You are on page 1of 34

If

J1
I
1
m k
m
1

WSJ
ร!ร

พ* _

SB
f I
f?S3
J.
tf
t
7,
f
7? ริ
t
U'lÿllllj 4 ?เ ?'
#1'1

CJ
tf

r - พร111
TV
r
5W”ÿEJ vy 1

ฒฒเ เรเรฬ JllBifllifiS


J
{
I'
CH*1 vi j *
i’v


4
Ilkรเ
I ท
rS5W "
-.
J n==u-x
t
i

*wx
i A
1= . ;
I l
y

3J4 £
« ฟ้&
M

rffe,

_
I *

» L ?:®
*ÿÿ u
'
<
m - -• 'น *
IBM 1"ÿ

>
1'

#
V A

I พ » .-4


1*
F> ริ *
V
1ÿ
*•
-!,
"ÿ,"
ะธุฐุ เ -
f -ÿ
w* 1*
.- d-*e—

เป้
r*
1
11 A, -
> V
V
: V 3- '_

ร'•*?.? XfzJ.
4*1 ._
» 4 *

พเเ1?สื!’ : -
i * jft-
»ÿ# +ÿ
*£ÿ1
;1 I
\ V'
พํ
JT ,f >ÿ
V *»ÿ
* .ÿ,
i tf isai-

1๚5เ(>>--
r*
i
r - >ÿ .' I] I

»1*
c Vไ
v
V
•ÿ
‘ '

*
ft fk. J *C vc 4Ll . V'f" *
* «.1 M- *
ฒเ ถู่มอการปฏิบัติงาน
ส์าบักงานพร::ทุท!พาสนาแห่งชาติ

ดํๆนํๆ

ประเทศไทย เป็น ประเทศ ที่มี ประชากรส่วนใหญ่ ร้อย ละ 94 นับถือพุทธ ศาสนา


พระ มหากษัตริย์ไทย ทุก พระองค์ ตั้งแต่ อดีต จน ถึงปัจจุบันทรง เป็นพุทธมา มกะ และ ทรงเป็น
ศาสนูปถัมภกมาไม่น้อยกว่า 800 ปี จนอาจกล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มีอยูค่ วบคูส่ ังคมไทย
และประเทศไทย ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทยในการดําเนิน ชีวิตของคนไทยล้วนแต่มอี ิทธิพล
มาจากพระพุทธศาสนา

ปัจจุบัน มีบุคคลและกลุ่มบุคคล อาศัย ช่องทางศรัทธา ของชาวพุทธปลอมบวชเข้า มา


เพื่อ ลาภ สักการะ บ้าง เพื่อ สร้าง ความ เสีย หายให้ เกิด ขึ้น แก่ พระ พุทธศาสนาโดย ตรงบ้าง
ทําให้พุทธศาสนิก ชนบุคคลบางกลุ่มเกิด ความ เข้าใจ ว่า เป็นพฤติกรรม ของพระภิกษุสามเณร
ในพระพุทธศาสนา หากผู้มีศรัทธาไม่มั่นคง เพราะขาดปัญญาแยกแยะก็ จะทําให้หมดศรัทธาใน
พระรัตนตรัย เพราะเห็นว่า พระภิกษุสามเณร ผูเ้ ป็นศาสนบุคคลไม่สามารถเป็นเนื้อนาบุญได้ ผลสุดท้าย
ก็จะเบื่อหน่ายต่อคาสนบุคคลจนไม่สามารถให้การอุปถัมภ์บํารุงพระภิกษุสามเณรผู้มีดลี ก็จะไม่สามารถ
อยูใ่ นศัลบวรพระพุทธศาสนาได้ต่อไป คาสนทายาทก็จะสูญสินไปในทีส
ดํารง ่ ุด
การจัดการข้อ ร้อง เรียน ที่มี ผล กระทบ ต่อ พระ พุทธ ศาสนา เพื่อ ความ มั่น คง ต่อ
พระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการรับเรื่องร้องเรียนเพื่อแก้ปัญหาหรือหาทางเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว จํา
ต้องมี

่ ัดเจน เช่น ช่องทางการแจ้งข่าวการร้องเรียน วิธกี ารแก้ปัญหาและการวางแผนเพื่อแก้ปัญหา


แนวทางทีช
จึงได้มอบหมายให้นายสาโรจน์ กาลศัริศัลป็ นักวิชาการศาสนาชํานาญการ และคณะรวบรวมเรียบเรียง
คู่มีอการปฏิบัตงิ านการจัดการข้องร้องเรียนที่มผ
ี ลกระทบต่อพระพุทธศาสนา หวังว่าคู่มีอการปฏิบัตงิ าน
ี ระสิทธิภาพสืบไป
เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์แก่การพัฒนางานคุ้มครองพระพุทธศาสนาให้มป

ส่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา

สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
๒*d ภู่ม็อการปฎิบติ
ิ งาน
ฟ้าฟ้ทงานพ:รทุทธแาทนาแห่งรทติ

สารบญ

หน้า

คํา
นา 1
บทนํา 3

- รายละเอียดคูม่ ือการปฏิบัตงิ าน การจัดการข้อร้องเรียนที่มผ


ื ลกระทบ- 5
ต่อพระพุทธศาสนา

- วัตถุประสงค์ 5
- ขอบเขต 5
- คํา
จัดกัดความ 5
- ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน (Flowchart) 11
- เอกสารอ้างอีง 13
- แบบฟอร์มทีใ่ ช้ในการปฏิบัตงิ าน 15
- แบบฟอร์มทีใ่ ช้ในการปฏิบัตงิ าน 25

ภาคผนวก 26

แผนงานรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้รับรูช้ ่องทางในการแจ้งเบาะแสและร้องเรียน-
เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา พ.ศ.2553
แบบสอบถามความคิดเห็น
พระราชบัญญัตค
ิ ณะสงฆ์ พ.ศ.2535 แก!ขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์-
ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535)
ระเบียบมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการจัดงานวัด พ.ศ.2537
สังมหาเถรสมาคม เรื่องห้ามพระภิกษุ-สามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.2538
คํา
สังมหาเถรสมาคม เรื่องควบคุมการเรี่ยไร พ.ศ.2539
คํา

2
รอการปฎิบต้ ิงาน
ภู่
ฟ้าน้กงานทระ ทุท*ศาสนาแห่ง*าติ

บทนํา

สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติมภี ารกิจเกี้ยวกับการดําเนินงานสนองงานคณะสงฆ์
และรัฐ โดยการทํานุ
บํารุงส่งเสริมกิจการพระพุทธศาสนา ให้การอุปถัมภ์ คุ้มครองและส่งเสริม
การพัฒนางานพระพุทธศาสนา ดูแลรักษาจัดการศาสนสมบัติ พัฒนาพุทธมณฑลให้เป็นศูนย์กลางของ
พระพุทธศาสนา รวมทั้งให้การสนับสนุน ส่งเสริม พัฒนาบุคลากรทางศาสนา

วิสัยทัศน์ พระพุทธศาสนามีความเจริญมั่นคง พุทธศาสนิกชนเข้มแข็ง มีความสุขด้วยหลักพุทธธรรม


ส่งเสริมสืลธรรม คํ้าจุนลังคม

พันธกิจ ให้การอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา ส่งเสริมการเผยแผ่หลักธรรมให้ประชาชนนําไป


ปฏิบัตใิ ห้เกิดประโยชน์!ด้จริง

ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนา

หลักธรรมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชีวิตและลังคม
2. การนํา

หน้าทีข่ องสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ
อํานาจ
สําหรับ
ควบคุมดูแลอาจารของพระสงฆ์ทลี่ ะเมิดพระธรรมวินัยทีก
่ ําหนดไวิได้แก่
การตามกฎหมายว่าด้วยคณะสงฆ์ รวมทั้งกฎหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวข้อง
1. การดําเนิน

2. รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการและการบริหารการปกครอง


คณะสงฆ์
เมื่อสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติจะต้องดําเนินการตามกฎหมาย ว่าด้วยคณะสงฆ์และ
รับสนองงาน ประสานงาน และถวายการสนับสนุนกิจการและการบริหาร การปกครองคณะสงฆ์
จึงจะต้องดําเนินการภายใต้กรอบพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ.2505 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ์(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535 ในส่วนของการปกครองคณะสงฆ์ทเี่ กี่ยวข้องกับการควบคุมดูแลอาจาร
ของพระสงฆ์ทลี่ ่วงละเมิดพระธรรมวินัย โดยดําเนิน
การตามพระราชบัญญัตค ิ ณะสงฆ์ด้งกล่าว รวมทั้ง
่ อการ ปฏิบัติ งาน
คูม
ส์านักง'เนพระ ทุ ทช ศาสนาแห่งชาติ

ดําเนินการสนองงานการปกครองคณะสงฆ์ตามทีม่ หาเถรสมาคมได้ตรากฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คํา


