You are on page 1of 37

รหัสวิชา 826356

ธุรกิจและชีวติ ประจำวัน
www.arts.kmutnb.ac.th

LOGO

ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ประยุกต์


Dr Nipa Sriwarom
บทที่ 2 จริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม

การบ้าน จริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม
1. บริษทั มีการดาเนินการทางด้านจริยธรรมทางธุรกิจและความ
รับผิดชอบต่อสังคม อะไรบ้าง
2. ประโยชน์ทบ่ี ริษทั จะได้รบั ในการดาเนินการดังกล่าวมีอะไร
3. บริษทั ควรเพิม่ เติมหรือ มีการดาเนินการทางด้านจริยธรรม
ทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคมประเด็นใดบ้าง

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


จริยธรรมทางธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม

บทที่ 2
จริยธรรมทางธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม
(Business Ethics and Social Responsibility)

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


จริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติ ศีลธรรมอันดี ตามธรรมเนี ยมยุโรป
อาจเรียก จริยธรรมว่า Moral philosophy (หลักจริยธรรม)

จริยธรรม น. ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติปฏิบตั ิ ศีลธรรม กฎศีลธรรม

“จริยธรรม” มาจากคา 2 คาคือ จริย + ธรรม ซึ่งแปลตามศัพท์ คือ


- จริยะ แปลว่า ความประพฤติ กิริยาที่ควรประพฤติ
- ธรรม แปลว่า คุณความดี คาสังสอนในศาสนา
่ หลักปฏิบตั ิ ในทางศาสนา
ความจริง ความยุติธรรม ความถูกต้อง กฎเกณฑ์
เมื่อเอาคา จริยะ มาต่อกับคาว่า ธรรม เป็ นจริยธรรม แปลเอาความหมายว่า
กฎเกณฑ์แห่งความประพฤติ หรือหลักความจริงที่เป็ นแนวทางแห่งความ
ประพฤติปฏิบตั ิ
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
วัตถุประสงค์ของการศึกษา

ให้คาจากัดความของจริยธรรมทางธุรกิจ และบอกถึงความสาคัญ
ของจริยธรรมทางธุรกิจ
เข้าใจถึงปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจที่อาจเกิดขึน้ ใน
การดาเนินธุรกิจ
ระบุได้ว่าธุรกิจจะสร้างพฤติกรรมที่มีจริยธรรมให้เกิดขึน้
ในองค์การธุรกิจได้อย่างไร
สามารถอธิบายองค์ประกอบ 4 ส่วนของคาว่าความ
รับผิดชอบต่อสังคม
อธิบายถึงความรับผิดชอบต่อสังคมซึ่งธุรกิจแสดงต่อเจ้าของ
ธุรกิจพนักงาน ผู้บริโภค สภาพแวดล้อม และชุมชนได้

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


จริยธรรมทางธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม
จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) คือ มาตรฐานหรือหลักการ
ประพฤติปฏิบตั ิ ที่ดีงามเหมาะสมที่มีคณ ุ ธรรม ถูกต้องตามศีลธรรม
และค่านิยมของสังคมนัน้ ซึ่งจะใช้เป็ นสิ่งตัดสินและกาหนดว่าการ
กระทาในลักษณะใดของธุรกิจได้รบั การยอมรับว่าถูกต้อง
เหมาะสม
ผูท้ ี่ตดั สินว่าการกระทาของธุรกิจเป็ นที่ยอมรับหรือไม่ มีหลาย
ั ญัติกฎระเบียบของรัฐบาล กลุ่ม
ฝ่ ายคือ ลูกค้า คู่แข่งขันผูบ้ ญ
ผูส้ นใจ ชุมชน
บุคคลแต่ละกลุ่ม แต่ละสังคม มีความต้องการแตกต่างกัน จึงมี
มุมมองที่แตกต่างกันในการตัดสินใจว่าสิ่งใดถูกต้องเหมาะสม
หรือไม่ ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
กำรนำสั ญญลักษณ์ ธง มำใช้ ในธุรกิจกำรค้ ำ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


