You are on page 1of 30

การขยายพันธุ์มะละกอด้ วยการเพาะเมล็ด ++

เมล็ดที่จะนํามาใช้ทาํ พันธุ์จะต้องได้จากผลที่สุกเต็มที่ และควรเป็ นผลที่ได้จากต้นกะเทย เพราะจะได้ผลผลิต


ที่สูงที่สุด และเมล็ดที่ได้มาจากผลสุ กสามารถนําไปเพาะได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งนําไปตากแดดก็ได้ แต่ควรล้าง
เนื้อเยือ่ ออกให้สะอาด แต่ถา้ หากต้องการเก็บเมล็ดไว้นานๆ ควรตากเมล็ดพันธุ์ให้แห้งเสี ยก่อน โดยการหมัก
เมล็ดสด ๆ ไว้ในถุงพลาสติก เก็บไว้ในร่ ม 2-5 วัน จากนั้นจึงนําเมล็ดมาล้างให้สะอาด แล้วนําไปผึ่งแดด
ประมาณ 2-3 แดด ก็จะให้เมล็ดพันธุ์ที่เก็บไว้ได้นานถึง 6 ปี

++ การเตรียมดินเพาะกล้า ++

1. ผสมหน้าดิน ขี้เถ้าแกลบ ขุยมะพร้าวและปุ๋ ยคอก อัตราส่ วน 2:3:1:1

2. ปรับสภาพดินและฆ่าเชื้อในดินเพาะกล้าด้วยปูนขาว
++ ขั้นตอนและวิธีการเพาะ ++

1. นําเมล็ดพันธุ์มะละกอไปแช่น้ าํ อุ่นที่อุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซี ยส ปล่อยทิ้งไว้ 1 คืน และคัด


เมล็ดที่ลอยนํ้าออก

2. นําเมล็ดพันธุ์มาห่อด้วยผ้าขาวบางทิ้งไว้อีก 2-3 วัน หรื อ เก็บไว้ในถุงพลาสติก มัดปากถุงให้แน่นวาง


ไว้ในที่ร่ม 5-7 วัน เปลือกของเมล็ดพันธุ์จะเริ่ มปริ แตกเห็นรากสี ขาวแทงออกมา

3. คัดเมล็ดที่งอกไปเพาะลงในถุงพลาสติก

4. ป้ องกันโรคโคนเน่าด้วยสารเมตาแลกซิ ล 30 กรัม ต่อนํ้า 20 ลิตรก่อนเพาะ

5. ใช้ไม้ปักตรงกลางถุงเพาะเพื่อนําร่ องลึก 1 เซนติเมตร

6. หยอดเมล็ดลงไปในถุง กลบด้วยดินเพาะ รดนํ้าให้ชุ่ม


7. เมื่อต้นกล้าอายุ 20 วัน บํารุ งต้นกล้าด้วยนํ้าหมักจากเศษปลาในอัตรา 30 ซีซี.ต่อนํ้า 20 ลิตร

8. เมื่อต้นกล้ามีอายุได้ 40 วันให้ยา้ ยปลูกลงแปลงได้

"มะละกอ"เป็ นไม้ผลที่ชอบดินร่ วนปนทราย ดินเหนียวปนดินร่ วนหรื อดินร่ วนที่มีการระบายนํ้าที่ดี และมี


นํ้าให้มะละกอตลอดทั้งปี มีอินทรี ยวัตถุมาก ไม่ชอบนํ้าขัง มะละกอจะเจริ ญเติบโตได้ดีถา้ ได้รับแสงแดเต็มที่
มะละกอมีกา้ นใบยาว และกลุ่มใบจะมีมากที่ยอด จึงไม่ควรปลูกมะละกอให้ชิดกันเกินไป จะทําให้ไม่
สะดวกในการป้ องกันกําจัดศัตรู ของมะละกอ ซึ่ งระยะการปลูกที่เหมาะสมคือ 3 x 2.5 เมตร หรื อ 3 x
3 เมตร หรื อ 3 x 4 เมตร ตามความเหมาะสม การเตรี ยมแปลงควรขุดหลุมกว้าง x ยาว x ลึก 50
เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมัก 10 กิโลกรัม ร่ วมกับปุ๋ ยเคมีสูตร 15-15-15 หลุมละ
30 กรัม คลุกเคล้าให้เข้ากันก่อนปลูก การให้น้ าํ ควรให้แบบสปริ งเกอร์ เพื่อให้มีความชื้นในแปลง
สมํ่าเสมอจะช่วยให้มะละกอติดผลได้ตลอดทั้งปี
ถ้ าเกษตรกรมีการเตรี ยมเมล็ดพันธุ์ได้ ดี มะละกอจะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ เมื่ออายุ 4-8 เดือน และจะ
ทยอยเก็บไปได้ เรื่ อยๆ อายุของมะละกอจะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ ประมาณ 2 ปี เฉลี่ย 3-4 ตัน/ไร่
วิธีผสมเกสรมะละกอ
ท่านใดสนใจที่จะทําเมล็ดพันธุ์มะละกอเพื่อเอาไว้ขยายพันธุ์ปลูกเอง หรื อเพื่อผลิตต้นกล้ามะละกอ
ออกจําหน่าย มะละกอเป็ นพืชผสมเปิ ดคือทุกดอกมีโอกาสที่จะผสมข้ามเป็ นพันธุ์ใหม่ๆได้ตลอดเวลา คนที่
ปลูกไม่วา่ จะเป็ นเกษตรกรหรื อบุคคลทัว่ ๆไปที่สนใจจะปลูกมะละกอ ส่ วนมากที่ตอ้ งการคือเมล็ดมะละกอที่
ตรงตามพันธุ๋ อย่างแขกดําคือแขกดํา ไม่ใช่ปลูกแขกดําแต่ได้ฮอลแลนด์ ถ้าเป็ นลักษณะนี้เสี ยหลายอย่างครับ
แรง เงิน เวลา ดังนั้นคราวนี้เราจะมาว่ากันถึงการควบคุมการผสมเกสรด้วยมนุษย์ครับเพื่อให้ได้เมล็ดพันธุ์ที่
ตรงตามพันธุ์ที่เราต้องการ เป็ นวิธีการง่ายๆไม่ยากครับ

แม็กกระดาษหนังสื อพิมพ์
เลือกดอกกระเทยที่ยงั ไม่บาน(สําคัญ) ดอกสมบูรณ์ รังไข่หรื อส่ วนที่อยูใ่ ต้กลีบดอกสมบูรณ์ เอามาไว้เพื่อ
เป็ นดอกแม่พนั ธู์สาํ หรับที่เราจะเก็บเมล็ด

เอาเชือกที่เตรี ยมไว้มาผูกที่กา้ นดอกเพื่อเป็ นสัญญลักษณ์วา่ ดอกนี้จะเป็ นดอกที่ควบคุมการผสมเกสรไว้เพื่อ


