You are on page 1of 79

เอกสารประกอบการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง
“เทคนิคการปฏิบัติดูแลรักษาภูมิทัศนของสวน”

จัดโดย
ศูนยวิจัยและการจัดการความรูทางพฤกษศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ
รวมกับ
บริษัท เอ.พี. เอ็นจิเนียริ่ง แอนด ซับพลาย จํากัด

วันศุกรที่ 18 พฤษภาคม 2550


เวลา 9.00 – 17.00 น
ณ หองประชุมอเนกประสงค
อาคารศูนยเรียนรวม
หอง 101
คํานํา

สวนจะสวยงามไดนั้นไมไดขึ้นอยูกับการออกแบบ การจัดวางตนไม และองคประกอบ


ตาง ๆ ของสวนเทานั้น แตการดูแลรักษาสวนตางหากที่มีผลเปนอยางมากตอความสวยงามของ
สวนในระยะยาว ในสวนนั้นมีพรรณไมหลากหลายชนิด หลายพันธุ ที่มีการดูแลรักษาที่แตกตาง
กั น ไป จึ ง ทํ า ให ผู ที่ จ ะดู แ ลสวนให ส วยอยู ไ ด อ ย า งคงทนนั้ น ต อ งมี ค วามรู และทั ก ษะต า ง ๆ
ทางดานการดูแลรักษาสวนเปนอยางดี ดังนั้นทางคณะผูจัดการฝกอบรมจึงไดจัดทําเอกสารการ
ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “เทคนิคการดูแลรักษาภูมิทัศนของสวน” โดยเนื้อหาประกอบดวย
การตัดแตงกิ่งพรรณไมในสวน การจัดการดูแลสนามหญา การใหน้ํา การใหปุย การปองกันและ
กํ า จั ด ศั ต รู พ รรณไม ใ นสวน และเทคนิ ค การปรั บ ปรุ ง ภู มิ ทั ศ น ข องสวน โดยรวบรวมเอกสาร
มาจัดทําเปนรูปเลม เพื่อความสะดวกในการศึกษาประกอบการฝกอบรม และเพื่อใหผูเขารับการ
ฝกอบรมไดใชศึกษาเพิ่มเติม เพื่อนําไปใชในการปฏิบัติตอไป
จึ ง หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า เอกสารประกอบการฝ ก อบรมที่ ไ ด จั ด ทํ า ขึ้ น ในครั้ ง นี้ คงเป น
ประโยชนตอผูที่เขารับการฝกอบรม รวมถึงผูที่สนใจทั่วไป และหากเอกสารฉบับนี้มีขอผิดพลาด
ประการใด คณะผูจัดการฝกอบรมตองขออภัยไว ณ ที่นี้ดวย

คณะผูจดั การฝกอบรม
พฤษภาคม 2550
สารบัญ

เรื่อง หนา

การตัดแตงพรรณไมในสวน................................................................................1
การจัดการดูแลสนามหญา.................................................................................16
การใหน้ําและการใสปุยพรรณไมในสวน...............................................................34
การปองกันและกําจัดศัตรูพรรณไม
โรคพืช...............................................................................................43
วัชพืช.................................................................................................57
สัตวศตั รูพืช.........................................................................................69
1

การตัดแตงกิ่งพรรณไมในสวน
ธวัชชัย มูลตลาด
นักวิชาการเกษตร

การปลู ก ไม ป ระดั บ นั้ น เป า หมายของการปลู ก อยู ที่ ค วามงดงามของต น ไม ที่ จั ด ให
เหมาะสมกับสถานที่ ดังนั้นเปาหมายของการดัดและตัดแตงจึงมุงไปที่ความสวยงามเปนหลัก การ
ตัดแตงจึงมักเปนไปตามที่เจาของสถานที่ตองการ เชน เปนรูปทรงตาง ๆ เปนแนวรั้ว เปนรูปทรง
ของไมดัด ดังนั้นกิ่งที่ตองการตัดแตงจึงเปน กิ่งแหง กิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ําคาง กิ่งที่เกะกะกีดขวาง
การสัญจร ฯลฯ
วัตถุประสงคของการตัดแตงกิ่งไมผลและไมประดับ
1. เพื่อใหตนไมมีโครงสรางที่แข็งแรง
2. เพื่อตองการใหตนไมออกดอก ติดผลดี
3. เพื่อใหตนไมมีผลกระจายทั่วตนสม่ําเสมอ
4. เพื่อใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี
5. เพื่อใหตนไมมีโครงสรางเหมาะที่จะปฏิบัติงานในสวน
6. เพื่อปองกันการระบาดของโรคและแมลง
7. เพื่อควบคุมขนาดและรูปทรงของทรงพุมที่ตองการ

หลักการตัดแตงกิ่งที่ถูกตอง มีดังนี้
1) ใชเครื่องมือและอุปกรณใหถูกตอง
2) ทําการตัดแตงกิ่งดวยความระมัดระวัง
3) ศึกษาการตอบสนองของตนไมตอการตัดแตงกิ่ง
4) ตัดแตงกิ่งเพื่อใหไดรูปทรงตามตองการ
5) ทําการตัดแตงใหไดรูปทรงตามตองการ
6) การรักษาบาดแผลของรอยตัด
ในกรณีที่ผูตัดแตงกิ่งยังไมมีประสบการณหรือความชํานาญที่เพียงพอนั้น ใครขอใหโปรด
ระลึกหรือจดจํา สิ่งที่เปนหัวใจของการตัดแตงกิ่งไวในใจ 3 ขอคือ
1. ตัดแตนอย ดีกวาตัดมากจนเกินไป
2. ตนไมยิ่งตัดมาก ยิ่งเพิ่มความแคระมาก
3. ใหคิดกอนตัดอยูตลอดเวลา ถึง ผลดีและผลเสียของการตัดแตงอวัยวะสวนนั้นของพืช
เสมอ
2

ประเภทของตนไมที่ตองมีการตัดแตงกิ่ง
ไมวาจะเปนตนไมยืนตน ขนาดใหญ ไมพุม ไมคลุมดิน หรือหญาสนามลวนตองการการ
ตัดแตงที่ถูกตองเหมาะสมและสม่ําเสมอ เพื่อใหตนไมมีความแข็งแรง สวยงาม โดยตนไมแตละ
ประเภทก็มีวัตถุประสงคในการตัดแตงกิ่งที่ตางกันออกไป ดังนี้
1. ไมยืนตน จัดเปนไมขนาดใหญตามธรรมชาติ มีความสูง ตั้งแต 2.5 เมตรขึ้นไป
เชน ประดู สน ชมพูพันธุทิพย ไผ ปาลมประดับ ไทร มะมวง ขนุน ฯลฯ ซึ่งตองทําการตัดแตงกิ่ง
ไมยืนตน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนไปตามรูปทรงที่ตองการ ทรงพุมโปรง ใหออกดอกดก
หรือมีผลผลิตเพิ่มขึ้น ตัดแตงกิ่งที่เกะกะขวางทางออก ยกเวนกรณีพืชตระกูลปาลมที่มีลําตนเดี่ยว
ไมมีกิ่งกานสาขา เราตองทําการตัดแตงใบ เชน ใบแก ใบหัก หรือใบที่ไมสวยงาม ออก
2. ไมพุม เป น ไม ที่ มี ลํ า ต น ตั้ ง เป น อิ ส ระโดยไม อ าศั ย ต น ไม อื่ น มั ก แตกกิ่ ง ก า น
ออกมาระดับต่ําไมสูงจากพื้นดินมากนัก เชน โกสน เข็ม โมก ชาฮกเกี้ยน เล็บครุฑ หูปลาชอน
ฯลฯ ซึ่งตองทําการตัดแตงกิ่งไมพุม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนไปตามรูปทรงที่ตองการ ให
ทรงพุมหนาแนนขึ้น ใหมีดอกเพิ่มขึ้น
3. ไมเลื้อย เปนไมที่มีการเจริญเติบโตทุกทิศทาง ตองอาศัยตนไมอื่นหรือวัตถุตาง
เพื่อปนปาย มีทั้งไมลมลุกและไมมีเนื้อไม เชน เฟองฟา ตีนตุกแก พวงคราม พวงแสด การเวก
พลูดาง สนเลื้อย ฯลฯ ซึ่งตองทําการตัดแตงกิ่งไมเลื้อย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนไปตาม
รูปทรงที่ตองการ ใหทรงพุมโปรงขึ้น
4. ไมคลุมดิน เปนพืชที่มีตนเตี้ย อยูเปนกลุมกอนติด ๆ กัน เชน กระดุมทองเลื้อย
ดาดตะกั่ว พรมออสเตรเลีย ฯลฯ ซึ่งตองการตัดแตงไมคลุมดิน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเปนไป
ตามรูปทรงที่ตองการ ใหทรงพุมโปรงขึ้น

วิธีการตัดแตงกิ่งตนไม มีดังนี้
1. การเด็ดยอด (Pinching) เปนการเด็ดยอดออกเพื่อใหแตกแขนงใหม หรือเพื่อควบคุม
การเจริญเติบโตของตนไม
2. การตัดสางโปรง (Thinning) เปนการตัดกิ่งหลัก ๆ ออกจากลําตนใหญทั้งกิ่ง เหมาะ
สําหรับตนไมที่มีทรงพุมแนนจนแสงสวางเขาไมถึง เมื่อตัดแลวจะทําใหทรงพุมโปรงทันที
การตัดแตงกิ่งวิธีนี้ตองระมัดระวัง เพราะกิ่งที่ตัดออกนั้นมักมีขนาดใหญละมีน้ําหนักมาก
ตองมีวิธีการตัดที่ถูกตอง ไมเปนอันตรายตอตนไมและคนตัด
3. การตัดใหเตี้ย (Heading back) เปนการตัดกิ่งใหสั้นเขามาเพื่อใหแตกยอดใหม โดยตอง
ตั ด ให ถึง ส ว นตอ หรื อขอกิ่ง ที่ มี ต าอยู ซึ่งจะทํา ใหเกิ ด กิ่งเล็ก ๆ อีก มาก ทํา ใหทรงพุ ม
หนาแนนขึ้น
4. การตัดเล็ม (Shearing) เปนการตัดแตงที่ไมจําเปนตองคํานึงถึงการตัดที่ตองอยูเหนือตา
หรือขอตา เพราะเปนการตัดแตงผิวของทรงพุมใบใหไดรูปทรงตามตองการ
3

ซึ่งในทางปฏิ บัติ แ ลวการตัดแตงกิ่ งตน ไมเพื่ อใหได รูปทรงตามที่ตองการและมี ความ


สวยงามนั้น ตองใชวิธีการตัดแตงหลายวิธีรวมกัน เนื่องจากการเลือกตัดแตงตนไมแบบใดแบบ
หนึ่งมากไปจะทําใหตนไมดูไมสวยงามและอาจเสียรูปทรงได