ตะลึง! นำงแบบโชว์ หวิว ใช้ ธงชำติคลุมตัว
ในกำรแถลงจข่ ำว นำงแบบผู้ถ่ำยภำพดังกล่ ำว "บี สิ ริพร อัศวยุทธกุล"
"บีเดินทางไปประกวดเมือ่ 2 ปีทแ่ี ล้ว ซึง่ ประกวดทัง้ หมด 24 ประเทศ
ทัวโลก
่ พอไปถึงกระเป๋าเดินทางหายทีแ่ ฟร้งเฟิรต์ แล้วพอต่อเครือ่ ง
ไปโดมินิกนั เพิง่ รูว้ า่ กระเป๋าหาย พอไปถึงกองประกวด ทางทีมงาน
สไตลิสต์กย็ น่ื ธงชาติให้ ตอนหน้ากล้องเลย แล้วคอนเซ็ปต์คอื ให้
ถ่ายภาพกับธงชาติ แล้วบีกไ็ ม่รเู้ รือ่ งมาก่อน รวมทัง้ ทีมงานก็ไม่รมู้ า
ก่อนด้วย พออยูห่ น้ากล้องก็ทาอะไรไม่ได้ แต่บอกแล้วค่ะ ยืนยันทุก
อย่างว่าไม่ เหมาะสมสาหรับคนไทย แต่ทางนัน้ เขาบอกว่ามันคือกฎ
ต้องปฏิตาม ก็เลยต้องถ่ายไปก่อนเพราะกดดัน พอถ่ายเสร็จ ก็มาบอก
คุณดอมว่ามันเกิดเรือ่ งแบบนี้ขน้ึ คุณดอมก็เลยบอกว่าจะเอารูปนี้ออก
เผยแพร่ไม่ได้ ซึง่ ตอนนัน้ บริษทั เดนนิส เขาจะเอารูปออกทัง้ หมดที่
ถ่ายกับธงชาติออกให้“
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
พรบ เรื่อง ธง พ.ศ. 2479 โดยผู้ที่จะนาไปใช้ต้องขออนุญาต

ห้ามมิให้ผใ้ ู ดกระทาการต่อไปนี้
1. ประดิษฐ์รปู หรือเครือ่ งหมายใดๆ นอกจากทีอ่ นุญาตไว้ใน
พระราชบัญญัตธิ ง หรือกฎหมายอื่นลงบนธงชาติ
2. ประดิษฐ์รปู หรือเครือ่ งหมายใด ๆ ลงในแถบสีธงชาติโดยไม่ควร
3. ใช้ ชัก หรือ แขวนธงชาติ หรือแถบสีธงชาติทไ่ี ด้ประดิษฐ์รปู หรือ
เครือ่ งหมายใดๆ อันต้องห้ามในข้อ 1 และ 2 ลงไว้ แม้วา่ จะเป็ นรูปหรือ
เครือ่ งหมายทีป่ รากฏหรือมีอยูก่ ่อนวันประกาศใช้ พระราชบัญญัตธิ ง

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


พรบ เรื่อง ธง พ.ศ. 2479 โดยผู้ที่จะนาไปใช้ต้องขออนุญาต

4. ใช้ ชัก หรือ แขวนธงชาติ หรือแถบสีธงชาติไว้ ณ สถานทีอ่ นั ไม่สมควร


หรือวิตถารวิธี
5. แสดงกิรยิ า วาจา หรืออาการอย่างหนึ่งอย่างใด หยาบคายต่อธงชาติ
หรือแถบสีธงชาติ
6. ประดิษฐ์สธี งชาติ หรือแถบสีธงชาติลง ณ สถานทีห่ รือสิง่ ของใดๆ โดย
ไม่สมควร หรือแสดงหรือใช้สถานทีห่ รือสิง่ ของอันยังมีรปู ธงชาติหรือแถบสีธงชาติ
ซึง่ ประดิษฐ์ลงไว้โดยไม่สมควรนัน้ แม้วา่ รูปธงชาติหรือแถบสีธงชาติเช่นว่านัน้ จะ
ปรากฏหรือมีอยูก่ ่อนวันใช้ พระราชบัญญัตธิ ง