เอาเมล็ดมาใช้ขยายพันธุ์ครับ ไม่ตอ้ งผูกแน่นเผือ่ ก้านมันขยายตัวด้วยครับแบบคล้องเอาไว้ก็พอ ใช้วธิ ี อื่นก็ได้
ครับถ้ามี หากไม่ทาํ เครื่ องหมายไว้เดียวหาย

ครอบดอกมะละกอให้ลึกถึงก้านดอก ใช้เชือกมัดให้ดีไม่มีช่องให้แมลงอย่างผึ้งหรื อแมลงอื่นเข้าไปได้


ไม่ให้ลมผ่านด้วยครับเพื่อให้มนั่ ใจว่าไม่มีละอองเกสรของตันอื่นเข้าไปผสมหรื อเจาะไข่แดงได้
ใช้ระยะเวลาไม่นานประมาณ 3-5 วันเมื่อดอกบานเกสรตัวผูข้ องดอกที่เราครอบไว้จะปริ แตกละอองเกสร
ตัวผูก้ ็จะผสมกับเกสรของตัวเมียในดอกเดียวกัน เราก็จะได้เมล็ดพันธุ์ที่เป็ นพันธุ์เดียวกันกับต้นแม่น้ นั ครับ
สําหรับต้นนี้เมล็ดพันธุ์ที่ได้ก็จะเป็ นพันธุ์ฮาวายเหมือนต้นแม่ชวั ร์ สัดส่ วนของเมล็ดที่ได้จะเป็ น ตัวเมีย 1
ส่ วน กระเทย 2 ส่ วนครับ ตัวผูไ้ ม่มีตดั ออกไปรับรองไม่มีตวั ต้นผูเ้ พราะเราใช้ดอกกระเทยผสมตัวมันเองมี
บางคนที่ใช้ถุงพลาสติกครอบก็สามารถทําได้แต่โอกาสที่จะเสี ยก็มีเพราะถุงพลาสติกถ้าโดนแสงแดด
อุณหภูมิในถุงจะสู งอย่างรวดเร็ วดอกจะตายนึ่ง และถุงพลาสติกจะเก็บความชื้นไว้ได้ดีมากเกินดอกอาจจะ
เป็ นเชื้อราแอนแทรคโนสได้ครับ

มาดูถึงสัดส่ วนของการผสมเกสรระหว่าง ดอกตัวผู-้ ผลทรงกระสวย(กรณี รังไข่มีการพัฒนา) ดอกตัวเมีย-ผล


กลม ดอกกระเทย-ผลยาวนํ้าหนักดี ถ้ามีการผสมกันไปมาในสามเพศนี้จะมีสัดส่ วนอย่างละเท่าไหร่ กนั ตาม
ตารางที่ท่านอาจารย์รวี เสรฐภักดีท่านสอนไว้มีดงั นี้ครับ
1.ดอกตัวเมีย+ดอกตัวผู ้ จะได้สัดส่ วนของเมล็ดคือ ตัวเมีย 1 ตัวผู้ 1 สัดส่ วนคือ 1:1
2.ดอกตัวเมีย+ดอกกระเทย จะได้สัดส่ วนของเมล็ดคือ ตัวเมีย 1 กระเทย 1 สัดส่ วนคือ 1:1
3.ดอกกระเทย+ดอกกระเทย จะได้สัดส่ วนของเมล็ดคือ ตัวเมีย 1 กระเทย 2 สัดส่ วนคือ 1:2
4.ดอกกระเทย+ดอกตัวผู ้ จะได้สัดส่ วนของเมล็ดคือ ตัวเมีย 1 ตัวผู้ 1 กระเทย 1 สัดส่ วนคือ 1 :1:1
5.ดอกตัวผู+้ ดอกตัวผู ้ จะได้สัดส่ วนของเมล็ดคือ ตัวเมีย 1 ตัวผู้ 2 (กรณี ที่ดอกตัวผูม้ ีรังไข่ที่มีการพัฒนา
เกิดขึ้น)สัดส่ วนคือ 1:2
ดังนั้นสัดส่ วนของต้นกระเทยที่ผลมีลกั ษณะยาวเนื้อแน่นนํ้าหนักดี จะได้สัดส่ วนของเมล็ดกระเทยมากก็ดว้ ย
มาจากการที่ดอกกระเทยมีการผสมตัวเองครับไม่วา่ จะระหว่างต้นกระเทยด้วยกันหรื อภายในต้นเดียวกัน
สําหรับหัวข้อนี้คงเท่านี้ก่อน ขอให้โชคดีครับ