ลักษณะของกิ่งที่สมควรตัดทิ้งเพื่อใหมีพุมใบที่โปรง
1. กิ่งกระโดง หรือกิ่งน้ําคางคือ กิ่งที่เจริญแยกจากสวนของกิ่งใหญตอนลางๆ ที่เจริญชี้
ตั้งตรงอยูภายในรมเงาไมชี้ออกนอกพุมใบ กิ่งเหลานี้ไมมีโอกาสออกดอกออกผลไดเลย
หากปลอยทิ้งไวยอมเปนภาระ แทนที่ลําตนจะสงอาหารเพื่อไปเลี้ยงกิ่งอื่นๆที่สามารถให
ดอกใหผลได แตกลับจะตองแบงอาหารบางสวนมาเลี้ยงกิ่งกระโดงหรือกิ่งน้ําคางซึ้งไมมี
ประโยชนอันใดเลย
2. หนอหรือกิ่งโคนตน คือกิ่งที่แตกออกมาในระดับต่ําๆบริเวณโคนตนก็ควรตัดทิ้งไป
เพื่อใหบริเวณโคนตนโปรง
3. งามกิ่ง ในบริเวณปลายกิ่งแขนงยอยบางกิ่ง อาจมีงามกิ่งแตกออกมามากมายหลาย
งาม ก็ควรเลือกตัดงามกิ่งเหลานั้นออกเสียบาง ใหแตละกิ่งแขนงยอยมีงามกิ่งเพียง 1
หรือ 2 งามก็เพียงพอแลว
4. กิ่งคดงอ หมายถึงกิ่งที่คดโคงอยูภายในพุมใบซึ่งส0วนใหญจะมีลักษณะออนแอ ไม
สมบรูณ เพราะไดรับแสงสวางไมเพียงพอ ถาปลอยทิ้งไวก็จะทําใหสิ้นเปลืองธาตุอาหาร
โดยเปลาประโยชนจึงควรตัดทิ้งไป
5. กิ่งที่ฉีกหักคาตน ก็ควรตัดทิ้งไปดวย ถากิ่งที่ฉีกหักคาตนนี้มีขนาดเสนผาศูนยกลาง
ตั้งแต 1 นิ้วขึ้นไป หลังจากตัดแตงแลวจะทาดวยปูนแดงหรือสีน้ํามันปดรอยแผลใหทั่ว
เพื่อปองกันเชื้อราชนิดตางๆมิใหเขาทําลายได
การตัดแตงตนไม บางครั้งอาจจําเปนตองตัดกิ่งที่มีขนาดใหญ โดยมีวัตถุประสงค
ตางๆกัน เชน ตัดเพื่อใหพุมใบโปรง ตัดเพื่อหยุดการบาใบ ตัดเพื่อสรางความสมดุลของ
ธาตุอาหาร ตัดเพื่อปองกันการฉีกหักของกิ่งและลําตนอันเนื่องมาจากลมพายุ ตัดเพื่อ
ความคุมหรือลดขนาดความกวางและความสูงของพุมใบ
โดยปกติแลวกิ่งที่ทํามุมกับลําตนเปนมุมกวางจะมีโครงสรางของเนื้อไมแข็งแรง
กวากิ่งที่มีมุมแคบ ดังนั้นในการตัดแตง ถามีกิ่งใหเลือกตัดไดหลายกิ่ง ก็ควรเลือกตัดกิ่งที่
ทํามุมกับลําตนเปนมุมแคบออกไปกอน กิ่งที่มีมุมแคบออนแอกวา เพราะเนื้อไมที่เจริญ
เบียดกันขณะที่กิ่งมีการขยายขนาดระหวางการเจริญเติบโต ทําใหเชลลของเนื้อไมที่มีอยู
ดานในตายไปและเนื้อไมบางสวนเริ่มเนา บริเวณดังกลาวนี้จะเปนจุดที่ออนแอฉีกขาดได
งายเมื่อถูกลมพายุพัดแรงๆ
4

เครื่องมือที่ใชในการตัดแตงตนไม
เนื่องจากกิ่งของตนไมมีตั้งแตขนาดใหญจนถึงขนาดเล็ก ดังนั้นจึงมีเครื่องมือที่ใชในการตัดแตง
หลายชนิด การใชเครื่องมือที่ไมเหมาะสมคือใชงานผิดประเภท นอกจากจะทําอันตรายตอตนไม
แลวยังอาจทําใหเครื่องมือเสียหายไดดวย ดังนั้นการเลือกใชเครื่องมือใหเหมาะสมจึงเปนสิ่งสําคัญ
อันดับแรกที่ตองพิจารณา เครื่องมือที่ใชในการตัดแตงมีหลายชนิด ดังนี้
1. กรรไกรตัดแตงมี 2 แบบ คือ
Anvil type ใชตัดแตงกิ่งที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางเล็กกวา 0.25 นิ้ว

The two-bladed หรือ Scissors type ใชตัดแตงกิ่วทั่วไปแตมี


เสนผาศูนยกลางไมเกิน 1.0 นิ้ว

2. กรรไกรตั ด แต ง กิ่ ง ไม มี ด า มยาว 20-36 นิ้ ว ใช ตั ด แต ง กิ่ ง ที่ อ ยู สู ง ละมี ข นาด
เสนผาศูนยกลาง 1.0 ถึง 1.5 นิ้ว
5

3.เลื่อยตัดแตง มีลักษณะโคง ฟนจะเปนมุมแหลมเอนไปทางดามจับและตัดในลักษณะ


ของการดึง มักใชกับตนหรือกิ่งที่เจริญมากเกินไปและในที่แคบๆ มีทั้งแบบที่พับใบมีดเก็บไดและ
พับไมได

4.กรรไกรตะขอ คลายเลื่อยตัดแตง แตมีดามยาว 10 ถึง 12 ฟุต และมีสวนที่เปนตะขอ


ไวใชสําหรับตัดกิ่งที่อยูสูงๆ

5.กรรไกรตัดหญา ใชสําหรับตัดหญาและตนไมที่จะใหเปนรูปทรงตางๆ เชน ในสวนแบบ


Formal
6

6.โซตัดแตง มีทั้งแบบที่ใชน้ํามันละใชไฟฟา มีราคาสูง

7.เลื่อยคันธนู มีหลายขนาด ใชสําหรับตัดกิ่งที่มีขนาดใหญ


7

การตัดแตงกิ่งไมพุมวิธีตางๆ

กิ่งยอด

กิ่งมีมุมกวางจะแข็งแรง กิ่งกระโดง (ตองตดทิ้งเปน


กิ่งที่ตั้งฉากกับพื้น)
กิ่งขาง
พุมใบ
กิ่งแขนง
กิ่งมุมแคบกวา 600
ลําตน จะไมแข็งแรงควรตัดทิ้ง

รูปที่ 1 สวนตางๆของตนกับกิ่งที่ควรตัดทิ้งและลักษณะของลําตนไมพุม จะมีกิ่งและลําตนสาน


และไขวกัน ควรตัดกิ่งภายในทรงพุมออกบาง

รูปที่ 2 ตัดกิ่งหรือลําตนภายในพุม เพื่อใหโปรงและควบคุมรูปทรง การตัดนั้นถาเปนกิ่งก็ตัดทั้ง


กิ่ง ถาเปนลําตนก็ตัดชิดดิน
8

รูปที่ 3 จะไมตัดออกทั้งกิ่งใหญ แตจะตัดใหโปรง และตัดยอดเวนใหเกิดตาชาง สงเสริมใหเกิดกิ่ง


ขาง เพื่อสรางทรงพุมที่แนนและมีรูปทรงตามตองการ

รูปที่ 4 ตัดแตงเพื่ อใหเกิดกิ่ งใหมบางสวน โดยตัดกิ่งที่อายุ 3-5 ปออกบาง เพื่ อพุมแนนใน


บริเวณชวงลางและตัดยอดตรงเหนือตาขางเพื่อสรางยอดใหม

รูปที่ 5 ไมพุมบางชนิดควรตัดเพื่อสรางกิ่งใหมทั้งหมดทุกๆ 1-2 ป เปนการตัดต่ํา เพื่อสรางกิ่ง


และยอดใหมและกําหนดขนาด รูปทรงใหม เชน เทียนทอง, ผกากรอง, หมากผูหมากเมีย ฯลฯ
9

รูปที่ 6 การตัดเพื่อแตงผิวทรงพุม ไมคํานึงถึงการตัดกิ่งที่ตองตัดเหนือตา เปนการตัดแตงเพียง


สวนนอยที่ควบคุมรูปทรงตางๆตามตองการ

รูปที่ 7 การตัดแตงดวยกรรไกรตัดแตงที่ถูกตองและการตัดแตงดวยการหงายกรรไกร เปนการตัด


ที่ทําใหเกิดแผลช้ํา ซึ่งไมถูกตอง
10

รูปที่ 8 โดยธรรมชาติ ถาตัดสวนยอด พืชจะแตกกิ่งดานขางเปนพุมแนนและกวางขึ้นและหากตัด


กิ่งขาง พืชจะโตทางสูงพุมโปรง

ตายอด

ตาขางที่อาจแตกเปนกิ่งขาง

สวนของกิ่งที่เจริญตอไป
กิ่งขางที่เจริญจากตาขางและเจริญ
ออกไป

รอยแผลจากการเจริญของตายอด
ของปที่แลว

สวนที่เจริญมาแลวในฤดูรอน

รูปที่ 9 การตัดแตงกิ่งพืชพรรณ ตองเรียนรูโครงสรางของกิ่ง การตัดแตงจึงเกิดผลดีแกพืช


11

8 8 8 9
รูปที่ 10 ลักษณะการกิ่งที่ดีและไมดี หมายเลข 1 ตัดแผลเฉียงยาวเกินไป หมายเลข 2 ตัดหางตา
มากไป หมายเลข 3 ตัดเอียงชิดตาผิดดาน ทําใหตาเนา หรือกระทบกระเทือน หมายเลข 4 ตัด
ถูกตองรอยแผลหางจากตาประมาณ 1 เซนติเมตร

กิ่งที่เปนโรค
12

กิ่งที่ขวางกิ่งอื่นๆและกิ่งกระโดง หรือกิ่งน้ําคาง

กิ่งที่ขึ้นแทรกในมุมกิ่งอื่น

กิ่งที่คดงอ หรือกิ่งที่ชี้เขาในทรงพุม
13

รูปที่ 11 แสดงลักษณะการตัดกิ่งขนาดใหญ เพื่อปองกันกิ่งฉีกขาด โดยเริ่มแรกตัดตรงหมายเลข


1 เขาไปเกือบครึ่งกิ่ง แลวตัดตรงหมายเลข 2 จนกิ่งขาดจากนัน้ จึงตัดแตงใหชิดลําตนหมายเลข 3

รูปที่ 12 การตัดแตงรูปทรงของตนไม (แบบประดิษฐ) ที่ถูกตอง


14

รูปที่ 13 การตัดแตงรูปทรงตนไมทไี มถกู ตอง เพราะพุมใบชวงลางจะไมคอยถูกแสง ใบจะหาง-


โปรง ดูไมสวยงาม

รูปที่ 14 ไมชอหรือไมตัด การตัดแตงพุมชอใบควรตัดแตงเปนรูปถวยคว่ํา ใบภายในชอจะถูกแสง


ทั่วถึง
15

เอกสารอางอิง

ขวัญชัย จิตสํารวย. 2538. สวนหยอมทําไดดวยมือคุณ. พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพมติชน.