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


พรบ เรื่อง ธง พ.ศ. 2479 โดยผู้ที่จะนาไปใช้ต้องขออนุญาต

4. ใช้ ชัก หรือ แขวนธงชาติ หรือแถบสีธงชาติไว้ ณ สถานทีอ่ นั ไม่สมควร


หรือวิตถารวิธี
5. แสดงกิรยิ า วาจา หรืออาการอย่างหนึ่งอย่างใด หยาบคายต่อธงชาติ
หรือแถบสีธงชาติ
6. ประดิษฐ์สธี งชาติ หรือแถบสีธงชาติลง ณ สถานทีห่ รือสิง่ ของใดๆ โดย
ไม่สมควร หรือแสดงหรือใช้สถานทีห่ รือสิง่ ของอันยังมีรปู ธงชาติหรือแถบสีธงชาติ
ซึง่ ประดิษฐ์ลงไว้โดยไม่สมควรนัน้ แม้วา่ รูปธงชาติหรือแถบสีธงชาติเช่นว่านัน้ จะ
ปรากฏหรือมีอยูก่ ่อนวันใช้ พระราชบัญญัตธิ ง

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


พรบ เรื่อง ธง พ.ศ. 2479 โดยผู้ที่จะนาไปใช้ต้องขออนุญาต

บทกาหนดโทษ
1. ผูใ้ ดกระทาการฝา่ ฝืนบทบัญญัตใิ นข้อบังคับ 1-5 ผูน้ นั ้ มีความผิดต้อง
ระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท จาคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จา
2. ผูใ้ ดชักธงชาติหรือแสดงธงอย่างในอย่างหนึ่งในพระราชบัญญัติ โดยไม่
มีสทิ ธิ ผูน้ นั ้ มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท จาคุกไม่เกิน 2 เดือน
หรือทัง้ ปรับทัง้ จา
3. ผูใ้ ดกระทาการฝา่ ฝืนบทบัญญัตแิ ห่งข้อ 7 ผูน้ นั ้ มีความผิดต้องระวาง
โทษปรับไม่เกิน 200 บาท หรือจาคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือทัง้ ปรับทัง้ จาทัง้ ปรับ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


จริยธรรมทางธุรกิจกับความรับผิดชอบต่อสังคม

ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility)


คือ ภาระผูกพันหรือหน้ าที่ของธุรกิจที่ต้องกระทา
เพื่อให้การดาเนินกิจกรรมของธุรกิจสร้างผลกระทบ
ทางบวกต่อสังคมให้มากที่สดุ และสร้างผลกระทบ
ทางลบต่อสังคมให้น้อยที่สดุ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


จริยธรรมทางธุรกิจ กรณี บริษทั เอ็นรอน (Enron)

 Jeffrey K.Skilling ตกแต่งบัญชีหลอกลวงผูถ้ อื หุน้ เจ้าหนี้


ทางการ ว่าบริษทั มีฐานะการเงินดี เพือ่ บริษทั มีเงินทุน
หมุนเวียน และสามารถว่าจ้างพนักงานได้ต่อไป
 เมือ่ ความจริงปรากฏ พนักงานต้องออกจากงานและไม่ได้มี
การจ่ายเงินชดเชยให้พนักงาน
 ศาลตัดสินว่าเขาไม่มจี ริยธรรมทางธุรกิจ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


บทบาทของจริยธรรมที่มีต่อธุรกิจ

เป้ าหมายทางธุรกิจในปัจจุบนั ไม่ได้ม่งุ กาไรอย่าง


เดียว แต่ต้องสร้างการเจริญเติบโตขององค์การ
ั ่ นเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กบั องค์การ ด้วยการมี
ที่ยงยื
จริยธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


องค์การดาเนินธุรกิจโดยขาดจริยธรรม

ขาดจริยธรรม
ผลที่จะได้รบั ผล

1. สภาพแวดล้อมภายใน 2. สภาพแวดล้อมภายนอก
 ระบบงาน ขาดความเทีย่ งตรง เกิด  หน่วยงานของรัฐจะเข้ามากากับดูแล
ช่องว่างนาไปสูก่ ารทุจริต ตรวจสอบใกล้ชดิ
 พนักงานขาดความเชื่อมันและ ่  ลูกค้ามีความรูส้ กึ ไม่ดตี ่อองค์การ
ความเชื่อถือในตัวผูบ้ ริหารและ  คูแ่ ข่งขันนาจุดอ่อนไปโจมตี
ระบบงานขององค์การเกิดวัฒนธรรม  บุคคลภายนอกไม่อยากมีสว่ นร่วมทา
บิดเบือน ให้ขาดบุคลากรทีม่ คี ณุ ภาพ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