ลัง มติ
หรือประกาศ โดยทีไ่ ม่ขัดแย้งกับข้อกฎหมายและหลักพระธรรมวินัย ทั้งนีพ
้ ระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ได้มี
บทบัญญัติเกี่ยวกับการปกครองคณะสงฆ์ ชึ่งมีโครงสร้างตามสายบังคับบัญชา ตั้งแต่เจ้าคณะใหญ่
เจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด เจ้า คณะ อําเภอเจ้าคณะตําบลจนถึงระดับเจ้า อาวาส ซึ่ง ถือว่าเป็น
เจ้าพนักงานตามกฎหมายในการที่จะเป็นผูค ี่ ะเมิดพระธรรมวินัยหรือ
้ วบคุมดูแลอาจาระพระสงฆ์ทล
กฎหมาย โดยได้ตรากฎ มหา เถรสมาคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2521) ว่าด้วย การลงนิคหกรรม และ
กฎ มหาเถรสมาคมฉบับที่ 23 (พ. ศ.2541) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ เพื่อให้เกิด
ความเรียบร้อย รวมทั้งควบคุมดูแล อาจารของพระสงฆ์ ที่ละเมิดพระธรรมวินัย การระงับอธิกรณ์
(ความผิด) นิคหกรรม (การลงโทษ) โดยออกระเบียบ อํานาจ
หน้าที่ของเจ้าคณะปกครองแต่ละ
ระดับชั้นใน การตรวจ สอบ ควบ คุม ดูแล การสร้าง มาตรการต่าง ๆ รวมทั้งระงับ อธิกรณ์ และ
ลงนิคหกรรม แก่พระ สงฆ์ ที่ ละเมิด พระธรรมวินัย ตามกฎนิคหกรรม ฉบับ ที่ 16 ซึ่ง สํานักงาน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติจะมิหน้าทีร่ ับสนองงานถวายคํา
แนะนํา

ด้วย ตระหนัก ถึง การส นอง งาน คณะ สงฆ์ และรัฐให้ เป็นไป ตาม แนวทาง ที่ กําหนด

บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ จึงจัดทํา ู้ ฏิบัติและ ผูร้ ับบริการมั่นใจ


คู่มือปฏิบัตงิ าน/มาตรฐานงาน เพื่อให้ผป
ได้ว่า การให้บริการและการรับบริการเป็นไปอย่างถูกต้อง เป็นธรรม โปร่งใส มุ่งผลประโยชน์ของชาติ
และประชาชนเป็นสําคัญ
#
คู่มอกา5ปฎิบ้รงาน
ส์าน้กง!นm ะทุท* นาแห่ง!ทศิ

รายละเอียดคูม่ ือปฏิบัตงิ าน
การจัดการซ้อร้องเรียนที่มผ
ี ลกระทบต่อพระพุทธศาสนา

คู่ มือการปฏิบัติ งาน การจัดการข้อร้องเรียนที่มืผลกระทบต่อพระ พุทธศาสนาของ


ส่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
มีเนื้อหาสาระรายละเอียด ดังนี้
1. วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นแนวทางในการดําเนินงานของผูป
้ ฏิบัตงิ าน
2. เพื่อให้การปฏิบัตงิ านเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลสูงสุด และมีมาตรฐาน
เดียวกัน
3. เพื่อให้ผู้รัมบริการมีความมั่นใจว่าจะได้รป้ การบริการทีถ่ ูกต้อง โปร่งใส และเป็นธรรม
2. ขอบเขต

คู่มีอการปฏิบัติงานการจัดการข้อร้องเรียนที่มีผลกระทบต่อพระพุทธศาสนาเล่มนี้
ครอบคลุมตั้งแต่การรัมเอกสารข้อร้องเรียน การตรวจสอบเอกสารหลักฐานการร้องเรียน การวิเคราะห์
้ กครองสงฆ์ทเี่ กี่ยวข้องทราบ และดําเนิน
ข้อร้องเรียน การสรุปข้อร้องเรียนถวายเจ้าคณะผูป การจัดการ
ข้อ ร้อง เรียน การติดตาม ผลการพิจารณา ของ เจ้า คณะ ผู้ปกครอง สงฆ์ ตลอด จน การ แจ้งให้

ผูย้ ื่นคํา
ร้อง หรือข้อร้องเรียนทราบ

3. คํา
จํากัด
ความ
มหาเถรสมาคม เป็นองค์กรสูงสุดทางการปกครองของคณะสงฆ์ไทย บริหารงานในรูป
คณะกรรมการ ประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราช ทรงดํารง
ตําแหน่ประธาน
ง กรรมการโดยตําแหน่ง
สมเด็จพระราชาคณะทุกรูปเป็นคณะกรรมการโดยตําแหน่งและพระราชาคณะซึ่งสมเด็จพระสังฆราช
ทรงแต่งตั้งมีจํานวนไม่เกินสิบสองรูป เป็นกรรมการ
หน้าทีส่ ํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ทํา
ผูอ การสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นเลขาธิการมหาเถรสมาคม
้ ํานวย
หน้าทีป่ กครองคณะสงฆ์ให้เป็นไปโดยเรียบร้อยดีงาม ปกครอง
มหาเถรสมาคมมีอํานาจ
การบรรพชาสามเณร ควบคุมและส่งเสริมการคาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่
และกําหนด
การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ ของคณะสงฆ์ รวมถึงรักษาหลักพระธรรมวินัยของ
พระพุทธศาสนา
่ อการปฎิบต
ภูม ั ิงาน
ฟ้านักงาน Hรรทุท*ศาสนาแท่งรทติ

พระ สังฆ าธิ การ หมาย ถึง พระภิกษุผู้ดํารง งกครองคณะ สงฆ์ ได้แก่
ตําแหน่ป

เจ้าคณะใหญ่ เจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะภาค เจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะ อําเภอ

รองเจ้าคณะอํ๓
าอ เจ้าคณะตําบลรองเจ้าคณะตําบลเจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผูช้ ่วยเจ้าอาวาส

ี่ ะได้รับแต่งตั้งเป็นพระสังฆาธิการได้ จะต้องมีพรรษาสมควรแก่ตําแหน่ง
พระภิกษุทจ
มีความรู้ ความสามารถ ประพฤติเรียบร้อยตามพระธรรมวินัย สุขภาพร่างกายแข็งแรง และไม่เคยถูก
ลงโทษมาก่อน

เจ้าคณะใหญ่ หมายถึง เจ้าคณะผูป


้ กครองสงฆ์ หน้าทีป่ กครองคณะสงฆ์ในเขต
มีอํานาจ
ิ น้าทีใ่ นเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 1 ภาค 2 ภาค 3
หนของตน เช่น เจ้าคณะใหญ่หนกลาง ปฏิบัตห
ภาค 13 ภาค 14 และภาค 15

เจ้าคณะภาค หมายถึง เจ้าคณะผูป


้ กครองสงฆ์ หน้าทีป่ กครองในภาคของตน
ที่มอี ํานาจ
เช่น เจ้า คณะภาค 1 ปฏิบัติหน้าทีใ่ น เขต ปกครองคณะ สงฆ์ 4 จังหวัด คือ กรุงเทพ มหานคร
จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสมุทรปราการ

เจ้าคณะ จังหวัด หมายถึง เจ้า คณะกรุงเทพมหานคร และ เจ้าคณะจังหวัดนอกจาก

หน้าทีป่ กครองในเขตจังหวัดของตน
กรุงเทพมหานคร มีอํานาจ

เจ้าคณะอําเภอหมายถึง เจ้าคณะเขตในกรุงเทพมหานคร และเจ้าคณะอํ๓


าอในจังหวัด
หน้าทีป่ กครองคณะสงฆ์ในเขตอํ๓
นอกกรุงเทพมหานคร มีอํานาจ าอของตน

เจ้าคณะตําบลหมายถึง เจ้าคณะแขวงในกรุงเทพมหานคร และเจ้าคณะตําบล


ในจังหวัด
หน้าทีป่ กครองคณะสงฆ์ในเขตตําบลของตน
นอกกรุงเทพมหานคร มีอํานาจ

เจ้าอาวาส คือ ผูป้ กครองดูและอํานวยกิจการทุกอย่างเกี่ยวกับวัด กฎหมายกําหนดให้


วัดหนึ่งมีเจ้า อาวาสรูปหนึ่ง แต่จะมีรองเจ้าอาวาส ผูช้ ่วยเจ้าอาวาสได้หลายรูปตามควรแก่ฐานะของวัด
เจ้า อาวาสเป็นพระสังฆาธิการ และ เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา ผูร้ ักษาการแทน
เจ้าอาวาส มีฐานะเป็นเจ้าพนักงานเช่นกัน
ี น้าที่เป็นประธานและรับผิดชอบใน
พระอุปัชฌาย์ หมายถึง พระภิกษุผู้!ด้รับแต่งตั้ง ให้มห
การให้บรรพชาอุปสมบท ตามกฎมหาเถรสมาคม พระอุปัชฌาย์ มี ๒ ประ๓ท คือ พระอุปัชฌาย์สามัญ
ได้แก่พระ อุปัชฌาย์ทไี่ ด้รับแต่งตั้งจากเจ้าคณะใหญ่ และพระอุปัชฌาย์วิสามัญ ได้แก่ พระอุปัชฌาย์
ทีไ่ ด้รับแต่งตั้งจากสมเด็จพระสังฆราช
ร' ดู่มอการ ปฏิบัติงาน
ส์าน้กงานพระ ทุทแศาสนาแห่งรทติ

พระภิกษุผจู้ ะดํารง ง อุปัชฌาย์ต้องเป็นเจ้าอาวาสมีพรรษาเกิน 10 เป็นเปรียญ


ตําแหน่พระ

หรือนักธรรมชั้นเอก มีความรูค้ วามสามารถทําอุปสมบทกรรมให้ถูกต้องตามพระวินัย และระเบียบแบบ


แผนของคณะสงฆ์

พระวินยาธิการ หมายถึง พระภิกษุทไี่ ด้รป้ การแต่งตั้งจากเจ้าคณะจังหวัด ให้เป็นผูช


้ ่วยเหลือ
สนับสนุนการปกครองของเจ้าอาวาส และเจ้าคณะปกครองสงฆ์ เพื่อความเรียบร้อยดีงามของคณะสงฆ์

พระวินยาธิการมีหน้าที่ตรวจตรา ชี้แจง แนะนําให้พระภิกษุสามเณรในจังหวัด หรือที่


เข้า มาในจังหวัด ปฏิบัตใิ ห้ชอบด้วยพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ
สัง มติ ประกาศ พระบัญชาสมเด็จพระสังฆราช คํา
คํา ้ ังคับบัญชา เหนือตน โดยประสานกับ
สังผูบ
่ ่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
เจ้าหน้าทีส

