You are on page 1of 6

เพาะเมล็ดผัก แต่ละชนิดอย่างไรให้งอกเร็ว

ปั ญหาเรื่ องหนึ่งที่(อาจจะ)เป็ นปั ญหากวนใจมากๆ ของเกษตรกรรุ่ นใหม่ เชื่อว่าหนึ่งในนั้นคงไม่พน้ ปั ญหาการเพาะต้นกล้า


ผัก เพื่อนาไปปลูก หลายๆคนตั้งอกตั้งใจพิถีพิถนั ในการเลือกวัสดุเพาะ แต่จนแล้วจนรอด เมล็ดผักที่เพาะนั้นก็ไม่เคยงอกให้
เราเห็นสักที จนหลายๆท่านอ่อนใจไปตามๆกัน วันนี้เรามาดูวธิ ีและเทคนิคดีๆของการเพาะกล้าผักแต่ละชนิดกัน

1. ผักบุง้ นาเมล็ดแช่น้ าก่อนประมาณ 6 – 12 ชัว่ โมง นาเฉพาะเมล็ดที่จมน้ าไปเพาะ ผักบุง้ จะใช้เวลางอกประมาณ 5 – 14 วัน
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอก 18 – 25 องศาเซลเซียส อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 20 – 25 วัน

2. คื่นช่าย นาเมล็ดแช่น้ าประมาณ 2 – 3 ชัว่ โมง แล้วห่อด้วยผ้า หรื อใส่กล่องพลาสติกถนอมอาหาร ปิ ดฝาให้สนิทแล้วนาไป


แช่ในตูเ้ ย็นช่องธรรมดาประมาณ 24 ชัว่ โมง แล้วนามาเพาะตามปกติ จะทาให้ คื่นฉ่ายจะใช้เวลางอกประมาณ 5 – 7
วัน อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการงอกคือ 15 – 20 องศาเซลเซียส

อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 70 – 80 วัน
3. ผักชี นาเมล็ดมาห่อด้วยกระดาษหรื อผ้าแล้วใช้ท่อพีวซี ี กลิ้งคลึงเมล็ดให้แตกเป็ น 2 ซีก แล้วนาไปแช่น้ าอุ่นประมาณ 2 – 3
ชัว่ โมง (หรื อจนกว่าเมล็ดจะจม) แล้วนาไปเพาะตามปกติจะทาให้ผกั ชีงอกได้เร็ วขึ้น ปกติผกั ชีจะใช้เวลางอกประมาณ 5 – 7
วัน
– ผักชีไทย อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 40 – 50 วัน
– ผักชีลาวอายุเก็บเกี่ยวประมาณ 55 – 60 วัน
4. ผักชีฝรั่ง นาเมล็ดแช่น้ าอุ่นประมาณ 2 – 3 ชัว่ โมง แล้วนาไปเพาะตามปกติ โดยจะใช้เวลางอกประมาณ 5 – 7 วัน

อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 100 – 120 วัน

5. พืชตระกูลแตง ได้แก่ แตงกวา, แตงโม, แคนตาลูป, เมล่อน, แตงไทย, ฟักทอง, น้ าเต้า ฯลฯ นาเมล็ดมาแช่น้ าอุ่นประมาณ
40 – 50 องศาเซลเซียส โดยแช่ทิ้งไว้ประมาณ 3 – 4 ชัว่ โมง หรื อจนกว่าเมล็ดจะจมน้ า จากนั้นให้นาเมล็ดมาเพาะในกล่อง
พลาสติกถนอมอาหารโดยวางรองด้วยกระดาษชาระพรมน้ าให้ชุ่ม จากนั้นปิ ดฝาให้สนิท นาไปตากแดดในช่วงเช้าประมาณ
2 – 3 ชัว่ โมง จะทาให้เมล็ดงอกเร็ วขึ้น โดยปกติจะใช้เวลาในการงอกประมาณ 4 – 7 วัน เมื่อเมล็ดเริ่ มงอกก็นาไปเพาะลง
วัสดุปลูกต่อไป