องค์การที่ดาเนินธุรกิจโดยมีจริยธรรม

ความจงรักภักดี
ของลูกค้า
พนักงานมีขวัญกาลังใจ
สามารถเพิ่มผลผลิต

องค์การมีจดุ แข็ง
ด้านเศรษฐกิจ องค์การมีชื่อเสียง
และสังคม ได้รบั ความนิยม
ความสามารถทากาไร

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


การเรียนรู้ปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ

การตัดสินว่าการกระทาใดมีจริยธรรมหรือไม่ต้อง
ปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ (Ethical Issue) คือ ปญั หา เหตุการณ์หรือ
ั เหตุการณ์หรือโอกาสนัน้ ต้องเลือกทีจ่ ะ
โอกาสทีม่ ลี กั ษณะเฉพาะ ซึง่ ผูท้ เ่ี ผชิญปญหา
กระทาอย่างใดอย่างหนึ่งซึง่ การกระทาดังกล่าวอาจถูกมองว่าถูกหรือผิด มีจริยธรรม
หรือไม่มจี ริยธรรมก็เป็นได้

ใช้เวลาหลายปี ใน การศึกษาวัฒนธรรม มองสถานการณ์ด้วย


การสะสมประสบการณ์ ของประเทศที่ธรุ กิจนัน้ มุมมองของลูกค้า
ในธุรกิจ ดาเนินการอยู่ หรือคู่แข่งขัน
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
การอภิปราย
ปัญหาเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


1. ความขัดแย้งของผลประโยชน์

1. ความขัดแย้งของผลประโยชน์ (Conflict of Interest) คือ ปัญหา


ที่บคุ คลต้องเลือกว่าจะคานึ งถึงผลประโยชน์ ส่วนตนหรือ
ผลประโยชน์ ของส่วนรวม วิธีการหลีกเลี่ยงปัญหานี้ คือ :-
 พนักงานต้องแยกผลประโยชน์ ทางการเงินส่วนตัวออกจากผลประโยชน์
ของธุรกิจ
 ธุรกิจไม่ควรให้หรือรับสินบนหรือสิ่งล่อใจ (Bribes) คือ เงิน ของขวัญหรือ
สิ่งตอบแทนพิเศษ โดยมีความมุ่งหมายให้มีผลต่อการตัดสินใจของบุคคล
 สินบนเป็ นปัญหาความขัดแย้งของผลประโยชน์ เพราะสินบนเป็ น
ประโยชน์ สาหรับ บุคคล แต่เป็ นค่าใช้จ่ายขององค์การหรือสังคม

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


2. ความยุติธรรมและความซื่อสัตย์
เป็ นหัวใจสาคัญสาหรับจริยธรรมทางธุรกิจ :-

1 • ธุรกิจต้องตัดสินใจโดยไม่ขดั กับหลักกฎหมายและกฎระเบียบ

• ธุรกิจต้องไม่ทาร้ายลูกค้า พนักงาน คู่ค้า คู่แข่งขัน ด้วยวิธีการต่าง


2 ๆ เช่น การหลอกลวง การแสดงออกอย่างบิดเบือน การลงโทษ
การเลือกปฏิบตั ิ

3 • การดาเนินธุรกิจโดยแข่งขันอย่างยุติธรรม
• การเปิดเผยข้อมูล/อันตรายผลิตภัณฑ์ของธุรกิจที่อาจก่อให้เกิด
4 ความเสียหายต่อผู้บริโภค

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


3. การติดต่อสื่อสาร

พนักงานไม่ใช้กลวิธีหลอกลวง
B

ไม่โฆษณาโดย การเสนอความ
สื่อสารข้อมูลที่ จริงเกี่ยวกับ
A C
ผิดพลาด ทาให้เกิด ความปลอดภัย
ความเข้าใจผิด ธุรกิจต้องกระทา และคุณภาพ
อย่างมีจริยธรรม
การระบุข้อมูล รายละเอียดใน ให้ข้อมูลที่เพียง
ฉลากของผลิตภัณฑ์ เช่น การระบุ
D พอที่จะทาให้ผ้บู ริโภค
บนซองบุหรี่ “การสูบบุหรี่เป็ น E
อันตรายต่อสุขภาพ” หรือ เห็นความแตกต่าง
ภาพยนตร์ระบุอายุของผูเ้ ข้าชม ระหว่างผลิตภัณฑ์
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
4.ความสัมพันธ์ของธุรกิจ

