระงาม นครปฐม
๑๔ พระมหาธันยบูรณ์ ธมฺมรกฺขิโต เทพรักษา ๒๓ ๒ พระงาม นครปฐม
๑๕ สามเณรสุริยา วันเพ็ญ ๒๑ พระงาม นครปฐม
๑๖ สามเณรกฤษฎา โพนดวงกรณ์ ๒๐ พระงาม นครปฐม
๑๗ พระมหาณัฐพล ชินวํโส ช้างบัญชร ๕๔ ๕ ไผ่ล้อม นครปฐม
๑๘ พระมหาบุญชัย ธมฺมธีโร ส่งเจริญทรัพย์ ๒๖ ๔ เกาะวังไทร นครปฐม

180
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๙ พระมหาวุทธี พฺรหฺมโชโต พรหม ๓๒ ๗ ไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๒๐ พระมหาสัจจวัฒณ์ วชิรญาโณ ฉัตรไทยแสง ๕๖ ๕ ไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๒๑ สามเณรสิทธิพร อุ่นอ่อน ๑๕ ไร่เกาะต้นสำ�โรง นครปฐม
๒๒ พระมหาประมวล อติสุโภ โปร่งมาก ๕๐ ๑๔ ลาดหญ้าแพรก นครปฐม
๒๓ พระมหาอภิศักดิ์ ธมฺมสาโร หงษา ๓๔ ๑๐ ใหม่ปิ่นเกลียว นครปฐม
๒๔ พระกนก ป. กนฺตวีโร วันทอง ๕๔ ๔ ใหม่ปิ่นเกลียว นครปฐม
๒๕ พระมหาอนุศิษฎ์ อภิปญฺโญ วงศ์แสงศักดิ์ ๒๘ ๕ หลวงประชาบูรณะ นครปฐม
๒๖ พระมหาธนภูมิ ปุริสุตฺตโม เจิมสุจริต ๓๐ ๖ ไร่ขิง นครปฐม
๒๗ พระมหาณรงค์ศักดิ์ สุทนฺโต สุทนต์ ๒๑ ๑ ไร่ขิง นครปฐม
๒๘ สามเณรสุภชัย ปรีชาแสงจันทร์ ๑๘ ปรีดาราม นครปฐม
๒๙ พระมหาธีรักษ์ วณฺณธโร วรรณฤมล ๓๒ ๕ บางช้างเหนือ นครปฐม
๓๐ พระมหาการุณย์ กุสลนนฺโท หรรษชัยนันท์ ๕๕ ๑๖ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๑ พระมหาสุรชาติ สุรชาโต สิทธิคุณสาร ๓๒ ๖ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๓๒ พระมหาวิชาญ ปิยสีโล ท่าน้ำ�ตื้น ๔๖ ๒๔ กำ�แพงแสน นครปฐม
๓๓ พระครูปลัดเพลิน ภทฺทปญฺโญ พันยุโดด ๔๒ ๒๓ ประชาราษฎร์บำ�รุง นครปฐม
๓๔ พระมหาจักกฤษณ์ กิตฺติญาโณ สุขประเสริฐ ๓๒ ๙ บางหลวง นครปฐม
๓๕ สามเณรเรืองเดช เสวิการ ๑๘ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๓๖ สามเณรทวีชัย แสงวัน ๑๗ ป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
๓๗ พระมหาปฐมฤกษ์ จารุธมฺโม ทองสอาด ๔๙ ๕ สุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี
๓๘ พระมหาธนากร ธนากโร คะแนนศิลป์ ๒๐ ๑ สุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี
๓๙ สามเณรสุทัศน์ นาดี ๑๙ สำ�ปะซิว สุพรรณบุรี
๔๐ พระมหาอุทัย กตคุโณ ประดิษฐ์ศร ๔๙ ๙ ดอนโพธิ์ทอง สุพรรณบุรี
๔๑ พระมหาพิชัย พลญาโณ คล้ายคลัง ๓๒ ๑๓ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๒ พระมหาวรินทร์พัทธ์ นนฺทโก เบญจวัติ ๓๙ ๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๓ พระมหาบุญตา เมธิโน ทรงศรี ๓๐ ๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๔ พระมหาอนุรุทธ อภิชาโน เกณฑ์มา ๒๗ ๔ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๕ สามเณรปฏิภัทร์ พานตา ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๖ สามเณรรามภูมิ อินทราศรี ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๔๗ สามเณรอิสริยะยศ น้อยพรหม ๑๕ สวนหงส์ สุพรรณบุรี

181
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๔๘ สามเณรพิชญาภัค ภูลักษณ์ ๑๘ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๔๙ สามเณรมาโนช ปรึกไธสง ๑๘ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๐ สามเณรณัฐดนัย มะกรูดอินทร์ ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๑ สามเณรสุขพล มารูปหมอก ๑๗ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๕๒ พระมหาวรท กตปุญฺโญ ฤทธิ์มหันต์ ๒๒ ๒ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๕๓ สามเณรพูลทรัพย์ ปฐวีพนาสณฑ์ ๑๘ พยัคฆาราม สุพรรณบุรี
๕๔ พระมหานิวัฒน์ อภิชาโน ช่วยพันธ์ ๒๕ ๖ เขากำ�แพง สุพรรณบุรี
๕๕ พระมหาปิยะ ปิยปุตฺโต จิตตั่งมั่นคง ๕๐ ๒๐ คอกวัว สุพรรณบุรี
๕๖ พระมหาสมหวัง ยโสธโร เจริญสุข ๓๓ ๑๓ คอกวัว สุพรรณบุรี
๕๗ พระมหากรณ์กฤตย์ ฐิตสจฺโจ วรภัทร์ธนวัชร์ ๕๒ ๓๐ หนองสังข์ทอง สุพรรณบุรี
๕๘ พระมหาเอกชัย จนฺทวณฺโณ ทับทิมทอง ๔๕ ๗ ไชยชุมพลฯ กาญจนบุรี
๕๙ สามเณรกฤษดา กิมสาด ๑๙ ไชยชุมพลฯ กาญจนบุรี
๖๐ พระมหาประยุทธ ปญฺญาคโม ไกรวิจิตร ๔๓ ๑๙ ด่านมะขามเตี้ย กาญจนบุรี
๖๑ สามเณรจิระพันธ์ จิตพิรา ๑๕ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๖๒ พระมหาสมจิตร ระเบียบ ๒๐ ๑ พระแท่นดงรัง กาญจนบุรี
๖๓ พระมหาสมชาย เสนทอง ๒๑ ๑ พระแท่นดงรัง กาญจนบุรี
๖๔ พระมหาประสิทธิ์ ฐิตสีโล อภิรตนกาญจน์ ๓๗ ๒ ป่าหลวงตาบัว ฯ กาญจนบุรี
๖๕ พระมหาเมธี จนฺทวาโส จันทวาส ๓๓ ๑๓ เขาวงจินดาราม กาญจนบุรี
๖๖ พระมหากิตติศักดิ์ ปญฺญาวชิโร ราชมณี ๔๓ ๒ สิริกาญจนาราม กาญจนบุรี
๖๗ พระมหาอภิศักดิ์ ญาณสุทฺโธ คะกะเนนะ ๕๔ ๑๖ ป้อมวิเชียรฯ สมุทรสาคร
๖๘ พระมหาสมชาติ ยติโก จันดิษฐ์ ๓๙ ๗ ป้อมวิเชียรฯ สมุทรสาคร
๖๙ พระมหาสุภาพ กิตฺติทินฺโน กองแก้ว ๓๐ ๕ ป้อมวิเชียรฯ สมุทรสาคร
๗๐ พระมหาอนิวัฒน์ อนุวฑฺฒโน ศรีนิล ๓๐ ๕ ป้อมวิเชียรฯ สมุทรสาคร
๗๑ พระมหานิติพล อุตฺตมธมฺโม สุวรรณมิตร ๒๒ ๓ ป้อมวิเชียรฯ สมุทรสาคร
๗๒ พระมหาสุวิทย์ สิทฺธิปญฺโญ สมจินดา ๒๓ ๒ ป้อมวิเชียรฯ สมุทรสาคร
๗๓ พระมหาสนอง ปญฺญาวโร ท้วมสมบูรณ์ ๔๑ ๑๑ บางน้ำ�วน สมุทรสาคร
๗๔ พระมหาอินทรีย์น้อย ภทฺทปญฺโญ กลิ่นจันทร์ ๖๑ ๒๕ สหกรณ์โฆสิตาราม สมุทรสาคร
๗๕ พระมหาบุญเลิศ ปภาโส เลิศสง่า ๒๖ ๕ โกรกกราก สมุทรสาคร
๗๖ พระมหาวิศิษฏ์ ปุญฺญวฑฺฒโน อรธรรมรัตน์ ๓๓ ๘ เจษฎาราม สมุทรสาคร