องค์การศาสนาทีท
่ างราชการรับรอง

องค์การศาสนาที่ทางราชการรับรองฐานะ ให้เผยแพร่ศาสนาในประเทศไทยได้ ได้แก่


ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และศาสนาซิกข์

รัฐบาลได้ให้ความอุปถัมภ์แก่องค์การศาสนาต่าง ๆ โดยมีกรมการศาสนาเป็นศูนย์กลางใน
การประสานงาน คอยอํานวย ความสะดวกในด้านการปฏิบัตพ ิ ิธีกรรม การเข้ามาพํานักอยูใ่ นประเทศของ
ผูเ้ ผยแพร่ศาสนาชาวต่างประเทศ การขออนุญาตต่อวีซ่าเข้าเมือง การบูรณะซ่อมแซมศาสนสถาน ให้อยู่
ในสภาพมั่นคงถาวร เป็นต้น

อธิกรณ์

การแกไขมี 4 อย่าง
อธิกรณ์ คือเหตุโทษเรื่องราวทีเ่ กิดขึ้นแก่ภิกษุสงฆ์จะต้องดําเนิน คือ
1. เถียงกันว่า ใช่ธรรมวินัยหรือไม่ใช่ธรรมวินัย เรียกว่า วิวาทาธิกรณ์
2. กล่าวหากันด้วยอาบัติ เรียกว่า อนุวาทาธิกรณ์
3. การแก้ตัวให้พ้นอาบัติ เรียกว่า อาปัตตาธิกรณ์
4. กิจธุระต่าง ๆ ทีส่ งฆ์จะต้องทําเรียกว่า กิจจาธิกรณ์
*๙ ดู่รอการปฏิบัติงาน
ส์าบักงานพระ'ทุทธศาสนาแห่งชาติ

อาบัติ
อาบัติ คือโทษทีเ่ กิดจากการล่วงละเมิดพระธรรมวินัย มี 7 อย่าง คือ
1. ปาราชิก
2. สังฆาทิเสส
3. ถุลสัจจัย
4. ปาจิตตีย์
5. ปาฎิเทสนียะ
6. ทุกกฎ
7. ทุพภาสิต
อาบัตริ ้ายแรง คือ ปาราชิก ต้องขาด จากความเป็นพระ แม้อาบัตไิ ม่ถึงปาราชิก แต่ถ้า

ประพฤติผิดพระวินัยอยู่เนือง ๆ จนถึงขั้นเสื่อมศรัทธา ชาวบ้านติเตียน คณะสงฆ์ก็สังให้สืกออกจาก


ความเป็นพระได้

นิคหกรรม
นิคหกรรม คือการลงโทษพระภิกษุตามพระธรรมวินัย มี 6 อย่าง คือ
1. ตัชชะนืยกรรม คือกรรมอันสงฆ์พึงทํา ู้ วรขู่ โดยสงฆ์ตําหนิโทษภิกษุผก
แก่ภิกษุผค ู้ ่อ
ความไม่สงบขึ้นในสงฆ์
2. นืยสกรรม คือนิคหกรรมทีส่ งฆ์ทํา ี าบัติมาก หรือประพฤติตนไม่สมควร
แก่ภิกษุผู้มอ

ได้แก่การถอดยศ
3. ปัพพาชนิยกรรม คือการขับไล่ออกจากหมูห่ รือไล่ออกจากวัด
4. ปฏิสารณียกรรม คือการทีส่ งฆ์ลงโทษให้ภิกษุไปขอขมาคฤหัสถ์ กรณีทไี่ ปต่อว่าคฤหัสถ์
ในเรื่องไม่จริง
5. อุกเขปนิยกรรม คือการลงโทษสงฆ์ทไี่ ม่ยอมรับความผิด โดยตัดสิทธิบ้ างอย่างชั่วคราว
6. ต้สสปาปิยสิกากรรม คือการลงโทษภิกษุผเู้ ป็นจําเลยให้การกสับไปกลับมา

เจ้าพนักงาน หมายถึง บุคคลผูป้ ฏิบัตหิ น้าทีร่ าชการ โดยได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมาย


กล่าวคือ ในการแต่งตั้งนั้นมีกฎหมายระบุถึงวิธแ
ี ต่งตั้งไว้ และมีการแต่งตั้งถูกต้องตามกฎหมายทีร่ ะบุไว้
พระลังฆาธิการทุกระดับก็เป็นเจ้าพนักงาน
ร าน
่ อการ ปฐบ้
คูม
ส์าน้กรานหระ ทุทธศาสนาแห่ราทอ

การบันทึกถ้อยคําหมายถึง การบันทึกปากคํา
พระสังฆาธิการและพระภิกษุทปี่ ระพฤติ ไม่
เอื้อเฟือต่อพระธรรมวินัย และฝ่าฝืนกฎ ระเบียบ คํา
สัง ทางการปกครองคณะสงฆ์

ข้อร้องเรียน หมายถึง การร้องเรียนกล่าวโทษพระสังฆาธิการ พระภิกษุที่ประพฤติ

ไม1เอื้อเฟือต่อพระธรรมวินัย และฝ่าฝืนกฎ ระเบียบ คํา


สัง ทางการปกครองคณะสงฆ์ และการบ่อน
ทําลาย
พระพุทธศาสนา

ไวยาวัจกร คือ ผูท กิจธุระแทนสงฆ์ หมายถึง คฤหัสถ์ผไู้ ด้รับแต่งตั้งให้มหี น้าทีเ่ บิกจ่าย


้ ํา
่ ูแลรักษาจัดการทรัพย์สินของวัดได้ ตามที่เจ้า อาวาสมอบหมายเป็น
หน้าทีด
นิตยภัต และจะ มีอํานาจ
หนังสือ

คฤหัสถ์ผไู้ ด้รับแต่งตั้งจากเจ้าอาวาสเป็นไวยาวัจกร ถือเป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมาย โดย


เจ้าอาวาสจะแต่งตั้งไวยาวัจกรคนเดียวหรือหลายคนก็ได้

พนักงานศาสนการ หมายถึง เจ้าหน้าที่สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติผด


ู้ ูแลรักษา
ิ องพระศาสนา โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณศาสนสมบัตก
จัดการเกี่ยวกับศาสนสมบัตข ิ ลาง
การคัดเลือกบรรจุบุคคลเข้า เป็นพนักงานศาสนการ การแต่งตั้ง ถอดถอน เลื่อนขั้น เลื่อนตําแหน่ง
การจ้างให้ออก เลิกจ้าง พนักงานศาสนการทุกขั้น ต้องได้รับความเห็นชอบจากมหาเถรสมาคม

4. ความรับผิดชอบ

ผูอ การสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีหน้าทีส


้ ํานวย ่ นองงานคณะสงฆ์ให้การอุปถัมภ์
คุ้มครองพระพุทธศาสนา และลงนามถวายเรื่องร้องเรียนที่มผ
ี ลกระทบต่อพระพุทธศาสนาต่อเจ้าคณะ
ผูป
้ กครองสงฆ์

ผูอ การสํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม สนองงานคณะสงฆ์ ตรวจสอบความถูกต้อง


้ ํานวย
พร้อมลงนามเสนอเรื่องร้องเรียนพระภิกษุสามเณร ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

ผูอ การส่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา ตรวจทานความถูกต้องเรื่องร้องเรียนที่มี


้ ํานวย
ผลกระทบต่อพุทธศาสนา และตรวจตราพระภิกษุสามเณรที่มอี าจไม่สมควรแก่สมณวิสัย

เจ้าหน้าที่ส่วน คุ้มครองพระพุทธศาสนา มีหน้าที่จัดการข้อร้องเรียนที่มีผลกระทบต่อ


พระพุทธศาสนา โดยประสานกับเจ้าคณะผูป
้ กครองสงฆ์ พระวินยาธิการ เพื่อดําเนิน
การลงนิคหกรรม
และตรวจตราพระภิกษุสามเณรที่มีอาจารไม่สมควรแก่สมณวิสัย
่ อก!ฑเ5ทัร41น
ภูน
I? (นก) mm ะแท«fl mil แทท่ไแท

รายที่อเจ้าหน้าทีส่ ่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา

ข้าราชการ

ลําดับ รํเอ - นามสกุล ตําแหน่ง เบอร์โทรดัพท์ หมายเหตุ


1 นายวิชัย ธรรมเจริญ นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การพิเศษ 081-8503198
2 นายสุชาติ เบ้านุวงตํ นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การ 081-9813485
3 นายลาโรจน์ กาลติริติลป๋ นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การ 081-4318249
4 นายณัฐกิตตึ๋ ไชยวรรณรัตน์ นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การ 081-8150124

พนักงาน ศาสน การ


ลําดับ ร!อ - นามสกุล ตําแหน่ง เบอร์โทรดัพท์ หมายเหตุ
1 นายสุบิน บุญมาแย้ม นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การ 089-1144945
2 นายราเชษฐ์ ผงสุข เจ้าพนักงานการศาสนาชํานาญงาน 086-7840472
3 นายธรรมรัตน์ แย้มขจร เจ้าพนักงานการศาสนาปฎิบต
้ งิ าน 089-7725238
4 นายอมรพรรณ บํารุผ
งล เจ้าพนักงาน การศาสนาชํานาญงาน 081-7014108
5 นายสําเริงปานนุ้ย เจ้า พนักงานการศาสนาชํานาญงาน 089-9205030
6 นางนันทภรณ์ ทองพันรุ เจ้าพนักงานการศาสนาชํานาญงาน
7 นางภัทราพร บัวแก้ว เจ้าพนักงานการศาสนาปฏิบต
้ งิ าน 081-2564790
8 นายวิภาค ล้อมเล็ก เจ้าพนักงานการศาสนาปฏิบัตง
ิ าน 081-9301795
9 นายสุริยา สุ ตะโท เจ้าพนักงานการศาสนาปฏิบัตง
ิ าน 089-7634810
10 นายสงคราม ไชยนาม เจ้าพนักงานการศาสนาปฏิบต
ั งิ าน 089-1477106
11 นางคชาภรณ์ คํา
สอนทา นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การ 081-9317860
12 นายธีรพงภั ฟังเร็ว นักวิชาการศาสนาชํานาญ
การ 081-8806944
13 นางภนิดา หมอนสุวรรณ เจ้าพนักงานการศาสนาชํานาญงาน 089-5058492

