You are on page 1of 7

แบบทดสอบวิชาคณิตศาสตร

เพื่อคัดเลือกนักเรียนเขารวมโครงการพัฒนาผูมีความสามารถพิเศษทางคณิตศาสตร
โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ประจําปการศึกษา 2550
ฉบับที่ 1
สอบวันเสารที่ 10 เดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2550 เวลา 08.15 น. – 09.15 น.
เฉลยแบบวิเคราะหขอสอบ
ขอสอบฉบับนี้เปนขอสอบฉบับที่ 1 ซึ่งจะมุงเนนการวัดความรูพื้นฐานคณิตศาสตร ชวงชัน้ ที่ 3
และการใชทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร
คําชี้แจง
1. ขอสอบฉบับนี้เปนขอสอบแบบอัตนัย จํานวน 7 หนา ชนิดแสดงวิธีทํา จํานวน 12 ขอ ขอละ 10
คะแนน โดยคะแนนเต็ม 120 คะแนน
2. ใหเวลาในการทําขอสอบ 1 ชั่วโมง ไมอนุญาตใหนักเรียนออกหองสอบกอนเวลา 45 นาที และไม
อนุญาตใหนักเรียนเขาหองสอบหลังจากเวลาผานไปแลว 15 นาที
3. ใหแสดงวิธีทําอยางละเอียดลงในกระดาษขอสอบ โดยเติมคําตอบสุดทายในชองสี่เหลี่ยมที่กําหนด
4. ไมอนุญาตใหใชเครื่องคํานวณ เครื่องมือสื่อสาร ขณะทําการสอบเด็ดขาด
5. ใหนักเรียนใชปากกาหมึกสีน้ําเงินหรือหมึกสีดําในการทําขอสอบเทานั้น ไมอนุญาตใหใชดินสอใน
การทําขอสอบ (ยกเวนการวาดภาพ สามารถใชดินสอได)
6. การทดเลข ใหนักเรียนทดในตัวขอสอบ โดยแยกบริเวณใหชัดเจนระหวางบริเวณที่ทดกับบริเวณที่
ทําขอสอบ
7. คณะกรรมการตรวจขอสอบจะไมพิจารณาตรวจ สําหรับขอที่ผูสอบไมไดแสดงวิธีทํา
8. การพยายามหรือการกระทําการทุจริตใด ๆ ระหวางการทดสอบ ทางโครงการขอสงวนสิทธิ์ในการ
ไมใหเขารวมโครงการนี้ ไมวาเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้น
9. ใหนักเรียนเขียนชื่อ – นามสกุล และเลขประจําตัวสอบในกระดาษทุกหนา

สําหรับเจาหนาที่บันทึกคะแนน : คะแนนที่ได จากผลการสอบ ชุดที่ 1


หนาที่ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
2 20 คาเฉลี่ย
3 20
4 20 49.3983 / 120
5 20 12.3496 / 30 (หารจาก
6 20 120 คะแนน ดวย 4)
7 20
รวม 120 คะแนนสูงสุด 112/120
คะแนนที่ได หารดวย 4 คะแนนต่ําสุด 5/120

อยาเพิ่งเปดขอสอบจนกวาคณะกรรมการคุมสอบจะมีคําสั่งใหเปด
ขอสอบคัดเลือกนักเรียน Gifted Mathematics โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ปการศึกษา 2550
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………… เลขประจําตัวสอบ………………… แบบทดสอบหนาที่ 2

คําชี้แจง ใหนักเรียนแสดงวิธีทําอยางละเอียดทุกขั้นตอน และเติมคําตอบในชอง


สี่เหลี่ยมที่กําหนดให
1. ถา x + 2 หาร x3 + 2x2 + 3x + a และ x3 + x2 + 9 เหลือเศษเทากันแลว คาของ a
เปนเทาใด

กําหนดให p(x) = x3 + 2x2 + 3x + a


และ q(x) = x3 + x2 + 9
จากทฤษฎีบทเศษเหลือ จะไดวา
p(- 2) = (-2)3 + 2(-2)2 + 3(-2) + a
=-8+8–6+a
p(- 2) = a – 6 ผูตรวจขอสอบใชดุลยพินิจ
q(- 2) = (-2)3 + (-2)2 + 9
กรณีที่นักเรียนใชการหารยาว
หรือหารสังเคราะห
=-8+4+9
q(- 2) = 5
เนื่องจากเศษที่ไดจากการหารเทากัน ดังนั้น
p(- 2) = q(- 2)
a–6 =5
a = 11
ดังนั้น คาของ a เทากับ 11 ตอบ
⎛ 1 ⎞2 1
2. ถา ⎜a + ⎟⎟ = 3
⎜⎝ แลว คาของ a3 + เปนเทาใด
a⎠ a3