182 182
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๗๗ พระมหาบุญธรรม ฉนฺทธมฺโม ทองทรัพย์ ๔๖ ๖ น่วมกานนท์ สมุทรสาคร
๗๘ พระมหารุ่ง ฐานุตฺตโร ทองโสภา ๓๑ ๑๐ หลักสี่ราษฎร์สโมสร สมุทรสาคร
๗๙ พระมหาอนุกูล มหาวิริโย ล้ำ�เลิศวิทยา ๓๐ ๗ หลักสองราษฎร์บำ�รุง สมุทรสาคร
๘๐ พระมหาปิยะพล ปิยสีโล สังข์สำ�รวม ๔๐ ๕ ยกกระบัตร สมุทรสาคร
๘๑ พระมหาชัยยุทธ เตชธมฺโม ตระการวาณิช ๓๕ ๕ รางตันนิลประดิษฐ์ สมุทรสาคร
๘๒ พระมหากิตติ กิตฺติญาโณ อยู่ประเสริฐ ๒๖ ๔ รางตันนิลประดิษฐ์ สมุทรสาคร
๘๓ พระมหาทัตพล อธิปญฺโญ ปัญญาภรณ์ ๒๕ ๔ ธรรมโชติ สมุทรสาคร
๘๔ พระมหา ดร.วิโรจน์ ญาณวีโร ปึงสูงเนิน ๕๑ ๓๑ ใหม่ราษฎร์นุกูล สมุทรสาคร
๘๕ พระมหาสุจินดา ธมฺมปาโล ชื่นสุวรรณ ๒๖ ๖ ปราสาทสิทธิ์ ราชบุรี
๘๖ สามเณรศุภกร บูรพา ๑๖ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๘๗ พระมหาวัชระ ฐิตสีโล คงเพ็ง ๓๐ ๕ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๘๘ พระมหาเกียรติภุมิ กิตฺติเมธี ดิษฐ์สายทอง ๒๒ ๑ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพมหานคร
๘๙ สามเณรณัฐนันท์ คำ�แสวง ๑๗ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพมหานคร
๙๐ พระมหาอภิสิทธิ์ ญาณวโร ฤาชา ๒๒ ๑ บุณยประดิษฐ์ กรุงเทพมหานคร
๙๑ สามเณรรณชัย ระเนีย ๒๑ พรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๙๒ สามเณรปิยวุช แสนภาวีสุข ๑๖ พรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๙๓ สามเณรกฤษฎา ปาจุติ ๑๙ พรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๙๔ พระมหาวิยุมงคล มนฺตรชิตฺโต โนน ๒๒ ๑ ม่วง กรุงเทพมหานคร
๙๕ พระมหาสุชาติ อธิปญฺโญ โชน ๒๕ ๕ ม่วง กรุงเทพมหานคร
๙๖ พระมหาโบรา ปญฺญาธโร กุจ ๓๔ ๑๑ ม่วง กรุงเทพมหานคร
๙๗ พระมหาสีลา โอวาทรโต สุน ๒๒ ๓ ม่วง กรุงเทพมหานคร
๙๘ พระมหาเป้า เตชปญฺโญ ค้าสบาย ๕๘ ๓๒ ใหม่ยายแป้น กรุงเทพมหานคร
๙๙ พระมหาทศพร กิตฺติภทฺโท พุนโทฉิมพลี ๓๔ ๑๐ สำ�โรงใต้ สมุทรปราการ
๑๐๐ นางปัญญาสิริย์ เดชาวิชิตเลิศ ๔๑ พระงาม นครปฐม
๑๐๑ นางศรีพิมาย ศรีเจริญ ๔๙ ดอนขมิ้น กาญจนบุรี

183
ºัÞชÕรายช×èÍนั¡เรÕยนºาลÕ ชัéน»รÐâย¤ ».¸.õ
ที่เข้าอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด


๑ พระมหาพิเศษ ธมฺมทีโป ไทรสังขเจติยะ ๓๕ ๑๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๒ พระมหาสมใจ ปภากโร บุญขาว ๔๓ ๖ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๓ พระมหาทินรัตน์ อภินนฺโท ศรีสุวรรณ์ ๔๕ ๕ พระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๔ พระมหาเอกชัย ภทฺทโก กัณฑ์หามี ๒๗ ๔ พระงาม นครปฐม
๕ สามเณรอนุสรณ์ พันธ์เพชร ๒๐ พระงาม นครปฐม
๖ พระมหามนศักดิ์ มนธมฺโม แซ่อัง ๔๑ ๒๐ ใหม่ปิ่นเกลียว นครปฐม
๗ พระมหานิพนธ์ จนฺทมาโร ชัยชินบัญชร ๓๗ ๑๗ ลาดหญ้าแพรก นครปฐม
๘ พระมหาประวิทย์ จนฺทเถโร สุขแสวง ๓๔ ๑๓ ลาดหญ้าแพรก นครปฐม
๙ สามเณรสมเพ็ชร พรำนัก ๑๙ ไร่ขิง นครปฐม
๑๐ สามเณรณัฐพล บุญชู ๑๖ ปรีดาราม นครปฐม
๑๑ พระมหาเอกวัฒน์ เอกคฺคจิตฺโต รัตนาวิทย์ ๒๘ ๕ ญาณเวศกวัน นครปฐม
๑๒ พระมหาองอาจ อาสโภ สุนทรากานต์ ๓๓ ๑๒ ประชาราษฎร์บำรุง นครปฐม
๑๓ สามเณรปัณณวิชญ์ คงศรี ๑๘ เสนหา นครปฐม
๑๔ พระมหาจักรกฤช นนฺทโก กลิ่นนิ่มนวล ๔๗ ๓ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๕ พระมหานรากร ฌาณเมธี บุญย่อ ๒๒ ๒ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๖ สามเณรก้องพนัส สัญนาค ๑๖ สองพี่น้อง สุพรรณบุรี
๑๗ พระมหากำธร ฐิติสมฺปนฺโน ทองจำรูญ ๕๐ ๒๗ ช่องลม สุพรรณบุรี
๑๘ พระมหาเสกสรรค์ จนฺทวํโส เกษมเมธากุล ๔๙ ๒๗ สวนหงส์ สุพรรณบุรี

184
ที่ ชื่อ ฉายา นามสกุล อายุ พรรษา วัด จังหวัด
๑๙ สามเณรศิวดล แสงชมภู ๑๙ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๐ สามเณรปัญญา กองแก ๑๖ สวนหงส์ สุพรรณบุรี
๒๑ พระมหาสำ�เริง จนฺทวํโส นาคอก ๕๕ ๓๕ คอกวัว สุพรรณบุรี
๒๒ พระมหาบุญ กนฺตสีโล เคียงตะวัน ๓๐ ๗ ไชยชุมพล ฯ กาญจนบุรี
๒๓ พระมหาวิจิตร วิสารโท จันทาสูงเนิน ๖๘ ๑๐ ราษฎร์ประชุมชนาราม กาญจนบุรี
๒๔ พระมหาวินัย ฉนฺทโก แก้วกรอง ๔๙ ๒๖ สันติคิรีศรีบรมธาตุ กาญจนบุรี
๒๕ พระมหานำ�ชัย ชยพโล ตั้งมั่นในกิจ ๔๗ ๑๐ วังขนายทายิการาม กาญจนบุรี
๒๖ พระมหาหิรัญ มงฺคลปญฺโญ โพธิสาร ๓๕ ๑ ป่าหลวงตาบัว ฯ กาญจนบุรี
๒๗ พระมหาณรงค์ จกฺกวํโส วงศ์ษา ๕๐ ๓๐ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๒๘ พระมหาไกรวิทย์ ธนปาโล บางปลา ๒๙ ๙ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๒๙ พระมหาลิหมู่ จิตฺตปญฺโญ ยศยิ่งอภิราม ๒๘ ๘ ป้อมวิเชียร ฯ สมุทรสาคร
๓๐ พระมหาเริงฤทธิ์ สุภทฺโท สืบศรี ๓๖ ๖ โคกขาม สมุทรสาคร
๓๑ สามเณรสุวัจน์ ระดมบุญ ๑๘ เจษฎาราม สมุทรสาคร
๓๒ พระมหารัชชานนท์ ธีรปญฺโญ ปานจิตร ๒๘ ๘ ดอนโฆสิตาราม สมุทรสาคร
๓๓ พระมหากฤษฏิ์ณพัชร มนกิจฺโจ พงศธรไพบูลย์ ๓๐ ๑๐ กระโจมทอง สมุทรสาคร
๓๔ พระมหาประสงค์ กิตฺติธโร บัวศรี ๒๓ ๓ อนงคาราม กรุงเทพมหานคร
๓๕ สามเณรสมควร ฝอยทอง ๑๕ พรหมวงศาราม กรุงเทพมหานคร
๓๖ พระมหาจรินทร์ อนุภทฺโท สถาพร ๓๔ ๘ เทพนิมิตต์ กรุงเทพมหานคร
๓๗ พระมหาวิรุญ จกฺกวโร รัตนขวัย ๕๓ ๖ วิชิตสังฆาราม ภูเก็ต
๓๘ พระมหายอด นนฺทิโย พุทพิลา ๓๒ ๑๑ บ้านเกาะสิเหร่ ภูเก็ต

185
คำ�กล่าวถวายรายงาน ของ
พระเทพคุณาภรณ์
รองเจ้าคณะภาค ๑๔
รองผูอ้ �ำ นวยการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔
ในพิธปี ดิ การอบรมบาลีกอ่ นสอบ ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๔
วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

กราบเรียน พระเดชพระคุณ พระพรหมกวี


เจ้าคณะภาค ๑๓ ทีป่ รึกษาแม่กองบาลีสนามหลวง
ด้วยความเคารพย่างสูง
เกล้าฯ พระเพทคุณาภรณ์ พร้อมด้วยเจ้าคณะพระสังฆาธิการ พระวิทยากร และคณะ
นักเรียนทีไ่ ด้ประชุมกัน ณ สถานทีน่ ้ี ขอกราบขอบพระคุณ พระเดชพระคุณ ฯ เป็นอย่างยิง่
ทีไ่ ด้กรุณามาเป็นประธานในพิธปี ดิ การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ในวันนี้ จึงขอ
โอกาสกราบเรียนถวายรายงานการดำ�เนินงานเพือ่ โปรดทราบดังนี้
คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ได้เปิดการอบรมบาลีกอ่ นสอบ ตัง้ แต่ชน้ั ประโยค ๑-๒ ถึง ชัน้ ประโยค
ป.ธ.๕ ทีว่ ดั ไร่ขงิ นี้ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ นับเป็นเวลา ๔๔ ปี โดยมีความมุง่ หมายทีจ่ ะส่ง
เสริมการศึกษาภาษาบาลี ซึง่ เป็นการศึกษาพระปริยตั ธิ รรมแผนกหนึง่ ของคณะสงฆ์ และเพิม่ พูน
ความรูค้ วามชำ�นาญแก่นกั เรียน ซึง่ จะเข้าสอบในสนามหลวง ในอีกไม่กว่ี นั ข้างหน้านี้
สถิตนิ กั เรียนมาเข้ารับการอบรมแล้ว ๔๔ ปี มีจ�ำ นวน ๒๒,๐๙๔ รูป และสอบได้
ประโยค ป.ธ.๙ จำ�นวน ๑๐๖ รูป และในปี พ.ศ.๒๕๖๑ นี้ มีจ�ำ นวนนักเรียนและวิทยากร ในเขต
ภาค และนอกภาค ดังนี้
๑. ประโยค ๑-๒ มีนกั เรียน จำ�นวน ๓๒๖ รูป วิทยากร ๗๑ รูป
๒. ประโยค ป.ธ.๓ มีนกั เรียน จำ�นวน ๑๙๑ รูป วิทยากร ๓๘ รูป