กรุงเทพมหานคร.
เสรี ทรัพยสาร. 2535. การจัดสวนในบาน. พิมพครั้งที่ 3. บริษัท อมรินทรพริ้นติ้งกรุพ จํากัด.
กรุงเทพมหานคร.
สํานักสงเสริมและฝกอบรม รวมกับ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
2549. การออกแบบจัดสวน: รุนที่ 13: 24-30 เมษายน 2549.
สํานักงานสวนสาธารณะ. 2547. คูมือปฏิบัติงานปลูกและดูแลรักษาตนไม. สํานักงานสวนสาร
ธารณะ สํานักสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพ ฯ.
Anonymous. 2007. Pruning Ornamental Plants. Available Source:
http://www.hgic.umd.edu/_media/documents/HG84 Pruningornamentalplants.pdf,
April 10, 2007.
16

การจัดการดูแลสนามหญา

นายพนม สุทธิศักดิ์โสภณ
อาจารยประจํา
โครงการจัดตั้งศูนยวิจัยและการจัดการความรูทางพฤกษศาสตร

หญาสนาม (turf grass) เปนพืชที่มีลักษณะการเจริญเติบโตติดตอกันเปนแผนแนนคลุม


พื้นดิน มีระบบรากเกาะยึด ลําตนประสานใตดินหรือบนดิน ทนตอสภาพการตัด และการเหยียบ
ย่ํา ไดดี โดยหญาสนามนั้นถือเปนองคประกอบที่สําคัญสําหรับสวนประดับ ไมวาจะเปนสวนใน
บาน สวนสาธารณะ และสนามกีฬาประเภทตาง ๆ เชน สนามฟุตบอล สนามกอลฟ สนามรักบี้
ฯลฯ สีเขียวของสนามหญานั้นทําใหผูพบเห็นรูสึกสดชื่น มีชีวิตชีวา สบายตาสบายใจ และสนาม
หญายังเปนเครื่องแสดงความมีสงาราศีของสถานที่นั้น ๆ

ประโยชนของสนามหญา
1. เปนสวนประกอบที่ทําใหบริเวณสถานที่มีความสงางาม รื่นรมย มีความเปนระเบียบ
เรียบรอย ทําใหสวนมีคุณคามากยิ่งขึ้น
2. ใชในการพักผอนหยอนใจ กิจกรรมสันทนาการ เปนที่รับรองแขก จัดงานเลี้ยง หรือทํา
กิจกรรมตาง ๆ
3. ใชเปนสนามกีฬาประเภทตาง ๆ และสถานที่ออกกําลังกาย
4. ชวยลดการสะทอนของแสง และความรอน
5. ชวยลดเสียงรบกวนลง เชน เสียงยวดยานพาหนะ ฯลฯ
6. ชวยรักษาความชื้นในดิน และปองกันการชะลางพังทลายของหนาดิน
7. ชวยใหมีความปลอดภัยแกผูใช
8. ชวยลดมลพิษทางอากาศ เชน ฝุนละออง หมอกควันจากโรงงาน ไอเสียจากรถยนต ฯลฯ
9. ชวยลดความสกปรกของอาคาร
10. ใชเปนสื่อสรางนิสัยรักธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของคนในครอบครัว และคนในสังคม
โดยใชกิจกรรมดูแลรักษาสนามหญารวมกัน ฯลฯ
หญานั้นถือเปนพืชคลุมดินที่มีราคาถูกที่สุด แตมีประโยชน และมีคุณคามากมายหลาย
ดาน ดังนั้นการที่จะดูแลรักษาสนามหญา ของเราใหสวยงามอยูตลอดเวลานั้น จะตองปฏิบัติตาม
วิธีการบํารุงดูแลรักษาที่ถูกตอง และสม่ําเสมอ เชน ในเรื่องของการตัดแตง การใหน้ํา การใสปุย
การกําจัดวัชพืช การปองกันกําจัดโรคและแมลงศัตรูหญาสนาม การซอมแซมสนามหญาสวนที่
ไดรับความเสียหาย ฯลฯ
17

ชนิดของหญาสนาม
กอนจะทราบถึงวิธีการดูแลรักษาสนามหญา เราควรมาทําความรูจักกับชนิดของหญาที่มี
ใชปลูกกันอยูทั่วไปเสียกอน เพื่อจะไดเลือกวิธีการดูแลรักษาไดอยางเหมาะสม เนื่องจากหญา
แตละชนิดจะมีวิธีการดูแลรักษาที่แตกตางกันไป โดยหญาสนามที่ใชปลูกกันทั่วไปและเปนที่รูจัก
กันดีในประเทศไทย ไดแก
1. หญานวลนอย (Manila grass)
มีชื่อวิทยาศาสตร Zoysia malrella Merr.
หญานวลนอยเปนหญาสนามที่ไดรับความนิยมปลูกมากที่สุดในประเทศไทย เนื่องจาก
สามารถเจริญเติบโตไดดีในดินเกือบทุกชนิด และยังปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมไดงาย ใช
ปลูกกลางแจง ทนทานตอการเหยียบย่ําไดดี การดูแลรักษาไดงาย ในฤดูแลงตองรดน้ําอยูเสมอ
มิฉะนั้นจะเหลืองแตไมถึงกับตาย สามารถทนเค็มไดเล็กนอย มีความทนทานตอโรคและแมลง
2. หญาญี่ปุน (Japanese lawngrass)
มีชื่อวิทยาศาสตร Zoysia japonica Steud
เปนหญาอีกชนิดที่ไดรับความนิยมมากเชนกัน สามารถปลูกไดทั้งในเขตหนาวและแหง
แลง เจริญเติบโตชา ไมทนตอการปลูกในที่ชื้นแฉะ ทนรมได 50 เปอรเซ็นต ชอบขึ้นในดินเหนียว
โดยหญาญี่ปุน มี 2 ชนิดไดแก
ชนิดใบกวาง จะมีใบกวาง ประมาณ 4 มิลลิเมตร
ชนิดใบกลม ใบจะเล็ก และละเอียดกวา เปนชนิดที่นิยมปลูกในประเทศไทย
การปลูกหญาญี่ปุนนั้น ไมเหมาะสําหรับปลูกเปนหญาสนามเพื่อการนั่งเลน เนื่องจากใบ
แข็งปลายแหลม จะใชปลูกกลางแจง ทนตอการเหยียบย่ําไดพอสมควร ไมคอยยืดหยุนตัวเหมือน
หญานวลนอย หญาชนิดนี้ตองทําการตัดในระยะเวลาที่เหมาะสม ไมเชนนั้นหญาจะขึ้นเปนกระจุก
ทําใหการตัดแตงทําไดยาก
3. หญากํามะหยี่ (Mascarene grass หรือ Korean velvetgrass)
มีชื่อวิทยาศาสตรวา Zoysia tenuifolia Will.
เปนหญาในสกุล Zoysia ชนิดที่มีใบฝอยละเอียดที่สุด ใบสีเขียวออน เจริญเติบโตชา ขึ้น
ราบเรียบติดดิน นิยมปลูกในที่ ๆ ไมตองการทําการตัดแตงบอย ๆ
18

4. หญามาเลเซีย หรือ หญาพรม (Malaysia grass หรือ Carpet grass) มี 2 ชนิด คือ
4.1 Common carpet grass
มีชื่อวิทยาศาสตร วา Axonopus affinis
เปนหญาพันธุดั้งเดิมของทวีปอเมริกาแถบรอน ปลูกทั่วไปในเขตรอนชื้น ทนตออากาศ
หนาวได เ ล็ ก น อ ย แต ไ ม ท นแล ง ป จ จุ บั น ไม เ ป น ที่ นิ ย มปลู ก กั น เนื่ อ งมาจากมี Axonopus
compressus มาแทนที่
4.2 Tropical carpet grass
มีชื่อวิทยาศาสตร วา Axonopus compressus
เปนชนิดที่นิยมปลูกในประเทศไทย โดยมีการปลูกกันมานานแลว ในสวนยางทางภาคใต
มีชื่อเรียกวา “หญาเห็บ” และบางทองที่เรียก “หญาไผ” ไมทนตออากาศหนาวเทาชนิดแรกแต
ทนแลงไดดีกวา ตองการความชื้นสูงแตไมชอบน้ําขังแฉะ ขึ้นไดดีในที่รมรําไรและมีการถายเท
อากาศดี แตถารมมากเกินไปจะออนแอ ไมทนตอการเหยียบย่ําและสภาพแหงแลง
5. หญาแพรก (Bermuda grass)
มีชื่อวิทยาศาสตร วา Cynodon dactylon
เปนหญาที่เรารูจักกันมานานแลว และมีการใชในพิธีไหวครู เปนสัญลักษณแสดงถึง ความ
แตกฉานทางปญญา นอกจากนี้ ยังเปนที่รูจักกันเปนอยางดีของเด็ก ๆ ที่เอาหญาแพรกที่เปนรูป
หัวไกมาตีเลนกัน หญาชนิดนี้มีการเจริญเติบโตเร็ว ไมชอบที่รม ทนทานตอการเหยียบย่ําไดดีมาก
ทนตอความแหงแลงไดดี และชอบดินที่มีการระบายน้ําดี
6. หญานวลจันทร (polytrias)
มีชื่อวิทยาศาสตร วา Polytrias amoura
เปนหญาที่มีถิ่นกําเนิดในประเทศไทย บางคนเรียก “หญาใบบาง” หากปลูกในที่
กลางแจงตนจะเรียบชิดติดดินไดดีกวาหญานวลนอย ดูแลรักษางาย ไมทนตอการเหยียบย่ํา แต
หากถูกเหยียบย่ําก็สามารถฟนตัวไดเร็ว
7. หญาพันธุลูกผสมตางประเทศ
มีมากมายหลายพันธุ สวนใหญเปนหญาใบเล็กละเอียด มีความสวยงามมาก นิยมปลูกใน
สนามกอลฟ ตองการการดูแลรักษามาก การปลูกมักใชเมล็ดพันธุหวานพื้นสนามที่เตรียมไว
โดยตรง หรื อ เพาะในแปลงก อ นแซะไปปลูก ภายหลั ง ตั วอย า งเช น หญ า ทิฟ กรีน (Tifgreen)
หญาทิฟลอน (Tiflawn) ทิฟดวาฟ (Tifdwarf) หญาบาเฮีย พันธุ Agentine, Penscola เปนตน
19