ลูกจ้าง
ลําดับ ร็เอ - นามสกุล ตําแหน่ง เบอร์โทรดัพท์ หมายเหตุ
1 นายพะ ดล ประจงไสย พนักงานขับรก 083-2969517

2 นาย มนตริ รอดประชา พนักงานขับ?ถ 086-7608351

3 นายติเรก ปานนุ้ย พนักงานขับรถ 083-6158423


’ร* ดู'มอกา5llg บัตงิ าน
ส์านักงานพระ ทุท* ศาสนาแห่งชาติ

5. ขั้นตอนการปฏิบัตงิ าน (Flowchart )

ไม่
่ ับคํา
เจ้าหน้าทีร ร้อง/ตรวจสอบ

หลักฐาน มีความน่าเชื่อถือหรือ ไม่ + ขอหลักฐานเพิ่มเติม

มี

วิเคราะห์คํา
ร้อง/ข้อร้องเรียน

สรุปนํา
ถวายเจ้าคณะ ผูป
้ กครองสงฆ์
ทีเ่ กี่ยวข้องทราบและดําเนินการ

้ กครองสงฆ์พิจารณาแนว
เจ้าคณะผูป
ทางแก้ไขปีญหา/ข้อร้องเรียนแล้วแจ้ง
สํานักงานพระ ทุทธศาสนาแห่งชาติ
ทราบและดําเนิน
การ

ติดตามผลการดําเนินงาน

แจ้งผลการดําเนินงาน ให้

ผูร้ ้องเรียน ทราบ

11
m
'ÿÿ ดู่มอการ ปฎินต
ั ิงาน
ส์านักงานพระ ทุทธศาสนาแห่งชาติ

รายละเอียดขั้นดอนการปฎิบัดงิ าน

ตาม Flowchart กระบวนงานการจัดการข้อร้องเรียนการล่วงละเมิดพระธรรมวินัย


มิขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 เจ้าหน้าทีส่ ่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนาร้บคํา
ร้อง/ข้อร้องเรียนและตรวจสอบ

หลักฐานว่า มิความน่าเชื่อถือหรือไม่ และหากเอกสารไม่เพียงพอหรือไม่ครบถ้วนก็ประสานขอเอกสาร


เพิ่มเติม
- มาตรฐานคุณภาพงาน ะ
่ รวจสอบเอกสารหลักฐานให้ชัดเจน ป้องกันการผิดพลาด
1. เจ้าหน้าทีต

2. ใช้เวลาดําเนิน
การ 2 วัน
ขั้นตอนที่ 2 เจ้าหน้าที่ วิเคราะห์คํา
ร้อง/ข้อร้องเรียน สรุปนํา
ถวายเจ้าคณะผูป้ กครองสงฆ์
ทีเ่ กี่ยวข้องทราบและดําเนินการตามความเหมาะสม
- มาตรฐานคุณภาพงาน :
้ กครองสงฆ์เป็นผู้มอ
1. เจ้าคณะผูป หน้าทีใ่ นการปกครองดูแลพระภิกษุในลังกัด
ี ํานาจ
ตามพระธรรมวินัย
2. ใช้เวลาดําเนิน
การ 3 วัน
ขั้นตอนที่ 3 ้ กครองสงฆ์พิจารณาแนวทางแกไขปัญหา/ข้อร้องเรียนแล้วแจ้ง
เจ้าคณะผูป

สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติทราบและดําเนินการ
- มาตรฐานคุณภาพงาน :

้ กครองสงฆ์พิจารณาแนวทางแกไขปัญหา/ข้อร้องเรียน
1. เจ้าคณะผูป ดําเนินการตาม
การในส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง
พระวินัย และแจ้งสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติทราบและดําเนิน
2. ใช้เวลาดําเนิน
การ 5 วัน
ขั้นตอนที่ 4 สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติติดตามผลการดําเนินงาน

•มาตรฐานคุณภาพงาน :

1. สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติติดตามผลการพิจารณาและผลการดําเนินงานเพื่อ
แจ้งผูร้ ้องเรียนทราบและการสถิติ

2. ใช้เวลาดําเนิน
การ 3 วัน

12
ภู่มอกา!ปฐบ้ร4าน
ฟ้านัก งานห:ะ ทุท!ศาสนาแห่*าทติ

ขั้นคอนที่ 5 แจ้งผลการดําเนินงานให้ผรู้ ้องเรียนทราบ

- มาตรฐานคุณภาพงาน ะ
1. มีการแจ้งผลการดําเนินงานให้ผรู้ ้องเรียนทราบตามระยะเวลาทีเ่ หมาะสม

2. ใช้เวลาดําเนิน
การ 2 วัน

6. เอกสารอ้างอิง

คู่มีอการปฏิบัตงิ านการจัดการข้อร้องเรียนที่มผ
ี ลกระทบต่อพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย
เอกสารอ้างอิง เพื่อให้การปฏิบัตงิ านถูกต้องสมบูรณ์ ได้แก่
ิ ณะสงฆ์ พ.ศ.2505 และแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตค
1. พระราชบัญญัตค ิ ณะสงฆ์
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2535

2. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2521) ว่าด้วยการลงนิคหกรรม


3. กฎ มหาเถรสมาคม ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2535) ว่า ด้วยจํานวน
และ เขตการปกครอง
คณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค และกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 22 (พ.ศ.2539) แก้ไขเพิ่มเติม กฎมหาเถรสมาคม
ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2535) ว่าด้วยจํานวน
และเขตปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค
4. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 17 (พ.ศ.2536) ว่าด้วยการแต่งตั้ง ถอดถอนพระอุปัชฌาย์
และกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 26 (พ.ศ.2546) แก้ไขเพิ่มเติมกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 17 (พ.ศ.2536)
ว่าด้วยการแต่งตั้ง ถอดถอนพระอุปัชฌาย์

5. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 18 (พ.ศ.2536) ว่าด้วยการแต่งตั้งถอดถอนไวยาวัจกร

6. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 21 (พ.ศ.2538) ว่าด้วยการให้พระภิกษุสละสมณเพศ


7. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2541) ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ และ
กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 27 (พ.ศ.2546) แก้ไขเพิ่มเติม กฎมหาเถรสาคม ฉบับที่ 23 (พ.ศ.2541)
ว่าด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์

8. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 24 (พ.ศ.2541) ว่าด้วยการแต่งตั้ง ถอดถอนพระสังฆาธิการ


และกฎมหา เถรสมาคม ฉบับที่ 28 (พ.ศ.2546) แก้ไขเพิ่มเติม กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 24
(พ.ศ.2541) ว่าด้วยการแต่งตั้ง ถอดถอนพระสังฆาธิการ

9. กฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ 25 (พ.ศ.2545) ว่าด้วยการโอนอํานาจ


หน้าทีข่ องกรมการ-
ศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ มาเป็นอํานาจ
หน้าทีข่ องสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
10. ระเบียบมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการร้องทุกข์ พ.ศ.2537
ถู่มอการปฎิบต
ั ิงาน
ส์านักทน พร!:ทุท!สาสนาแห่งขาติ

11. ระเบียบมหาเถรสมาคม ว่าด้วยการจัดงานวัด พ.ศ.2537

12. คําสั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง ห้ามภิกษุสามเณรเที่ยวเตร็ดเตร่ และพักค้างแรมตาม


บ้านเรือน พ.ศ.2521

13. คําสั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ศ.2538


14. คําสั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง ห้ามพระภิกษุสามเณรเรียนวิชาชีพ หรือสอบแข่งขัน หรือ
สอบคัดเลือกอย่างคฤหัสถ์ พ.ศ.2538
15. คําสั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง ควบคุมการเรี่ยไร พ.ศ.2539
16. คําสั่งมหาเถรสมาคม ประกาศคณะสงฆ์ เนื่องในกรณีต่าง ๆ
17. มติกังฆมนตรี และมติมหาเถรสมาคม เนื่องในกรณีต่าง ๆ

7. แบบฟอร์มทีใ่ ช้ในการปฏิบัตงิ าน

ี ลกระทบต่อพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย แบบฟอร์มที่ใซใน


การจัดการข้อร้องเรียนที่มผ
การปฏิบัตงิ าน คือ
1. ตัวอย่างหนังลือร้องเรียน

2. ตัวอย่างหนังสือแจ้งผูร้ ้องและหนังสือร้องเรียนทางโทรศัพท์

3. ตัวอย่างหนังสือให้ถ้อยคํา

4. ตัวอย่างหนังสือแจ้งเจ้าคณะผูป
้ กครองสงฆ์
5. ตัวอย่างหนังสือแจ้งสํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด

6. ตัวอย่าง คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
7. ตัวอย่างรายงานการสอบสวน

8. ตัวอย่างหนังสือแจ้งผูร้ ้องและผูเ้ กี่ยวข้อง


พ ่ ็อการปฏิบัติงาน
คูน
ส์าน้'กงาน หระ ทุท* ศาสนาแห่งรทติ

ตัวอย่างหนังสือร้องพียน

เขียนที่
วันที่ เดือน. .พ.ศ
A
เรอง

เรียน
สิงทีส่ ่งมาด้วย

ข้าพเจ้า นามสกุล อายุ .ปี


เชอ1ชาติ สัญชาติ .ศาสนา .อยู่บ้านเลขที่
ตําบล... .อําเภอ .จังหวัด
ด้วยความสัตย์จริง โดยขอยื่นคํา
ขอให้ถ้อยคํา ร้องเรียน

ดังมีข้อความต่อไปนี้

เมื่อวันที่ เดือน. .พ.ศ. ได้พบเห็นพฤติการณ์ของ

ณ สถานท
A
.โดย
ได้พบเห็นพฤติการณ์เช่นนีม้ าแล้ว
่ วรเชื่อถือได้เป็นพยานคือ
และขออ้างบุคคลทีค

จึงขอความกรุณาเพื่อขอให้...
พิจารณาดําเนินการในส่วนทีเ่ กี่ยวข้องต่อไป

ขอแสดงความนับถือ

ผูร้ ้องเรียน
A
ลงซอ

15
1๙ ี กแปฐนัฅงิ าน
ภู่ปอ
ฟ้านักงานาแะทุท*ศาสนาแห่งาเาศิ

บันทึกข้อมูลร้องเรยนทางโทรศัพท์
ส่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
************
เรียน ผูอ้ ํานวย
การสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และมอบ.