⎛ 1 ⎞⎟2
นักเรียนที่ตอบเพียงแค 3 คาเดียว จะ
จากที่กําหนดให ⎜⎝a + ⎠⎟
⎜ =3 ถูกหักคะแนน
a
1
ดังนั้น a+ = ± 3 นัก เรี ย นอาจใช วิ ธี ก าร ยกกํ า ลั ง สามจาก
a
⎛ 1 ⎞ 1 บรรทั ด ที่ 2 ก็ ไ ด ซึ่ ง การเลื อ กใช ค า บวก
a 2 + 2 (a ) ⎜⎜ ⎟⎟ + 2 =3 ---(*) หรือลบนั้น หากเปนคาบวก ต องเปนคา
⎝a ⎠ a
1 บวกทั้งหมด หากเปนคาลบ ตองเปนคาลบ
a2 + 2 =1 ---(**) ทั้งหมด ก็จะไดคําตอบเดียวคือ 3
a

1 ⎛ 1 ⎞⎛ 1 1⎞
พิจารณา a3 + = ⎜⎜a + ⎟⎟ ⎜⎜a 2 − a ⋅ + 2 ⎟⎟⎟
a3 ⎝ a ⎠⎝ a a ⎠
⎛ 1 ⎞⎛ 1 ⎞
= ⎜⎜a + ⎟⎟ ⎜⎜a 2 + 2 − 1⎟⎟⎟
⎝ a ⎠⎝ a ⎠
แทนคาจาก (*) และ (**) = ± 3 (1 − 1)
=0
1
ดังนั้น คาของ a3 + เทากับ 0 ตอบ
a3
ขอสอบคัดเลือกนักเรียน Gifted Mathematics โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ปการศึกษา 2550
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………… เลขประจําตัวสอบ………………… แบบทดสอบหนาที่ 3

3. ให x เปนจํานวนเต็มบวกที่มีคาเทากับ 30215 จงหาเศษจากการหาร 3x ดวย 9

พิจารณา x = 30215 ในบรรทัดที่หาร 3x ดวย 9


เราสามารถกระจายจํานวนที่กําหนดไดในรูปตอไปนี้ หากนักเรียนทอนทั้ง 3 และ 9
x = (3 × 53) + (2 × 5) + (1 × 1)
ดวยเศษและสวน
จะไดเศษเปน 2
= 375 + 10 + 1
= 386 ซึ่งเราตองการเศษจากการหาร
ตอมาพิจารณาการหาร 3x ดวย 9 ดวย 9 ไมไดตองการเศษจาก
3x 3 (386) 1158 การหารดวย 3 (เศษจากการ
= =
9 9 9 หารดวย 3 จะไมเกิน 3)
จะไดคําตอบเปน 128 เศษ 6

ดังนั้น เศษจากการหาร 3x ดวย 9 คือ 6 ตอบ

4. มติหนึ่ง ฝายเสียงขางมากชนะ 9 เสียง ถาหากเศษหนึ่งสวนหกของฝายชนะ กลับออกเสียงใหอีก


ฝายหนึ่งแลว ฝายที่เคยชนะ จะแพ 3 เสียง สรุปแลว เสียงทั้งหมดมีเทาไร

สมมติใหเสียงฝายแพเทากับ x เสียง นักเรียนหลายคน


จะไดเสียงขางมากเทากับ x + 9 เสียง ใ ช วิ ธี ก า ร ตั้ ง
1 สมการเป น สอง
ตอมาเศษหนึ่งสวนหกของฝายชนะ คือ (x + 9) ออกเสียงใหฝายแพ ตั ว แ ป ร ซึ่ ง ก็
6
1 ถู ก ต อ งเช น กั น
จะไดเสียงของฝายแพใหมเปน x + (x + 9) เสียง
(จะไม เ ฉลยใน
6
ดังนั้น ฝายชนะจะเหลือ 1
(x + 9) − (x + 9)
ที่นี้)
6
1 1
ดังนั้น สมการคือ x + (x + 9) - (x + 9) − (x + 9) = 3
6 6
x+9 x+9
+ −9 =3
6 6
⎛ x + 9 ⎞⎟
2 ⋅ ⎜⎜ = 12
⎝ 6 ⎠⎟
x = 36 – 9
x = 27
ดังนั้น เสียงฝายแพจะมี 27 เสียง และฝายชนะจะมี 27 + 9 = 36 เสียง
เพราะฉะนั้น เสียงทั้งหมดจะมีทั้งสิ้น 63 เสียง ตอบ
ขอสอบคัดเลือกนักเรียน Gifted Mathematics โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ปการศึกษา 2550
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………… เลขประจําตัวสอบ………………… แบบทดสอบหนาที่ 4