การปลูกหญาสนาม
1. ทําการกําจัดวัชพืชออกจากพื้นที่สนามใหหมด ซึ่งอาจจําเปนตองใชสารเคมีกําจัดวัชพืช
ในกรณีวัชพืชหลายฤดู เชน หญาแหวหมู หญาชันอากาศ เปนตน
2. เก็บเศษหิน อิฐ รวมถึงวัสดุกอสรางตาง ๆ ออกจากพื้นที่มากที่สุดเทาที่จะทําได
3. ปรับพื้นที่สนามใหไดระดับที่ตองการ โดยคํานึงถึงแนวการระบายน้ําออกจากสนามไวดวย
4. ตรวจสภาพความเปนกรด-ดาง ของดิน หากพบวาดินเปนกรด อาจโรยปูนขาว เล็กนอย
เพื่อปรับสภาพความเปนกรด-ดาง ของดินใหดีขึ้น
5. ปรับแตงหนาดินใหเรียบ สวนมากนิยมใชทรายขี้เปดในการปรับแตงพื้นที่ครั้งสุดทายให
เรียบรอย แลวใชปุยหมักหรือปุยคอก โรยหวานหนาดินอีกครั้งหนึ่งกอนทําการปลูกหญา
6. ปลูกหญาตามตองการ

การดูแลรักษาสนามหญา
การดูแลรักษาสนามหญาในสวน มีกิจกรรมที่ตองปฏิบัติอยู 2 ลักษณะ คือ
1. กิจกรรมที่ตองปฏิบัติเปนประจํา เชน การใหน้ํา การตัดหญา การตัดแนวขอบ
สนามหญา
2. กิจกรรมที่ปฏิบัติเปนครั้งคราว แลวแตความจําเปน หรือจะทําเมื่อถึงเวลาอันควร
หรือเมื่อเกิดปญหากับสนามหญาในสวน เชน การใสปุย การปรับแตงผิวหนาสนามหญา การกําจัด
วัชพืช การปองกันโรคและแมลง การแกไขการอัดแนนของดิน การกําจัดชั้นของเศษหญา ฯลฯ

1. กิจกรรมที่ตองปฏิบัติเปนประจํา
1.1 การตัดแตงหญาสนาม
การตัดหญาที่ถูกวิธี ทําใหสนามหญามีการเจริญเติบโตหนาแนน สม่ําเสมอ
เปนระเบียบสวยงาม มีผลใหรากหญาเจริญไปทางดานขางและทางลึกไดมาก แมวาเปนการตัด
หญาที่ถูกวิธี ก็ยังเปนการทําอันตรายแกหญา ดังนั้นจะเกิดอันตรายที่รุนแรงมากยิ่งขึ้นหากทําการ
ตัดหญาไมถูกวิธี เพราะการตัดหญาเปนการตัดสวนที่เจริญเติบโตและสวนที่สรางอาหารออกไป
ไดแก ลําตนและใบ จึงทําใหหญาชะงักการเจริญเติบโต และขณะเดียวกันรอยแผลที่ตัดทําใหหญา
มีการคายน้ํามากขึ้นในชวงการตัดหญาใหม ๆ หญาจึงออนแอพรอมที่จะถูกโรค แมลง และวัชพืช
เขารบกวน จนกอใหเกิดความเสียหายไดตลอดเวลา ดังนั้นการตัดหญา จึงเปนขั้นตอนที่ตองใช
เวลามากที่สุดในกระบวนการดูแลรักษา และการจัดการเกี่ยวกับสนามหญา ซึ่งตองตัดดวยความ
ระมัดระวังและถูกวิธี จึงจะทําใหสนามหญามีความสวยงามอยางยั่งยืนและประหยัดคาใชจายใน
การดูแลรักษา
20

™ หลักการตัดหญาสนาม
1. หญาสนามตัดไดครั้งแรกหลังจากปลูก (เต็มแผน) ไปแลวภายใน
2 - 3 สัปดาห เพื่อสรางความสม่ําเสมอใหเกิดขึ้นกับสนามหญา โดยตัดใหสูงจากพื้น ประมาณ
1.5 - 2 นิ้ว เมื่อผานเดือนแรก ก็คอยลดความสูงลงใหเหลือ 1 นิ้ว แลวจึงกําหนดระยะเวลาใน
การตัดที่สม่ําเสมอตอไป
2. เก็บเศษวัสดุตาง ๆ ที่จะเปนอันตรายตอผูปฏิบัติงานและอุปกรณตัดหญา
ในขณะตัดหญา เชน หิน อิฐ ไม เศษพลาสติก ฯลฯ
3. ตรวจเครื่องตัดหญาใหอยูในสภาพดีทุกครั้งกอนตัด ทั้งความคมของใบมีด
และการตั้งระยะความสูง
4. เดินเครื่องตัดหญาดวยความเร็วคงที่สม่ําเสมอ จะเร็วหรือชาขนาดไหน
ใหสังเกตดูจากการขาดของหญา ถาหญาขาดไมสม่ําเสมอ แสดงวาเดินตัดเร็วไปในขณะที่รอบ
เครื่องหมุนชา หรือหยุด ณ ตําแหนงเดิมนานเกินไปซึ่งจะตองปรับใหพอดีกัน หากใชรถตัดหญา
ควรเดินรถใหรอยตัดในแตละแถบเหลื่อมกันเล็กนอย เพื่อใหตัดหญาไดหมดและสม่ําเสมอ
5. ตองตัดหญาในขณะที่พื้นสนามหญาแหงไมเปยกแฉะ หากเปนไปไดควรรดน้ํา
กอนตัดลวงหนา 1 วัน จะทําใหตนหญาจะอวบ ตัดไดงาย
6. หลังตัดหญาเสร็จ ตองคราดเศษหญาออกจากสนามหญาทันที ไมควรปลอย
ทิ้งไว เนื่องจากจะทําใหเกิดปญหาในภายหลัง เชน ทําใหเกิดการสะสมของชั้นหญา เกิดการเนา
กอใหเกิดโรค เปนที่หลบซอนของแมลง ขัดขวางการสังเคราะหแสงของหญาสนาม
7. ตองกําหนดเวลาตัดหญาใหตรงเวลาเสมอ เชน ตัดทุกวันที่ 10 วันที่ 20 และ
วันที่ 30 ของทุกเดือน จะไดไมหลงลืม การตัดหญาที่ตรงเวลาจะทําใหหญาไมออนแอหลังตัด
8. หากปลอยใหหญาสนามยาวมากๆ ก็ไมควรตัดใหสั้นตามความสูงที่กําหนดใน
คราวเดียว ควรคอย ๆ ตัดใหสั้นลงตามสวนไปเรื่อย ๆ จนไดความสูงที่ตองการ โดยทั่วไปถือ
หลักการวาควรตัดหญาออกไมเกิน 1 ใน 3 ของความยาวหญาทั้งหมด
™ ขอควรพิจารณาในการตัดหญา
- ไมควรปลอยใหหญาออกดอกกอน เพราะการปลอยใหหญาออกดอกจะเปน
การทําใหหญาทรุดโทรม และเมื่อตัดหญาแลวจะเห็นแตสวนของลําตนทําใหดูไมสวยงาม
- ตองไมตัดหญาใหสั้นเกินไปจนถึงระดับลําตนของหญา เพราะจะทําใหสนาม
หญาดาง และมีโอกาสถูกโรค แมลงศัตรู และวัชพืช รุกรานและเขาทําลายไดงาย นอกจากนี้ยังทํา
ใหหญาฟนตัวไดชา ทรุดโทรม และอาจตายได เนื่องจากสูญเสียสวนที่เปนสีเขียวสําหรับสรางและ
สะสมอาหารไปมากนั่นเอง
™ ความสูงและความถี่ในการตัดหญา
ปกติ แ ล ว จะตั ด หญ า บ อ ยครั้ ง เพี ย งใดนั้ น ไม สํ า คั ญ เท า กั บ ความสู ง ของหญ า
21

ที่เหมาะสมกับชนิดและพันธุหญานั้น ๆ ซึ่งทั้งความสูงและความถี่ในการตัดหญา เปนตัวกําหนด


คุณภาพของการตัดหญาสนาม โดยขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง เชน ประเภทของสนามหญา ชนิด
และพันธุของหญา ความสมบูรณของหญา ภูมิอากาศ และฤดูกาล สําหรับรายละเอียดในเรื่องนี้
จะกลาวเฉพาะหญาสนามที่นิยมปลูกกันทั่วไป 3 ชนิด คือ หญานวลนอย หญาญี่ปุน และหญา
มาเลเซีย นอกจากนี้ก็อาจมีหญาแพรกลูกผสม หญานวลจันทร แตไมนับวาแพรหลาย
หญาทั้ง 3 ชนิดที่กลาวมา สําหรับประเทศเขตรอนชื้นอยางประเทศไทย มีการ
เจริญเติบโตเร็ว ไมมีชวงฤดูที่พักตัวอยางชัดเจน แมจะมีฤดูหนาวบางแตก็ไมมีผลอะไรมากนัก
ความสูงของหญาสําหรับสนามในบริเวณบาน ควรตัดใหสูงจากพื้นดินตั้งแต 0.5 - 1 นิ้ว แตการ
พิจารณาวาจะตัดใหสูงจากพื้นจริง ๆ เทาใดนั้น ใหพิจารณาดังนี้
การตัดใหเหลือความสูง 0.5 นิ้ว เหมาะกับสนามหญาที่ไดรับแสงแดดเต็มที่ อยู
ในชวงฤดูฝน เปนสนามหญาที่ไมคอยไดรับการเหยียบย่ํา ใชกับหญาสนามที่ใบเล็ก ขอสั้น เชน
หญานวลนอย หญาญี่ปุน หญากํามะหยี่ เราเรียกการตัดหญาแบบนี้วาเปนการตัดต่ํา
การตัดหญาใหเหลือความสูง 1.5 นิ้ว เปนการตัดหญาคอนขางสูง เหมาะกับหญา
ใบใหญขอยาว เชน หญามาเลเซีย แตก็ใชกับหญานวลนอย และหญาญี่ปุนได โดยเฉพาะการตัด
ในช ว งฤดู ห นาวเป น การตั ด ที่ เ หมาะกั บ สนามหญ า ที่ มี ก ารใช ส อยบ อ ยหรื อ ถู ก เหยี ย บย่ํ า มาก
เพราะการตัดหญาใหสูงอยางนี้ ทําใหระบบรากของหญาแข็งแรง และทนทานมากกวาตัดแบบแรก
โดยทั่วไปแลวจะแนะนําใหตัดหญา สูง 1-1.5 นิ้ว ระยะการตัดหญาควรจะตัด
1-2 อาทิตยตอครั้ง หากเปนหญาพันธุที่มีการเจริญเติบโตชา หรืออยูในชวงฤดูหนาวที่มีการ
เจริญเติบโตชา อาจทิ้งระยะการตัดไดนานถึง 4 สัปดาห สวนในสนามกอลฟ หญาบนกรีนอาจตอง
ทําการตัดหญาทุกวัน หรือวันเวนวัน การตัดหญานั้นใบมีดของเครื่องตัดหญาจะตองลับใหคม
และอยูในสภาพสมบูรณกอนนําออกไปใช และที่สําคัญคือตองตั้งระดับใบมีดใหเหมาะสมกับชนิด
ของหญาที่จะตัดดวย
™ ทิศทางการตัดหญา
ในกรณีที่เครื่องตัดหญาไมมีถุงเก็บเศษหญา ตองใหเศษหญาพุงออกจากเครื่องตัดไป
ยังบริเวณที่ตัดหญาแลวอยาใหพุงไปทับกับบริเวณหญาสนามที่ยังไมไดตัด จะทําใหกินแรงเครื่อง
ตัดหญา และคุณภาพการตัดไมดี
การตัดหญาในทิศทางเดียวกันติดตอกันในระยะเวลานาน ๆ ทําใหหญาเอนลูไปทาง
เดียว ซึ่งนอกจากดูไมสวยงามแลว ยังมีผลทําใหหญาสนามเจริญเติบโตไมดีอีกดวย ดังนั้นควร
วางแผนทิศทางการตัดหญาไมใหซ้ํากับแนวการตัดหญาในครั้งกอน เพื่อปองกันไมใหเกิดรอยแนว
เสนของการตัดซ้ําแนวเดิมบอย ๆ โดยอาจจะสลับทิศทางการตัดบาง เชน จากทิศตะวันออกไปทิศ
ตะวันตก จากทิศเหนือไปทิศใต สลับกันไปทุกๆ 1-2 เดือน เปนตน
22