186
๓. ประโยค ป.ธ.๔ มีนกั เรียน จำ�นวน ๑๐๑ รูป วิทยากร ๑๖ รูป
๔. ประโยค ป.ธ.๕ มีนกั เรียน จำ�นวน ๓๑ รูป วิทยากร ๑๕ รูป
รวมนักเรียน ๖๔๙ รูป รวมวิทยากร ๑๔๓ รูป
รวมนักเรียนทีเ่ ข้ารับการอบรมและวิทยากรทัง้ สิน้ จำ�นวน ๗๙๒ รูป

การอบรมบาลีกอ่ นสอบครัง้ นี้ ได้ปฏิบตั เิ หมือนเช่นปีกอ่ นๆ และปรับปรุงเพิม่ คณะ


ทำ�งานให้มปี ระสิทธิภาพมากขึน้ ดังนี้
๑. คณะกรรมการดำ�เนินงาน ประกอบด้วย
- เจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นประธานดำ�เนินงาน
- รองเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นรองประธานดำ�เนินงาน
- เจ้าคณะจังหวัด, รองเจ้าคณะจังหวัด, เจ้าคณะอำ�เภอ
และรองเจ้าคณะอำ�เภอในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๑๔ เป็นกรรมการ
- เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ เป็นกรรมการและเลขานุการ
- เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ เลขานุการเจ้าคณะจังหวัด
และเลขานุการรองเจ้าคณะจังหวัด เป็นกรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ
๒. คณะกรรมการฝ่ายปกครอง
- พระธรรมเสนานี ทีป่ รึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เป็นทีป่ รึกษา
- พระราชวิสทุ ธาจารย์ ทีป่ รึกษาเจ้าคณะอำ�เภอสามพราน เป็นทีป่ รึกษา
- พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เป็นประธาน
- พระรัตนสุธี ผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ เป็นรองประธาน
๓. คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ
- พระมหาโพธิวงศาจารย์ วัดราชโอรสาราม เป็นประธาน
- พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม เป็นรองประธาน
- อาจารย์ประจำ�ชัน้ แต่ละประโยค และพระวิทยากรกองตรวจทุกประโยค
เป็นกรรมการ
๔. คณะกรรมการฝ่ายธุรการ
- พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ /รจจ.นครปฐม เป็นประธาน
- เลขานุการเจ้าคณะจังหวัดทุกจังหวัด เป็นกรรมการ

187
๕. คณะกรรมการฝ่ายสถานที่ และการบริการอืน่ ๆ
- พระเทพศาสนาภิบาล เจ้าอาวาสวัดไร่ขงิ / รจจ.นครปฐม เป็นประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนวัดไร่ขงิ (สุนทรอุทศิ ) เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงเรียนรัตนโกสินทร์บวรนิเวศศาลายา เป็นรองประธาน
- โรงเรียนสิรนิ ธรราชวิยาลัย นครปฐม เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการวิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการโรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการไปรษณียไ์ ร่ขงิ เป็นรองประธาน
- ผูอ้ �ำ นวยการสถาบันพัฒนาผูบ้ ริหารการศึกษา (วัดไร่ขงิ ) เป็นรองประธาน
- หัวหน้าสำ�นักงานการประถมศึกษาอำ�เภอสามพราน เป็นรองประธาน
- หัวหน้าศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) วัดไร่ขงิ เป็นรองประธาน
พร้อมด้วยพระภิกษุสามเณรวัดไร่ขงิ คณะกรรมการวัด, คณะพ่อครัวแม่ครัววัดไร่ขงิ
๖. คณะกรรมการฝ่ายอุปถัมภ์
- คณะสงฆ์จงั หวัดกาญจนบุร ี จัดถวายน้�ำ ปานะตลอดการอบรม
- คณะสงฆ์จงั หวัดสุพรรณบุร ี จัดถวายค่าข้าวสาร ๕๐,๐๐๐ บาท
- คณะสงฆ์จงั หวัดสมุทรสาคร จัดถวายน้�ำ ปลาตลอดการอบรมและเป็นเจ้าภาพ
ถวายภัตตาหารเพล ในวันสุดท้ายของการอบรม
- คณะสงฆ์จงั หวัดนครปฐม จัดถวายอุปกรณ์การอบรม
- คุณพ่อบรรจง คุณสุวทิ ย์ แก้วค้า จัดถวายน้�ำ แข็งตลอดการอบรม
- คุณบุญชัย ศิรมิ าลัยสุวรรณ จัดถวายน้�ำ เต้าหูต้ ลอดการอบรม
๗. ภัตตาหารเช้า-เพล ได้รบั ความอุปถัมภ์จากเจ้าคณะพระสังฆาธิการแต่ละอำ�เภอ ใน
เขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค ๑๔ และมีผศู้ รัทธา รับเป็นเจ้าภาพจัดถวายทุกวัน

188
๘. รายจ่าย แบ่งประเภทใหญ่ ๆ ได้ดงั นี้
- เป็นค่าภัตตาหารเช้าและเพล ตลอด ๑๕ วัน เป็นจำ�นวนเงิน ๑,๘๐๐,๐๐๐ บาท
- เป็นค่าน้�ำ ปานะตลอด ๑๕ วัน เป็นจำ�นวนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท
- เป็นค่ารางวัลวิทยากร-ผูป้ ฏิบตั งิ าน เป็นจำ�นวนเงิน ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท
- เป็นค่ารางวัลนักเรียนผูส้ อบได้ เป็นจำ�นวนเงิน ๑๒๐,๐๐๐ บาท
- เป็นค่าอุปกรณ์เครือ่ งเขียนสิง่ พิมพ์ตา่ ง ๆ เป็นจำ�นวนเงิน ๓๐๐,๐๐๐ บาท
- เป็นค่าอุปกรณ์เครือ่ งครัว เป็นจำ�นวนเงิน ๑๕๐,๐๐๐ บาท
รวมรายจ่ายทัง้ สิน้ ๓,๗๒๐,๐๐๐ บาท
(สามล้านเจ็ดแสนสองหมืน่ บาทถ้วน)
การอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ ทีด่ �ำ เนินการด้วยดีมาโดยตลอด ๔๔
ปีนน้ั ก็ดว้ ยความเป็นน้�ำ หนึง่ ใจเดียวกันของเจ้าคณะพระสังฆาธิการทุกจังหวัดในเขตคณะสงฆ์
ภาค ๑๔ และคณะพระวิทยากรทุกรูป ส่วนทีน่ า่ ยินดีเป็นอย่างยิง่ ประการหนึง่ ก็คอื วิทยากรส่วน
มากเป็นศิษย์เก่ารุน่ ก่อนๆ ของสำ�นักอบรมบาลีกอ่ นสอบของคณะสงฆ์ภาค ๑๔ นี้
อนึง่ เกล้าฯ ขอโอกาส พระเดชพระคุณฯ ได้โปรดมอบผ้าไตร และของทีร่ ะลึก แก่ผู้
สอบประโยค ป.ธ.๙ ได้ ปี พ.ศ.๒๕๖๐ ซึง่ ได้เคยเข้ารับการอบรมในสำ�นักอบรมนี้ และปัจจุบนั
บางรูปก็ได้เป็นวิทยากรในการอบรมครัง้ นีด้ ว้ ย จำ�นวน ๓ รูป คือ
พระมหาวุฒพิ งษ์ กิตตฺ ปิ ญฺโญ วัดไร่ขงิ / นครปฐม
พระมหากิตติ กิตตฺ โิ ก วัดธัญญวารี / สุพรรณบุรี
พระมหาปริทศั น์ วรกิจโฺ จ วัดเขือ่ นเพชร / เพชรบุรี
และขอพระเดชพระคุณฯ ได้โปรดเมตตาให้โอวาท และกล่าวปิดการอบรมบาลีกอ่ น
สอบ แก่เจ้าคณะพระสังฆาธิการ คณะพระวิทยากร และนักเรียนทุกรูป เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคล
สืบไป.

เกล้า ฯ พระเทพคุณาภรณ์
รองผูอ้ �ำ นวยการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

189
พระราชปณิธาน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว�รัชกาลที่�๕

� “พระราชบิดาของฉันได้ทรงสละเวลาเป็นส่วนใหญ่ในการศึกษาและคุ้มครองศาสนาของชาติ�
ส่วนฉันได้ขึ้นครองราชย์ในขณะอายุยังน้อย� จึงไม่มีเวลาที่จะเป็นนักศึกษาอย่างพ่อ� ฉันเองมีความ
สนใจในการศึกษาหนังสือหลักธรรมต่าง� ๆ� สนใจที่จะคุ้มครองศาสนาของเราและต้องการที่จะให้
มหาชนทั่วไปมีความเข้าใจถูกต้อง”

(พระราชหัตถเลขาถึง�เซอร์�เอ็ดวิน�อาร์โนลด์)

190
ภาคผนวก
191
ตัวอย่างเกียรติบัตร
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

192
ประโยค_______________________________� เลขที่_______________________________________
� เลขที่ในหนังสือสุทธิ___________________________

ใบสมัครเข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ�
คณะสงฆ์ภาค�๑๔�
ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม

วันที_่ _______�เดือน____________________พ.ศ___________________
ชื่อผู้สมัคร___________________________________�ฉายา________________________________�นามสกุล_______________________________�อายุ_________ปี�
พรรษา__________�เกิดวันที่__________�เดือน________________________�พ.ศ._________________�ตรงกับ______________________�ปี___________________�
เกิดบ้านเลขที่____________�ตำ�บล_______________________________�อำ�เภอ_______________________________�จังหวัด_______________________________
� ชื่อบิดา______________________________________�นามสกุล_______________________________�อาชีพ_______________________________
� ชื่อมารดา____________________________________�นามสกุล_______________________________�อาชีพ_______________________________
� ปัจจุบันอยู่วัด________________________________�ถนน___________________________________�ตำ�บล_______________________________
อำ�เภอ_______________________________�จังหวัด_______________________________
� สอบได้ประโยค________�เมื่อพ.ศ._______________�สำ�นักเรียนวัด_______________________________�ตำ�บล_____________________________
อำ�เภอ_______________________________�จังหวัด_______________________________
� ข้าพเจ้าได้ส่งหนังสือรับรองจากเจ้าอาวาส�หรือหนังสือรับรองจากเจ้าสำ�นักเรียน�และหนังสือสุทธิมาเป็นหลักฐานพร้อมใบสมัครนี้แล้ว�����������������
����� บัดนี้ข้าพเจ้าขอสมัครเข้ารับการอบรมบาลีก่อนสอบ� ในชั้นประโยค_______________________________� ของการอบรมบาลีก่อนสอบ� ภาค� ๑๔��
ณ�วัดไร่ขิง�อำ�เภอสามพราน�จังหวัดนครปฐม�ข้าพเจ้าขอรับรองว่า��ข้อความข้างต้นนั้นเป็นความจริงทุกประการ��และขอปฏิญาณตนว่าจะปฏิบัติตามระเบียบข้อ
บังคับของสำ�นักอบรมบาลีก่อนสอบนี้�อย่างเคร่งครัด