5. ถา 3x = 2k และ 5y = 8k แลว อัตราสวนของ x : y เทากับเทาใด

กําหนดให 3x = 2k ---(*)
และ 5y = 8k ---(**)
เนื่องจากสิ่งที่โจทยตองการคือ x และ y และมี ค.ร.น. ตัวรวมของอัตราสวนคือ 8k
ดังนั้น จาก (*) × 4; 12x = 8k ---(***)
(**) = (***); 12x = 5y
x 5
=
y 12

5
ดังนั้น x:y เทากับ
12

6. คําตอบของระบบสมการ
x + b1y + c1 =0
x + b2y + c2 =0
คาของ x ในระบบสมการ จะเปนเทาใด เมื่อ b1 ≠ b2

กําหนด x + b1y + c1 =0 ---(*)


x + b2y + c2 =0 ---(**)
b1 × (**); b1x + b1b2y + b1c1 = 0 ---(***)
b2 × (*); b2x + b1b2y + b2c1 = 0 ---(****)
(***)-(****); b1x – b2x = - b1c2 + b2 c1
−b1c2 + b2c1
x =
b1 − b2
b c − b1c2
หรือ x = 2 1
b1 − b2

b2c1 − b1c2
ดังนั้น คาของ x เทากับ ตอบ
b1 − b2
ขอสอบคัดเลือกนักเรียน Gifted Mathematics โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ปการศึกษา 2550
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………… เลขประจําตัวสอบ………………… แบบทดสอบหนาที่ 5

2 2
7. กําหนด cot A = 2 2 และ sec A > 0 แลว คาของ cos A − มีคาเทากับเทาใด
3

เมื่อกําหนด cot A = 2 2 และ sec A > 0


cos A 2 2
ดังนั้น =
sin A 1
นํามาวาดรูปไดดังนี้

3
จากขอมูลที่กําหนด cot A = 2 2
1 หากนํามาวาดรูปเลยก็ได
A
2 2

2 2
ดังนั้น จะได cos A =
3
2 2 2 2 2 2
ฉะนั้น cos A - = - =0
3 3 3
เพราะฉะนั้น คาของ cos A - 2 2 เทากับ 0 ตอบ
3

8. ชายคนหนึ่งสูง 5 ฟุต อยูหางจากเสาธงเปนระยะ 15 3 ฟุต สังเกตเห็นวา เงาของเขาและเงา


ของยอดเสาธงอยูตําแหนงเดียวกันพอดี เมื่อมองไปที่ยอดเสาธง พบวา มุมเงยจากระดับสายตาไป
ยอดเสาธงเทากับ 30° เสาธงนี้สูงกี่ฟุต

นักเรียนบางคน อาจกําหนดวาใหเสาธง
สูง x เมตร แลว ระยะจากหัวของชาย
30° คนนี้ถึงยอดเสา คือ x – 5 ก็ได
5 ฟุต
15 3 ฟุต
x
เราทราบวา tan 30° =
15 3
1 x
=
3 15 3
x = 15
ดังนั้น เสาธงสูง = 15 + 5 = 20 ฟุต ตอบ
ขอสอบคัดเลือกนักเรียน Gifted Mathematics โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ปการศึกษา 2550
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………… เลขประจําตัวสอบ………………… แบบทดสอบหนาที่ 6

9. จากรูป วงกลม A และ B สัมผัสกันที่จุดศูนยกลางของวงกลม C ถาวงกลม C มีเสนผาน


ศูนยกลางยาว 10 หนวยแลว จงหาวา วงกลม C มีพื้นที่มากกวาผลบวกของพื้นที่วงกลม A
และ B กี่ตารางหนวย