1.2 การใหน้ําหญาสนาม
น้ํา เปนสิ่งสําคัญสําหรับหญาสนามมาก เพียงแตมีน้ําหญาก็พออยูไดโดยไมตองใส
ปุย จะเห็นวาหากขาดน้ําเพียง 3-4 วัน หญาจะแสดงอาการเหี่ยวเฉา ใบเหลือง ดูแลวไมสวยงาม
และหญ า บางชนิ ด อาจตายได ห ากขาดน้ํ า นาน ๆ ดั ง นั้ น การให น้ํ า จึ ง ต อ งให อ ย า งเพี ย งพอ
โดยเฉพาะในชวงที่อากาศรอนและแหง มีอุณหภูมิสูง ยิ่งตองใหน้ํามาก

- ปจจัยในการพิจารณาในการใหน้ํา เพื่อใหเกิดการประหยัดน้ําในการดูแลสนาม
หญา ควรพิจารณาดังนี้
1. สภาพฟาอากาศ ไดแก ความชื้นในอากาศ (หนาหนาวความชื้นนอย หนาฝน
ความชื้นมาก) อุณหภูมิ แสงแดด ลม เพราะสิ่งเหลานี้มีผลตอการคายน้ําของหญาสนาม มีผลตอ
การระเหยของน้ําจากผิวดิน เราจึงใหน้ํามากนอยแตกตางกัน ตัวอยางเชน ถาเปนชวงที่มีแสงแดด
จัด อุณหภูมิยอมสูง หรือชวงที่มีลมพัดตลอดเวลา จะทําใหหญาคายน้ํามาก ตองใหน้ําแกสนาม
หญามากตามไปดวย
2. สภาพของดิน ซึ่งมีผลตอความสามารถในการอุมน้ํา (ดูดซับความชื้น)
ของดิน โดยทั่วไปแลวจะมีเนื้อดินอยู 3 ชนิด คือ
ดินเนื้อละเอียด (ดินเหนียว) จะเปนดินที่อุมน้ําไดดีแตระบายน้ําชา มี
ผลใหรากพืชขาดอากาศหายใจได
ดินเนื้อปานกลาง (ดินรวน) มักเปนดินที่ใชปลูกหญา เพราะมีลักษณะที่
เหมาะสมหลายประการ
ดินเนื้อหยาบ (ดินทราย, รวนปนทราย) จะเปนดินที่ดูดซับน้ําไวไดนอย
กวาเนื้อดินประเภทอื่น ๆ
การใหน้ําแกสนามหญาที่มีเนื้อดินตางกันก็ตองใหมากนอยตางกันดวย เพราะ
ความสามารถในการอุมน้ําแตกตางกัน โดยดินที่เราปลูกหญานั้น สวนใหญจะเตรียมใหมีหนาดิน
ลึกประมาณ 30 เซนติเมตร ทั้งนี้เพราะรากหญาจะอยูในชวงประมาณ 30 เซนติเมตร โดยเฉพาะ
หญานวลนอยและหญาญี่ปุน ถาหากใหน้ํามากเกินกวาที่ดินสามารถอุมน้ําไวได จะกลายเปนน้ํา
ไหลทิ้งไปโดยเปลาประโยชน
3. ชนิดของหญาสนาม หญาสนามที่มีใบใหญ ลําตนอวบอวนอยางหญามาเลเซีย
จะตองการน้ํามากกวาหญาที่มีใบเล็ก มีระบบรากลึก อยางหญานวลนอย
23

- เวลาในการรดน้ํา ที่จริงแลวเราสามารถรดน้ําใหสนามหญาไดทั้งกลางวัน
และกลางคืน หากวาสภาพของสนามหญาสามารถดูดซับและระบายน้ําในสวนที่เหลือทิ้งได
แตเวลาที่เหมาะสมนั้นควรตองพิจารณาดังนี้
1. ควรเปนชวงที่แดดไมรอนจัด แตสําหรับหญาที่ปลูกใหม เราสามารถใหน้ําไดในชวงที่
แดดรอน เพื่อชวยลดอุณหภูมิแกพื้นดินและใบหญาจะชวยใหหญาปรุงอาหารไดดีขึ้น รากแผ
ขยายมากขึ้น
2. ถารดน้ําโดยการใชระบบหัวสปริงเกลอร ไมควรรดตอนลมแรง เพราะน้ําจะปลิวไปใน
ทิศทางที่ไมตองการ
3. ควรรดน้ําสนามหญากอนจะใชสนามเพื่อกิจกรรมตาง ๆ หรือกอนตัดหญา อยางนอย
12 ชั่วโมง
4. ควรรดน้ําสนามหญากอนที่จะฉีดพนสารเคมีเพื่อกําจัดศัตรูพืช ประมาณ 3-4 ชั่วโมง
เพราะถารดน้ําหลังจากฉีดพนสารเคมี น้ําจะชะลางสารเคมีไปดวย
5. เวลาเชาตรู ถือเปนเวลาที่เหมาะสมในการรดน้ํามากที่สุด เพราะในชวงเชาถึงกอนเที่ยง
นั้น เปนชวงที่หญาปรุงอาหารไดดีที่สุด และแสงในชวงของวันจะทําใหผิวสนามหญาแหงกอนค่ํา
ไมทําใหเปนสาเหตุของการเกิดโรค
6. การใหน้ําในตอนเย็นก็เปนชวงที่เหมาะสมอีกชวงหนึ่ง เพราะเปนชวงหลังจากที่ราใช
สนามหญามาทั้งวัน และเมื่อใหน้ําในตอนเย็น หญาจะไมถูกเหยียบย่ําอีกในตอนกลางคืน แตทั้งนี้
เราตองคํานึงวา ถาดินของสนามหญาแนนทึบ ระบายน้ํายาก อับลม ก็อาจทําใหเกิดโรคระบาดใน
สนามหญาเราได โดยทั่วไป เราจะกะวาเมื่อใหน้ําสนามหญาไปแลว สนามหญาควรจะแหงกอนมืด
ดังนั้น ในเวลา 3 โมงเย็นก็เริ่มรดน้ําแกสนามหญาได
- หลักการและขอคิดในการรดน้ําสนามหญา
1. ควรรดน้ําแตละครั้งใหมากพอ อยางนอยตองมั่นใจวา น้ําที่รดซึมลงไปในดินได
ไมต่ํากวา 1-2 นิ้ว อยารดน้ํานอยๆ แตบอยครั้ง แตจะมากขนาดไหนก็ใหพิจารณาปจจัยที่
เกี่ยวของ เชน สภาพฟาอากาศ ลักษณะของดิน ชนิดของหญาสนาม เปนตน การรดน้ําครั้งละ
นอย ๆ ในฤดูรอนจะทําใหวัชพืชเจริญเติบโตไดดีกวาหญาสนาม
2. อยารดน้ําใหบอยเกินไป เพราะนอกจากจะเปนการสิ้นเปลืองแลว ยังเปนการ
ชะลางธาตุอาหารในดิน ทําใหดินแนนเร็วขึ้น และยังเกิดโรคระบาดไดงายอีกดวย
3. ไมควรใหน้ําครั้งละนอย ๆ และซึมเพียงผิวดินตื้น ๆ ติดตอกันเปนเวลานาน ๆ
เพราะจะทําใหรากหญาเจริญอยูในระดับตื้น รากไมชอนไชลงไปในชั้นใตดิน ทําใหรากไมสามารถ
ดูดน้ํามาใชเองได สงผลใหหญาออนแอขาดน้ําไดงาย และมักหาอาหารไดนอย
4. ควรรดน้ําอยางชา ๆ เพื่อใหน้ําซึมลงดินไดอยางสม่ําเสมอ โดยเฉพาะในที่ลาด
ชันและบริเวณขอบสนาม ซึ่งมักพบวาเปนบริเวณที่ขาดน้ําบอย ๆ เนื่องจากน้ําไหลหนีลงขางลาง
หมด ฉะนั้นการรดน้ําในพื้นที่ลาดเอียงจะตองใชเวลานานกวาพื้นราบ
24

5. ควรรดน้ําสนามหญาทันทีเมื่อพบอาการของหญาดังนี้
5.1 เมื่อเหยียบลงบนหญาแลว หญาฟนตัวหรือดีดกลับชา
5.2 เมื่อพบวาพื้นผิวดินและผิวสนามหญาแหงติดตอกันนาน
5.3 เมื่อหญาเริ่มมีสีหมน ไมเขียวสดใส ขอบใบเริ่มมวนเขาหากัน แตเราจะไม
ปลอยใหหญาแสดงอาการขาดน้ําเกิดขึ้นบอย ๆ หญาจะออนแอ
ดังนั้นคําถามที่วาควรจะรดน้ําสนามหญาเมื่อใดนั้น เปนคําถามที่ตอบไมยากเลย หากเรารู
หลักการ หมั่นสังเกตสภาพของสนามหญา ปจจัยตาง ๆ ทีมีผลตอการใหน้ํา และไดพิจารณาใหน้ํา
ตามหลักแลว จะทําใหเราสามารถประหยัดน้ํา และใชน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพสูงที่สุด