คือ พฤติกรรมของบุคลากรในธุรกิจที่กระทาต่อลูกค้า ผูจ้ ดั หา


และบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน
- จริยธรรมภายในธุรกิจ
 การเก็บความลับของกิจการ
 การดาเนินธุรกิจภายใต้กฎหมาย
 หลีกเลีย่ งการสร้างความกดดันทีต่ อ้ งทาให้ผใู้ ต้บงั คับบัญชากระทาสิง่ ไม่ม ี
จริยธรรม
 การสร้างสรรค์สภาพแวดล้อมในทีท่ างาน
 ไม่ลกุ ล้าทีส่ ว่ นบุคคลของผูอ้ ่นื
 ไม่ขโมยข้อมูลความลับของคูแ่ ข่งขัน
- ไม่มีพฤติกรรม “การขโมยความคิด (Plagiarism)” คือ การนาผลงานของ
บุคคลอื่น มาแสดงเป็นงานของตนเอง โดยไม่ได้อา้ งถึงทีม่ า
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
การตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาทางจริยธรรมของธุรกิจ

ต้องพิจารณาปัญหานัน้ โดยตรง ซึ่งแต่ละปัญหามีปัจจัยที่แตกต่างกัน


คาถามที่ใช้พิจารณาตัดสินใจว่าการกระทามีจริยธรรมหรือไม่
1. มีกฎหมายระบุเกี่ยวกับการกระทาหรือสิ่งที่กาลังเป็ นปัญหาหรือไม่
2. ธุรกิจมีหลักเกณฑ์ของจริยธรรมหรือนโยบายเกี่ยวกับการกระทาด้าน
จริยธรรมหรือไม่
3. สิ่งที่เป็ นปัญหาเกิดขึน้ ในองค์การบ่อยหรือไม่ มีกลุ่มการค้าใน
อุตสาหกรรมกาหนดแนวทาง หรือหลักเกณฑ์ในเรื่องที่เกิดขึน้ หรือไม่
4. เพื่อนร่วมงานเห็นด้วยกับการกระทาที่เป็ นปัญหาหรือไม่
ท่านกล้านาเรื่องการกระทาหรือผลการตัดสินใจไปอภิปรายอย่างเปิดเผย
หรือไม่
5. หากใช้ความเชื่อและค่านิยมของตนเองตัดสิน ท่านจะยอมรับการ
กระทาที่เป็ นปัญหานัน้ ได้เพียงใด
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
การพัฒนาพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในธุรกิจ

การแสดงพฤติกรรมในองค์การของพนักงานได้รบั ผลกระทบ
จากปัจจัย 3 ประการคือ
1. มาตรฐานด้านศีลธรรมและค่านิยมส่วนบุคคล  จริยธรรมส่วนบุคคล
2. อิทธิพลจากผู้บริหารและเพื่อนร่วมงาน  ควบคุมการตัดสินใจโดยใช้
อานาจหน้ าที่และการกระทาเป็ นตัวอย่าง
3. กฎระเบียบ นโยบายหรือมาตรฐานที่กาหนดขึน้ เพื่อเป็ นวิถีทางสาหรับ
กระทาตามกฎหรือข้อตกลงเกี่ยวกับจริยธรรมในองค์การ คือ หลักเกณฑ์ทาง
จริยธรรม (Codes of Ethics) ซึ่งหมายถึงกฎที่เป็ นทางการและมาตรฐานซึ่ง
อธิบายว่ากิจการคาดหวังสิ่งใดจากพนักงาน ในเรื่องเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ
โดยจะเป็ นข้อกาหนดว่ากิจกรรมใดเป็ นที่ยอมรับหรือไม่ยอมรับ ซึ่งจะจากัด
โอกาสในการประพฤติผิด โดยมีระบบการให้รางวัลและลงโทษ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


