You are on page 1of 8

ขัน

้ ของการปฏบัตศ ิ าสนา (ไตรสิกขา)


วันเสาร์ที่ 10 ก.ค. 2010 เวลา 21:44 น. | Author:
rungnapa |
คูม
่ ือมนุษย์
ในบทนี้ จะบรรยายให้ทราบถึงวิธท ี จี่ ะตัดอุปาทาน
หลักพุทธศาสนาทีเ่ กีย่ วกับกรณีนี้คอ
ื ศีล สมาธิ ปัญญา
ข้อปฏิบตั ห
ิ มวดนี้เรียกว่า ไตรสิกขา

สิกขาขัน ้ แรกทีส่ ุด เราเรียกว่า "ศีล" ซึง่ หมายถึงการประพฤติดี


ประพฤติถูกต้องตามหลักทั่ว ๆ ไป
ไม่ทาให้ผอ ู ้ ืน
่ เดือดร้อนและไม่ทาให้ตนเองเดือดร้อน
มีจาแนกไว้เป็ นศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ศีล ๒๒๗ หรืออืน ่ ๆอีก
เป็ นการปฏิบตั เิ พือ่ ความสงบเรียบร้อยปราศจากโทษขัน ้ ต้น ๆ ทางกาย
ทางวาจาของตน ทีเ่ กีย่ วกับสังคม และส่วนรวม หรือเกีย่ วกับสิง่ ต่าง ๆ
ทีจ่ าเป็ นแก่การเป็ นอยู่
สิกขาขัน ้ ที่
๒ เรียกว่า "สมาธิ" ข้อนี้ได้แก่การบังคับจิตใจของตัวเองไว้ไห้อยูใ่ นส
ภาพทีจ่ ะทาประโยชน์ให้มากทีส่ ุดตามทีต ่ นต้องการ
ขอให้ตง้ ั ข้อสังเกตุความหมายของคาว่า "สมาธิ" ไว้ให้ถก ู ต้องโดยมาก
ท่านทัง้ หลายย่อมจะได้ฟงั มาว่า
สมาธินน ้ ั คือจิตทีต่ ง้ ั มั่นแน่ วแน่ นิ่งเหมือนท่อนไม้หรือมักว่าเป็ นจิตทีส่
งบ เป็ นจิตทีบ ่ ริสทธิแ์ ต่ลกั ษณะเพียง ๒ อย่างนัน้
ไม่ใช่ความหมายอันแท้จริงของสมาธิ
การกล่าวเช่นนี้มีหลักในพุทธวจนะนั่นเอง;
พระองค์ทรงแสดงลักษณะของจิต ด้วยคาอีกคาหนึ่งซึง่ สาคัญทีส่ ุด
คือคาว่า "กมมนีโย" แปลว่า
สมควรแก่การทางานและคานี้เป็ นคาสุดท้ายทีท ่ รง
แสดงลักษณะจิตทีเ่ ป็ นสมาธิ
สิกขาขัน
้ ที่
๓ นัน
้ เรียกว่า "ปัญญา" หมายถึงการฝึ กฝนอบรมทาให้เกิดความรูค
้ วา
มเข้าใจอันถูกต้องและสมบูรณ์ ถงึ ทีส ่ ุดในสิง่ ทัง้ ปวงตามทีม
่ นั เป็ นจริง
คนเราตามปกติไม่สามารถรูอ้ ะไร ๆ ให้ถูกต้องตามทีเ่ ป็ นจริงได้
คือมันถูกแต่เพียงตามทีเ่ ราเข้าใจเอาเองหรือตามโลกสมมุติ
มันจึงไม่ใช่ตามความจริง