ลงชอ
A

(นายวิชัย ธรรมเจริญ)
ผูร้ ัน เรื่อง'ร้องเรียน ผอ.สฅพ.

16
๒๗ ดู่ร!!อการปฏิบัติงาน
สํานักงงนพระ ทุทธศาสนาแห่งแาติ

ตัวอย่างหนังสือให้ถ้อยคํา

เขียนที่....

วันที่. .เดือน. .พ.ศ.

เรื่อง ร้องเรียน.

ข้าพเจ้า. นามสกุล. .อายุ. .ปี


เชื้อชาติ. สัญชาติ, .ศาสนา. ่ ้านเลขที่
.อยูบ
ตําบล... .อําเภอ. .จังหวัด
กับ เจ้า หน้าที่ ส่วน คุ้ม ครองพระ พุทธ ศาสนา สํานักเลขาธิการ มหา เถรสมาคม
ขอให้ ถ้อยคํา
ด้วยความสัตย์จริง ดังมีข้อความด้งต่อไปนี้

่ ใี่ ด และประกอบอาชีพใดบ้าง ?
ถาม ปัจจุบันพักอยูท
ตอบ

ถาม จะร้องเรียนหรือร้องทุกข์เรื่องใดบ้าง
ตอบ

ถาม ทราบรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องด้งกล่าวอย่างไร ?
ตอบ

การประสานไปแล้วอย่างไรบ้างกับคณะสงฆ์
ถาม ทราบแล้วได้ดําเนิน
ตอบ

ถาม การมาร้องเรียนกับ เจ้า หน้าที่ ส่วน คุ้มครองพระ พุทธศาสนา มี เอกสารใด นํา


เพื่อประกอบการพิจารณาหรือไม่ ?
ตอบ

ถาม มีสาเหตุโกรธเคืองกับผูถ
้ ูกร้องเรียนหรือไม่ ?
ตอบ

17
คูม
่ ือการปฏิบัตงิ าน
ฟ้านัก งานพระ ทุทธศาสนาแห่งชาติ

ข้อความดังกล่าวข้างต้น ขอรับรองว่าเป็นความสัตย์จริงทุกประการ จึงขอลงลายมือชื่อไว้


เป็นหลักฐาน และขอให้เจ้าหน้าที่ส่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา ได้ประสานงานกับคณะสงฆ์ และ
หน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อต่อไป

A
ลงซอ .ผูใ้ ห้ถ้อยคํา

ลงชื่อ. .ผูบ
้ ันทึก

18
พ ดู' มอการ ปฏิบัตท
ิ น
ส์าบักงานพระ ทุทธศาสนาแห่พติ

ตัวอย่างหนังสือแจ้งเจ้าคณะผูป
้ กครองสงฆ์
ครุฑ

ที่ พศ 0006/ สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

อําเภอพุทธมณฑล
จังหวัดนครปฐม 73170

ตุลาคม 2553
เรอง

นมัสการ

สิงทีส่ ่งมาด้วย.

ด้วย (นาย ี นังสือถึงสํานักงาน


ผูใ้ ช้นามว่า) ได้มห
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ เพื่อขอให้ตรวจสอบซึ่งหนังสือร้องเรียนมีช้อความทีเ่ กี่ยวช้องกับเจ้าอาวาสวัด
.อําเภอ .จังหวัด
ซึ่งการร้องเรียนกล่าวโทษด้งกล่าวส่งผลกระทบอันก่อให้เกิดความเสืยหายแก่เจ้าอาวาสวัดโดยตรง ความ
ละเอียดปรากฏตามสําเนาเอกสารทีแ่ นบถวายมาพร้อมนี้

สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้บังเกิดผลดีแก่การคณะสงฆ์
และการพระศาสนา จึงขอถวายเรื่องให้เจ้าคณะ. หน้าทีต่ ่อไป
.พิจารณาตามอํานาจ
จึงนมัสการมาเพื่อโปรดพิจารณา ผลเป็นประการใดกรุณาแจ้งให้สํานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติทราบ จะเป็นพระคุณอย่างยิ่ง

ขอนมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง

สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
โทร. 0 2441 4547
โทรสาร 0 2441 4547
19
ดู่ม็อการ ปฏิบัติงาน
ฟ้านักงานพระ ทุทธศาสนาแห่ง!ทติ

ตัวอย่างหนังสือแจ้งสํานัก
งานพระพุทธศาสนาจังหวัด
ครุฑ

ทิ พศ 0006/ สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
อํ๓
าอพุทธมณฑล
จังหวัดนครปฐม 73170

ตุลาคม 2553
เรอง

เรียน

สิงทีส่ ่งมาด้วย.

ด้วย (นาย ผูใ้ ช้นามว่า) ได้มีหนังสือแจ้งสํานักงาน


พระพุทธศาสนาแห่งชาติ เพื่อขอให้ตรวจสอบซึ่งหนังสือร้องเรียนมีช้อความทีเ่ กี่ยวข้องกับเจ้าอาวาสวัด
.อํ๓
าอ. .จังหวัด
การร้องเรียนกล่าวโทษดังกล่าวส่งผลกระทบอันก่อให้เกิดความเสียหาย แก่เจ้า อาวาสวัดโดยตรง
ความละเอียดปรากฏตามสําเนาเอกสารทีแ่ นบมาพร้อมนี้

สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้บังเกิดผลดีแก่การคณะสงฆ์
และการพระศาสนา จึงขอมอบเรื่องให้สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด.... .ประสานกับ
คณะสงฆ์จังหวัด หน้าทีต่ ่อไป
ตรวจสอบตามอํานาจ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ผลเป็นประการใดกรุณาแจ้งให้สํานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติทราบ จะขอบคุณยิ่ง

ขอแสดงความนับถือ

สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
โทร. 0 2441 4547
โทรสาร 0 2441 4547

20
m
พ* ดู่ม็อการ ปฎินต
ั ิงาน
ส์า นัก งานพระ ทุท!ทส นาแห่งรทติ

.....
ตัวอย่าง คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ/สอบสวน

ตราธรรมจักร

คําสั่ง. .(ออกชื่อวัดหรือตําแหน่งเจ้าคณะ)
ท ./. (ปีทอี่ อกคําสัง)่
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ/สอบสวน

........
ด้วยพระ. .ฉายา .ตําแหน่ง

วัด ตําบล/แขวง .อํ๓


าอ/เขต
จังหวัด มีกรณี.

ตามความในข้อ
ฉะนั้น อาศัย อํานาจ แห่งกฎ มหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓
(พ.ศ.๒๕๑๑) ว่า ด้วยระเบียบการปกครองคณะสงฆ์ จึงแต่งตั้งกรรมการขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อทําการ
ตรวจสอบเรื่องนี้ ประกอบด้วย
๑. พระ. .ตําแหน่ง. .เป็นประธานกรรมการ
๒. พระ. .ตําแหน่ง. .เป็นกรรมการ
๓. พระ. .ตําแหน่ง. .เป็นกรรมการ
๔. พระ. .ตําแหน่ง. เป็นเลขานุการคณะกรรมการ

ทั้งนี้ ให้คณะกรรมการดําเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง แล้วรายงานผลการตรวจสอบเพื่อ


พิจารณาดําเนินการต่อไป
สั่ง ณ วันที่. เดือน พ.ศ.

เจ้าคณะ.