ปลูกมะละกอปลอดโรค ต้องรู ้จกั คัดเมล็ด

ภูมิปัญญาการคัดเลือกเมล็ดมะละกอ(แขกดํา แขกนวล)สําหรับปลูก
มะละกอ เป็ นพืชอีกชนิดที่ผมรัก จําเป็ นต้องปลูกติดสวนไว้เสมอ ใครไปใครมาก็ฝากให้รับประทาน เป็ น
ของฝากจากคนทําสวน แต่ปัญหาของการปลูกมะละกอก็มีอยู่ ที่สาํ คัญก็คือ 1.โรคไวรัส (ใบด่างเหลือง)ของ
มะละกอ ซึ่ งหากเป็ นขณะโตแล้วก็ทาํ ให้ใบด่าง ยอดหงิกเหลือง ลูกเป็ นหลอด เสี ยรู ปทรง แต่หากเป็ นมาแต่
ระยะกล้า ก็จะทําให้ใบ และยอด หงิกงอ ด่างรุ นแรง จนไม่ให้ผลผลิต อีกประการหนึ่งสําหรับคนปลุก
มะละกออย่างผมคือ 2.การทีมะละกอเป็ นดอกตัวผู้ (ติดดอก มีกา้ นระโยงระยาง แต่ไม่ติดลูกที่บริ โภคได้)ที่
สําคัญคือเป็ นดอกตัวเมีย(รู ปทรงอ้วน ป้ อม สั้น เนื้อบาง ไส้ในกลวง อาจไม่มีเมล็ดอยูเ่ ลย)ส่ วนลักษณะ
มะละกอแขกดํา หรื อ แขกนวลที่ตอ้ งการ คือ ลูกยาวได้รูป เนื้อหนา หากเนื้อหนาถึง 1 นิ้วจะดีมาก เนื้อ
เหนียว ไส้ในไม่กลวง หากสุ กสี ตอ้ งจัด หรื อส้มเข้ม ยางน้อย รสหวาน ให้ติดเค็มน้อยที่สุด ซึ่ งลักษณะของ
มะละกอที่ดีดงั กล่าว เป็ นมะละกอที่เกิดจากดอกกะเทย(ดอกสมบูรณ์เพศ) ชาวสวนทุกคนจึงหวังที่จะให้
มะละกอของตนติดดอกกะเทย ดังนั้นเวลาปลูกจึงต้องปลูกอย่างน้อย 2-3 ต้น/หลุม เผือ่ ไว้คดั ทิ้งเมื่อเริ่ ม
เห็นดอก หากเป้ ดอกตัวผูห้ รื อ ตัวเมียก็คดั ทิ้ง แต่หากเป็ นดอกกะเทยก็เอาไว้ ได้มีโอกาสสอบถามจาก
ชาวสวนมะละกอมืออาชีพ ตลอดจนทดลองในสวนตัวเองหลายปี จึงอยากเสนอวิธีการคัดเมล็ดมะละกอ
สําหรับชาวสวน ไว้ลองปฏิบตั ิ เพื่อให้ได้มะละกอปลอดโรคไวรัสไว้ปลูก ตลอดจนเพื่อให้ได้มะละกอที่เป็ น
ดอกกะเทย ทั้งนี้วธิ ี การนี้สาํ หรับมะละกอพันธุ์แท้ เช่น แขกดํา แขกนวล เท่านั้น ไม่สามารถใช้สาํ หรับ
มะละกอลูกผสม เช่น เรดเลดี้ หรื อ มะละกอฮอลแลนด์ ได้ 1.คัด และ เก็บผลมะละกอสุ ก 90 เปอร์เซ็นต์
จากต้นแม่ในแปลงปลูก ที่สมบูรณ์ แข็งแรง ปลอดโรค เริ่ มออกลูกจากใกล้โคนต้น ลูกและดอกออกสมํา
เสมอ ทรงลูกสวย ขนาดไล่เรี ยงจากโคนถึงปลาย เนื้อหนา รสดี (ต้องเป็ นมะละกอที่ปลูกในแปลงที่เป็ นพันธุ์
เดียวกันทั้งหมดเท่านั้น) 2.ผ่าลูก คัด และ เก็บเฉพาะเมล็ดสี ดาํ เข้ม(ในผลมะละกอ จะมีเมล็ดที่สีดาํ เข้ม และ
สี นาํ ตาลแก่ซ่ ึ งเป็ นเมล็ดที่ควรคัดทิ้ง) จากนั้นล้างเอาเมือกหุ ม้ เมล็ด และยางออก นําไปตากแดดให้แห้ง 2
แดด และนํามาผึ่งในที่ร่มอีก 5-7 วัน หากต้องการเก็บเก็บในตูเ้ ย็น ได้นาน 6 เดือน 3.นําเมล็ดไปเพาะใน
กระบะด้วยทราย หรื อ วัสดุเพาะ(มีเดีย) ควรเพาะให้ตน้ กล้ามีอายุ อย่างน้อย 3-4 สัปดาห์(บริ ษทั ฯ แนะนํา
เพียง 14 วัน)จากนั้นถอนต้นกล้า เพื่อสังเกตลักษณะราก เลือกต้นที่มีรากแก้วตรง รากฝอยเยอะ และคัดต้น
ที่มีรากแก้วงอคด และไม่มีรากฝอย หรื อ รากฝอยน้อยทิ้ง เพราะมักเป็ นต้นที่เป็ นดอกตัวเมีย 4.นําต้นที่
คัดเลือกไว้ในถุงดํา ด้วยดินผสม ให้มีขาดสู งประมาณ 1 คืบ เพื่อรอปลูกต่อไป เพียงวิธีการคัดเมล็ดเท่านี้
เกษตรกรก็จะได้ตน้ มะละกอแขกดํา-แขกนวล ที่ตรงตามพันธุ์ และปลอดโรคไว้เพาะปลูก ยอมเสี ยเวลาซัก
นิด เพื่อ จะไม่สูญเสี ย และ เสี ยเวลา
มะละกอพันธุแ์ ขกดาศรีสะเกษ กินดิบหรือสุกก็อร่อย มีลักษณะเด่นคือต ้นเตีย ้ ติดดอกติดผลเร็ว
ให ้ผลดก มีความบริสท ุ ธิข
์ องสายพันธุส ์ งู เป็ นพันธุท
์ ศี่ น
ู ย์วจิ ัยพืชสวนศรีสะเกษ ทาการศก ึ ษา
วิจัยและปรับปรุงกระทั่งได ้พันธุด์ มี ค ี ณ
ุ ภาพ เกษตรกรในพืน ้ ทีจ ่ ังหวัดศรีสะเกษและใกล ้เคียง
์ ลูกในเชงิ การค ้าอย่างแพร่หลาย ทาให ้มีรายได ้มั่นคง เป็ นหนึง่ พืช
เลือกนาไปเป็ นพันธุป
เศรษฐกิจสาคัญทัง้ ในระดับท ้องถิน ่ และระดับประเทศ วันนีจ ้ งึ นาเรือ
่ ง มะละกอแขกดาศรีสะ
เกษ…พืชเศรษฐกิจทาเงิน สูวถ ่ ิ มี ั่นคง มาบอกเล่าสูกัน ่
ั นิม
คุณธวัชชย ่ กิง่ รัตน์ ผู ้อานวยการศูนย์วจิ ัยพืชสวนศรีสะเกษ เล่าให ้ฟั งว่า มะละกอ เป็ นพืช
เศรษฐกิจทีส่ าคัญทัง้ ในระดับท ้องถิน ่ และระดับประเทศ ปลูกและเจริญเติบโตได ้ดีในทุกภูมภ ิ าค
ของประเทศ เป็ นพืชทีช ่ อบดินร่วนทีม
่ อ
ี น
ิ ทรียวัตถุสงู ดินมีคา่ ความเป็ นกรด เป็ นด่าง ที่ pH 5.5-
6.5 อุณหภูมท ิ เี่ หมาะสม 21-31 องศาเซลเซย ี ส ฤดูแล ้งต ้องมีน้ าเพียงพอ ไม่ชอบน้ าขังแฉะ
เพราะจะเป็ นสาเหตุของโรคโคนเน่าและรากเน่าตาย

พันธุม
์ ะละกอทีน ่ ย
ิ มปลูกคือ พันธุแ ์ ขกดาศรีสะเกษ แขกนวล และ โกโก ้ เมือ
่ สุกเนือ ี ดง พันธุ์
้ สแ
สายน้ าผึง้ เมือ ้ สเี หลือง มะละกอพันธุแ
่ สุกเนือ ์ ขกดาศรีสะเกษ บริโภคผลดิบและสุกได ้รสชาติ
อร่อย จึงนิยมปลูกในเชงการค ้าิ
มะละกอพันธุแ
์ ขกดาศรีสะเกษ มีทม ี่ าจากการศก ึ ษาวิจัยและปรับปรุงพันธุโ์ ดยศูนย์วจิ ัยพืชสวน
ศรีสะเกษ ได ้รวบรวมพันธุม์ ะละกอแขกดาจากจังหวัดราชบุร ี และนครราชสม ี า ปลูกในระหว่าง ปี
2527-2533 เพือ ึ ษาคัดเลือกสายพันธุท
่ ศก ์ ม
ี่ ผ
ี ลผลิตสูงและคุณภาพดี โดยวิธ ี pure line และได ้
กาหนดมาตรฐานการคัดเลือกพันธุไ์ ว ้ดังนี้