ด้วยเหตุนี้พุทธศาสนาจึงมีระเบียบปฏิบตั เิ รียกว่า ปัญญาสิกขา
ึ้ อีกส่วนหนึ่งเป็ นส่วนสุดท้ายสาหรับจะได้ฝึกฝนอบรมให้เกิดควา
นี้ขน
มเข้าใจ ให้เห็นแจ้งในสิง่ ทัง้ หลายตามทีเ่ ป็ นจริงโดยสมบูรณ์
คาว่า "ความเข้าใจ" กับคาว่า "ความเห็นแจ้ง" นัน ้ ในทางธรรมะแล้วไ
ม่เป็ นอันเดียวกัน. "ความเข้าใจ" นัน ้ อาศัยการคิดคานึงด้วยการใช้เห
ตุผลบ้าง หรือการคาดคะเนเอาตามเหตุผลต่าง ๆ บ้าง
ส่วน "ความเห็นแจ้ง" ไปไกลกว่านัน ้
คือต้องเป็ นดังทีเ่ ราได้ซมึ ชาบมาแล้ว ด้วยการผ่านผจญสิง่ นัน ้ ๆ
มาด้วยตนเอง หรือด้วยการมีจติ ใจจดจ่อต่อเนื่องอยูก ่ บั สิง่ นัน
้ ๆ
โดยอาศัยการเฝ้ าเพ่งดูอย่างพินจิ พิจารณา
จนเกิดความรูส้ ก ึ เบือ่ หน่ ายไม่หลงใหลในสิง่ นัน้ ๆ ด้วยน้าใสใจจริง
ไม่ใช่ดว้ ยการคิดเอาตามเหตุผล เพราะฉะนัน ้ ปัญญา-
สิกขาตามหลักของพุทธศาสนาจึงไม่ได้หมายถึงปัญญาทีไ่ ด้มาจากหลั
กของเหตุผล
เหมือนทีใ่ ช้กนั อยูใ่ นวงการศึกษาวิชาการสมัยปัจจุบน ั แต่เป็ นคนละอย่
างทีเดียว
ปัญญาในทางพุทธศาสนา ต้องเป็ นการรูแ ้ จ้งเห็นแจ้งด้วยน้าใสใจจริง
ด้วยการผ่านผจญสิง่ นัน ้ ๆ มาแล้ว โดยวิธใี ดวิธห ี นึ่ง(spiritual-
Experience) จนฝังใจแน่ วแน่ ไม่อาจลืมเลือนได้เพราะฉะนัน ้
การพิจารณาในทางปัญญาตามสิกขาข้อนี้จงึ ต้องใช้สงิ่ ต่าง ๆ
ทีผ
่ า่ นมาแล้วในชีวต ิ ตนเองเป็ นเครือ ่ งพิจารณา
หรืออย่างน้อยก็ตอ ้ งเป็ นเรือ
่ งทีม
่ ีน้าหนักมาก
พอทีจ่ ะทาให้ใจของเราเกิดความรูส้ ก ึ สลดสังเวช
เบือ่ หน่ ายในสิง่ ทัง้ หลาย ทีไ่ ม่เทีย่ งเป็ นทุกข์
ไม่ใช่ตวั ตนเหล่านัน ้ ได้จริง
ถ้าเราจะคิดไปตามแนวของเหตุผล ทาการวินิจฉัยลักษณะทีไ่ ม่เทีย่ ง
เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตากันสักเท่าไรก็ตามมันก็ได้แค่ความเข้าใจ
ไม่มีทางให้เกิดความสลดสังเวชได้
ไม่มีทางให้เกิดความเบือ ่ หน่ ายในสิง่ ทัง้ หลายในโลกได้