21
พ. ดู่มอการปฎิบต
ั ิงาน
ส์านักงาน หระ ทุทธพาสนาแห่งรทติ

หมายเหตุ : (๑) ถ้าเจ้าอาวาสสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ให้อาศัยอํานาจ


ตามความ
ในมาตรา ๓๗ และ ๓๘ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
(๒) ถ้าเป็นเจ้าคณะชั้นใดชั้นหนึ่งสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน ให้อาศัยอํานาจ

ในกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๓ (พ.ศ.๒๕๙๒) ว่าด้วยระเบียบการปกครอง


คณะสงฆ์ ด้งนี้
ก. เจ้าคณะภาค ตามความในข้อ ๑๐
อาศัยอํานาจ
ข. เจ้าคณะจังหวัด ตามความในข้อ ๑๕
อาศัยอํานาจ
ตามความในข้อ ๒๐
ค. เจ้าคณะอําเภออาศัยอํานาจ
ตามความในข้อ ๒๕
ฆ. เจ้าคณะตําบลอาศัยอํานาจ

๒. แจ้งคําสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนให้กรรมการทุกรูปทราบ
คําสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนนั้น จะส่งต้นฉบับคําสั่ง หรือสําเนาคําสั่งไปให้
กรรมการลงชื่อรับทราบก็ได้

๓. ส่งเรื่องกล่าวหาไปให้ประธานกรรมการ

เรื่องที่กล่าวหานั้น อาจ เป็นเรื่องที่มีผรู้ ้องเรียนขึ้นมา หรือบัตรสนเท่ห์ หรือบันทึกของ


่ ราบพฤติการณ์นั้นส่งมาให้กไ็ ด้ หรือมีผู้รอ้ งทุกข์ หรือกล่าวโทษ หรือกล่าวหาก็ได้
ผูบ้ ังคับบัญชาทีท

หน้าทีใ่ นการออกหนังสือเรียก
ู้ ูกกล่าวหาทราบ ให้ปฏิบัตติ ามอํานาจ
ส่วนการแจ้งให้ผถ

22
0 ่ อการปฐิบศ
คูม ั ิงา น
รานักงานพระ ทุท!!ศาสนาแห่งรทร

ตัวอย่างรายงานการสอบสวน

ตราธรรมจักร

รายงานการสอบสวน
A
เรอง

เสนอ.

ตามคํา
ที่. ,/๒๕. .ลงวันที่ เดือน.. .พ.ศ.
ตั้งให้กระผม ผู้มนี ามข้างท้ายนีเ้ ป็นกรรมการสอบสวนเรื่อง.

การสอบสวนเสร็จแล้ว ข้อเท็จจริงได้ความดังต่อไปนี้
คณะกรรมการสอบสวนได้ทํา

คําผกู้ ล่าวหา ผูถ้ ูกกล่าวหา พยานหลักฐานทุกปาก ส่วนความเห็นนั้นให้อ้าง


(ข้อเท็จจริงนั้น ให้กล่าวถึง

เหตุผล พระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ระเบียบมหาเถรสมาคม และประกาศทางคณะสงฆ์ เป็นด้น


ประกอบด้วย)

คณะกรรมการสอบสวนได้พิจารณาแล้ว เห็นว่า.

ลงชื่อ. .ประธานกรรมการ
-I
ลงซอ .กรรมการ
A
ลงซอ .กรรมการ
A
ลงซอ .เลขานุการคณะกรรมการ

23
ภู่ม็อการปฎิบต
้ งิ าน
if านักงานพระ ทุทธศาสนาแห่งชาติ

ตัวอย่างหนังสือแจ้งผูร้้ องทราบ

ครุฑ

ท พศ 0006/ สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
A

อํ๓
าอพุทธมณฑล
จังหวัดนครปฐม 73170

ตุลาคม 2553
A
เรอง

เรียน
อ้างถึง หนังสือของท่าน ลงวันที่ เดือน. .พ.ศ.

....
ตามหนังสือที่อ้างถึง ท่านขอให้สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติตรวจสอบข้อเท็จจริง
กรณีการร้องเรียนกล่าวโทษเจ้าอาวาสวัด อําเภอ
จังหวัด ความละเอียดแจ้งแล้ว นั้น

สํานักงานพระ พุทธศาสนาแห่งชาติขอเรียนว่า ได้ถวายเรื่องไปยังให้เจ้าคณะจังหวัด


พิจารณาดําเนินการแล้ว พอสรุปผลได้ว่า

จึงเรียนมาเพื่อทราบ

ขอแสดงความนับถือ

สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
โทร. 0 2441 4547
โทรสาร 0 2441 4547
24
พ คุ่มิอการปฎิบ้ติงาน
if านัก งาน พ? ะทุทธ สาสนาแน่งชาติ

8. เอกสารบันทึก

ซึ่อเอกสาร ผูร้ ับผิดชอบ สถานที่จัดเก็บ ระยะเวลา วิธกี ารจัดเก็บ


เรื่องร้องเรียนการ นักวิชาการศาสนา ตูเกบเอกสารของ เรียงตามวันทียื่น
fix C3

ละเมิดพระวินัย ชํานาญ
การ ส่วนคุ้มครอง หนังสือ
พระพุทธศาสนา

อนึ่ง การจัดการข้อร้องเรียนที่มี ผลกระทบต่อพระพุทธศาสนา กรณีมีการร้องเรียน


พฤติกรรมไม่เหมาะสมของพระภิกษุสามเณร เป็นต้นว่า บิณฑบาตขาด ความสํารวมการเรี่ยไร
การปักกลดตามย่านชุมชน การพักค้างแรมตามบ้านเรือน เสพยาเสพติด เล่นการพนัน สามารถประสาน
การได้ภายใน 15 วัน ตามทีป่ รากฏในขั้นตอนการปฏิบัตงิ านดังกล่าว
้ กครองสงฆ์ดําเนิน
เจ้าคณะผูป

ส่วน กรณีการร้อง เรียน พระ ภิกษุสามเณรล่วง ละเมิด พระธรรมวินัยร้าย แรง อาทิ


การเสพเมถุน การลักทรัพย์ การฆ่า มนุษย์ และการอวดอุตริมนุษยธรรม กรณีด้งกล่าว อาจจะต้องใช้
การพอ สมควร ซึ่ง อยูใ่ นดุลยพินิจ ของ เจ้า คณะผู้ปกครองจะพิจารณา สํานักงาน
เวลาการดําเนิน
พระพุทธศาสนาแห่งชาติมห
ี น้าทีป่ ระสานเจ้าคณะผูป้ กครองสงฆ์ให้ดําเนินการ เพื่อแจ้งให้ผรู้ ้องทราบ
ต่อไป

25
าน
่ อการปอิบั
;?
'ไ -:
ภูม

ส์ใ3ก,านพระ ทุท**


2W:
Si-
•;/•. >:

K
พ-

แr [รุ;
- 5:
•ไ:

I
โ:'

m
ร;.:
ะ.:

li-

26
๖๖๗

«1*
ค้าสง มหาเถรสมาคม
o

1รี่อง ห้ามพระ ภิกษสามIณรเกี่ยวข้องกับการ1มอง


พ.ศ. ๒๕๓๘

* อาศัยอํานาจ
ตามความใน มาตรา
แก้ไขเพิ่มเตํมโตยพระราชบัญญ้ ตคณะสงฆ์
ตรื แห่ง พระราชบัญญ้ ตคณะสงฆ์

(ฉบับที่ ๒) พ.ค. ๒๕๓๕ มพาเถรสมาคมจืงออก


พ.ค. ๒๕0๕

อํา
สงไว' ศังต่อไปนี้

ข้อ ๑ อํา
สั่งมหาเถรสมาคมนี้ เรืบกว่า “อํา
สั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง ห้ามพระภกษุ

สามเณรเกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ค. ๒๕๓๘”

ข้อ ๒ อํา
สั่ง มหาเถรสมาคมนี้ ให่ใข้บังคับตั้งแต่ วันถัตจาก วันประ กาคใน
แถลงการณ์คณะ สงฆ์ เป็นข้นไป
ข้อ ๓ ตั้งแต่วันใข้อํา
สั่ง มหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลกอํา
สั่งมหาเถรสมาคม เรื่อง
ห้ามพระ สงฆ์เกี่ยวข้องกับการเมือง พ.ค. ๒๕๑๗
ข้อ ๔ ห้ามพระ ภํกษุสามเณรเข้าไปในทีช่ ุมนุม หรอในบร๊เวณสภาเทคบาล หรอ
่ ุมนุมทางการเมือง ไม่ว่ากรณ์ใต ๆ -
สภาการเมืองอึ๋นใต หรอในทีช
(
ข้อ ๕ ห้ามพระภกษุสามเณรห้าการใต ๆ อันเป็นการสนับสนุนข้วยเหลอโตยตรง
หรือโตยอัอมแก่การหาเสืยง เพิ่อการเสือกตั้ง สมาชกสภาผูเทน
เ ราษฎร หรือสภาเฑคบาล
หรือสภาการเมืองอีน่ ใตแก่บุคคลหรือคณะบุคคลใตๆ
ข้อ ๖ ห้ามพระ ภํกษุ สามเณรร่วมชุมนุมในการเรื่ขกวัองสิทธของบุคคลหรือคณะ

บุคคลใตๆ
ข้อ ๗ ห้ามพระ ภํกษุสามเณรร่วม อภํปราย หรือบรรยายเรื่องเกี่ยวกับการเมืองซึ๋ง
จัตตั้งขึ้นตั้งในวัตและ นอกวัต

•ประ กาสในแ ทรงการณ์คณะ สงฆ์ เร่ฆ •๔๓ คอนที่ ๓ วันที่ ๒๕ •มกราคม ๒๕๓๔
๖๖๘

ข,อ ๘ ร
ให้mะล้งฆาธิการดั้งแด่ชั้นเจ้าอาวาสชั้นไป ผู้! อํานาจ
หห้าทีใ่ นทางปกครอง
่ ปกครองของตนให้ทราบคํา
ขแจงแนะน่าผูอ้ ยูใน ดั้งมหาเถรสมาคมนี้ และกวคขันอย่าให้ มการ
ฝ่า?เนละเมด
ขัอ ๙ พระ ภิกษุสามเณรรูปใดฝ่า?เนละเมดคำดั้ง มหาเถรสมาคมนี้ ให้พระสังจทธํการ
้ กครองใกลชดคําเนินการตามอํานาจ
ผูป หน้าทีข
่ องตน
ถ้าความผํดเกดชั้นนอกเขตส้งกัด ให้เจ้าคณะเจ้าของเขดที่ความผดเกดชั้นว่ากล่าว
คักเด็อนแล้วแจ้งให้พระล้งจทธิการผูป้ กครองใกล้ชิดคําเนินการ
ขัอ ให้พระ สังจทธิการผู้ปอ หน้าทีใ่ นทางปกครองทุกชั้นปฎิบัตการให้เป็นไป
ี ํานาจ
ดามคํา
ดั้งมหาเถรสมาคมนีโ้ ดยเคร่งครัด'’
t-
ดั้ง ณ วันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๘