– แตงโมเปลือกลาย, แตงโมเปลือกดา อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 35 – 40 วันหลังจากดอกบาน


– แตงไทย อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 50 – 55 วันหลังจากหยอดเมล็ด
– แตงกวา อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 6 – 7 วันหลังดอกบาน
– เมล่อน, แคนตาลูป อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 40 – 60 วันหลังผสมเกสร (แล้วแต่ชนิดของสายพันธุ)์

6. พืชกลุ่มพริ ก, มะเขือ, มะเขือเทศ นาเมล็ดมาแช่น้ าอุ่นประมาณ 50 องศาเซลเซียส โดยแช่ทิ้งไว้ประมาณ 3 – 4 ชัว่ โมง


หรื อจนกว่าเมล็ดจะจมน้ า จากนั้นให้นาเมล็ดมาเพาะในกล่องพลาสติกถนอมอาหารโดยวางรองด้วยกระดาษชาระพรมน้ า
ให้ชุ่ม จากนั้นปิ ดฝาให้สนิท นาไปตากแดดในช่วงเช้าประมาณ 2 – 3 ชัว่ โมง จะทาให้เมล็ดงอกเร็ วขึ้น โดยปกติจะใช้เวลา
ในการงอกประมาณ 5 – 10 วัน เมื่อเมล็ดเริ่ มงอกก็นาไปเพาะลงวัสดุปลูกต่อไป

– มะเขือเทศ อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 70 – 80 วันหลังจากหยอดเมล็ด


– พริ ก อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 50 – 60 วันหลังจากหยอดเมล็ด
– มะเขือเปราะ อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 50 – 60 วันหลังจากหยอดเมล็ด

7. ปวยเล้ง เป็ นพืชที่หลายคนคิดว่าเพาะได้ยาก แต่จริ งๆแล้วการเพาะปวยเล้งไม่ยากอย่างที่คิดแต่อาจจะใช้เวลา และเทคนิค


ยุง่ ยากกว่าเมล็ดพืชชนิดอื่น โดยมีข้ นั ตอนดังนี้
– นาเมล็ดปวยเล้งไปแช่ในน้ าเย็นประมาณ 1 คืน แต่อย่านานกว่านั้นเพราะเมล็ดจะเน่าได้
– นากล่องพลาสติกถนอมอาหารที่มีฝาปิ ดมิดชิด รองด้านในด้วยกระดาษชาระประมาณ 2 – 3 ชั้น แล้วพรมน้ าให้พอชุ่มทัว่
กระดาษแต่อย่าให้ท่วมกระดาษมากเกินไป ให้เทน้ าที่คา้ งออกด้วยนะคะ
– นาเมล็ดปวยเล้งที่แช่น้ ามาแล้วประมาณ 3 – 5 ชัว่ โมงมาล้างด้วยน้ าสะอาด แล้วนาเมล็ดไปโรยลงบนกระดาษชาระใน
กล่องพลาสติกถนอมอาหารปิ ดฝาให้สนิทแล้วนาไปแช่ในตูเ้ ย็น (ช่องแช่ปกติ) อุณหภูมิของตูเ้ ย็นปกติจะอยูท่ ี่ประมาณ 4 – 7
องศา C ซึ่งเป็ นอุณหภูมิทีเหมาะต่อการงอกของเมล็ดปวยเล้งอยูแ่ ล้ว
– ประมาณ 7 – 14 วัน ปลายเมล็ดปวยเล้งจะเริ่ มแตกออก และมีปลายรากโผล่ออกมาจากเมล็ด จึงสามารถนาเมล็ดที่มีราก
งอกออกมานั้นไปเพาะลงวัสดุปลูกได้ค่ะ