ขอให้เข้าใจว่ากิรยิ าอาการทีจ่ ติ ใจเบือ่ หน่ าย
คลายความอยากจากสิง่ ทีเ่ คยหลงรักนั่ นแหละคือตัวความเห็นแจ้งในที่
นี้ หลักธรรมะได้บญ ั ญัตไิ ว้ชดั เจนทีเดียวว่า ถ้าเห็นแจ้งจริง ๆ
ก็ตอ
้ งเบือ่ หน่ ายจริง ๆ จะไปหยุดอยูเ่ พียงแค่เห็นแจ้งนัน้ ไม่ได้
ความเบือ่ หน่ ายคลายความอยากในสิง่ นัน ้ มาทันควั
้ จะต้องเกิดตามขึน
นอย่างแยกกันไม่ได้
ศีลสิกขา นัน ้ เป็ นเพียงการศึกษาปฏิบตั ิ ในขัน
้ ตระเตรียมเบื้องต้น
เพือ
่ ให้เรามีความเป็ นอยูผ ่ าสุก อันจะช่วยให้จต
ิ ใจเป็ นปกติ
อานิสงส์ของศีลมีหลายอย่างด้วยกัน
แต่ทส ี่ าคัญทีส่ ุดก็คอื เป็ นไปเพือ่ ให้เกิดสมาธิ อานิสงส์อย่างอืน่ ๆ
เช่นว่าให้เป็ นสุขหรือให้ไปเกิดเป็ นเทวดาในสวรรค์นน ้ั
พระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงมุง่ หมายโดยตรง ท่านม่งหมายโดยตรงถึงข้อที่
จะให้เป็ นทีเ่ กิดทีเ่ จริญของสมาธิ ศีลจะส่งเสริมให้เกิดสมาธิได้โดยง่าย
ถ้าเรามีเครือ่ งรบกวนมาก จิตใจของเราจะเป็ นสมาธิได้อย่างไร
สมาธิสก ิ ขา คือการทีเ่ ราสามารถควบคุมจิตหรือใช้จต ิ ของเรานี้
ให้ทาหน้าทีข ่ องมัน ให้เป็ นประโยชน์ถงึ ทีส่ ุด ในขัน
้ ศีล
มีความประพฤติดท ี างกาย ทางวาจา
ในขัน้ สมาธิมีความประพฤติดท ี างจิต คือ ไม่มีความคิดผิด
ไม่เศร้าหมองไม่มค ี วามฟุ้ งซ่าน
และอยูใ่ นสภาพทีส่ ามารถจะปฏิบตั ห ิ น้าทีข
่ องมัน อย่างนี้เรียกสมาธิ
แม้ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับประโยชน์ทวั่ ๆ ไปในทางโลก
สมาธิก็ยงั เป็ นของจาเป็ นทุกกรณี ไม่วา่ เราจะทาอะไรถ้าไม่ทาด้วยใจ
ทีเ่ ป็ นสมาธิแล้ว ย่อมไม่ได้รบั ผลสาเร็จด้วยดี
ท่านจึงจัดสมาธินี้ไว้ในลักษณะของบุคคลทีเ่ รียกว่า มหาบุรษ
ไม่วา่ จะเป็ นมหาบุรษทางโลกหรือทางธรรม
ล้วนแต่จาเป็ นจะต้องมีสมาธิเป็ นคุณสมบัตป ิ ระจาตัวทัง้ นัน

แม้แต่เด็กนักเรียน ถ้าไม่มีจติ เป็ นสมาธิแล้ว จะคิดเลขออกได้อย่างไร.