(ลงชื่อ)_______________________________�ผู้เข้าอบรม

ใบรับสมัครนักเรียน
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

193
ประวัติวิทยากร
อบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่��๔๔
วันที่��๒๔�มกราคม��ถึง��วันที่�๗�กุมภาพันธ์��พ.ศ.๒๕๖๑
ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม

� ชื่อ_____________________________________�ฉายา_________________________________�นามสกุล________________________________�
อายุ__________�พรรษา___________�วิทยฐานะ��ป.ธ._______���น.ธ.__________��วัด_________________________________________________________�
ตำ�บล_____________________________�อำ�เภอ______________________________�จังหวัด_____________________________รหัสไปรษณีย_์ ______________
โทรศัพท์___________________________________�
วิทยากรวิชา___________________________________��ชั้นประโยค____________�และวิชา___________________________________�
ชั้นประโยค___________________________________��และ/หรือทำ�หน้าที_่ __________________________________�

ลงชื่อ___________________________________เจ้าของประวัติ
____________�/______________�/________________�

เพื่อเก็บไว้เป็นเกียรติประวัติ

๑.�ลำ�ดับเลขที่________________________
๒.�เวลาปฏิบัติงาน��ภาคเช้า________วัน���ภาคกลางวัน________วัน����ภาคค่ำ�________วัน
๓.�เวลาปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่�๒๔�มกราคม��ถึง�วันที่�๗�กุมภาพันธ์�พ.ศ.๒๕๖๑

แบบกรอกประวัติพระวิทยากร
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

194
ใบลานักเรียน
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ�คณะสงฆ์ภาค�๑๔��ปีที่��๔๔
วันที่��๒๔�มกราคม�ถึง�วันที่�๗�กุมภาพันธ์��พ.ศ.๒๕๖๑
ณ�วัดไร่ขิง�พระอารามหลวง��อำ�เภอสามพราน��จังหวัดนครปฐม

� ชื่อ_____________________________________�ฉายา_________________________________�นามสกุล________________________________�
วัด__________________________________�จังหวัด�___________________________________��นักเรียนอบรมชั้นประโยค�_____________________________�
� ขอลาหยุดอบรม���วันที_่ _____________�เดือน__________________________�พ.ศ.___________________�ถึงวันที_่ ___________________
เดือน____________________________�พ.ศ.�______________�รวม______________วัน
� สาเหตุในการลา__________________________________________________________________________________________________________
_____________________________________________________________________________________________________________________________________

ลงชื่อ_________________________________________ผู้ลา
____________�/______________�/________________�

ลงชื่อ_________________________________________ผู้อนุญาต
(_________________________________________)
อาจารย์ผู้ปกครอง

ลงชื่อ_________________________________________ผู้อนุญาต
(_________________________________________)
อาจารย์ประจำ�ชั้น

หมายเหตุ�:� ใบลาหยุดนี้�อาจารย์สอนแต่ละชั้นจะเป็นผู้อนุญาต�นักเรียนจะยื่นใบลาด้วยตนเอง�หรือมอบให้ผู้อื่นยื่น�แทนก็ได้
� เมื่อได้รับอนุญาต�ต้องนำ�ไปมอบให้เจ้าหน้าที่แผนกทะเบียนสถิติ

ใบลานักเรียน
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔

195
พระราชปณิธาน
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

� � อันตัวพ่อ�ชื่อว่า�“พระยาตาก”��ทนทุกข์ยาก�กู้ชาติพระศาสนา
� ถวายแผ่นดินให้เป็นพุทธบูชา�� แด่พระศาสดาสมณะพระพุทธโคดม
� ให้ยืนยงคงถ้วนห้าพันปี�� สมณะพราหมณ์ชีปฏิบัติให้พอสม
� เจริญสมถะวิปัสสนาพ่อชื่นชม�� ถวายบังคมรอยบาทพระศาสดา
� คิดถึงพ่อ�พ่ออยู่�คู่กับเจ้า�� ชาติของเราคงอยู่คู่พระศาสนา
� พุทธศาสนาอยู่ยงคู่องค์กษัตรา�� พระศาสดาฝากไว้ให้คู่กันฯ

(จารึกในศาลพระเจ้าตากสินมหาราช)
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า - เพล
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม - ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๑

197
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพุธที่ ๒๔ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี น�ำโดย...
พระโสภณกาญจนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
พระเมธีปริยัติวิบูลย์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
พระมหาบุญรอด มหาวีโร รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ น�ำโดย...
พระวิสุทธิพงษ์เมธี เจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
พระครูวุฒิกาญจนวัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ�้ำองจุ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์
๓. คณะศิษย์คนทรงหลวงพ่อวัดไร่ขิง ตระกูลสุขถาวร พร้อมญาติมิตร
๔. คณะตระกูลโชตะยากฤต
น�ำโดย...คุณศักดิ์ดา โชตะยากฤต รองนายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลสวนหลวง

198
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพุธที่ ๒๔ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๘ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี น�ำโดย...
พระโสภณกาญจนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
พระเมธีปริยัติวิบูลย์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
พระมหาบุญรอด มหาวีโร รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองกาญจนบุรี
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์ น�ำโดย...
พระวิสุทธิพงษ์เมธี เจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
พระครูวุฒิกาญจนวัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีสวัสดิ์ วัดถ�้ำองจุ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอศรีสวัสดิ์
๓. คณะศิษย์คนทรงหลวงพ่อวัดไร่ขิง ตระกูลสุขถาวร พร้อมญาติมิตร
๔. คณะตระกูลโชตะยากฤต
น�ำโดย...คุณศักดิ์ดา โชตะยากฤต รองนายกเทศมนตรีเทศบาลต�ำบลสวนหลวง

199
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๙ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอท่าม่วง น�ำโดย...
พระสุธีธรรมนาท ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดบ้านถ�้ำ
พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าคณะอ�ำเภอท่าม่วง วัดวังขนายทายิการาม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอท่าม่วง
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอท่ามะกา น�ำโดย...
พระครูจริยาภิรัต เจ้าคณะอ�ำเภอท่ามะกา วัดดงสัก
พระครูวิบูลกาญจโนภาส รองเจ้าคณะอ�ำเภอท่ามะกา วัดพระแท่นดงรัง
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอท่ามะกา
๓. คุณแม่แตงไล้ เชาว์แหลม คุณปรีชา คุณเรวดี ปัถวี พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

200
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๒๕ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๙ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอท่าม่วง น�ำโดย...
พระสุธีธรรมนาท ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดบ้านถ�้ำ
พระครูกาญจนสุตาคม เจ้าคณะอ�ำเภอท่าม่วง วัดวังขนายทายิการาม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอท่าม่วง
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอท่ามะกา น�ำโดย...
พระครูจริยาภิรัต เจ้าคณะอ�ำเภอท่ามะกา วัดดงสัก
พระครูวิบูลกาญจโนภาส รองเจ้าคณะอ�ำเภอท่ามะกา วัดพระแท่นดงรัง
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอท่ามะกา
๓. คุณแม่แตงไล้ เชาว์แหลม คุณปรีชา คุณเรวดี ปัถวี พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

201
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๐ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอไทรโยค น�ำโดย...
พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค วัดน�้ำตก
พระครูกาญจนวุฒิกร รองเจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค วัดลุ่มสุ่ม
พระครูกาญจนสุตาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอไทรโยค
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอทองผาภูมิ น�ำโดย...
พระครูวรกาญจนโชติ เจ้าคณะอ�ำเภอทองผาภูมิ วัดปรังกาสี
พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ รองเจ้าคณะอ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอทองผาภูมิ
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอพุทธมณฑล น�ำโดย...
พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอ�ำเภอพุทธมณฑล เจ้าอาวาสวัดมะเกลือ
พระครูถาวรธรรมาภิมณฑ์ เจ้าคณะต�ำบลศาลายา เจ้าอาวาสวัดหทัยนเรศวร์
พระครูวิศิษฏ์ธรรมสาร เจ้าอาวาสวัดสาลวัน
พระครูนิมิตกัลยาณวัตร เจ้าอาวาสวัดเทพนิมิต
พระปลัดศิลา ธมฺมธีโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม
พระครูโสภณธรรมมงคล เจ้าอาวาสวัดมงคลประชาราม
๔. คณะครูนักเรียนโรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย (พระต�ำหนักสวนกุหลาบมัธยม)
๕. คณะครูนักเรียนโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศ ศาลายา
๖. คณะครูนักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๗. คณะครูนักเรียนโรงเรียนพระต�ำหนักสวนกุหลาบ มหามงคล

202
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๒๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๐ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอไทรโยค น�ำโดย...
พระครูนิโครธโยคาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค วัดน�้ำตก
พระครูกาญจนวุฒิกร รองเจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค วัดลุ่มสุ่ม
พระครูกาญจนสุตาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอไทรโยค วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอไทรโยค
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอทองผาภูมิ น�ำโดย...
พระครูวรกาญจนโชติ เจ้าคณะอ�ำเภอทองผาภูมิ วัดปรังกาสี
พระครูกาญจนปัญญาวุฒิ รองเจ้าคณะอ�ำเภอทองผาภูมิ วัดเขื่อนวชิราลงกรณ์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอทองผาภูมิ
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอพุทธมณฑล น�ำโดย...
พระครูบวรธรรมานุสิฐ เจ้าคณะอ�ำเภอพุทธมณฑล เจ้าอาวาสวัดมะเกลือ
พระครูถาวรธรรมาภิมณฑ์ เจ้าคณะต�ำบลศาลายา เจ้าอาวาสวัดหทัยนเรศวร์
พระครูวิศิษฏ์ธรรมสาร เจ้าอาวาสวัดสาลาวัน
พระครูนิมิตกัลยาณวัตร เจ้าอาวาสวัดเทพนิมิต
พระปลัดศิลา ธมฺมธีโร เจ้าอาวาสวัดสุวรรณาราม
พระครูโสภณธรรมมงคล เจ้าอาวาสวัดมงคลประชาราม
๔. ผู้จัดการโรงงานสุราแสงโสมจ�ำกัด น�ำโดย...คุณวิบูลย์ พลพิทักษ์ พร้อมเจ้าหน้าที่พนักงาน
๕. บริษัท สยามแฮนดิ์ จ�ำกัด น�ำโดย...คุณอดิศร คุณอมรา พวงชมภู พร้อมเจ้าหน้าที่พนักงาน
๖. สจ.เสริม พัดเกร็ด พร้อมครอบครัว