การพัฒนาพฤติกรรมที่มีจริยธรรมในธุรกิจ

มาตรฐานศีลธรรม
ค่านิยมส่วนตัว
พฤติกรรมที่มี
จริยธรรม/
อิทธิพลจาก
ผู้บริหารและ ไม่มีจริยธรรม
เพื่อนร่วมงาน ในธุรกิจ
พนักงานในองค์การสามารถสนับสนุนให้เกิดจริยธรรมใน
โอกาสประพฤติ องค์การได้โดย วิธีการเปิดเผย(Whistle blowing) คือ การที่
พนักงานเปิดเผยสิ่งที่ พนักงานคนอื่นทาผิดจริยธรรมแก่
ผิด : หลักเกณฑ์ บุคคลภายนอก เช่น เปิดเผยต่อสื่อมวลชนหรือเปิดเผยต่อ
ทางจริยธรรม รัฐบาล
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
ลักษณะของความรับผิดชอบต่อสังคม

ความรับผิดชอบต่อสังคม
หมายถึง การที่ธรุ กิจเป็ น “องค์การที่ดีของสังคม (Corporate
Citizenship)” คือ การกระทาที่ทาให้ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ของ
ธุรกิจเห็นว่าการดาเนินงานถูกต้องตามกฎหมายมีจริยธรรม รับผิดชอบต่อ
เศรษฐกิจและแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมโดยสมัครใจ ความรับผิดชอบต่อ
สังคม ทาได้ 4 ทิศทาง

เศรษฐกิจ กฎหมาย จริยธรรม สมัครใจ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


ลักษณะของความรับผิดชอบต่อสังคม

1.ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ
- เป็ นความรับผิดชอบขัน้ พืน้ ฐาน ที่ต้องคานึ งถึง
- การดาเนินงานให้มีผลตอบแทนทางธุรกิจ (กาไร)และจัดสรร
ผลตอบแทนแก่ผ้ทู ี่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมและเป็ นธรรม
2.ความรับผิดชอบทางกฎหมาย
- การดาเนินกิจกรรม โดยปฏิบตั ิ ตามกฎหมาย ระเบียบ คาสัง่
- ไม่ฝ่าฝื นหรือแสวงหาผลประโยชน์ จากการเลี่ยงกฎหมาย เช่น เสีย
ภาษี อย่างถูกต้อง
- การฝ่ าฝื นกฎหมายจะได้รบั การลงโทษตามกฎหมายกาหนด

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


ลักษณะของความรับผิดชอบต่อสังคม
3. ความรับผิดชอบทางจริยธรรม
- การประพฤติ ปฏิบตั ิ ที่ดีงามเหมาะสม มีคณ
ุ ธรรม ถูกต้องตามศีลธรรมและ
ค่านิยมของกลุ่มงานหรือสังคม
- เป็ นความรับผิดชอบที่มีคณ ุ ค่าและประโยชน์ สงู กว่าผลตอบแทนที่เป็ น
รูปธรรม
- การกระทาที่ไม่มีจริยธรรม จะถูกต่อต้าน ติฉินนินทา ไม่คบค้าสมาคม
4.ความรับผิดชอบโดยสมัครใจ
- เป็ นความรับผิดชอบขันสู
้ งสุด องค์การแสดงความรับผิดชอบโดยสมัครใจ
เอง
- ใช้ดลุ ยพินิจและวิจารณญาณในการตัดสินใจปฏิบตั ิ
- กิจกรรมที่ทาอาจไม่มีใครเรียกร้อง เช่น บริจาคเงินให้ผ้ปู ระสบภัย ให้
ทุนการศึกษา
- สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้แก่องค์การ
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
ลักษณะของความรับผิดชอบต่อสังคม
ความรับผิดชอบ
โดยสมัครใจ
- ช่วยเหลือชุมชน
ความรับผิดชอบด้าน
จริยธรรม
- ทาในสิ่งที่ถกู ต้อง เหมาะสม
ยุติธรรม
ความรับผิดชอบด้านกฎหมาย
- ดาเนินงานโดยไม่ผิดกฎหมาย ระเบียบ
คาสัง่

ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ
- ดาเนินงานให้มีผลกาไร

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


ปัญหาเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม

ความสัมพันธ์กบั เจ้าของธุรกิจและผูถ้ ือหุ้น


- จัดให้มีกระบวนการทาบัญชีที่ถกู ต้อง
- ให้ข้อมูลสารสนเทศแก่ผถ้ ู ือหุ้น ทัง้ ข้อมูลสถานการณ์
ปัจจุบนั ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในอนาคต
- ปกป้ องสิทธิและเงินลงทุนของเจ้าของ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