สมาธิในทานองนัน ้ เป็ นสมาธิตามธรรมชาติ
มันยังอยูใ่ นระดับอ่อน ส่วนสมาธิในทางหลักพุทธศาสนา
ทีเ่ รากาลังพูดถึงนี้ ้ ไปกว่า
เป็ นสมาธิทเี่ ราได้ฝึกให้สุงยิง่ ขึน
ทีจ่ ะเป็ นไปตามธรรมชาติ เพราะฉะนัน้
เมือ ่ ฝึ กกันสาเร็จแล้วจึงกลายเป็ นจิตทีม
่ ีความสามารถ มีกาลัง
มีคณ ุ สมบัตพิ เิ ศษ อย่างอืน
่ ๆมากมายเหลือเกิน
การทีค ่ นเราสามารถถือเอาประโยชน์
จากสมาธิได้ถงึ ปานนี้เรียกว่ามนุษย์ได้กา้ วขึน ้ มาถึง
การรูค ้ วามลับของธรรมชาติอีกขัน ้ หนึ่ง ข้อนี้หมายถึง
การรูว้ ธิ บ
ี งั ค ับจิต ให้มีสมรรถภาพยิง่ ไปกว่ามนุษย์ธรรมดาจะทาได้
ขัน
้ ศีลยังไม่ถอ ื ว่าเป็ นการอวดอุตตริมนุสสธรรม
แต่พอมาถึง ขัน ้ ทีเ่ ป็ นสมาธิ เป็ นฌาน เป็ นสมาบัติ
ท่านจัดเป็ นอุตตริมนุสสธรรม ซึง่ พระภิกษุ จะอวดไม่ได้ขน ื อวดชือ่ ว่า
ไม่เป็ นพระทีด ่ ห ี รือถึงกับไมาเป็ นพระเลยแล้วแต่กรณี
การได้มาซึง่ สมาธินี้เราต้องลงทุน อดทนศึกษาอบรมและปฏิบตั ิ
จนเรามีสมาธิตามสมควร
ทีจ่ ะมีได้ในทีส่ ุดเราก็จะได้ผลในการปฏิบตั ห ิ น้าทีไ่ ด้ดม
ี ากไปกว่ามนุ
ษย์ธรรมดา ทีเ่ ขาได้ ๆ
กันเพราะเรามีเครือ่ งมือทีส่ ูงไปกว่าทีเ่ ขามี เพราะฉะนัน ้
จึงขอให้สนใจไว้ อย่าถือว่าเป็ นของครึ โง่เขลา งมงายพ้นสมัยเลย
มันยังคงเป็ นของสาคัญทีส่ ุด จึงต้องใช้กน ั อยูเ่ รือ่ ยไป
และยิง่ ในสมัยทีโ่ ลกมีอะไร ๆ
หมุนเร็วแทบจะลุกเป็ นไฟอย่างนี้ดว้ ยแล้ว
ยิง่ จะต้องการสมาธิมากไปเสียกว่าครัง้ พุทธกาลด้วยซา้ ไปอย่าไปหลง
คิดว่า เป็ นเรือ่ งไปวัดหรือเรือ
่ งสาหรับคนวัด หรือของคนงมงายเลย
ถัดไปนี้
ก็ถงึ ความเกีย่ วเนื่องกันระหว่าง สมาธิสก ิ ขา กับ ปัญญาสิกขา พระพุท
ธเจ้าตรัสไว้เลยทีเดียวว่า เมือ
่ จิตเป็ นสมาธิแล้ว
ย่อมเห็นสิง่ ทัง้ หลายทัง้ ปวงตามทีเ่ ป็ นจริง
หมายถึงอาการทีจ่ ต ิ ประกอบด้วยสมาธิ
ในลักษณะทีพ ่ ร้อมจะปฏิบตั หิ น้าทีถ
่ า้ จิตมีลกั ษณะเช่นนี้แล้ว
ก็จะเห็สงิ่ ทัง้ หลายตามทีเ่ ป็ นจริง
่ น่ อยหนึ่ง
ข้อนี้มีความแปลกประหลาคอยูห คือว่าเรือ่ งอะไร
ๆทีเ่ ราอยากรู ้ หรือปัญหาทีเ่ ราอยากจะสะสางนัน ้