1. รูปร่างผลกลม ยาว ไม่บด


ิ เบีย
้ ว

2. ผลดิบสเี ขียวเข ้ม ผิวเรียบ ไม่มรี อ


่ งรอยการเข ้าทาลายของโรคแมลง

่ งว่างภายในผลแคบน ้อยกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ โดยปริมาณ


3. ชอ

้ มากกว่า 2 เปอร์เซ็นต์
4. ความหนาเนือ

5. ผลสุกเนือ ี ดงอมสม้ รสหวาน ปริมาณ soluble solid มากกว่า 12 เปอร์เซ็นต์


้ ในสแ
จากการศก ึ ษาและคัดเลือกพันธุม ์ ะละกอ จนถึงชวั่ ที่ 4 ในปี พ.ศ. 2533 ทาให ้ได ้สายพันธุท ์ ม
ี่ ี
ลักษณะดี จานวน 7 สายพันธุ์ จึงได ้สร ้างสวนผลิตเมล็ดพันธุม ์ ะละกอสายพันธุค ์ ัด ใน
ขณะเดียวกันได ้คัดเลือกพันธุไ์ ว ้เป็ นแม่พันธุใ์ นชวั่ ที่ 5 โดยวิธ ี mass selection ด ้วย แล ้วได ้
ศกึ ษาปฏิกริ ย
ิ าต่อโรคจุดวงแหวน ทดสอบผลผลิตและคุณภาพของมะละกอแขกดาสายพันธุค ์ ัด
ในไร่เกษตรกร และวันที่ 24 สงิ หาคม 2537 กรมวิชาการเกษตร ได ้แนะนาพันธุ์ มีชอ ื่
่ ื
วิทยาศาสตร์ Carica papaya L. ชอสามัญ Papaya Papaw ชอ พันธุแ ่ ื ์ ขกดาศรีสะเกษ

คุณปราณี เถาว์โท เจ ้าพนักงานการเกษตรปฏิบัตงิ าน ศูนย์วจิ ัยพืชสวนศรีสะเกษ เล่าให ้ฟั งว่า


ิ น ้าทีใ่ นการควบคุมแปลงพันธุ์ ซงึ่ ก่อนปลูกและผลิตมะละกอพันธุแ
ได ้ปฏิบัตห ์ ขกดาศรีสะเกษ
ได ้เตรียมต ้นกล ้าด ้วยการเพาะเมล็ดในถุงพลาสติก 4x6 นิว้ นาวัสดุเพาะทีม ่ ด
ี นิ ร่วน 3 สว่ น ปุ๋ย
คอกแห ้ง 1 สว่ น และเถ ้าแกลบ 1 สว่ น ผสมคลุกเคล ้ากันใสใ่ นถุงเพาะ หยอดเมล็ดพันธุ์ ถุงละ
3 เมล็ด กดให ้ลึกลงไปประมาณ 0.5 เซนติเมตร รดน้ าให ้พอชุม ่ ทุกวัน จากนัน ้ 10-14 วัน เมล็ด
จะงอก ควรพ่นสารป้ องกันกาจัดเชอ ื้ รา เมือ
่ ต ้นกล ้าอายุ 45-50 วัน จึงย ้ายกล ้าไปปลูก
การเตรียมแปลงปลูก ไถพรวนย่อยดินให ้ร่วน ปลูกระยะห่าง 2x2 เมตร หรือ 2x2.5 เมตร ขุด
หลุมปลูกกว ้าง ยาว และลึก ด ้านละ 50 เซนติเมตร นาดินบนผสมกับปุ๋ ยคอกแห ้ง 5-10 กิโลกรัม
่ ๋ ยร็
ใสป ุ อกฟอสเฟต 150-200 กรัม ต่อหลุม และใสป ่ ย ุ๋ สูตร 15-15-15 ในอัตรา 20 กรัม ต่อหลุม
แล ้วนาต ้นกล ้าลงปลูก หลุมละ 2-3 ต ้น เมือ
่ ต ้นมะละกอแสดงเพศแล ้วได ้ถอนแยกให ้เหลือต ้น
กะเทยไว ้ 1 ต ้น ต่อหลุม

่ ทุกวัน และในชว่ งมะละกอออกดอกและติดผล จะต ้องให ้


การให ้น้ า หลังปลูกควรให ้น้ าพอชุม
ได ้รับน้ าเพียงพอ เพราะถ ้าปล่อยให ้ขาดน้ าจะทาให ้ดอกร่วงและการพัฒนาของผลได ้ไม่สมบูรณ์
การใสป ่ ๋ย ่ ๋ ยอิ
ุ ให ้ใสป ุ นทรียห
์ ลังปลูก 3-4 ครัง้ ต่อปี ในอัตรา 5-15 กิโลกรัม ต่อต ้น เมือ ่ อายุ 1-3
เดือน ให ้ใสป ่ ๋ย
ุ สูตร 15-15-15 ในอัตรา 50 กรัม ต่อต ้น เดือนละครัง้ เมือ ่ อายุ 3-6 เดือน ให ้ใส ่
ปุ๋ย สูตร 15-15-15 ในอัตรา 100 กรัม ต่อต ้น ทุกเดือน เมือ ่ อายุ 6-12 เดือน ให ้ใสป ่ ๋ย
ุ สูตร 13-
13-21 ในอัตรา 200 กรัม ต่อต ้น ทุก 2 เดือน และอายุมากกว่า 12 เดือน ให ้ใสป ่ ๋ย
ุ สูตร 15-15-
15 และ 13-13-21 โดยใสส ่ ลับกัน ครัง้ ละ 200 กรัม ต่อต ้น ทุก 2 เดือน

การขยายพันธุ์ ควรเก็บเมล็ดพันธุจ ์ ากต ้นมะละกอเพศกะเทยทีใ่ ห ้ผลผลิตสูง ผลโต ผลยาว เมือ ่


นาไปปลูกจะได ้ต ้นกล ้าทีเ่ ป็ นต ้นกะเทยต่อต ้นตัวเมีย ในสด ั สว่ น 2 : 1 ในกรณีทต ี่ ้องการพันธุแ
์ ท้
่ ้
ควรชวยผสมเกสรโดยใชถุงคลุมดอกกะเทยก่อนดอกบาน เมือ ้
่ ดอกบานให ้ใชเกสรตัวผู ้ในต ้น
เดียวกันหรือพันธุเ์ ดียวกัน ป้ ายทีเ่ กสรตัวเมีย แล ้วใชถุ้ งคลุมอีกครัง้ หลังจากนั น ้ ประมาณ 7 วัน
จึงถอดถุงคลุมออก ถ ้าต ้องการเก็บรักษาเมล็ดพันธุไ์ ว ้ ควรล ้างเนือ ้ เยือ
่ ให ้สะอาด นาไปผึง่ ไว ้ใน
ทีร่ ม
่ จนแห ้ง บรรจุเก็บไว ้ในถุงพลาสติกปิ ดให ้แน่น นาไปเก็บไว ้ในตู ้เย็นชอ ่ งแชผ ่ ัก
การเก็บเกีย ่ ว เมือ
่ ต ้นมะละกอพันธุแ ์ ขกดาศรีสะเกษ อายุ 5-6 เดือน ก็เริม ่ เก็บเกีย
่ วได ้ ถ ้า
ต ้องการบริโภคผลดิบ ให ้เก็บเกีย ่ วเมือ ่ ผิวเปลือกสเี ขียวเข ้ม แต่ถ ้าบริโภคผลสุก ให ้เก็บเกีย ่ วเมือ