- วิธีการรดน้ําในสนามหญา
ในสวนหยอมวิธีที่ดีและเปนที่นิยม คือ การรดน้ําแบบพนฝอยโดยใชสายยาง หรือจะตอ
ทอถาวรติดหัวสปริงเกลอรตามจุดที่กําหนด หากเปนสวนหยอมที่มีพื้นที่ไมมากนัก เชน
สวนหยอมภายในบาน ฯลฯ ควรใชสายยางฉีดพนดวยแรงคนจะดีกวา เพราะสามารถรดน้ําไดทุก
จุดที่เราตองการ
แตถาใชสายยางแลวติดหัวสปริงเกลอรควรเลือกใชสายยางที่มีสี เชน สีเขียว สีแดง สีดํา
จะดีกวาสายยางสีใส เพราะสายยางที่ใสนั้นแสงจะผานได ทําใหเกิดตะไครน้ําภายในสายยาง ซึ่งจะ
ทําใหหัวสปริงเกลอรจะอุดตันไดงาย
กอนจะใชสายยางใหน้ําแกหญาสนาม ควรตรวจสอบดูใหดีกอนวามีน้ําคาสายอยูหรือไม
ถาหากมีน้ําที่เหลือในสายยางและเปนน้ํารอนก็ใหถายน้ําทิ้งไปกอน จนน้ําเย็นปกติจึงรดใหแก
สนามหญา สายยางนั้นเมื่อเลิกใชแลวควรเก็บใหดี อยาทิ้งตากแดดไวในสนาม เพราะเมื่อสายยาง
รอนจะทําใหหญาสนามเปนรอยดางไปดวย ในปจจุบันมีผูผลิตสายยางใหน้ําแกสนามหญาที่ติดกับ
ลอเลื่อน ทําใหสะดวกในการใชและการเก็บ
1.3 การตัดเล็มหญาสนาม
การตัดเล็มหญาสนามจะทําในกรณีที่เครื่องตัดหญาไมสามารถจะเขาถึง ซึ่งในอดีต
มักจะใชกรรไกรดามยาวตัดเล็ม แตในปจจุบันนิยมใชเครื่องตัดเล็มที่ใชมอเตอรโดยทั่วไป แลว
หญาสนามที่เปนรูปเหลี่ยมตาง ๆ หรือมีแปลงไมดอก บริเวณทางเดินตาง ๆ รวมถึงใตบริเวณ
ตนไมใหญจะตองทําการตัดเล็ม
การตัดแตงขอบแปลง เมื่อหญาโตขึ้นตองมีการตัดแตงเพื่อใหหญามีการขยายออก
ทางดานขาง และเกิดความหนาแนนสม่ําเสมอที่บริเวณขอบแปลง หรือจุดที่ใชเครื่องตัดหญาตัด
ไมได ก็อาจใชกรรไกร หรืออุปกรณอื่น ๆ ในการตัดแตงขอบแปลงใหเรียบรอย
25

2. กิจกรรมที่ปฏิบัติเปนครั้งคราว
2.1 การใหปุยหญาสนาม
คงมีหลายคนที่คิดไมถึงหรืออาจไมเคยคิดวาหญาจะตองการปุยและมีความจําเปนที่
จะตองใสปุย แตความจริงแลวหญาสนามก็ตองการปุยเชนเดียวกับพืชพรรณอื่นๆ โดยเฉพาะ
สนามหญาที่ไดรับการตัดใหสั้นอยูเสมอ ทั้งนี้เพราะการตัดหญาเปนการทําลายใบของหญา ซึ่งเปน
สวนที่สรางอาหารโดยตรง นอกจากนี้ยังทําลายอาหารที่หญาสรางขึ้นดวยเชนกัน โดยหญาตองการ
ธาตุอาหารครบทั้ง 17 ธาตุเชนเดียวกับพืชตาง ๆ คือ คารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน
(O) ซึ่ง ไดจากอากาศเพียงพอแลว ส วน ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)
กํามะถัน (S) แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) แมงกานีส (Mn) เหล็ก (Fe) โบรอน (B)
ทองแดง (Cu) สังกะสี (Zn) โมลิบดินั่ม (Mo) คลอรีน (Cl) นิเกิล (Ni) แตธาตุ ไนโตรเจน
ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม นั้นมีความสําคัญอยางมาก เพราะที่มีอยูแลวในธรรมชาติยังไมเพียงพอ
จึงจําเปนตองใสเพิ่มอีก

ปุยที่นิยมใชกับสนามหญา จะเปนปุยเคมีมากกวาปุยอินทรีย เพราะสามารถใชไดสะดวก


รวดเร็ว ปุยเคมีในปจจุบันผูผลิตไดผลิตออกมามากมายหลายเกรด (สูตร) ดวยกัน เชน
16-8-8, 12-6-6, 15-15-15, 20-5-5 ฯลฯ สําหรับสนามหญาควรเลือกใชปุยที่มี
ธาตุอาหารหลักครบทั้ง 3 ธาตุ คือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม โดยไนโตรเจน จะมี
ความสําคัญตอการเจริญเติบโตของหญามากที่สุด เพราะหญาจะนําไปบํารุงใบใหเขียวขจีอยู
ตลอดไป หญาที่ขาดธาตุไนโตรเจนจะแสดงอาการเหลือง ซีด บอบบาง และเจริญเติบโตชา
สวนธาตุฟอสฟอรัสก็มีความสําคัญตอหญาเชนกัน โดยเฉพาะในชวงแรกที่ยังออนอยู เพราะธาตุ
ฟอสฟอรัสจะสงเสริมการเจริญเติบโตของราก สรางความแข็งแรงแกรากหญา หญาที่ขาด
ฟอสฟอรัสใบจะออกสีชมพู สีแดง ลักษณะใบมวน มักเกิดกับหญาตนออนมากกวาตนแก
ธาตุโพแทสเซียม เปนธาตุที่มีความสําคัญตอหญารองจากธาตุไนโตรเจน เปนธาตุที่ชวยสงเสริม
การสังเคราะหแสง สรางความตานทานโรค ทําใหหญาทนทานตออากาศหนาว หญาที่ขาดธาตุ
โพแทสเซียม ใบจะมีสีออกน้ําตาล แคระแกร็น นอกจากนี้หญาสนามยังตองการธาตุอาหารรอง
และ ธาตุอาหารเสริมอีกดวย แตสวนใหญธาตุอาหารเหลานี้จะมีอยูแลวตามธรรมชาติในดิน และ
หญาก็ตองการเพียงสวนนอย จึงไมจําเปนที่จะตองใสปุยเพิ่ม ยกเวนในบริเวณที่ดินมีปญหา เชน
ดินเปรี้ยว ดินเค็ม ฯลฯ ก็อาจทําใหเกิดการขาดธาตุอาหารรอง และธาตุอาหารเสริมได จึงตองให
เพิ่มเติมลงไป
ดังนั้นการเลือกซื้อปุย จึงควรเลือกซื้อปุยที่มีธาตุอาหารครบทั้ง 3 ธาตุ เพื่อที่เราจะไดใช
กับตนไมอื่น ๆ ในสวนของเราดวย อีกประการหนึ่ง ถาใหปุยที่มีธาตุไนโตรเจนเพียงอยางเดียวแก
หญาสนาม จะทําใหหญามีความตานทานโรคต่ําลงได ปุยที่ขอแนะนําสําหรับผูมีสวนประดับบาน
คือปุยสูตร 15-15-15 หรือสูตร 12-6-6 หรือสูตร 20-5-5 สูตรใดสูตรหนึ่ง และปุยยูเรีย ซึ่ง
26

เปนปุยที่มีความจําเปนสําหรับหญาสนามมากเชนกัน โดยเฉพาะหญาสนามที่ปลูกใหม ควรใชปุย


ยูเรียละลายน้ําจาง ๆ รดทุก 15-30 วัน เพื่อเรงการเจริญเติบโตจนหญาตั้งตัวแตกกอดีแลว
จึงเปลี่ยนไปใหปุยสูตรอื่น ๆ แทน เชน 15-15-15 นอกจากนี้ ปุยยูเรียยังสามารถใชเรงการฟน
ตัวของหญาจากการใชสอยสนามหญาที่มากเกินไปไดเปนอยางดี
การใสปุยใหหญาสนามนั้นควรใส 2 ครั้ง/ป ในชวงตนและปลายฤดูฝน โดยปริมาณของ
ปุยที่ใหแกสนามหญาแตละสนามจะมีความแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับชนิดของหญา ชนิดของดิน
วิธีที่ดีที่สุดควรทําการวิเคราะหธาตุอาหารในดินเสียกอน จึงจะสามารถคํานวณปริมาณปุยที่จะ
ใชไดอยางถูกตองที่สุด

วิธีการใหปุย
1. วิธี หวา น เปน วิธีที่นิยมปฏิบั ติกันมาก เนื่องจากมีความสะดวกและรวดเร็ว ในการ
ปฏิบัติ โดยหวานปุยลงไปในสนามหญาโดยตรง ปุยที่หวานไดแก ปุยคอก ปุยเคมีที่เปนเม็ด หรือ
ปุยเกล็ด หลังจากหวานปุยทั่วสนามแลวใหรดน้ําตามทันที เพื่อใหปุยสลายตัวและชะลางปุยที่คาง
อยูบนใบหญา
2. วิธีฉีดพน หรือการใหปุยทางใบ โดยใชปุยน้ํา ปุยละลายน้ํา ปุยเกล็ด หรือปุยยูเรีย
ละลายกับน้ํา ฉีดพนลงไปบนใบหญาใหทั่วแปลง หญาก็จะดูดซึมปุยเขาไปในตน โดยผานเขาไป
ทางปากใบ เวลาที่เหมาะแกการใหปุยทางใบ ควรเปนเวลาเชาที่น้ําคางแหงไปบางแลว และไมสาย
เกินไปจนแดดรอน เพราะจะทําใหหญาใบไหมได
3. วิธีการเจาะรู โดยการใชเครื่องเจาะรู ที่มีลักษณะคลายสวาน สําหรับเจาะรูลงไปใน
สนามหญา จากนั้นก็ใสปุยซึ่งผสมกับอินทรียวัตถุ และทรายลงไปใหเต็มรู แลวรดน้ําตาม การใส
ปุยวิธีนี้จะมีประสิทธิภาพดี เพราะปุยจะมีการสูญเสียนอย และหญาสามารถดูดปุยไดดีกวา มักจะ
ใชกับสนามกอลฟ
ขอควรคํานึงในการใหปุยสนามหญา
1. อยาใชปุยเกินความจําเปน เกินอัตรา หญาจะออนแอ และสิ้นเปลืองเงิน เนื่องจากพืช
นําไปใชไมได ถูกชะลาง และมีผลเสียตอคุณภาพของดิน และกิจกรรมของจุลินทรียที่มีประโยชน
2. กําหนดระยะเวลาในการใหปุยสนามหญา และตนไมในสวนใหพรอมกัน เพื่อความ
สะดวกในการปฏิบัติงาน
3. วิธีหวาน สําหรับพื้นที่สวนในบาน ใหใชมือหวาน จะกําหนดไดทั่วถึงกัน และหากปุย
จับกันเปนกอนก็ใชมือบี้ใหแตกเปนเม็ดเล็ก ๆ กอน
4. หลังหวานปุยทุกครั้งตองรดน้ําตามใหชุมระวังอยาใหเม็ดปุยตกคางบนใบไมใบหญา
ดังนั้นการใหปุยตองสัมพันธกับการใหน้ํา คือ ควรใหปุยในชวงเชา เพื่อจะไดรดน้ําตามในชวงเชา
นั้นดวย
27