203
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๒๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย น�ำโดย...
พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดทุ่งมะสัง
พระครูศรีกาญจนารักษ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดเขาวงจินดาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน น�ำโดย...
พระครูกาญจนสิรินธร ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเก่า
พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�ำเภอพนมทวน วัดพังตรุ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน น�ำโดย...
พระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดบ่อน�้ำจืด
พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดโพธิ์งาม
พระครูโกศลธรรมรัตน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดวังน�้ำเขียว
พระครูปฐมเมธาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งขวาง วัดสุวรรณรัตนาราม
พระครูปฐมจินดากร วัดไร่แตงทอง เจ้าคณะต�ำบลทุ่งลูกนก
พระครูสุมนสุนทรกิจ เจ้าคณะต�ำบลห้วยม่วง วัดทะเลบก
พระครูวิธานธรรมนาถ เจ้าคณะต�ำบลก�ำแพงแสน วัดทุ่งกระพังโหม
พระครูอดุลประชารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลกระตีบ วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง
พระครูพินิตสุตาคม เจ้าคณะต�ำบลห้วยขวาง วัดลาดหญ้าไทร
พระครูไพโรจน์ภัทรคุณ เจ้าคณะต�ำบลดอนข่อย วัดสระพัง
เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน
๔. คุณพ่อเซี้ยง เส็งประชา พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

204
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๒๗ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๑ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย น�ำโดย...
พระครูสิริกาญจนาภิรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดทุ่งมะสัง
พระครูศรีกาญจนารักษ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบ่อพลอย วัดเขาวงจินดาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบ่อพลอย
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน น�ำโดย...
พระครูกาญจนสิรินธร ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี วัดกาญจนบุรีเก่า
พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�ำเภอพนมทวน วัดพังตรุ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอพนมทวน
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม น�ำโดย...
พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนตูม วัดพระปฐมเจดีย์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม
๔. คณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน น�ำโดย...
พระครูอมรบุญญารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดบ่อน�้ำจืด
พระครูอาทรภัทรกิจ ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดโพธิ์งาม
พระครูโกศลธรรมรัตน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอก�ำแพงแสน วัดวังน�้ำเขียว
พระครูปฐมเมธาภรณ์ เจ้าคณะต�ำบลทุ่งขวาง วัดสุวรรณรัตนาราม
พระครูปฐมจินดากร วัดไร่แตงทอง เจ้าคณะต�ำบลทุ่งลูกนก
พระครูสุมนสุนทรกิจ เจ้าคณะต�ำบลห้วยม่วง วัดทะเลบก
พระครูวิธานธรรมนาถ เจ้าคณะต�ำบลก�ำแพงแสน วัดทุ่งกระพังโหม
พระครูอดุลประชารักษ์ เจ้าคณะต�ำบลกระตีบ วัดเจริญราษฎร์บ�ำรุง
พระครูพินิตสุตาคม เจ้าคณะต�ำบลห้วยขวาง วัดลาดหญ้าไทร
พระครูไพโรจน์ภัทรคุณ เจ้าคณะต�ำบลดอนข่อย วัดสระพัง
เจ้าอาวาสทุกวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอก�ำแพงแสน
๕. คณะบุคลากรเจ้าหน้าที่เทศบาลเมืองไร่ขิง น�ำโดย...
นายจ�ำรัส ตั้งตระกูลธรรม นายกเทศมนตรีเมืองไร่ขิง
๖. คณะบุคลากรเจ้าหน้าที่องค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าตลาด น�ำโดย...
สจ.ประวัติ หิรัญ นายนิวัติ หิรัญ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลท่าตลาด
ก�ำนันทิพวรรณ หิรัญ ก�ำนันต�ำบลท่าตลาด พร้อมด้วยผู้ใหญ่บ้าน ผู้น�ำชุมชนต�ำบลท่าตลาด

205
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๒๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ น�ำโดย...
พระครูสิริกาญจโนภาส เจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาวัง
พระครูพิศาลจารุวรรณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดทุ่งกระบ�่ำ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม น�ำโดย...
พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนตูม วัดพระประโทณเจดีย์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม
๓. ดร.สนธยา กล่อมเปลี่ยน คุณหาญยุทธ สรไกรกิติกุล พร้อมด้วยญาติมิตร
๔. ตระกูลคุณพ่อเคียมจั๊ว คุณมุ้ยกี่ ศรีสมเพ็ชร น�ำโดย...
คุณประสิทธิ์ คุณประกิจ คุณประเสริฐ ศรีสมเพ็ชร คุณธวัชชัย คุณสดชื่น
คุณธัญชนิต ศรีสมเพ็ชร
๕. ตระกูลผลสมบูรณ์โชค โดย...
คุณแม่นีระ คุณสุนทรชัย คุณนพรัตน์ คุณสหกันต์ คุณสมนันท์
คุณนันทกันต์ ผลสมบูรณ์โชค
๖. ตระกูลวงศ์ฐิตกุล โดย...
คุณพัชระ คุณปัณโชค คุณภุมรี คุณบุศล คุณบุศยศ คุณกรรณิกา วงศ์ฐิตกุล

206
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๒๘ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๒ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ น�ำโดย...
พระครูสิริกาญจโนภาส เจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดเขาวัง
พระครูพิศาลจารุวรรณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเลาขวัญ วัดทุ่งกระบ�่ำ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเลาขวัญ
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม น�ำโดย...
พระศรีธีรวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนตูม วัดพระประโทณเจดีย์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนตูม
๓. ดร.สนธยา กล่อมเปลี่ยน คุณหาญยุทธ สรไกรกิติกุล พร้อมด้วยญาติมิตร
๔. คณะบุตรธิดา ญาติ คุณพ่อภักดิ์ โปรานานนท์
คณะภรรยาบุตรธิดา ญาติ อาจารย์วิจิตร พร้อมมูล น�ำโดย...
คุณพ่ออุบล มาประชา คุณอ�ำไพ พร้อมมูล คุณพนอ คุณสุพาพ มาประชา
คุณบุญส่ง คุณศรีรม ไทยทวี
๕. ตระกูลคุณพ่อลออ คุณแม่ตลับ มาประชา คุณทวี
คุณพรรณศรี แดงสวัสดิ์ และญาติมิตร
๖. ตระกูลคุณแม่พจนา เกษตรสุวรรณ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
๗. คุณวิโรจน์ คุณสมจิตต์ วิโรจนกุล พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

207
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี น�ำโดย...
พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังก์วิเวการาม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย น�ำโดย...
พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ เจ้าคณะอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย วัดท่าเสด็จ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย
๓. บริษัท เปอร์มาเฟล็กซ์ จ�ำกัด โดย...คุณอดิศักดิ์ น้อยจีน
๔. คุณละออง ตันเสถียร พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
๕. คุณนวลจันทร์ พูลสวัสดิ์ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
๖. ร้านไพโรจน์พานิชย์ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
๗. คุณเจริญ ไทรสาเกตุ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร
๘. คุณอุไร รุ่มนุ่ม พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

208
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๒๙ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๓ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี น�ำโดย...
พระมหาสุชาติ สิริปญฺโญ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�ำเภอสังขละบุรี วัดวังก์วิเวการาม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสังขละบุรี
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย น�ำโดย...
พระครูเกษมกาญจนสิทธิ์ เจ้าคณะอ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย วัดท่าเสด็จ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอด่านมะขามเตี้ย
๓. คณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา วัดพระงามพระอารามหลวง น�ำโดย...
พระอุดมธรรมเมธี เจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระครูโสภณศีลวัตร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระครูโสภณธุราทร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระครูประภัทรธรรมาทร ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระครูปฐมธีราภรณ์ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระครูปฐมธรรมโสภณ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระมหารุ่งธรรม ญาณสิทฺธิ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระมหาภาคภูมิ ภูมิโชติ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระมหาจรูญ กิตฺติปญฺโญ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
พระมหาวิทูรย์ สิทธิเมธี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
๔. อุบาสิกาเยื้อน มีประมูล
๕. คณะบุตรธิดา คุณพ่ออารีย์ คุณแม่ประยงค์ เอ๊าเจริิญ
๖. พ.ท.สุชาติ คุณแป๋ว อุบลแย้ม พร้อมบุตรธิดาญาตมิตร

209
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอังคารที่ ๓๐ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์วัดสามพระยา และร้านอุดมโชคสังฆภัณฑ์ น�ำโดย...


พระพรหมดิลก กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร เจ้าอาวาสวัดสามพระยา
พระอรรถกิจโสภณ เจ้าคุณะแขวงสามพระยา ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสามพระยา
พระศรีสุธรรมมุนี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพลีลา กรุงเทพหมานคร
คุณวิภาพร อุดมโชคปิติ และครอบครัว
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอหนองปรือ น�ำโดย...
พระครูกาญจนธรรมธัช เจ้าคณะอ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองไม้เอื้อย
พระครูปริยัติกาญจนโสภณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอหนองปรือ วัดสมเด็จเจริญ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอหนองปรือ
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอห้วยกระเจา น�ำโดย...
พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�ำเภอห้วยกระเจา วัดทิพย์สุคนธาราม
พระมหาสันติ โชติกาโร ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอ�ำเภอห้วยกระเจา วัดราษฎร์ประชุมชนาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอห้วยกระเจา
๔. คณะบุตร-ธิดา คุณแม่สิริรัตน์ วัฒนศิริ น�ำโดย...
คุณอภิศักดิ์ วัฒนศิริ พร้อมด้วยบุตรธิดา และญาติมิตร
๕. คณะบุตร-ธิดา คุณแม่แป้น ชนประชา น�ำโดย...
คุณศรีอ�ำพร ชนประชา และน้องๆ

210
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอังคารที่ ๓๐ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์วัดสามพระยา และร้านอุดมโชคสังฆภัณฑ์ น�ำโดย...