สผี วิ เปลือกเปลีย่ นจากสเี ขียวเข ้มเป็ นสเี ขียวอ่อน หรือมีแต ้มสเี หลืองทีบ ่ ริเวณปลายผล หรือใน
ระยะต ้นมะละกอพันธุแ ์ ขกดาศรีสะเกษ อายุราว 8 เดือน

จากเรือ่ ง มะละกอแขกดาศรีสะเกษ...พืชเศรษฐกิจทาเงิน สูว่ ถ ิ ม


ี ั่นคง เป็ นพืชทีป
่ ลูกเจริญเติบโต
ได ้ดีในทุกภูมภ
ิ าค ทุกครัวเรือนนิยมบริโภค เป็ นพืชเศรษฐกิจสาคัญทีเ่ กษตรกรในพืน ้ ทีจ
่ ังหวัด
ศรีสะเกษและใกล ้เคียงปลูกในเชงิ การค ้า ทาให ้ได ้เงินแสนบาท เป็ นการยกระดับรายได ้และ
พัฒนาคุณภาพชวี ต ิ ทีม
่ ั่นคง
สอบถามเพิม่ เติมได ้ที่ คุณปราณี เถาว์โท ศูนย์วจิ ัยพืชสวนศรีสะเกษ โทร. (045) 814-581 หรือ

คุณสุรชย เติบสูงเนิน สานักงานเกษตรจังหวัดศรีสะเกษ โทร. (045) 616-829 ก็ได ้เชน ่ กันครับ
การเตรียมดิน : ซึ่ งการเพาะกล้า ของคุณสุ ภสร ศิริโชติ นั้น จะเริ่ มจากการเตรี ยมดิน โดยดินที่นาํ มาเพาะกล้า
มะละกอนั้น คุณสุ ภสรจะนําเอาดินบริ เวณที่จะเอาเศษใบไม้ ไม้ หรื อฟางไปเผาฆ่าเชื้อหน้าดินก่อน แล้วก็ตกั
ดินบริ เวณนั้นมาทําการเพาะเมล็ดมะละกอที่ได้ทาํ ไว้เอง บางคนนําเอาแกลบดํามาเพาะเมล็ดมะละกอนั้น
อาจจะไม่ข้ ึนเพราะว่าแกลบดําไม่มีอาหารสําหรับกล้ามะละกอ เมื่อได้ดินในการเพาะเมล็ดแล้ว จึงนําเอามา
เมล็ดพันธุ์มาเพาะ
การเตรียมเมล็ดพันธุ์ : ถ้าเมล็ดที่จะนํามาเพาะแห้งมากก็ให้นาํ เมล็ดนั้นไปแช่ในนํ้าอุ่นไว้ประมาณ 1คืน
ก่อนนํามาเพาะ จะทําให้กล้ามะละกองอกเร็ วขึ้น และในการเพาะกล้าของมะละกอนั้น คุณสุ ภสรแนะนําว่า
ใน 1ถุงเพาะ ควรจะเพาะกล้ามะละกอสัก 3ต้น เพื่อที่จะได้เอาไว้เลือกต้นที่สมบูรณ์ ส่ วนระยะเวลา
มะละกอพัน์แขกดําจะใช้เวลาในการเพาะเมล็ด 10วัน ส่ วนมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์น้ นั จะใช้เวลา 3
อาทิตย์
ส่ วนการนําลงหลุมปลูกนั้จะต้องให้กล้ามะละกอมีใบประมาณ 5ใบ ก็นาํ กล้าลงหลุมได้นาํ ลงหลุมทั้ง 3ต้น
แล้วพอโตสักระยะหนึ่งจนดอกของมะละกอออกมา จะเห็นความสมบูรณ์ของต้นของดอก ให้เลือกต้น
มะละกอที่สมบูรณ์ ดอกสมบูรณ์ ไม่เป็ นมะละกอตัวเมียเพื่อที่จะได้มะละกอฮอลแลนด์และแขกดําตามที่
ตลาดต้องการนั้นเอง
ก่ อนทาการปลูกมะละกอ ต้องทราบที่มาที่ไปของพืชชนิดนี้กันก่อน ข้อมูลทั่วไปของมะละกอ มะละกอ ชื่อวิทยาศาสตร์คือ Carica papyya L. ชื่อวงศ์: CARI CACEAE ชื่อสามัญ: Papaya. ชื่อท้องถิน่ : มะก๊วย
เต็ด ก๊ วยเท็ด ลอกอ

ลักษณะโดยทัว่ ไปของ มะละกอนั้นสามารถเจริญเติบโตได้ดีในทุกสภาพภูมิอากาศ ขึ้นในบริเวณที่เป็ นดินร่วนปนทรายที่มีการระบายนํ้าได้ดี นํ้าไม่ท่วมขังมาก ดินมีความเป็ นกรดเป็ นด่างอยูร่ ะหว่าง 6.0-6.8 ซึ่งประโยชน์ของมะละกอนั้น สามารถใช้ผล
บริ โภคได้ ทั้งผลดิ บและผลสุ ก ยางมะละกอสามารถนําไปต้มเพื่อเพิ่มการเปื่ อยยุย่ ของอาหารได้ ยางมีฤทธิ์ กัดกร่ อนอย่างอ่อน ยอดอ่อนนํามาต้มสุ กรับประทานได้ดีแก้ร้อนใน

มะละกอเป็ นผลไม้ยืนต้น ที่คนไทยนิ ยมรับประทานกันอย่างแพร่ หลาย มีรสอร่ อย หวาน ทั้งมะละกอดิ บเมนูที่นิยมกันมากก็คือ ส้มตํา ส่ วนมะละกอสุ ก ก็สามารถนําไปรับประทานสดเพื่อสุ ขภาพ หรื อแปรรู ปในลักษณะต่างๆ ที่เป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่ม ในส่ วนของ

การปลูกมะละกอนั้นสามารถทําได้แต่ตอ้ งใช้ความอดทนและการเรียนรู้ตลอด มีเกษตรกรผูป้ ลูกมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์และพันธุ์แขกดํา ในประเทศไทยได้ผลเป็ นที่น่าพอใจหลายท่าน ที่สามารถสร้างรายได้ให้กบั ตนเองและครอบครัวเป็ นอย่างดี