5. ในฤดูฝน ควรใสปุยหลายครั้งกวาฤดูอื่น ๆ เพราะมีการชะลางและสูญเสียธาตุอาหาร


มากกวา
6. ตรวจสภาพของดินบางเมื่อใชปุยเคมีไปนาน ๆ โดยอาจเก็บตัวอยางดินสงไปวิเคราะห
ตามหน า ยงานของราชการหรื อ เอกชนที่ รั บ วิ เ คราะห ดิ น เช น ภาควิ ช าปฐพี วิ ท ยา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนตน
7. การใสปูนขาวแกความเปนกรดของดินไมควรใสมากเกินไป เพราะจะทําใหธาตุอาหาร
บางอยางในดินถูกตรึง หญานําไปใชประโยชนไมได
8. หากหญาสนามเกิดโรคระบาด ควรงดการใหปุยทันที หาทางแกไขโรคใหหายกอน
แลวจึงใหปุยทีหลัง

9. ปุยที่ซื้อมาใชตองเก็บรักษาใหถูกวิธี และไมควรซื้อมาเก็บไวมากเกินไป วิธีเก็บปุยเคมี


งาย ๆ คือ เก็บในภาชนะที่แหง สะอาด วางกระสอบปุยใหสูงจากพื้นดินหรือพื้นซีเมนต เก็บในที่
แหงและเย็น ภาชนะที่ตวงปุยก็ตองแหง สะอาด และหลังจากตวงปุยมาใชตามที่ตองการแลว ให
ปดปากถุงหรือภาชนะใหแนนหลังใชทุกครั้ง
10. ควรจะคํานึงถึงราคาปุยและคาใชจายอื่น ๆ ดวย เพื่อความประหยัด และที่สําคัญใน
การใหปุยเคมีแกสนามหญาคือ อาจจะใหนอยไปบาง ไมใหบาง ยังดีกวาใหปุยในปริมาณที่มาก
เกินความจําเปน
2.2 การจัดการวัชพืชในสนามหญา
องคประกอบที่สําคัญที่ทําใหสนามหญามีคุณภาพดีไดแก มีความสม่ําเสมอ มีความ
หนาแนนดี มีความเรียบ และสีเขียวขจี แตเมื่อมีพืชอื่นที่มีความแตกตางจากหญาสนามขึ้นปะปน
ทําใหหญาสนามขาดความสม่ําเสมอ เปนพืชที่ไมตองการเรียกวา “วัชพืช” วัชพืชที่ขึ้นในสนาม
หญาทุกแหง สวนมากจะเปนพืชทองถิ่นนั้น ซึ่งมีความทนทานตอสภาพแวดลอม ความแหงแลง
และการขาดแคลนน้ําไดดี แตจะเจริญเติบโตไดเร็ว เมื่อไดรับน้ํา และปุย ซึ่งเมื่อหญาสนามมี
วัชพืชมากแลวก็จะทําใหเกิดความเสียหายดังตอไปนี้
1. ทําใหสนามหญาขาดความสวยงาม
2. ทําใหสนามหญาเสื่อมโทรมงาย เนื่องจากวัชพืชแยงน้ําและปุยจากหญาสนาม
ไปหมด
3. ทําใหสนามหญามีความปลอดภัยนอยลง
4. เปนที่อยูอาศัยของโรคและแมลงศัตรูหญาสนาม
5. ทําใหเสียคาใชจายในการดูแลบํารุงรักษาสนามหญาเพิ่มขึ้น อันไดแก คาแรงงาน
คาอุปกรณ และสารเคมีปราบวัชพืช ฯลฯ
สาเหตุที่สนามหญามีวัชพืชมาก
28

1. การเตรียมดินไมดี เชน ไมไดมีการตากดินเพื่อฆาวัชพืช ไมเก็บเศษวัชพืชออกใหหมด


เปนตน
2. หญาสนามถูกเหยียบย่ํามากเกินไป ดินจะแนนทําใหรากขาดออกซิเจน และออนแอ มีการ
ฟนตัวชา ทําใหวัชพืชซึ่งมีความทนทานมากกวาเจริญเติบโตและขยายตัวไดดี
3. การใชพันธุหญาไมเหมาะสม เชน ปลูกหญานวลนอย หรือหญาญี่ปุน ซึ่งเจริญเติบโตไดดี
ในที่กลางแจงไปปลูกในที่รม ทําใหหญาออนแอ และเปนโอกาสใหวัชพืชอื่นที่เจริญเติบโต
ไดดีกวาจะขึ้นปกคลุมแทนที่ในที่สุด
4. การใหปุยไมถูกตอง เชน ใหปุยไมสอดคลองกับฤดูกาลเจริญเติบโต ใหปุยมากหรือนอย
เกินไป การใหปุยคอกที่มีเศษวัชพืชปะปนมา เปนตน

5. การใหน้ําไมสอดคลองกับความตองการของหญา การใหน้ํานอยเกินไปทําใหหญาสนาม
แคระแกรน แตกลับเปนประโยชนตอวัชพืชที่ทนทานไดดีกวา
6. การตัดหญาไมถูกตอง การตัดหญาชิดดินมากเกินไปจะทําใหหญาฟนตัวไดชากวาวัชพืช
7. สภาพแวดลอมไมเอื้ออํานวย เชน สภาพแลงจัด หญาที่ทนไมไดก็จะตายไปหรือพักตัว
แตวัชพืชที่ทนทานตอสภาพดังกลาวจะทนทาน และสามารถเจริญเติบโตได
สิ่งสําคัญคือเมื่อพบวามีวัชพืชขึ้นในสนามหญา ก็มีความจําเปนที่จะตองกําจัดออกไป
โดยการใชแรงงานคนหรือใชสารเคมี ซึ่งการกําจัดวัชพืชดวยแรงงานคนนั้นเหมาะสําหรับพื้นที่
สวนที่มีขนาดเล็ก แตสําหรับสวนขนาดใหญแลวการใชแรงงานคน นับวาเปนวิธีสิ้นเปลืองและ
เปนไปไดยากในยุคปจจุบัน เพราะแรงงานหายากและมีราคาแพง ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองใช
สารเคมี แตการใชสารเคมีในการกําจัดวัชพืชนั้นจะตองมีเทคนิคบางประการ เชน จะตองรูจักชนิด
ของวัชพืช ทั้งนี้เพราะวัชพืชแตละชนิดมีความออนแอ หรือตานทานสารกําจัดวัชพืชแตละชนิด
แตกตางกัน อัตราสวนที่ใชตองถูกตอง ถาใชอัตราที่ต่ําวัชพืชไมตาย ถาอัตราสูงจะสิ้นเปลือง
และอาจจะเปนพิษตอหญาสนาม เปนตน เนื่องจากสารเคมีที่กําจัดวัชพืชเปนสารพิษ การใชสาร
จะตองระมัดระวัง อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นแกผูใชผูอื่นหรือสภาพแวดลอมดวย
การบํารุงรักษาสนามหญาที่ดีชวยลดปญหาวัชพืช
หลักการลดปริมาณวัชพืชในสนามหญาโดยวิธีการดูแลบํารุงรักษาที่ถูกวิธี ถูกตองตาม
หลักการจัดการสนามหญานั้นเปนการปองกันวัชพืชชั้นตนที่ดีกวาจะมาปราบใหหมดในภายหลัง
โดยวิธีนี้เปนวิ ธีที่งาย ๆ แตจะตองมีความรูเกี่ยวกับ พันธุหญา และสิ่งแวดลอมดวย โดยตอง
คํานึงถึงสิ่งตาง ดังตอไปนี้
1. ความสูงของการตัดหญา ตองตัดใหเหมาะสมกับชนิดและพันธุหญานั้น ๆ ซึ่งหากตัดสั้น
เกินไปจะทําใหหญาออนแอ
2. ถาหากวัชพืชงอกมาก ยังไมควรเอาชั้นเศษหญาภายในสนามออก เพราะหากเอาชั้นเศษ
หญาออกจะสงเสริมใหวัชพืชงอกมากยิ่งขึ้น
29

3. หลีกเลี่ยงการใสปุย เมื่อพบวาหญาพักตัวหรือออนแอมาก ๆ เพราะจะสงเสริมใหวัชพืช


เจริญงอกงามไดเร็วกวาหญาสนาม
4. ลดการใหน้ําบอย ๆ แตควรใหน้ํานาน ๆ ครั้ง และใหน้ําซึมลงลึก ๆ เพราะจะชวยใหราก
หญาเจริญในทางดิ่งลงดินไดลึกยิ่งขึ้น สงผลใหมีระบบรากแข็งแรงสามารถหาอาหาร
ไดมาก
5. ปรับปรุงคุณสมบัติทางเคมีของดิน ใหมีคา pH เหมาะแกการเจริญเติบโตของหญาสนาม
(pH ~ 5.5-7) เพื่อจะไดเจริญเติบโตไดเร็ว และเอาชนะวัชพืชได