พระพรหมดิลก กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร เจ้าอาวาสวัดสามพระยา
พระอรรถกิจโสภณ เจ้าคณะแขวงสามพระยา ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสามพระยา
พระศรีสุธรรมมุนี ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดเทพลีลา กรุงเทพหมานคร
คุณวิภาพร อุดมโชคปิติ และครอบครัว
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอหนองปรือ น�ำโดย...
พระครูกาญจนธรรมธัช เจ้าคณะอ�ำเภอหนองปรือ วัดหนองไม้เอื้อย
พระครูปริยัติกาญจนโสภณ รองเจ้าคณะอ�ำเภอหนองปรือ วัดสมเด็จเจริญ
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบลเจ้าอาวาสทุกวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอหนองปรือ
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอห้วยกระเจา น�ำโดย...
พระมหาชะโลม ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๙ เจ้าคณะอ�ำเภอห้วยกระเจา วัดทิพย์สุคนธาราม
พระมหาสันติ โชติกาโร ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอ�ำเภอห้วยกระเจา วัดราษฎร์ประชุมชนาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอห้วยกระเจา
๔. พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ปธ.๙,ดร.
รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพระงาม พระอารามหลวง
ฯพณฯ นายวิรัช ชินวินิจกุล องคมนตรี
นายอดุลย์ ขันทอง
ร้อยเอก ดร.ธรรมนัส พรหมเผ่า พระนวกะ รุ่น ๑-๘ (โครงการอุปสมบทหมู่ถวายรัชกาลที่ ๙)
๕. คุณอุดม คุณวาสนา คุณกุสุมา วรรณโพธิ์พร พร้อมญาติมิตร
๖. คุณเอนก คุณสมพร ชื่นเจริญ พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

211
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพุธที่ ๓๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี น�ำโดย...
พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี วัดปราสาททอง
พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี วัดมะนาว
พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี วัดพระลอย
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอด่านช้าง น�ำโดย...
พระครูธรรมสารรักษา เจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง วัดบรรหารแจ่มใส
พระครูโกศลคชเขต รองเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง วัดด่านช้าง
พระครูคชเขตบุรารักษ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง วัดหนองมะค่าโมง
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอด่านช้าง
๓. ศาลาเจริญธรรมในองค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง น�ำโดย...
คุณรุ่งศักดิ์ น้อยประชา จสต.เจริญชัย คุณอารีย์ รัตนจรรยารักษ์ ปู่กิ่งแก้ว โพธิ์รักษา

212
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพุธที่ ๓๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี น�ำโดย...
พระครูศรีปริยัตยานุศาสก์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี วัดปราสาททอง
พระครูสิริวรธรรมาภินันท์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี วัดมะนาว
พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี วัดพระลอย
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองสุพรรณบุรี
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอด่านช้าง น�ำโดย...
พระครูธรรมสารรักษา เจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง วัดบรรหารแจ่มใส
พระครูโกศลคชเขต รองเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง วัดด่านช้าง
พระครูคชเขตบุรารักษ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอด่านช้าง วัดหนองมะค่าโมง
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอด่านช้าง
๓. ศาลาเจริญธรรมในองค์หลวงพ่อวัดไร่ขิง น�ำโดย...
คุณรุ่งศักดิ์ น้อยประชา จสต.เจริญชัย คุณอารีย์ รัตนจรรยารักษ์ ปู่กิ่งแก้ว โพธิ์รักษา

213
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอบางปลาม้า น�ำโดย...
พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า วัดสาลี
พระครูศาสนากิจจาภิรม ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า วัดดาว
พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า วัดสวนหงส์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบางปลาม้า
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอหนองหญ้าไซ น�ำโดย...
พระครูศาสนกิจจานุยุต เจ้าคณะอ�ำเภอหนองหญ้าไซ วัดหนองทราย
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัดใน เขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอหนองหญ้าไซ
๓. คุณอัจฉรา ซังเก พร้อมบุตรธิดา และญาติมิตร

214
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพฤหัสบดีที่ ๑ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๑ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอบางปลาม้า น�ำโดย...
พระครูโสภณคุณาธาร เจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า วัดสาลี
พระครูศาสนากิจจาภิรม ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า วัดดาว
พระครูโกศลธรรมานุสิฐ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางปลาม้า วัดสวนหงส์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบางปลาม้า
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอหนองหญ้าไซ น�ำโดย...
พระครูศาสนกิจจานุยุต เจ้าคณะอ�ำเภอหนองหญ้าไซ วัดหนองทราย
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอหนองหญ้าไซ
๓. คณะคุณพ่อย้อย มีป้อม อาจารย์สวัสดิ์ คุณลออ นิ่มอนงค์
พร้อมด้วยบุตรธิดาและญาติมิตร
๔. คุณแม่รัตน์ทวี สุนประชา น�ำโดย....คุณสมภพ สุนประชา
พร้อมด้วยบุตรธิดาและญาติมิตร
๕. คุณพ่อยวน คุณแม่สมควร ภู่มาลี พร้อมด้วยบุตรธิดา และญาติมิตร

215
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๒ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสองพี่น้อง น�ำโดย...
พระปริยัติวรคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดสองพี่น้อง
พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.๗ รองเจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดพรสวรรค์
พระครูอนุกูลปัญญากร รองเจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดไผ่โรงวัว
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัดในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสองพี่น้อง
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอสามชุก น�ำโดย...
พระครูศาสนกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอสามชุก วัดลาดสิงห์
พระครูพิมลสุวรรณเขต รองเจ้าคณะอ�ำเภอสามชุก วัดวิมลโภคาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสามชุก
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน น�ำโดย...
พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดเดชานุสรณ์
พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอ�ำเภอสามพราน วัดบางช้างเหนือ
พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ ป.ธ. ๗ รักษาการแทนเจ้าคณะต�ำบลยายชา วัดทรงคนอง
พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าคณะต�ำบลไร่ขิง วัดหอมเกร็ด
พระครูวรดิตถานุยุต เจ้าคณะต�ำบลบ้านใหม่ วัดท่าพูด
พระครูจินดากิจจานุรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลบางช้าง วัดจินดาราม
เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน
๔. คุณบุญส่ง คุณโกมล ปัถวี พร้อมด้วยบุตรธิดา และญาติมิตร

216
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันศุกร์ที่ ๒ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๒ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอสองพี่น้อง น�ำโดย...
พระปริยัติวรคุณ เจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดสองพี่น้อง
พระครูอนุกูลปัญญากร รองเจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดไผ่โรงวัว
พระมหาทศวร กิตฺติวฑฺฒโน ป.ธ.๗ รองเจ้าคณะอ�ำเภอสองพี่น้อง วัดพรสวรรค์
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสองพี่น้อง
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอสามชุก น�ำโดย...
พระครูศาสนกิจจาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอสามชุก วัดลาดสิงห์
พระครูพิมลสุวรรณเขต รองเจ้าคณะอ�ำเภอสามชุก วัดวิมลโภคาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสามชุก
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน น�ำโดย...
พระครูอดุลพัฒนาภรณ์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม วัดเดชานุสรณ์
พระพิพัฒน์ศึกษากร เจ้าคณะอ�ำเภอสามพราน วัดบางช้างเหนือ
พระมหาสมเกียรติ เตชวณฺโณ ป.ธ. ๗ รักษาการแทนเจ้าคณะต�ำบลยายชา วัดทรงคนอง
พระครูจารุวัฒนคุณ เจ้าคณะต�ำบลไร่ขิง วัดหอมเกร็ด
พระครูวรดิตถานุยุต เจ้าคณะต�ำบลบ้านใหม่ วัดท่าพูด
พระครูจินดากิจจานุรักษ์ เจ้าคณะต�ำบลบางช้าง วัดจินดาราม
เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอสามพราน
๔. คณะภรรยาบุตรธิดา คุณพ่อประสาน โปราณานนท์ น�ำโดย....
คุณแม่ไพเราะ โปราณานนท์ คุณแม่สมจิตร คล้ายคลึง
พล.ต.ต.กรไชย คุณชัญญานุช คล้ายคลึง
คุณสมเกียรติ คุณกนกวรรณ ดุษฎีกาญจนะ

217
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๓ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภออู่ทอง น�ำโดย...
พระรัตนเวที เจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง วัดเขาดีสลัก
พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง วัดห้วยมงคล
พระครูสุวรรณประชานุกูล รองเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง วัดเขาก�ำแพง
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภออู่ทอง
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอศรีประจันต์ น�ำโดย...
พระครูศรีประจันตคณารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอศรีประจันต์ วัดดอนบุบผาราม
พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีประจันต์ วัดหนองเพียร
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอศรีประจันต์
๔. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย...
คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ
คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง)
คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์
คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค
บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จ�ำกัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง
ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง
คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย
พันต�ำรวจเอกศิลปคมณ์ เอี่ยมวงศ์ รองผู้บังคับการต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง ๓
คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล และคณะศิษยานุศิยษ์
คุณพราวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไดรเซนมารุ จ�ำกัด

218
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันเสาร์ที่ ๓ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๓ ค่ำ� เดือน ๓

๒. คณะสงฆ์อ�ำเภออู่ทอง น�ำโดย...
พระรัตนเวที เจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง วัดเขาดีสลัก
พระครูโสภณโพธิมัณฑ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง วัดห้วยมงคล
พระครูสุวรรณประชานุกูล รองเจ้าคณะอ�ำเภออู่ทอง วัดเขาก�ำแพง
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภออู่ทอง
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอศรีประจันต์ น�ำโดย...
พระครูศรีประจันตคณารักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอศรีประจันต์ วัดดอนบุบผาราม
พระครูพิพัฒน์สุวรรณาภรณ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอศรีประจันต์ วัดหนองเพียร
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอศรีประจันต์
๔. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย...
คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ
คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง)
คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์
คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค
บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จ�ำกัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง
ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง
คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย
พันต�ำรวจเอกศิลปคมณ์ เอี่ยมวงศ์ รองผู้บังคับการต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง ๓
คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล และคณะศิษยานุศิยษ์
คุณพราวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไดรเซนมารุ จ�ำกัด