ตามปกติมน ั ฝังตัวประจาอยูใ่ นใจของคนเราทัง้ นัน ้
เราอาจจะไม่รูส้ กึ ก็ไดคือมันอยูใ่ ต้จติ สานึก (subconscious)
เรือ
่ ยไปตลอดเวลา ขณะทีเ่ ราตัง้ ใจจะสะสางให้ออก
มันไม่ออกเพราะเหตุวา่ จิตใจขณะนัน ้
ยังไม่เหมาะสมทีจ่ ะสะสางปัญหานัน ้ นั่ นเอง ถ้าผูใ้ ดทาสมาธิทถ ี่ ูกต้อง
คือให้มีลกั ษณะทีเ่ รียกว่า "กมมนีโย" พร้อมทีจ่ ะปฏิบตั งิ านทางจิตแล้ว
ปัญหาต่าง ๆ ทีส่ ะสมอยูใ่ ต้จติ สานึก นัน้
มันจะมีคาตอบโพล่งออกมาเฉย ๆ อย่างไม่มป ี ี่ มีขลุย่ ต่อเนื่อง-จาก
ขณะทีจ่ ต
ิ เป็ นสมาธินน ้ั
แต่วา่ ถ้าหากมันยังไม่โพล่งออกมา เราก็ยงั มีวธิ อ
ี นื่ อีกอันหนึง่
คือให้น้อมจิตไปสูก ่ ารพิจารณา
ปัญหาทีเ่ รากาลังมีอยูก่ ารพิจารณาด้วยกาลังของสมาธิ
ในลักษณะเช่นนี้เองเรียกว่าปัญญาสิกขา
หรืออย่างน้อยก็สงเคราะห์เข้าในปัญญาสิกขาในคืนวันทีต ่ รัสรู ้
พระพุทธเจ้าได้ตรัสรูป ้ ฏิจจสมุปบาท คือรูอ้ ะไรเป็ นอะไร
ทยอยกันไปตามลาดับ ทัง้ นี้ก็โดยสมาธิ อย่างทีก ่ ล่าวมาแล้ว
พระองค์ได้ตรัสเล่าเรือ ่ งนี้ไว้อย่างละเอียด แต่รวมใจความแล้วก็คอ ื ว่า
ในขณะทีจ่ ต ิ เป็ นสมาธิดแ ี ล้ว ก็น้อมจิตไปเพือ ่ พิจารณาปัญหานัน ้ ๆ
ทัง้ หมดนี้เป็ นการ
แสดงให้เห็นว่า ปัญญากับสมาธินี้จะต้องเกีย่ วข้องกันเสมอไป. แต่วา่ อ
าการทีป ่ ญ
ั ญา อาศัยสมาธินน
้ ั บางทีเรามองไม่เห็นเลย
เช่นเวลาทีเ่ งียบสงัดเย็นสบายไม่มีอะไรรบกวนใจ
จิตเป็ นสมาธิสดชืน ่ ดี เราก็คด ิ อะไร ๆ ทีเ่ ป็ นคาตอบของปัญหา
ซึง่ ติดค้างอยูใ่ นใจได้ เป็ นต้น
แต่ในพุทธศาสนานัน ้ ท่าน
แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาธิกบั ปัญญา ้ ไปกว่านัน
ยิง่ ขึน ้ อีก
คือ ต้องมีสมาธิจงึ จะมีปญ ั ญา ต้องมีปญ ั ญาจึงจะมีสมาธิ ข้อนี้เป็ นเพร
าะ ในการทีจ่ ะให้เกิดสมาธิ ยิง่ ไปกว่าสมาธิตามธรรมชาตินน ้ั
มันต้องอาศัยการต่าง ๆ ของจิต ว่าจะบังคับมันอย่างไร
จึงจะเกิดเป็ นสมาธิขน ึ้ มาได้ ฉะนัน
้ คนมีปญั ญา
จึงสามารถมีสมาธิมากขึน ้ ได้ตามลาดับ เมือ่ มีสมาธิมากขึน ้