วิธีการปลูกมะละกอ
การเตรียมดินสาหรับเพาะกล้ า โดยทัว่ ไป การใช้ดินสําหรับเพาะกล้านั้น มีส่วนผสม คือ ดินร่วน 3 บุง้ กี๋ ผสมกับ ปุ๋ ยคอก, ขี้เถ้าแกลบ, ทรายหยาบ อัตราส่วน 1:1:1 ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วนํามาใส่ลงในถุงพลาสติกขนาด
4×6 หรื อ 4×4 นิ้ ว ให้เต็ม รดนํ้าดิ นในถุงให้ชุ่ม นําเมล็ดพันธุ์มาหยอดลงในถุง ถุงละ 1-2 เมล็ด คอยหมัน่ รดนํ้าให้ชุ่ม แต่อย่าให้เปี ยกจนเกินไป คอยดูแลรักษารดนํ้าทุกวัน หลังจากเมล็ดเริ่ มงอกแล้ว ดูแลรักษาต้นกล้าประมาณ 30 วัน ก็สามารถย้ายต้นกล้าลง

ปลูกในหลุมปลูกได้

การเตรียมแปลงปลูกมะละกอ
มะละกอนั้น จัดได้วา่ เป็ นพืชที่มีระบบรากลึกและกว้าง ควรทําหลุมปลูกระยะห่างระหว่างแถว 2-2.5 เมตร ระหว่างต้น 2 เมตร ตีหลุมลึก 0.5 เมตร แล้วรองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยเคมี 15-15-15 อัตราประมาณ 1 ช้อนแกงต่อหลุม ใส่ ปยคอก
ุ๋ ปุ๋ ยหมักที่สลายตัวดี แล้ว

ทับบนปุ๋ ยเคมีอีกที แล้วนําต้นกล้ามะละกอ ลงปลูกในหลุมที่เตรี ยมไว้ กลบโคนเล็กน้อยด้วยดิ นและปุ๋ ยหมัก ปิ ดด้วยฟางหรื อแกลบ แล้วรดนํ้าให้ชุ่ม หลังปลูกเสร็ จให้ทาํ หลักเพื่อยึดลําต้นมะละกอ ไม่ให้โยกขณะลมพัด
การดูแลรักษาต้ นมะละกอ
 การให้ปุ๋ย ควรให้ปุ๋ย 15-15-15 หลุมละ 1 ช้อนแกง ทุก 30 วัน และควรให้ปุ๋ย 14-14-21 หลัง
ติดดอกออกผลแล้ว ในอัตรา 1ช้อนแกงต่อต้น ต่อหลุม หรื อจะใช้ปุ๋ยคอกหรื อปุ๋ ยหมักอย่างสมํ่าเสมอ
โดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ นอ้ ยลงก็ได้
 การให้น้ าํ เนื่องจากมะละกอเป็ นพืชที่ตอ้ งการนํ้าน้อย แต่ไม่ควรให้ขาดนํ้า เพราะจะทําให้ตน้ แคระแกรน
ไม่ติดดอกออกผล การให้น้ าํ อย่าให้มากเกินไป ถ้านํ้าท่วมขังนาน 1-2 วัน ต้นมะละกอเกิดบวมนํ้า มี
อาการใบเหลืองและต้นจะเน่าและตายในที่สุด
 การพรวนดินกําจัดวัชพืช ควรมีการพรวนดินกําจัดวัชพืชในช่วงแรก อย่าให้วชั พืชรบกวน
 การทําไม้หลัก เพื่อคํ้ายันพยุงลําต้นไม่ให้ลม้ โดยเฉพาะช่วงติดผล
การเก็บเกีย่ วมะละกอ
ถ้าเก็บผลดิบสามารถเก็บได้หลังปลูกประมาณ 5-6 เดือน แต่ถา้ เก็บผลสุ กหลังจากปลูกประมาณ 8-10
เดือน ถึงสามาถเก็บเกี่ยวได้ ให้เลือกเก็บเกี่ยวผลที่กาํ ลังเริ่ มสุ กมีสีแต้มสี ส้มปนเขียวนิดๆ ผลยังไม่นิ่ม

การปลูกและการดูแลรักษามะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์
การปลูกมะละกอฮอลแลนด์ : นิยมปลูกโดยวิธีการเพาะเมล็ดแล้วย้ายกล้าลงแปลงปลูก เมื่อต้นกล้ามีอายุได้
ประมาณ 1 เดือน

วิธีการเพาะเมล็ด
 นําเมล็ดมะละกอแช่น้ าํ 3 คืน โดยเปลี่ยนนํ้าที่แช่บ่อยๆ อย่างน้อยวันละ 3 ครั้ง
 นําเมล็ดมะละกอมาเพาะในถุงดินที่เตรี ยมไว้โดยให้ใส่ 3-4 เมล็ด/ถุง
 รดนํ้าให้ชุ่ม ประมาณ 9-10 วัน เมล็ดก็จะงอก
 ทําการรดนํ้าพอชุ่มวันละ 1 ครั้ง
ขั้นตอนการเตรียมดินและปลูกมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์
 ทําการเตรี ยมพื้นที่ โดยการไถ ทําการตากดินไว้ประมาณ 5 วัน
 ขุดหลุมลึกประมาณ 30ซม.ระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 2.5X 2.5 เมตร 1 ไร่ จะปลูกได้ ราว
250 ต้น และรองก้นหลุมด้วยปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยอินทรี ย ์
 นําต้นมะละกอปลูกในหลุม กลบดินให้แน่น
การดูแลรักษา
 รดนํ้าพอชุ่ม
 ใส่ ปุ๋ยสู ตรผสม12-15-20 โดยระยะการให้ปุ๋ยคือ 1 เดือน/ครั้ง
 หลังจากที่ลงปลูกมะละกอไปได้ประมาณ 3 เดือน มะละกอทั้ง 3 ต้นที่อยูใ่ นหลุมเดียวกันจะเริ่ มออก
ดอก ให้ทาํ การตัดต้นที่เป็ นตัวผูแ้ ละตัวเมียทิ้ง เหลือไว้แต่ “ ต้นกะเทย” เนื่องจากต้นกะเทยจะให้ผลที่ดก
และลูกมะละกอที่ออกมาจะยาวสวย เนื้อหนากว่าต้นที่เป็ นตัวเมียและตัวผู ้ โดยการสังเกตต้นกะเทยนั้นก็
ให้ทาํ การแหวกกลีบดอกดู ถ้าต้นไหนที่มีท้ งั เกสรตัวเมียและตัวผูอ้ ยูใ่ นดอกเดียวกัน
 หลังจากต้นมะละกออายุได้ 8 เดือนไปแล้ว ก็จะสามารถเก็บผลขายได้ทุกสัปดาห์ ไปจน 3 ปี ต้น
มะละกอจึงจะหมดอายุ ไม่สามารถให้ผลผลิตได้ ต้องตัดทิ้ง ปลูกใหม่
เกร็ดเพิม่ เติม
 การปลูกมะละกอฮอลแลนด์ จะให้ผลผลิต เฉลี่ยไม่นอ
้ ยกว่า 100 กก. ต่อ ต้น ตลอดอายุการเพาะปลูก
 ราคาผลผลิตที่ขายได้จะอยูท่ ี่ 8-16 บาท ต่อ กิโลกรัม
 ราคาเมล็ดพันธุ์ กิโลกรัมละประมาณ 1,000 บาท เมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม สามารถนํามาขยายพันธุ์ปลูก
ได้ประมาณ 50 ไร่
 หลังย้ายปลูก 9 เดือนก็สามารถเก็บผลสุ กมะละกอจําหน่ายได้ โดยสังเกตดูที่ผลหากมีแต้มปรากฏอยูบ่ น
ผล 2-3 แต้มก็สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้
 สภาพอากาศร้อนจะมีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนดอกกระเทยให้กลายเป็ นดอกตัวเมีย และถ้ามีอากาศร้อนมาก
ๆ จะทําให้มะละกอไม่ติดดอกได้ จึงควรให้มีความชื้นอย่างเพียงพอในช่วงที่มีอากาศร้อนจัด
 มะละกอจะมีราคาแพงขึ้นในช่วงเดือนสิ งหาคม-กันยายน
ลักษณะประจาพันธุ์ของมะละกอฮอลแลนด์
มะละกอฮอลแลนด์ ลําต้นใหญ่สีเขียว ใบมี 11 แฉกใหญ่ กลางใบมีกระโดงใบ 1 ใบ ก้านใบมีสีเขียวตั้งขึ้น
ดอกออก เป็ นช่อ ติดผลดก รู ปทรงกระบอกคล้ายลูกฟักอ่อน อายุ เก็บเกี่ยว 8 เดือน นํ้าหนักผลประมาณ
800-2,000 กรัม ต่อผล เนื้อสี แดงอมส้ม ไม่เละ เนื้อหนา 2.5-3.0 เซนติเมตร ความหวานวัดได้ 11-
13 องศาบริ กซ์ ผลผลิตต่อต้น 60-80 กิโลกรัม จุดเด่นที่มองออกง่ายมากว่าผลมะละกอฮอลแลนด์เป็ น
อย่างไรนั้น ที่ปลายผลจะป้ านคล้ายผลฟักอ่อน