219
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๔ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์ น�ำโดย...
พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ เลข.จจ.สุพรรณบุรี วัดดอนเจดีย์
พระครูสุวรรณปริยัตยาทร รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ วัดธัญญวารี
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช น�ำโดย...
พระครูศรีสุตาคม เจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดก�ำมะเชียร
พระครูสิริสิกขการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดเขาดิน
พระครูวิริยศาสนกิจ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดกุ่มโคก
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบลเจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช
๓. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย...
คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ
คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง)
คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์
คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค
บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จ�ำกัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง
ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง
คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย
พันต�ำรวจเอกศิลปคมณ์ เอี่ยมวงศ์ รองผู้บังคับการต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง ๓
คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล และคณะศิษยานุศิยษ์
คุณพราวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไดรเซนมารุ จ�ำกัด

220
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอาทิตย์ที่ ๔ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๔ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์ น�ำโดย...
พระครูวิบูลเจติยานุรักษ์ เจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ เลข.จจ.สุพรรณบุรี วัดดอนเจดีย์
พระครูสุวรรณปริยัตยาทร รองเจ้าคณะอ�ำเภอดอนเจดีย์ วัดธัญญวารี
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอดอนเจดีย์
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช น�ำโดย...
พระครูศรีสุตาคม เจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดก�ำมะเชียร
พระครูสิริสิกขการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดเขาดิน
พระครูวิริยศาสนกิจ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเดิมบางนางบวช วัดกุ่มโคก
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเดิมบางนางบวช
๓. มูลนิธิช้างหัสดินทร์ น�ำโดย...
คุณแม่ปิ่น เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณประเสริฐ เห็นวงศ์ประเสริฐ
คุณวาณิช (อาจารย์ทองฟ้า กิมเทียนเซี่ยงตี่ไต่เทียงจุง)
คุณแม่สุรีย์พร เหล่าวงศ์พัฒน์ คุณสิริฤทัยวดี เหล่าวงศ์พัฒน์
คุณแม่ฮุยเจ็ง แซ่กอ คุณภัตติมา เห็นวงศ์ประเสริฐ คุณสมบูรณ์ กอบทองสิริโชค
บริษัทไทยบูรพาโปรดักส์ จ�ำกัด ร้านรุ่งเรืองชุปเปอร์มาเก็ต ด่านชั่ง
ร้านรุ่งเรืองเภสัช ด่านชั่ง
คุณเรืองยศสุวรรณ สุวรรณธาร คุณพิชิตสุวรรณ ริมสุขเจริญชัย
พันต�ำรวจเอกศิลปคมณ์ เอี่ยมวงศ์ รองผู้บังคับการต�ำรวจตรวจคนเข้าเมือง ๓
คุณแม่กาญจนา จงทวีวิไล คุณธารสุวรรณ จงทวีวิไล และคณะศิษยานุศิยษ์
คุณพราวพรรณเทวี สุณาโท บริษัทไดรเซนมารุ จ�ำกัด
๕. คุณสมบุรณ์ คุณบุญพร้อม เตชะศิรินุกูล พร้อมครอบครัว

221
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๕ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา อ�ำเภอนครชัยศรี น�ำโดย...


พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอนครชัยศรี วัดส�ำโรง
พระครูวิบูลสิริธรรม ที่ปรึกษา จอ.นครชัยศรี วัดตุ๊กตา
พระครูโกวิทสุตการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอนครชัยศรี วัดโคกเขมา
พระครูวิจิตรสรคุณ เจ้าคณะต�ำบลท่าพระยา วัดบางแก้ว
พระมหาเสวย ติสฺสวํโส ป.ธ.๗ เจ้าคณะต�ำบลศีรษะทอง วัดน้อยเจริญสุข
พระครูสิริชัยสถิต เจ้าคณะต�ำบลสัมปทวน วัดสัมปตาก
พระครูจันทเขมคุณ เจ้าคณะต�ำบลศรีมหาโพธิ์ วัดศรีมหาโพธิ์
พระครูปฐมโชติวัมน์ เจ้าคณะต�ำบลวัดละมุด วัดละมุด
พระครูสิริชัยรังสี เจ้าคณะต�ำบลห้วยพลู วัดพุทธธรรมรังสี
พระครูสถิตบุญเขต เจ้าคณะต�ำบลบางกระเบา วัดกลางบางแก้ว
พระอธิการประมวล ปภากโร เจ้าอาวาสวัดกลางคูเวียง
พระครูยติธรรมานุยุต เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์
เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอนครชัยศรี
๒. ผู้ใหญ่พยนต์ คุณฉวี ซ�ำประชา คุณธานี คุณอารีย์ เชยกลิ่นเทศ
พร้อมบุตรธิดาและญาติมิตร
๓. คุณสมศักดิ์ คุณสุภี เชิดชูธรรม พร้อมบุตรธิดาหลานและญาติมิตร

222
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันจันทร์ที่ ๕ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๕ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์ อุบาสก อุบาสิกา อ�ำเภอนครชัยศรี น�ำโดย...


พระครูสิริปุญญาภิวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอนครชัยศรี วัดส�ำโรง
พระครูวิบูลสิริธรรม ที่ปรึกษา จอ.นครชัยศรี วัดตุ๊กตา
พระครูโกวิทสุตการ รองเจ้าคณะอ�ำเภอนครชัยศรี วัดโคกเขมา
พระครูวิจิตรสรคุณ เจ้าคณะต�ำบลท่าพระยา วัดบางแก้ว
พระมหาเสวย ติสฺสวํโส ป.ธ.๗ เจ้าคณะต�ำบลศีรษะทอง วัดน้อยเจริญสุข
พระครูสิริชัยสถิต เจ้าคณะต�ำบลสัมปทวน วัดสัมปตาก
พระครูจันทเขมคุณ เจ้าคณะต�ำบลศรีมหาโพธิ์ วัดศรีมหาโพธิ์
พระครูปฐมโชติวัมน์ เจ้าคณะต�ำบลวัดละมุด วัดละมุด
พระครูสิริชัยรังสี เจ้าคณะต�ำบลห้วยพลู วัดพุทธธรรมรังสี
พระครูสถิตบุญเขต เจ้าคณะต�ำบลบางกระเบา วัดกลางบางแก้ว
พระอธิการประมวล ปภากโร เจ้าอาวาสวัดกลางคูเวียง
พระครูยติธรรมานุยุต เจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์
เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอนครชัยศรี
๒. นางสาวนันทา บุญชัย พร้อมเพื่อนกัลยาณมิตร
๓. คณะบุตรธิดา และหลานคุณแม่แฉล้ม หลีค้า อุบาสิกาสนั่น จารุวรรโณ
๔. คุณพันธ์ทิพย์ ภูไทย
๕. คุณส�ำเร็จ เติมสายทอง
๖. คณะลูกหลานคุณพ่อถนอม คุณแม่มณี ยี่ประชา

223
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันอังคารที่ ๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๖ ค่ำ� เดือน ๓

๑. พระธรรมโพธิมงคล เจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร


พระเทพคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพมหานคร
๒. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม น�ำโดย...
พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพะเนียงแตก
พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพระงาม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน น�ำโดย...
พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดพระปฐมเจดีย์
พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดลานคา
พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดสุขวัฒนาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน
๔. คณะกองงานเลขานุการ ภาค ๑๔ น�ำโดย...
พระปริยัติวรานุกูล เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี
พระมหามนูญ ปริญญาโณ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุุญชร
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดนครปฐม
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสุพรรณบุรี
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดกาญจนบุรี
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสมุทรสาคร
๕. โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
๖. โรงพยาบาลสามพราน (วัดไร่ขิง)
๗. ตลาดนัดชุมชนวัดไร่ขิง

224
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันอังคารที่ ๖ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๖ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์วัดปากน�้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร น�ำโดย...


เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าอาวาสวัดปากน�้ำ
พร้อมด้วยคณะสมาคมศิษย์หลวงพ่อวัดปากน�้ำ ม.ส.จ.
๒. พระธรรมโพธิมงคล เจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี กรุงเทพมหานคร
พระเทพคุณาภรณ์ รองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุญชร กรุงเทพมหานคร
๓. คณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม น�ำโดย...
พระครูพิศาลสาธุวัฒน์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนคปฐม วัดพะเนียงแตก
พระมหาไกรวรรณ์ ชินทตฺติโย ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองนครปฐม วัดพระงาม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอเมืองนครปฐม
๔. คณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน น�ำโดย...
พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดพระปฐมเจดีย์
พระครูถาวรศีลวัตร ที่ปรึกษาเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดลานคา
พระครูพิทักษ์สุขวัฒน์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอบางเลน วัดสุขวัฒนาราม
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด ในเขตปกครองคณะสงฆ์อ�ำเภอบางเลน
๕. คณะกองงานเลขานุการ ภาค ๑๔ น�ำโดย...
พระปริยัติวรานุกูล เลขานุการเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดนิมมานรดี
พระมหามนูญ ปริญญาโณ เลขานุการรองเจ้าคณะภาค ๑๔ วัดเทวราชกุุญชร
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดนครปฐม
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสุพรรณบุรี
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดกาญจนบุรี
คณะกองงานเลขานุการจังหวัดสมุทรสาคร