(สมเด็จพระญาณล้งวร)
สมเด็จพระล้งจ)ราข สกลมหาล้งจ)ป?ณายก
ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม

หมานเหๆ .•- เหตุผลในการประกาศใช้คํา


ดั้งมหาเถรสมาคม ห้ามหระภิกษุสามเณรเกี่ยวช้องกับการเมอง
ห.ศ. ๒๕๓๘ เนองจากมาตรา •๘ นห่งหระราขบัญญ้ตคณะสงน้ ห.ศ. ๒๕๐๕ ให้อํานาจ มหาเถรสมาคม
ตรากฎมหาเถรสมาคม ออกช้อบังคับ วางระเปียบ หรอออกคํา ดั้งของมหาเทรสเทคม ไคัถูกยกเรกและ
(
ไคับญ
ั ญ้ตอ
ิ ํานาจ
หน้าทีข่ เ)งมหาเถรสมาคมตังกล่าวใหม่ เป็นมาตรา ต? แพ่งหระราชบัญญ้ตคิ ณะสงฟ้
ห.ศ. ๒๕๐๕ นกไขเที่มเติมโตยหระราขบัญ qjiคณะ สงม์ (ฉบับที่ ๒) ห.ศ.๒๕๓๕ จงจําเป็นคัองออกคํา
ดั้งมหาเถรสมาคมนี้
๒ โตยที่พระภิกษุสงนํไคันามว่าสมณะแปลว่า ผูส้ งบ ไคันามว่า บรรพชิต แปลว่าผู้เจ้นภิจกรรม
อันเศรัาหมอง มโทษสมควรเป็นผู้คัทรระวังการกระท่าของตนให้เป็นไปแต่ในทางสงบปราศจากโทษดั้งแก่
ตนดั้งแก่หม่คณะ คัวยเหตุนห
ี้ ระบรมศาสตาจืงทรงบัญญ้ตสิ ิกขาบท ห้ามหระภิกษุสงฟ้’มให้ประพฤตินอก
ทางของสมณะบรรพชิต ทรงปรับโทษแก่ผูฝ่้ า?!นละเปีตในการทีบ
่ ้านเมองปีการเลอกดั้งผูแทน
้ ราษฎรเช้า
เป็นสมารกแพ่งสภาผูแทน
้ ราษฎร 4เงเป็นตุรกํจฝ่ายบ้านเมองเป็นหน้าทีข่ อง ้ สิทธิตามกฎหมาย
ราวาสผูม
จ]

่ อกเหนิอการเมอง
โตยเฉหาะไม่ใช่หน้าทีข่ องพระภิกษุสามเณรผูอ้ ยูน ไม่ปส
ี ิทธิลงคะแนนเลอกดั้งไม่ปสี ิทธิ
สมัครรับเลอกดั้ง นมัผโู้ ล้รับเลอกเป็นสมาชิกสภาผู้นทนราษฎรแล้ว หากบวชเป็นพระภิกษุสามเณรใน
หระพุทธศาสนากขาตจากสมาชิกภาพแพ่ง สภาผูแ้ ทนราษฎรทันที ช้อนีแ้ สตงว่าความเป็นหระภิกษุสามเณร
QL>
คาส งมหาเถรสมาคม
o

่ ง ควบคุมการเรี่ยไร
เรีอ
พ.ศ. ๒๕ ต๙

- — —

ตามความในมาตรา ๑ ๕ ตรี
อาศัยอํานาจ แห่งพระราช บัญญัตค
ิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระ ราช บัญญ้ติ คณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ มหาเถรสมาคมจึงออกคํา
ดังไว้
ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ดัง มหา เถรสมาคมนี้ เรียก1ว่า “ค0'าดังมหาเถรสมาคม เรื่อง ควบคุมการเรี่ยไร
คํา
พ. ศ. ๒๕๓๙"'
ข้อ ๒ ดังมหา เถรสมาคมนี้
คํา ให้ใช้บังดับตั้งแต่วันถัดจากวันประ กิาศ ในแถลงการณ์
~

I คณะสงฆ์ เป็นต้นไป
ข้อ ๓ ตั้งแต่วันใช้คํา ดังมหาเถรสมาคม เรื่อง ควบคุม
ดังมหาเถรสมาคมนี้ ให้ยกเลกคํา
การเรี่ยไร พ. ศ. ๒๕๒๗
ข้อ (C ดังนี้ การเรี่ยไร หมายถึง การขอรวมตลอดถึงการซื้อขายแลกเปลี่ยน ชดใช้
ในคํา
หรือบริการ ซึ่งมีการแสดงโดยตรงหรือโดยอ้อม ว่ามีใช่ เป็นการซื้อขายแลกเปลี่ยน ชดใช้ หรือบริการ
ี วามหมายถึง การออกเรี่ยไรการแจกซองฎีกา การบอกบุญบนรถโดยสาร
ตามธรรมดา และให้มค
การกั้นรถโดยสาร การใช้ยานพาห14ะบรรทุกลูกนิมิต พระพุทธ 2ปประพรมนี้าพระพุทธมนต์ การตั้ง
องค์กฐินผ้าปาตามสถานเที่ ต่างๆ การบฉกบุญโดยใช้บาตรจําลองกระบอกไม้ไผ่ กระป่องผ้าปา
การโฆษณา บอกบุญทางสถานีวิทยุ กระจาย เสียง ทางสถานีโทรทัศน์ หรือทางลี่อมวลชน อื่นๆ
เพื่อรวบรวมทรัพย์สินที,ได้มาทงหมดหรือบางส่วนไปใช้ในกิจการอย่างใดอย่างหนึ่ง
ข้อ ๕ ห้ามมีให้วัดหรือพระภิกษุ สามเณรทํา
การเรี่ยไร หรือมอนหมายหรือยินยอมให้ผู้อื่น
การเรี่ยไร ตั้งโดยทาง ตรงและโดยทางอ้อม เพื่อประโยชน์แก่วัดหรือพระศาสนา หรือเพื่อประโยชน์
ทํา
อย่างอื่นใด แก่ ตนหรือ ผู้อื่นเว้นแต่ใน กรณี ที่กําหนด ดังมหาเถรสมาคมนี้
ไว้ในคํา

๑๒๘
แร:เทmiร: ร]เพ้ญญ้ทิแ ทเ: (น)!'!
ข้อ ๖ กุศลในวัด ซึ่งเป็นงานประ จําปีหรืองานพิเศษถ้าจะ มีการ
ในกรณีที่มีการบําเพ็ญ
เรี่ยใร การโฆษณาเรี่ยไร และ การรับเงิน หรือทรัพย์สินจากการเรี่ยไรให้ กระทําได้เฉพาะ ภายใน
บริเวณวัด ห้ามมีให้กระทํน
าอกบริเวณวัด
ข้อ ๗ ให้มค
ี ณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไร ๒ คณะ
(๑) คณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรส่วนกลาง ซึ่งสมเด็จพระทังฆราช ทรงแต่งตั้ง
ตามมติมหาเถรสมาคม มีจํานวนไม่ตากว่า ๕ ไม่เกิน ๙ มีอํานาจ
หน้าที่ ดังนี้
(๑. ) อนุ}งิแติ และ ควบคุมการเรี่ยไร,ทั่วประเทศ
(๑.๒) อนุมีติและ ควบคุมการเรี่ยไร ทางสถานีวิทยุ ทางโทรทัศน์ และทาง
อื่อมวลซนอื่นๆ
(๑.๓) ่ ิดวัตกุประสงค์หรือไม่เหมาะลม
เพิกถอนการเรี่ยไรทุกประเภททีผ
ปฎิบต
(๑. <r) ิ น้าทีอ่ ื่นเกี่ยวกับการเรี่ยไรตามที่ มหาเถรสมาคมมอบหมาย
ั ห
(๒) คณะ กรรมการควบคุม การเรี่ยไรส่วนจังหวัด ซึ่งเจ้าคณะ จังหวัดเจ้าทังกัด
แต่งตั้งมีจํานวน
ไม,ต รก หน้าที่ดังนี
ว่า ๕ ไม่เกิน ๙ โดยมีเจ้าคณะ จังหวัด เป็นประธานมีอํานาจ

(๒.๑) ิ ละควบคุมการเรี่ยไรภายใไ}จังหวัด
อนุมัตแ
(๒.๒) ิ ละ ควบ คุมการเรี่ยไรของจังหวัดอื่นที่มาขอเรี่ยไรในจังหวัดที่
อนุมัตแ
รับผิดชอบ
(๒.๓) ่ ิดวัตถุประสงค์หรือไม่เหมาะลม
เพิกถอนการเรี่ยไรภายใไ}จังหวัดทีผ
(๒. tr) ้ ิหน้าที่อื่นเกี่ยว กับ การเรี่ยไรที่คณะ กรรมการเรี่ยไรส่วน กลาง
ปฏิบต
หรือมหาเถรสมาคมมอบหมาย
ข้อ GT ถ้ามีกรณีจําเป็นจะ ต้องทํา
การเรี่ยไรนอกบริเวณวัด เพื่อก่อสร้างหรือปฎิทังขรณ์
ถาวรวัตถุใดถาวรวัตถุนั้นต้องได้มกี ารก่อสร้าง หรือปฏิทังขรณี1ว้แล้วไม่น้อยกว่าครึ่งของงานก่อสร้าง
หรือปฏิทังขรณ์ทั้งหมด และให้เจ้าอาวาส ปฏิบัตดิ ังต่อไปนี้
(๑) ให้รายงานขออนุมัตก ิ ารเรี่ยไร
(๑.๑) ในกรณีการเรี่ยไรภายใน จังหวัด เสนอผู้ บังคับบัญชาตาม ลําดับ