ลักษณะเด่นของมะละกอฮอลลแลนด์ คือ ไม่มีกลิ่นยาง เนื้อหนา รสหวาน เปลือกหนา ทนทานต่อโรค


ทนทานต่อการขนส่ งให้ผลดก เนื้อแน่นแข็ง นํ้าหนักดี รสชาติหวาน ทนทานต่อโรค มีตลาดรองรับ
มะละกอพันธุ์น้ ีมีอายุเก็บเกี่ยว 8 เดือน นํ้าหนักผลอยูท่ ี่ประมาณ 0.8-1.2 กก.ต่อผล เนื้อมีสีแดงอมส้ม
ไม่เละ เนื้อหนา 2.5-3.0 เซนติเมตร ผลผลิตต่อต้น 60-80 กิโลกรัม การปลูกมะละกอพันธุ์ฮอลแลนด์
นี้สามารถปลูกได้เกือบทุกสภาพพื้นที่ ยกเว้นพื้นที่น้ าํ ขัง ดินที่เหมาะสมควรเป็ นดินเหนียวปนทราย
สภาพแวดล้ อมทีเ่ หมาะสมต่ อการเพาะปลูกมะละกอฮอลแลนด์ :
วิธีปลูกมะละกอ สามารถปลูกได้ทุกสภาพพื้นที่ ยกเว้นพื้นที่น้ าํ ขัง ดินที่ เหมาะสมมีความเป็ นกรดเป็ นด่าง
5.5-5.0 ระยะปลูก 2.5×3 เมตร ไร่ หนึ่งปลูกได้ 224 ต้น หากปลูกแล้ว ให้น้ าํ สมํ่าเสมอ มะละกอจะ
ให้ผลผลิตที่ดีมาก ปุ๋ ยที่ใส่ ให้ เริ่ มต้นที่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ ยคอก สําหรับปุ๋ ยวิทยาศาสตร์ ใช้ สู ตร 15-15-15 ระยะ
ที่ติดผลอ่อน ก่อนการเก็บเกี่ยวใส่ สู ตร 13-13-21 ใส่ รอบๆ ต้น จํานวน 1 ช้อนโต๊ะ ต่อต้น เมื่อปลูกได้
7-8 เดือน มะละกอฮอลแลนด์จะสุ กแก่ เริ่ มเก็บได้ ปริ มาณผลผลิต หากดูแลปานกลาง จะได้ผลผลิตราว
5-8 ตัน ต่อไร่ สาํ หรับการปลูกมะละกอแบบนี้
การเพาะเมล็ดมะละกอ
เนื่องจากเมล็ดมะละกอของเราผ่านการคัดเลือก และทําให้แห้ง เพื่อนํามาเป็ นเมล็ดพันธุ์โดยเฉพาะ ดังนั้น
หากซื้ อมาแล้วยังไม่เพาะ กรุ ณาเก็บในที่ๆ อุณหภูมิปกติ ไม่โดนแดด อย่าเปิ ดถุงหากเปิ ดแล้วควรปิ ดให้สนิท
ขั้นตอนการเพาะ มีดงั นี้
1. เตรี ยมถุงเพาะ โดยใช้ถุงดําขนาด 2 x 6 นิ้วแบบมีช่องระบายนํ้า สามารถหาซื้ อได้ตามร้านขายต้นไม้
ทัว่ ไป
2. เตรี ยมดินเพาะโดยใช้ดินร่ วน 4 ส่ วน ผสมแกลบข้าวขาว (ผสมเปลือกถัว่ หรื อใบก้ามปูสับ) 6 ส่ วน
หรื อ ในหน้าฝนหากต้องการให้การระบายนํ้าดี ใช้ดิน 3 ส่ วน แกลบ 7 ส่ วน
3. กรอกดินเพาะที่เตรี ยมไว้ใส่ ถุง แล้วรดนํ้าให้ชุ่ม ควรเรี ยงถุงเพาะไว้ในที่ร่ม ไม่โดนฝน และไม่ควรมี
แดดจัดจนร้อนเกินไป
4. แช่น้ าํ อุ่นทิ้งไว้ 1 คืน จากนั้นห่อผ้าขาวบางทิ้งไว้อีก 2-3 คืน(ถ้าอากาศเย็นจะเอาใส่ ถุงพลาสติกมัด
ปากถุงด้วย) เรี ยกว่าการบ่มเมล็ดครับ
5. นําเมล็ดที่แช่น้ าํ ใส่ ลงในถุงเพาะ โดยกดเมล็ดให้จมลงไปในดินประมาณ 1 เซนติเมตร ใส่ เมล็ดถุงละ
3 เมล็ด
6. รดนํ้าพอให้ชุ่มวันละ 2 ครั้งช่วงเช้ากับบ่าย
7. ประมาณ 2-4 อาทิตย์ (แล้วแต่ฤดูกาล) ต้นอ่อนจะโผล่ข้ ึนมา ให้ระวังมด แมลง และหนูมากินต้นอ่อน
8. ในแต่ละถุงอาจจะมีตน้ อ่อนได้ต้ งั แต่ 1 ถึง 3 ต้น ห้ามแยกต้นในถุงเดียวกันออกจากกันโดยเด็ดขาด
9. ในช่วงที่เป็ นต้นอ่อน ให้ระวังอย่ารดนํ้ามากเกิน จะทําให้รากเน่าตายได้ สังเกตใบจะเหลืองและต้นเหี่ ยว
ลงไป และอย่าให้โดดแดดจัดเกินไป จะทําให้ตน้ แห้ง ใบไหม้ และอย่าให้ปุ๋ยหรื อฉี ดปุ๋ ยทางใบ
10. เมื่อต้นอ่อนโตได้ประมาณ 3 อาทิตย์ ใบจริ ง 5 ใบ ให้นาํ ไปปลูกในแปลงต่อไป
11. ควรนําต้นอ่อนลงปลูกในช่วงอายุไม่เกิน 1 เดือน หากต้นอ่อนอายุมากกว่านั้น อัตราการรอดหลังจาก
ปลูกจะตํ่า และโตช้ากว่าต้นอ่อนที่อายุไม่เกิน 1 เดือน
เมื่อต้นโตขึ้นสักระยะหนึ่งจนถึงเวลาออกดอก จะเห็นความสมบูรณ์ของต้นและดอก ให้เลือกต้นที่สมบูรณ์
ดอกสมบูรณ์ ไม่เป็ นมะละกอตัวเมีย เพื่อที่จะได้มะละกอแขกดําศรี สะเกษตามที่ตลาดต้องการครับ
เมล็ดมะละกอที่ทาํ การเก็บเมล็ดพันธุ์จะมีการพักตัวครับ ยิง่ เก็บไว้นานก็ยงิ่ มีการพักตัวที่นิ่งทน
เมล็ดพันธุ์ใหม่ยอ่ มกระตุน้ การงอกง่ายแค่แช่น้ าํ ก็สามารถงอกได้เลยครับ
แต่เมล็ดที่เก็บไว้นานมากๆตองมีการทําลายการพักตัวและกระตุน้ การงอก
ดังนั้นวิธีการที่จะทําให้หยุดการพักตัวนั้น และกระตุน้ การงอกนั้นมีหลายวิธีครับ
เช่นการแช่น้ าํ อุ่น การเขย่า การแช่น้ าํ ธรรมดา การขูดเมล็ด ฯลฯ
ปลูกมะละกออย่างไรให้ ลูกดก
SHARE ON:FacebookTwitter Google +PinterestDigg