ปัญญาก็ยงิ่ มีกาลังมากขึน ้ ตามกาลังเสริมซึง่ กันและกันไปในตัว
ถ้ามีปญ ั ญาแล้ว ก็จะต้องมีความเห็นแจ้ง
และมีผลเป็ นความรูส้ ก ึ เบือ
่ หน่ ายสลดสังเวช
ถอยหลังออกมาจากสิง่ ทัง้ ปวงทีเ่ คยหลงรักหลงยึดถือ
ถ้ายังรีเ่ ข้าไปหาสิง่ ทัง้ ปวงด้วยความหลงรัก ด้วยความยึดถือ
ด้วยความหลงใหลแล้วไม่ใช่เป็ นปัญญาของพระพุทธศาสนา
ทีว่ า่ ชะงักหรือถอยหลังนี้ไม่ใช่ทางกิรยิ าอาการ เช่นจะต้องจับสิง่ นัน ้
ส่งนี้ขว้างทิง้ หรือทุบตีให้แตกหักหรือว่าต้องวิง่ หนีเข้าป่ าไป
อย่างนี้ก็หามิได้แต่หมายถึงชะงักถอยหลัง ด้วยจิตใจโดยเฉพาะ
คือมีจต ิ ใจถอยห่าง
ออกจากการทีเ่ คยตกเป็ นทาสของสิง่ ทัง้ ปวงมาเป็ นจิตทีอ่ ส ิ ระ
ผลของความเบือ ่ หน่ ายคลายความอยาก จากสิง่ ทัง้ ปวงมันเป็ นอย่างนี้
ไม่ใช่ไปฆ่าตัวตาย
หรือเข้าป่ าไปบวชเป็ นฤๅษี แล้วเอาไฟจุดเผาสิง่ ต่าง ๆ เสียให้หมด
ภายนอกจะเป็ นอย่างไรก็เป็ นไปตามเรือ ่ ง
ยังคงเป็ นไปตามเหตุผลตามความเหมาะสมแต่ภายในจิตใจนัน ้ ย่อมเป็
นอิสระ ไม่เป็ นทาสของสิง่ ใดอย่างแต่กอ
่ นอีกต่อไป
นี่คอ
ื อานิสงส์ของปัญญา ท่านใช้เรียกด้วยคาบาลีวา่ "วิมุตติ" หมายค
วามว่า หลุดพ้นจากการเป็ นทาสของสิง่ ทัง้ ปวง
โดยเฉพาะทาสของสิง่ ทีเ่ รารัก
แม่แต่สงิ่ ทีเ่ ราไม่รกั
เราก็ตกเป็ นทาสของมันเหมือนกันเป็ นทาสตรงทีต ่ อ
้ งไปเกลียดมันนั่ น
เอง อยูเ่ ฉย ๆ ไม่ได้ อุตสาห์ไปเกลียดมัน ไปร้อนใจกับมัน
มันบังคับเราได้เหมือนกับของทีเรารัก ทีอ่ ยูใ่ นลักษณะคนละอย่าง
ฉะนัน
้ คาว่าเป็ นทาสของสิง่ ทัง้ ปวงนัน

ย่อมหมายถึงทัง้ ทางทีพ ่ อใจและไม่พอใจ ทัง้ หมดนี้ แสดงว่า
เราหลุดออกจากการเป็ นทาสของสิง่ ทัง้ ปวง
มาเป็ นอิสระอยูไ่ ด้ดว้ ยอาศัยปัญญา
พระพุทธเจ้าท่านจึงได้วางหลักไว้สน ้ั ๆ
ุ ธิไ์ ด้ดว้ ยปัญญา
ทีส่ ุดว่า คนเราบริสท
ท่านไม่เคยตรัสว่าบริสุทธิไ์ ด้ดว้ ยศีลด้วยสมาธิ แต่บริสุทธิไ์ ด้ดว้ ยปัญ
ญา เพราะมันทาให้หลุดออกมาจากสิง่ ทัง้ ปวง การไม่หลุดก็คอ ื
มีความไม่บริสุทธิส์ กปรกมืดมัวเร่าร้อน
่ หลุดก็จะมีความบริสุทธิส์ ะอาด-สว่างไสว
เมือ แจ่มแจ้งและสงบเย็น