วงกลม C มีเสนผานศูนยกลาง 10 หนวย


B
จะไดวา รัศมียาว 5 หนวย
C
ดังนั้นพื้นที่วงกลม C เทากับ π (5)2 = 25 π ตารางหนวย
A r
ตอมา หาพื้นที่ของวงกลม A และวงกลม B
เราทราบวารัศมีของวงกลมทั้งสองนี้เทากัน
ดังนั้น พื้นที่วงกลม A + พื้นที่วงกลม B = 2( π (2.5)2)
= 12.5 π
เพราะฉะนั้น พื้นที่วงกลม C มากกวาผลบวกของวงกลม A และ B
= 25 π - 12.5 π = 12.5 π ตารางหนวย ตอบ

4y3 + 6y2 + 1 D
10. ถา = Ay2 + By + C + โดยที่ A, B, C และ D เปนจํานวน
2y − 1 2y − 1
จริงใด ๆ จงหาคาของ A + B + C + D

พิจารณานิพจนทางขวามือ ทําสวนใหเทากัน จะได


Ay2 (2y − 1) + By (2y − 1) + C (2y − 1) + D
=
2y − 1
กระจายนิพจนที่กําหนด จะได
2Ay 3 − Ay2 + 2By2 − By + 2Cy − C + D
=
2y − 1
เทียบสัมประสิทธิ์กับนิพจนทางซายมือ
2A =4 ดังนั้น A =2 (*)
- A + 2B =6 ดังนั้น B =4 (**)
- B + 2C =0 ดังนั้น C =2 (***)
-C+D =1 ดังนั้น D =3 (****)
หาคาของ A + B + C+ D =2+4+2+3 = 11

ดังนั้น คาของ A + B + C + D เทากับ 11 ตอบ

หมายเหตุ... นักเรียนอาจทํายอนกลับกับขั้นตอนดังกลาว โดยการหาร 4y3 + 6y2 + 1


ดวย 2y – 1 ทุกพจน
ขอสอบคัดเลือกนักเรียน Gifted Mathematics โรงเรียนมงฟอรตวิทยาลัย แผนกมัธยม ปการศึกษา 2550
ชื่อ-นามสกุล………………………………………………… เลขประจําตัวสอบ………………… แบบทดสอบหนาที่ 7

11. จากรูป BD , DE และ EC เปนเสนสัมผัสวงกลมที่มี O เปนจุดศูนยกลางที่ B, F และ C


ตามลําดับ BD , DE และ OB ยาว 5, 7 และ 3 เซนติเมตรตามลําดับ และ GOB ˆ = 96°
เสนรอบรูปสี่เหลี่ยม BCED ยาวกี่เซนติเมตร B D

เราทราบวา BD = 5 เซนติเมตร
O F
ซึ่ง BD = DF (เสนสัมผัสวงกลมเมื่อตัดกันที่จุดๆ หนึ่ง
ระยะจากจุดสัมผัสไปยังจุดตัดของทั้งสองเสนจะเทากัน)
ทํานองเดียวกัน จะได FE = EC โดยเหตุผลเดียวกัน
ซึ่ง FE = EC = DE − DF = 7 − 5 = 2 เซนติเมตร G
A C E
และ BO = OC = 3 เซนติเมตร (เปนรัศมีของวงกลม)

ดังนั้น จะไดเสนรอบรูปยาวเทากับ 5 + 5 + 2 + 2 + 6 = 20 หนวย ตอบ

k
12. กําหนดให i = −1 และ ∑ 3n = 3(1) + 3(2) + 3(3) + ... + 3(k)
n =1
11
จงหาคาของ ∑ in
n =1

11
พิจารณา ∑ in = i1 + i2 + i3 + i4 + … + i11
n =1
= i + (- 1) + (- i) + 1 + … + i11
สังเกตวา คาของ in + in+1 + in+2 + in+3 จะเทากับ 0
=0+0+i–1–i
=-1
11
ดังนั้น ∑ in เทากับ - 1 ตอบ
n =1

ในขอนี้ มีหลายคนตอบวา “ไมมีคําตอบในระบบจํานวนจริง”


แตวา จากโจทยไดกําหนดคาวา i = −1 ดังนั้น นักเรียนตองใชขอมูลจากสิ่งที่
กํ า หนด (ข อ นี้ จ ะเป น ลั ก ษณะเดี ย วกั บ ป 2549 แต มี ก ารนํ า สั ญ ลั ก ษณ ท าง
คณิตศาสตรมาใช)

You might also like