ความสัมพันธ์กบั พนักงาน

จัดสถานที่ทางาน
ที่ปลอดภัย จ่ายค่าตอบแทน
ที่เหมาะสมกับงาน
ให้ข้อมูลสิ่งที่กาลัง
เกิดขึน้ กับธุรกิจ องค์การ
รับฟังข้อมูล
ให้โอกาสในการ จากพนักงาน
ร้องทุกข์
ให้โอกาสที่เสมอภาค ปฏิบตั ิ ด้วย
แก่ทกุ คนโดยไม่คานึ ง ความยุติธรรม
ถึงเพศ อายุ เชื้อชาติ สัญชาติ
ความสัมพันธ์กบั พนักงาน
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
ความสัมพันธ์กบั ผูบ้ ริโภค
- จัดหาผลิตภัณฑ์ที่สร้างความพึงพอใจ มีความปลอดภัย
- เคารพในสิทธิของผูบ้ ริโภค ซึ่งมีสิทธิพนื้ ฐาน 4 ประการคือ :-
- การวางนโยบายจากรัฐเพื่อให้ผบ้ ู ริโภคได้รบั ประโยชน์ เต็มที
- ได้รบั การดูแลเมื่อมีการร้องทุกข์เกี่ยวกับ
ผลิตภัณฑ์ไม่มีคณ ุ ภาพ 4. สิทธิที่จะได้รบั การรับฟังจากธุรกิจ
- ให้สิทธิผบ้ ู ริโภคในการสารวจตลาด ได้เห็นและ
หาผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย
3. สิทธิที่จะเลือก
- ให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ถกู ต้องชัดเจน
ก่อนที่จะซื้อ เช่น ส่วนประกอบ ความเสี่ยง
ข้อแนะนาในการใช้งาน 2. สิทธิที่จะได้รบั การบอกกล่าว
-ไม่จาหน่ ายสิ่งที่เป็ นอันตราย/ทาให้ผบ้ ู ริโภคบาดเจ็บ
- สถานที่เลือกซื้อผลิตภัณฑ์มีความ
ปลอดภัย 1. สิทธิที่จะมีความปลอดภัย
ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์
ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
ธุรกิจต้องดูแลรับผิดชอบต่อผลกระทบของการกระทาที่มี
ต่อสิ่งแวดล้อม
สิทธิของสัตว์ มลพิษ
-มลพิษทางน้า การทิ้งสารเคมี สิ่งฏิกลู
- การทดลองผลิตภัณฑ์กบั
น้ามัน การฝังขยะ การใช้ป๋ ยุ ยาฆ่าแมลง
สัตว์ การอนุรกั ษ์สตั ว์ป่า
- มลพิษทางอากาศ ควันพิษ การทาให้เกิด
และป่ าที่เป็ น แหล่งอาศัย
ภาวะโลกร้อน
ของสัตว์
- มลพิษทางดิน การทิ้งของเสีย ขยะที่ไม่
ย่อยสลาย ขยะมีพิษ

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


การตอบสนองเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อม

การทาให้มีของเสียน้ อยที่สดุ ลดการสร้างมลพิษ/ลดการใช้


สารเคมี

พัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อช่วยรักษาสภาพแวดล้อม

ใช้กระบวนการรีไซเคิล

สร้างผลิตภัณฑ์ บรรจุภณ
ั ฑ์ กระบวนการผลิตที่เป็ นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


ความสัมพันธ์กบั ชุมชน

การบริจาคให้
สถานศึกษา
ก่อตัง้ มูลนิธิเพื่อ
การรับผิดชอบต่อ ช่วยคนในชุมชน
การบริจาคให้ สวัสดิการของชุมชน
องค์การการกุศล และการทาให้ชุมชนน่ า
อยู่มากขึน้

การฝึ กอบรมอาชีพ
Text
ให้ผ้วู ่างงาน

ภาควิ ชาสังคมศาสตร์ คณะศิ ลปศาสตร์ประยุกต์


LOGO

ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ ประยุกต์


www.arts.kmutnb.ac.th

You might also like