มันเป็ นผลของปัญญาหรือเป็ นลักษณะอาการที่
แสดงว่า ปัญญาได้เข้าปฏิบตั ห ิ น้าทีข
่ องมันถึงทีส่ ุดแล้ว ฉะนัน
้ ขอให้ท่
านทัง้ หลายจงได้กาหนดพิจารณาสิกขาข้อที่ ๓ คือปัญญานี้ให้ดี ๆ
ว่ามันมีอยูอ
่ ย่างไรและเป็ นของสูงสุดเพียงไร
ปัญญาในทางพระพุทธศาสนาก็คอ ื ปัญญาทีถ
่ อนตนออกมาเสียจากสิง่
ทัง้ ปวง โดยการทาลายอุปาทาน ๔
ประการเสียได้หมดสิน ้ ความยึดติดทัง้ ๔
นัน ้ เป็ นเหมือนกับเชือกทีผ ่ ก
ู มัดล่ามเราไว้ ปัญญาก็เป็ นเสมือนมีดทีจ่
ะตัตสิง่ เหล่านัน ้ ให้ขาดไปจนไม่มีอะไรเป็ นเครือ ่ งผูกมัดเราไว้ให้ตต
ิ อ
ยูก
่ บั สิง่ ต่าง ๆ ได้อกี ต่อไป
ข้อปฏิบตั ท
ิ ง้ ั ๓ อย่างดังกล่าวนี้ จะคงทนต่อการพิสูจน์หรือไม่
จะเป็ นหลักวิชาอันแท้จริง เหมาะทีท
่ ก
ุ คนจะปฏิบตั ห
ิ รือไม่
ขอให้พจิ ารณาดู
เมือ ่ ดูตอ
่ ไปอีก จะเห็นว่าหลักทัง้ ๓ ข้อนี้ไม่คา้ นกับศาสนาไหนเลย
ถ้าศาสนานัน ้ ๆ ต้องการจะแก้ป้ญหาต่าง ๆ
ทีเ่ ป็ นความทุกข์ของมนุษย์กน ั จริง
ๆ พุทธศาสนาย่อมไม่เป็ นปฏิปก ั ษ์ ตอ
่ ศาสนาใด ๆ แต่มีอะไร ๆ
มากไปกว่าศาสนาอืน ่ ๆ มีโดยเฉพาะก็คอ ื การปฏิบตั ใิ นทางปัญญา
อันเป็ นสิกขาข้อสุดท้ายเพือ ่ ตัดความยึดมั่นทัง้ ๔ ประการ
ปลดเปลื้องจิตใจให้เป็ นอิสระจากสิง่ ทัง้ ปวง ไม่ผก ู พันเป็ นทาส
หรือตกอยูใ่ นอานาจของสิง่ ทัง้ ปวงเช่นพระเป็ นเจ้าบนสวรรค์.หรือผีส
างเทวดา ข้อนี้แหละ
ไม่มีศาสนาอืน ่ กล้าพอทีจ่ ะสอนให้เป็ นอิสระลิน ้ เชิง ฉะนัน

เราจงเข้าใจความสาคัญขอพระพุทธศาสนาไว้ให้ดี ๆ ดังทีก ่ ล่าวมา
เมือ
่ ความจริงได้แสดงแล้วว่า
พระพุทธศาสนากล้าท้าให้พส ิ ูจน์วา่ มีอะไร ๆ ทุกอย่างทีศ ่ าสนาอืน่ ๆ
มี และยังมีอะไรบางอย่าง มากไปกว่าทีเ่ ขามีกนั
ฉะนัน ้ จะเห็นได้ทน
ั ทีวา่ พุทธศาสนานี้เป็ นของคนทั่วไป
หรือเป็ นศาสนาสากลทีใ่ ช้ได้กน ั คนทกคน ทุกยุคทุกสมัย
มีปญ ั หาอย่างเดียวกัน มีสงิ่ ทีต
่ อ
้ งทาอย่างเดียวกัน
คือต้องตัดกิเลสตัณหาทีเ่ ป็ นตัวการสาคัญ หรือตัดความยึดติดทีผ
่ ด
ิ ๆ
นี้เสียให้ได้ นี้แหละ คือความหมายของความเป็ นศาสนาสากล

You might also like