225
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเช้า
ประจำ�วันพุธที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๗ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสาคร น�ำโดย...
พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม
พระภาวนาวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมวดีศรีวราราม
พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดโสภณาราม
พระครูสุทธิธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดสุทธิวาตวราราม
พระมงคลพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านแพ้ว วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร
พระครูสีลาธิการี เจ้าคณะอ�ำเภอกระทุ่มแบน วัดหนองพะอง
พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดหลังศาลประสิทธิ์
พระญาณวิกรม เจ้าอาวาสวัดท่าไม้
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด คณะอุบาสก อุบาสิกา
ในเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสาคร
๒. โรงเรียนวัดไร่ขิงวิทยา
๓. โรงเรียนวัดไร่ขิง (สุนทรอุทิศ)
๔. วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขิง)
๕. ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา ๑
๖. ศูนย์บริการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอ�ำเภอสามพราน (วัดไร่ขิง)
๗. สถาบันพัฒนาครูอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
๘. ที่ท�ำการไปรษณีย์โทรเลข (วัดไร่ขิง)
๙. สถานีต�ำรวจภูธรโพธิ์แก้ว
๑๐. ส�ำนักงานสรรพากรจังหวัดนครปฐม ๒
๑๑. ตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดนครปฐม (วัดไร่ขิง)
๑๒. ขนส่งมวนชนกรุงเทพ(ขสมก)
๑๓. วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดีวัดไร่ขิง
๑๔. สถานีต�ำรวจภูธรสามพราน
๑๕. ส�ำนักงานขนส่งทางบกนครปฐม สาขาสามพราน(วัดไร่ขิง)
๑๖. กรมเจ้าท่า (วัดไร่ขิง)
๑๗. ต�ำรวจท่องเที่ยว (วัดไร่ขิง)
๑๘. วิทยาลัยทองสุข

226
รายนามเจ้าภาพถวายภัตตาหารเพล
ประจำ�วันพุธที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑
ตรงกับวันแรม ๗ ค่ำ� เดือน ๓

๑. คณะสงฆ์จังหวัดสมุทรสาคร น�ำโดย...
พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดเจษฎาราม
พระภาวนาวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดเกตุมวดีศรีวราราม
พระครูสาครธรรมโสภณ ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร วัดโสภณาราม
พระครูสุทธิธรรมาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดสุทธิวาตวราราม
พระมงคลพัฒนาภรณ์ เจ้าคณะอ�ำเภอบ้านแพ้ว วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร
พระครูสีลาธิการี เจ้าคณะอ�ำเภอกระทุ่มแบน วัดหนองพะอง
พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ รองเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองสมุทรสาคร วัดหลังศาลประสิทธิ์
พระญาณวิกรม เจ้าอาวาสวัดท่าไม้
เจ้าคณะต�ำบลทุกต�ำบล เจ้าอาวาสทุกวัด คณะอุบาสก อุบาสิกา
ในเขตปกครองคณะสงฆ์ังหวัดสมุทรสาคร
๒. คณะตระกูลธนธนานนท์ น�ำโดย...
คุณแม่วันดี ธนธนานนท์ คุณณัฐพงศ์ คุณอรวรรณ ธนธนานนท์ และลูกๆ
คุณพ่อโชติ ลิ้มสงวน และครอบครัว

227
รายนามผู้อุปถัมภ์รางวัลแก่พระภิกษุ สามเณร
ผู้สอบได้ในสนามหลวง พ.ศ. ๒๕๖๐
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม ถึง ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขิง พระอารามหลวง อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

๑. พระเทพมหาเจติยาจารย์ เจ้าคณะจังหวัดนครปฐม
วัดพระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวิหาร
บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๒. พระราชปริยัติเมธี เจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี
วัดสุวรรณภูมิ
บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๓. พระราชวิสุทธิเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี
วัดไชยชุมพลชนะสงคราม
บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท
๔. พระเทพสาครมุนี เจ้าคณะจังหวัดสมุทรสาคร
วัดเจษฎาราม
บริจาคเงิน ๓๐,๐๐๐ บาท

228
รายการปฏิบัติงานถวายภัตตาหารเช้า-เพล
ในการอบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔
ระหว่างวันที่ ๒๔ มกราคม ถึง วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑

วัน เดือน ปี ถวายภัตตาหารเช้า ถวายภัตตาหารเพล


๒๔ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
๒๕ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
๒๖ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
๒๗ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา
๒๘ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา
๒๙ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชฯ
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๓๐ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชฯ
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัย โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชฯ
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนสิรนิ ธรราชวิทยาลัย
๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนสิรนิ ธรราชวิทยาลัย
๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา
๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา โรงเรียนวัดไร่ขงิ วิทยา
๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ )
๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ )
๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ ) วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม (วัดไร่ขงิ )

229
รายนามพระสงฆ์กล่าวสัมโมทนียกถา
ในการอบรมบาลีกอ่ นสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีท่ี ๔๔
ระหว่างวันที ่ ๒๔ มกราคม ถึง วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ณ วัดไร่ขงิ พระอารามหลวง ตำ�บลไร่ขงิ อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม


วันที่ ๒๔ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระศรีวิสุทธิวงศ์ เจ้าคณะอำ�เภอบางเลน วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
วันที่ ๒๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาธวัชชัย กลฺยาโณ ป.ธ.๙ เจ้าคณะอำ�เภอพนมทวน วัดพังตรุ/กาญจนบุรี
วันที่ ๒๖ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระอุดมพล อนีโฆ นักเรียนชั้นประโยค ๑-๒ ห้อง ข. วัดราษฏร์ประชุมชนาราม/กาญจนบุรี
วันที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระธรรมพุทธิมงคล ที่ปรึกษาเจ้าคณะจังหวัดสุพรรณบุรี วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี
วันที่ ๒๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาอำ�นวย อภิญาโณ ป.ธ.๘ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ๑-๒ วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
วันที่ ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหายวง ทิวากโร ป.ธ.๙ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ๑-๒ วัดป้อมวิเชียรฯ/สมุทรสาคร
วันที่ ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระเมธิีปริยัติวิบูล รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองกาญจนบุรี วัดไชยชุมพลฯ/กาญจนบุรี
วันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาวิทูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ป.ธ.๔ วัดพระงาม/นครปฐม

230
วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาไกรวรรณ์ ชินขตฺติโย ป.ธ.๙ รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองนครปฐม วัดพระงาม/นครปฐม
วันที่ ๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาธาวิน รตนเมธี ป.ธ.๘ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ป.ธ.๓ วัดไร่ขิง/นครปฐม
วันที่ ๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาบุญลือ วิชฺชากโร ป.ธ.๙ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ป.ธ.๔ วัดพระปฐมเจดีย์/นครปฐม
วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาทศพร กิตฺติภทฺโท ป.ธ.๓ นักเรียนชั้นประโยค ป.ธ.๔ วัดสำ�โรงใต้/สมุทรปราการ
วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาบรรจง ปญฺญาวชิโร ป.ธ.๕ วิทยากร ประจำ�ชั้นประโยค ๑-๒ วัดสวนหงส์/สุพรรณบุรี
วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระมหาจรินทร์ อนุภทฺโท ป.ธ.๔ นักเรียนชั้นประโยค ป.ธ.๕ วัดเทพนิมิตต์/กรุงเทพมหานคร
วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
พระเดชพระคุณพระพรหมกวี เจ้าคณะภาค ๑๓ วัดกัลยาณมิตร/กรุงเทพมหานคร

231
คณะผูŒจ�ดทำา
หนังสือ : อบรมบาลีก่อนสอบ คณะสงฆ์ภาค ๑๔ ปีที่ ๔๔

ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ
พระธรรมโพธิมงคล�� เจ้าคณะภาค�๑๔� �วัดนิมมานรดี/กรุงเทพมหานคร�
พระเทพคุณาภรณ์� รองเจ้าคณะภาค�๑๔�� วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร�
พระราชวิสุทธิเมธี� เจ้าคณะจังหวัดกาญจนบุรี��� วัดไชยชุมพลชนะสงคราม/กาญจนบุรี�
พระเทพศาสนาภิบาล� รองเจ้าคณะจังหวัดนครปฐม��� วัดไร่ขิง/นครปฐม�
พระราชวรเมธี� เลขานุการเจ้าคณะภาค�๒� วัดประยุรวงศาวาส�
พระรัตนสุธี� ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง��� วัดไร่ขิง/นครปฐม
พระครูโสภณวีรานุวัตร���� ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง� วัดป่าเลไลยก์/สุพรรณบุรี�
พระครูศรีรัตนาภิวัฒน์���� รองเจ้าคณะอำ�เภอเมืองสุพรรณบุร�ี วัดพระลอย/สุพรรณบุรี�
บรรณาธิการ
พระครูปลัดโพธิวรวัฒน์� ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง� วัดไร่ขิง/นครปฐม
กองบรรณาธิการ
พระปริยัติวรานุกูล� เลขานุการเจ้าคณะภาค�๑๔� วัดนิมมานรดี/กรุงเทพมหานคร
พระมหามนูญ��ปริญฺญาโณ�ป.ธ.๗� เลขานุการรองเจ้าคณะภาค�๑๔� วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร
พระมหาคำ�สิงห์�สีหนนฺโท�ป.ธ.๗� ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง� วัดเทวราชกุญชร/กรุงเทพมหานคร
พระมหาปฐมพล�วรญาณเมธี�ป.ธ.๔�� ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง� วัดนิมมานรดี/กรุงเทพมหานคร
พระมหาสมชาย�วรเมธี�ป.ธ.๖� คณะทำ�งาน� วัดไร่ขิง/นครปฐม
พระครูปลัดพงศ์พันธ์�ขนฺติโสภโณ� คณะทำ�งาน� วัดไร่ขิง/นครปฐม
พระปลัดสรพงษ์�ปญฺญาพโล���� คณะทำ�งาน� วัดไร่ขิง/นครปฐม
พิสูจน์อักษร
พระครูพิศิษฏ์จริยานุยุต���� ผู้ช่วยเจ้าอาวาสพระอารามหลวง�� วัดเทพธิดาราม/กรุงเทพมหานคร
พระมหาวิเชียร�ชาตวชิโร�ป.ธ.๙� กองงานเลขานุการเจ้าคณะภาค�๑๔� วัดพระพุทธบาท/สระบุรี

พิมพ์ครั้งที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ จำานวน ๑,๒๐๐ เล่ม


ดำาเนินการ : สุวรรณ เคลือบสุวรรณ์ โทร. ๐๘๑-๓๓๘๐๐๗๗
พิมพ์ที่ : หจก.สามลดา โทร. ๐๒-๔๖๒๐๓๐๓ 232
233
234

You might also like