คราวทีแ่ ล้ วหลายคนให้ ความสนใจเกีย่ วกับมะละกอในกระถางต้ นหนึ่งทีท่ ้งั ลูกดก และต้ นเตีย้ ทั้งนี้ จาก
เทคนิคต่ างๆ หลังจากทีไ่ ด้ เรียนรู้ ในการปลูกมะละกอมาแล้ ว แม้ จะไม่ ได้ เชี่ ยวชาญในด้ านนีโ้ ดยตรงเหมือน
เกษตรกรผู้ปลูกมะละกอ แต่ กท็ ดลองแล้ วว่ า สามารถทาได้ จริง
โดยเฉพาะการปลูกมะละกอในกระถางที่จะทําให้ผลผลิตของมะละกอมากขึ้นนั้น เหล่าปราชญ์ชาวบ้านหลาย
ท่านก็ให้แนวคิดเป็ นเสี ยงเดียวกันว่า มีหลายวิธีและสามารถทําได้เหมือนกับการปลูกมะละกอในแปลง
ทัว่ ไป โดยเทคนิคมีอยูไ่ ม่กี่อย่าง เพื่อช่วยให้การเร่ งมะละกอให้ลูกดก มีวธิ ี ทาํ ดังนี้
ก่อนอื่นต้องคัดเมล็ดพันธุ์มะละกอก่อน คัดเลือกสายพันธุ์ที่มีความเป็ นไปได้วา่ จะลูกดก โดยเฉพาะสายพันธุ์
เช่น ฮอลแลนด์ แขกดํา มะละกอสายแวว (พันธุ์ใหม่ของคุณบุญเหล็ง สายแวว เกษตรกรชาวบ้านหัวเรื อ ต.
หัวเรื อ อ.เมือง จ.อุบลราชธานี) เมื่อผลแก่เมล็ดจะเปลี่ยนเป็ นสี ดาํ และมีเยือ่ หุ ม้ เมล็ดอยู่ การเอาเมล็ดที่อยูใ่ น
ผลที่แก่ไปเพาะทันทีจะมีอตั ราการงอกตํ่า เพราะเยือ่ หุ ม้ เมล็ดชั้นนอกมีสารยับยั้งการงอกนัน่ เอง การที่จะทํา
ให้มีการงอกสู งขึ้นทําได้โดย เอามือขยี้เปลือกหุ ม้ เมล็ดออกให้หมด หรื อเอาเมล็ดใส่ ในถ้วยแช่น้ าํ ให้ท่วมทิ้ง
ไว้ 48 ชัว่ โมง
เมื่อเยือ่ หุ ม้ เมล็ดจะเน่าหลุดง่าย เอามือขยี้เยือ่ หุ ม้ เมล็ดออกแล้วล้างด้วยนํ้าสะอาดหลายครั้ง แล้วนําเมล็ดคลุก
ยาป้ องกันเชื้อราให้ทวั่ นําไปเพาะได้ทนั ทีหรื อถ้าจะเก็บรักษาเมล็ดไว้ให้นาน ก็เอาเมล็ดคลุกยาป้ องกันราให้
ทัว่ แล้วใส่ ในถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่น นําไปเก็บไว้ช่องเก็บผักในตูเ้ ย็น จะสามารถเก็บได้นานหลาย
เดือน

เพาะเมล็ดมะละกอที่เตรี ยมไว้ ให้ได้ตน้ อ่อน เมื่อต้นสู งประมาณ 20-30 ซม. ให้ตดั ใบออกให้เหลือ 3-4
ใบ หรื อโน้มต้น (จะเป็ นเทคนิคทําให้มะละกอต้นเตี้ย หรื อมะละกอต้นเอน) การบิด ผ่าต้น เด็ดยอดเพื่อให้
มะละกอแตกเป็ นต้นคู่ ฯลฯ

อีกวิธีในการเพิม่ ผลผลิตมะละกอ เพื่อทําให้มะละกอในสวนผลดก ขั้นแรกคือการเตรี ยมดินปลูก โดยการ


ตากดิน 2 อาทิตย์และนําดินมาคลุกเคล้ากับปุ๋ ยคอกหรื อปุ๋ ยหมักอัตราส่ วน 1:1 หรื อการใส่ ปุ๋ยคอก/ปุ๋ ย
หมักรองก้นหลุมแล้วใช้ดินที่เตรี ยมไว้โปรยทับเพื่อนํากล้ามาปลูก ก่อนลงกล้า ให้ตดั รากแก้วออกให้เหลือ
ความยาวประมาณ 2 ข้อนิ้ว คลุกด้วยปูนขาวเพื่อป้ องกันเชื้อรา รดนํ้าเช้าเย็น

You might also like