จนถึงเจ้าคณะอํ๓ าอเจ้าทังกัด เมื่อเจ้าคณะอํ๓าอเจ้าทังกัดเห็นชอบแล้วให้เสนอไปยังคณะ กรรมการ


ควบคุมการเรี่ยไรส่วนจังหวัดพิจารณาโดยผ่านสํานักงานเจ้าคณะจังหวัด
ในกรณีที่มีความประสงค์จะทํา การเรี่ยไรข้ามจังหวัดเมื่อได้รับอนุมัตใิ ห้ทํา
การ
เรี่ยไรภายในจังหวัดแล้ว ให้ทําเรื่องขอความเห็นชอบ จากคณะ กรรมการควบ คุม การเรี่ยไรของ
จังหวัดที่จะข้ามไปเรี่ยไร โดยผ่านสํานักงาน้เจ้าคณะจังหวัดเจ้าทังกัด

แร:น:)นพร: .ร น>รเรนั๊ พ I ๑๒๙ I



(๑.๒) ในกรณี ทารเรี่ยไรทั่วประIทศ เสนอผูบ จนถึง
้ ังคับบัญชาตามลําดับ
เจ้าคณะภาคเจ้าดัง กด เมื่อเจ้าคณะภาคเจ้าดังคัดพิจารณาเห็นชอบแล้ว ให้เสนอไปยังคณะกรรมการ
ควบคุมการเรี่ยไร?เวนกลาง เพื่อพิจารณาโดยผ่า!4สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม
ในรายงา14ขออนุบตั ทิ ํา
การเรี่ยไรตามความใน (๑. ๑) และ (๑.๒) ให้แสดงรายการ
การเรี่ยไร กำหนดเวลาทํา
ก่อสร้างหรือปฏิดัง ขรณ์ จํานวนเงินหรือทรัพย์สินที่จะทํา การเรี่ยไรและ
ข้อความที่จะโฆษณาเรี่ยไร
(๒) เมื่อได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการควบคุมการเรี่ยไรตามข้อ ๗ (๑) หรือ
ข้อ ๗ (๒) แล้ว จึงให้ จัดการอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรต่อไป
(๓) ในกรณีได้รับอใ 4 ญาตตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรแล้ว ห้าม

พระ.กิกนุสามเณรออกทํา ี ารตามทีก
การเรี่ยไรด้วยตนเอง และต้องปฏิบัตใิ ห้ชอบด้วยว้ธก ่ ําหนดไว้
ในกฎหมาย ว่าด้วยการควบคุมการเรี่ยไรทุกประการ
(or) เมื่อ ครบกําหนดเวลาทีไ่ ด้รับอนุญาตให้ทํา
การเรี่ยไรแล้วให้รายงานยอด
้ ังคับบัญชาตามลําดับจนถึงคณะกรรมการ
รายรับรายจ่าย เงินและทรัพย์สินใน การเรี่ยไรเสนอผูบ
ควบ คุม การเรี่ยไรตามข้อ ๗ (๑) ที่อนุญาต ผ่านลํา
หรือ ข้อ ๗ (๒) นักงานเจ้าคณะจังนุ วัด
นักเลขาธิการมหาเถรสมาคมแล้ว แต่ กรณี เมื่อได้ใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินไป
เจ้า ดัง คัด หรือลํา
ในการก่อสร้างหรือปฏิสังขรณ์ถาวรวัตถุนั้นเสร็จแล้ว ก็ให้รายงานตามลําดับ ดังกล่าวข้างต้น
ข้อ ๙ พระภิกชุ สามเณรIปใดฝ่าสินคําทั่งมหาเถรสมาคม
(๑) ถ้ามิได้เป็นพระ ดังฆาธิ การ

เมื่อเจ้าอาวาส เจ้าดังคัดได้ทราบความผิดนั้นแล้วให้จัดการให้พระภิกชุ
(๑. ๑)

สามเณร2 ปนั้นออกไปเสียจากวัด หากไม่ยอมออก เป็นการขัดคํา ดังของเจ้าพนักงานตามความ


ในประมวลกฎหมายอาญา ให้ขออารักขาจากเจ้าหน้าทีผ่ ่ายบ้านเมือง และให้บันทึกเหตุทใี่ ห้ออกนั้น
ในหนังสือสุทธิ ด้วย หรือ
(๑.๒)
1 ๆ บ
เมิอเจ้าคณะ เนเขตทความผิ
'ไ ร Jf ๆ
ดบัVนเกิ

ดขนได้ทราบความผิดนัน แล้ว
* 1/

้ ่าป็นมืดัง คัดอยูใ่ น จังหวัดเดียว คันให้แจ้งแก่เจ้าอาวาสผ่านเจ้าคณะจังหวัดเจ้าดังคัดแต่ถ้ามื


ถ้าผูฝ

่ ่างจังหวัดให้แจ้งแก่เจ้าอาวาส ผ่านเจ้าดังคัดเพื่อดําเนิน
ดังคัดอยูต การตามความใน (๑๑)

(๒) ถ้าเป็น,พระ ดัง ฆาธิการ ให้ เจ้าคณะเจ้าดัง คัดพิจารณาลงโทษฐานละเมิด


จริยาพระ ดังฆาธิการตามควรแก่กรณี แต่ถ้าพระดังฆาธิ การได้กระทํผ
าิดในเขตจังหวัดทีต
่ นมิได้
ดังคัดอยู่ ให้เจ้าคณะในเขตที่ความผิดนั้นเกิดขึ้นแจ้งแก่เจ้าคณะดังคัดของผูก
้ ระทํผ
าิดเพื่อดําเนินการ
ดังนี้
(๒.๑) ในกรุงเทพ มหานคร ให้แจ้งแก่เจ้าคณะกรุงเทพมหานคร

I I
8)๓0
|)ร: แ: HWs:siwm|ii|c1nm:iti)i)
(๒.๒) ในจังหวัดอื่น ให้แจ้งแก่เจ้าคณะ จังหวัดหรือเจ้าคณะภาคแล้วแต่จะ
เห็นสมควร
(๒.๓) ถ้าปรากฏว่าความผิดตามกรณี (๑) หรือ (๒) เป็นความผิดอาญาด้วย
ย่อมจะ มีโทษตามกฎหมายอีกต่างหากจากโทษทีไ ่ ด้รับจากเจ้าอาวาส หรือเจ้าคณะ เจ้าจังกัด
ข้อ ๑๐ คําจังมหาเถรสมาคมนี้ มิให้ใช้ปังคับแก่การเรี่ยไร ดังต่อไปนี้
(๑) การเรี่ยไรในทางการคณะสงฆ์ หรือ

(๒) การเรี่ยไรที่มหาเถรสมาคมอีนุม้ ตเฉพาะ เรื่อง

จัง ณ วันที or สิงหาคม ๒< ๓๙

rfpijyrÿÿer
(สมเด็จพระ ญาณสังวร)
สมเด็จพระ จังฆราช สกลมหาจัง6มปริณายก
ประธานกรรมการมหาเถรสมาคม

10กตาร0บ0ว่าดัวบ ๑๓๑
แร:แะทเพร: ร liaTlllllTcilนแ:เน)แ
แบบสอบถามความคิดเห็นต่อข}องทางการแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียน
ที่มผี ลกระทบต่อพระพุทธศาสนา

คําขึ
แจง้ แบบสํารวจความคิดเห็นต่อช่องทางการแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาของสํานักงาน
ทํา
พระพุทธศาสนาแห่งชาติ จัด ขึ้นเพื่อทราบช่องทางการแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียน และจักได้นํา
ปรับปรุงให้สอดคล้อง
กับสภาพ แวดล้อมปัจจุบัน จึง ขอ ความร่วมมือกรุณาทําเครื่องหมาย ( ร) ลงในช่องว่าง I I ที่กําหนด
ตามความเป็นจริง
เมื่อพบเห็นการล่วงละเมิดต่อพระพุทธศาสนา ท่านจะแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียนต่อ
1. ท่านคิดว่า
สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติหรือไม่
I I แจ้ง ไม่
2. ท่านเคยแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ต่อสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ
หรือไม่
I I เคย ไม่
ถ้าเคย ทาง

้ การตอบสนองภายในเวลา
3. จากข้อ 2 ถ้าเคยแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียนแล้ว ได้รบ

I I 15 วัน I I มากกว่า 15 วัน อื่น ๆ


๔. ท่านคิดว่าช่องทางใดสะดวกในการแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา

I I ตู้ ปณ.444 I I เว็บไซต์ของหน่วยงาน โทรด้พท์ - โทรสาร


I I หนังสีอ I I มาด้วยตนเอง อื่นๆ
5. ท่านทราบช่องทางการแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียนทางพระพุทธศาสนาของสํานักงานพระพุทธศาสนา-
แห่งชาติทางใด

1 I เว็บไซต์ของหน่วยงาน หนังสือ I I ประชุม/สัมมนา


อื่นๆ
6. ท่านคิดว่าสํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติควรปร้บปรุง/เพิ่มเติมช่องทางการแจ้งเบาะแส/ข้อร้องเรียน
ทางใด

7. ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี).

เมื่อท่านกรอกข้อผูลเรียบร้อยแล้ว โปรดล่งส่วนคุ้มครองพระพุทธศาสนา สํานักเลขาธิการมหาเถรสมาคม


โทร. 0 2441 4547 โทรสาร 0 24414548

ขอขอบคุณในความร่วมมือ

You might also like