อายุเก็บเกี่ยวปวยเล้งประมาณ 35 – 45 วัน (นับจากวันปลูก)


8.ผักสลัดชนิดต่างๆ
เพาะกล้าสลัดโดยใช้กล่องถนอมอาหารที่มีฝาปิ ดสนิท รองด้านในด้วยกระดาษชาระประมาณ 2 ชั้นแล้วพรมน้ าให้กระดาษ
เปี ยก และเทน้ าออก จากนั้นให้นาเมล็ดสลัดมาโรยลงบนกระดาษชาระ โดยไม่ตอ้ งพรมน้ าซ้ า แล้วปิ ดฝากล่องให้สนิท
(แนะนาให้นาไปวางไว้ในที่มีอุณหภูมิต่า เช่น ห้องปรับอากาศ หรื อในตูแ้ ช่ผกั ) ประมาณ 24 – 48 ชัว่ โมง

เมล็ดจะเริ่ มงอกให้ยา้ ยลงวัสดุปลูกได้เลยค่ะ อย่าปล่อยให้ 72 ชัว่ โมง (3 วัน) เพราะรากจะยาวเร็ วมากและทาให้ยา้ ยปลูกได้
ยาก การกระตุน้ การงอกด้วยวิธีน้ ีจะทาให้เมล็ดที่เราเพาะมีเปอร์เซ็นต์การงอกและความสม่าเสมอของการงอกสูงขึ้น อีกทั้ง
ยังช่วยลดความเสี่ ยงจากเชื้อโรคที่จะเข้าทาลายเมล็ดจากการเพาะเมล็ดลงวัสดุปลูกโดยตรง

ให้ผกั ที่ปลูกมีความสม่าเสมอของต้นที่เท่ากัน มากกว่าการเพาะลงในวัสดุปลูกโดยตรง เนื่องจากการเพาะลงวัสดุปลูก


โดยตรงนั้นเมล็ดสลัดมีความเสี่ ยงที่จะถูกทาลายโดยเชื้อโรคหรื อแมลง อีกทั้งผูป้ ลูกยังควบคุมปั จจัยการงอกของเมล็ดได้
ยากกว่าด้วย

Credit : มาปลูกผักสวนครัวกันเถอะ
Share This Story, Choose Your Platform!

About the Author: Natee M.


Natee M. | Content Creator | Agriculturist | ที่นี่ สะเมิง | อีกหนึ่งอาเภอของเชียงใหม่ ที่ใครไปแล้วจะ "คิดถึง"
Related Posts

Permalink

Gallery

เก็บเกี่ยวความรู ้ที่ ศูนย์หว้ ยฮ่องไคร้ เชียงใหม่

กันยายน 15th, 2016|0Comments

Permalink

Gallery

ปฏิวตั ิยคุ สมัยด้วยฟางเส้นเดียว โดย มาซาโนบุ ฟูกโุ กะ

กันยายน 9th, 2016|0Comments

Permalink
Gallery

ว่าด้วยเรื่ อง จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง

กันยายน 8th, 2016|0Comments

Permalink

Gallery

มาตรฐานความปลอดภัยของสิ นค้าเกษตร

สิ งหาคม 5th, 2015|0Comments

?
เรื่ องล่าสุ ด

 เบบี้คอส กรี นโอ๊ค กับครั้งแรกที่เราปลูก


 ผักผลไม้ตรา Organic Thailand พบสารเคมีตกค้างเกินมาตรฐาน 25%
 เก็บเกี่ยวความรู ้ที่ ศูนย์หว้ ยฮ่องไคร้ เชียงใหม่
 ปฏิวตั ิยคุ สมัยด้วยฟางเส้นเดียว โดย มาซาโนบุ ฟูกโุ กะ
 ว่าด้วยเรื่ อง จุลินทรี ยส์ งั เคราะห์แสง
คลังเก็บ

 ตุลาคม 2016
 กันยายน 2016

You might also like