การเลือกและขอควรระวังในใชสารเคมีปราบวัชพืช
1. ตรวจสอบดูชนิดของวัชพืช วาเปนวัชพืชพวกใบแคบ หรือใบกวาง เปนวัชพืชขามป หรือ
วัชพืชฤดูเดียว กอนเพื่อจะไดเลือกสารเคมีกําจัดวัชพืชไดอยางถูกตอง
2. ตองรูวาสารเคมีที่จะใชนั้น สําหรับพืชอะไร เนื่องจากสารเคมีบางชนิดก็ใชไดเฉพาะอยาง
เทานั้น เชน 2,4 – D ใชกําจัดวัชพืชใบกวาง เปนตน นอกจากนี้ตองพิจารณากอนวามี
วัชพืชขึ้นมากเกินไปจนตองใชสารเคมีกําจัดแลวหรือไม ถาไมมากก็อาจใชวิธีอื่น เชน การ
ถอน หรือการปายสารเคมีกําจัดวัชพืชเฉพาะจุด เปนตน
3. อานฉลากเพื่อศึกษารายละเอียดตาง ๆ เกี่ยวกับการใชสารเคมีกําจัดวัชพืชทุกครั้ง และใช
ในอัตราที่แนะนําไวขางฉลากอยางเครงครัด
4. เลือกใชสารเคมีกําจัดวัชพืชที่เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตนอยที่สุด
5. ใชสารจับใบ ที่ไมเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการกําจัดวัชพืช เชน น้ําสบู
ผงซักฟอก
6. ไมควรใชสารเคมีชนิดเดียวกันซ้ํากันทุกป เนื่องจากจะทําใหเกิดสารเคมีตกคางอยูในดิน
หรืออาจทําใหวัชพืชมีความตานทานตอสารเคมี (การดื้อยา) ได
7. เลือกใชสารเคมีกําจัดวัชพืชหรืออุปกรณ ที่มีความเหมาะสมกับสนามหญา เชน สนาม
หญ า ที่ มี ข นาดเล็ ก ควรใช ถั ง สะพายหลั ง ฉี ด พ น แต ถ า พื้ น ที่ ข นาดใหญ ม าก ๆ อาจ
จําเปนตองใชเครื่องจักรเขามาชวยในการพนสารเคมี เปนตน
30

สารเคมีที่ใชในการกําจัดวัชพืชในสนามหญา
1) ไกลโฟเสต (Glyphosate) เปนสารประเภทไมเลือกทําลาย ใชฉีดพนทางใบ
เคลื่อนยายไดทั่วตนพืช ดังนั้นสารจึงเปนพิษตอหญาสนามตองะมัดระวังเรื่องการปลิวของสาร
เมื่อสารลงสูดินจะถูกดูดยึดไวไดหมด
เวลาที่ใช หลังจากวัชพืชงอก ควรพนกําจัดวัชพืชชวงเตรียมดินกอนทํา
การปูหญา
ชนิดวัชพืช ควบคุมวัชพืชหลายชนิด โดยเฉพาะวัชพืชที่ควบคุมยาก
เชน แหวหมู หญาคา หญาชันกาด
ขอควรระมัดระวัง ควรใชน้ําสะอาดมาผสม ไมควรใชน้ําที่มีตะกอนดิน หรือน้ํา
กระดางมาผสมจะทําใหประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชลดนอยลง ถาใชปริมาณน้ําที่นํามาผสม
ตอพื้นที่ในปริมาณที่นอยจะเพิ่มประสิทธิภาพของสารและควรฉีดพนเมื่อมีความชื้นในดิน หรือใน
อากาศสูงมีชวงปลอดฝนนาน 6 ชั่วโมง
2) พวกอาทราซีน (Atrazine) เปนสารประเภทเลือกทําลายใชฉีดพนทางดินปองกัน
วัชพืชงอก
เวลาที่ใช กอนวัชพืชงอก หลังจากที่หญาสนามตั้งตัวไดแลว
ชนิดวัชพืช กําจัดทั้งวัชพืชใบแคบและใบกวาง ควบคุมพืชอายุฤดูเดียวที่
งอกจากเมล็ด เชน ผักเบี้ย ผักโขม หญาตีนนก
ขอควรระมัดระวัง หญาสนามและหญานวลนอยหลังฉีดพนควรใหน้ําเพื่อปองกัน
อาการใบไหมของหญาสนาม
3) ออกซาไดอะซอน (Oxadiazon) เปนสารประเภทเลือกทําลายใชแบบกอนงอก
หรือหลังงอกระยะแรก
เวลาที่ใช หลังเมล็ดวัชพืชงอก 3-5 วันและหญาสนามตั้งตัวไดแลว
ชนิดวัชพืช สามารถควบคุมวัชพืชอายุฤดูเดียวที่ยังเปนตนกลาหรือปองกัน
ไมใหวัชพืชโผลพนดินไดแก ผักโขม สมกบ หญาตีนนก หญา
ตีนกา
ขอควรระมัดระวัง ไมควรใชหลังหวานเมล็ดหญาไปแลว 1-2 สัปดาห
4) 2,4–ดี (2,4- D) เปนสารประเภทเลือกทําลาย ใชแบบหลังงอกเคลื่อนยายในตน
วัชพืชไดดี
เวลาที่ใช หลังจากวัชพืชใบเลี้ยงคูงอก
ชนิดวัชพืช ควบคุม ผักยาง ผักเบี้ย ผักโขม ผักโขมหิน และวัชพืชที่มีผิวใบ
เปนมัน เชน กก ตะกรับ แหวหมู
ขอควรระมัดระวัง หากมีการปลิวเกิดขึ้นจะมีผลกระทบตอไมยืนตนอยางรุนแรง
และอาจจะถูกชะลางลงสูดินชั้นลาง
31

5) อิมาซาควีน (Imazaquin) เป น สารประเภทเลื อ กทํ า ลาย ใช แ บบหลั ง งอก


เคลื่อนยายในตนพืช
เวลาที่ใช หลังจากวัชพืชงอก แตถาวัชพืชอายุไมเกิน 2-3 สัปดาห จะ
ควบคุมไดดี
ชนิดวัชพืช ผักยาง ผักโขม ผักเบี้ย ผักเบี้ยหิน และวัชพืชที่ควบคุมยากคือ
แหวหมู
ข อ ควรระมั ด ระวั ง ใช ไ ด ดี กั บ หญ า เบอร มิ ว ดาและหญ า นวลน อ ยเท า นั้ น ควรใช
หลังจากที่หญาสนามตั้งตัวไดแลว
6) ดาลาพอน (Dalapon) เปนสารประเภทเลือกทําลายเลือกทําลายแตวัชพืชใบ
แคบเทานั้น ใชหลังจากวัชพืชงอกแลว
เวลาที่ใช กอนและหลังวัชพืชงอกหลังจากหญาสนามตั้งตัวไดแลว
ชนิดวัชพืช ควบคุมหญาคา แหวหมู ชันอากาศ
ขอควรระมัดระวัง หญาเบอรมิวดา หญาเซ็นตออกัสทีน ไมควรใชสารนี้เพราะจะ
ทําใหหญาตายได ในชวงหนาฝนสารเคมีชนิดนี้จะถูกชะลางไดงาย เนื่องจากสารชนิดนี้ไมถูกดิน
ดูดซึมไวมากนัก

2.3 การปองกันกําจัดโรคและแมลง
ผูดูแลสนามหญาจะตองเอาใจใสหมั่นสํารวจอยางสม่ําเสมอ จดบันทึกความ
เปลี่ยนแปลงที่สังเกตไดดวยสายตาเทาที่จะทําได นําความเปลี่ยนแปลงที่เห็นมาวิเคราะหหา
สาเหตุวาเกิดจากการขาดธาตุอาหารหรือวาเกิดจากการเขาทําลายของโรคหรือแมลง การใช
สารเคมีควบคุมและปองกันการเกิดโรคและแมลงไมสมควรที่จะนํามาปฏิบัติ ทั้งนี้เพราะการ
กระทําดังกลาวนอกจากจะเปนการสิ้นเปลืองแลวยังทําใหเกิดผลกระทบตอผูประกอบกิจกรรม
ในสนามและสิ่ งแวดลอมอีกด วย ดังนั้นการเอาใจใสดูแลสนามหญาให ถูกตอง เพื่อใหหญา
แข็งแรงมีภูมิตานทานโรคและแมลงดีกวาปลอยใหหญาเปนโรคหรือแมลงรบกวนแลวคอยรักษา
โดยยึดคําพังเพยที่วา “ปองกันไวดีกวาแก”
2.4 การแตงผิวสนามหญา
เปนการนําดิน ทราย หรืออินทรียวัตถุ มาใสสนามหญา เกลี่ยใหเสมอระดับพื้นแต
เพียงบาง ๆ เพื่อปรับพื้นผิวของสนามหญาใหเรียบขึ้น ซึ่งจะทําเมื่อสนามหญาอยูในสภาพที่เสื่อม
โทรม พื้นสนามไมราบเรียบ หญาบางจุดในสนามตาย มีการสะสมของชั้นเศษหญา โดยดินแตง
ผิวหนาตองมีคุณสมบัติดี รวนซุย น้ําหนักเบา อนุภาคเล็ก และมีความอุดมสมบูรณ เชน ดินรวน
หรือดินรวนปนทราย ทรายขี้เปด อินทรียวัตถุ หรือปุยอินทรีย อาจนํามาผสมกันในอัตราสวน
3:6:1 ใหเขากัน แลวนํามาโรยบนพื้นสนามหญา แลวใชคราดเกลี่ยแตงผิวหนา เพื่อใหดินแทรก
32

ลงไปในพื้นสนามหญา และรูรองตาง ๆ แลวใชกระดานลากใหเรียบและไดระดับอีกครั้ง


2.5 การกําจัดชั้นของเศษหญา
ชั้นของเศษหญาเกิดจากการทับทมกันของราก ลําตน ใบ ไหล และหนอของหญา ทั้ง
ที่ตายแลวและยังสดอยู ซึ่งสวนตาง ๆ เหลานี้จะยอยสลายไดชา หากมีมากเกินไปก็จะเปนโทษได
เชน เปนแหลงสะสมของโรคและแมลง ดูดซับน้ําไวไมใหลงสูพื้นดิน การถายเทอากาศในดินไม
สะดวกและดินแนน ทําใหเกิดรอยดางเวลาตัด ดูดซับปุยทําใหหญานําไปใชประโยชนไดไมเต็มที่
ฯลฯ แตใชวาชั้นของหญาจะไมมีประโยชนเลย เพราะถาเปนชั้นบาง ๆ ก็จะชวยรักษาความชื้นของ
ดิน ชวยลดการงอกของวัชพืช ฯลฯ
การกําจัดชั้นเศษหญาที่มากเกินสามารถทําไดโดย การใชคราดมือเสือ ที่เปน
เหล็ก หรือไมไผ คราดออก หรือกรณีที่เปนสวนขนาดใหญ อาจตองใชเครื่องทําลายชั้นของเศษ
หญาเปนเครื่องทุนแรง สําหรับเวลาที่เหมาะในการกําจัดชั้นของเศษหญาคือ ชวงฤดูรอนกอนเขา
ฤดูฝน เพราะพื้นสนามคอนขางแข็ง และหญาจะฟนตัวไดเร็วเมื่อเขาฤดูฝน
2.6 การปรับปรุงแกไขการอัดแนนของดินในสนามหญา
การปรับปรุงแกไขการอัดแนนของดินในสนามหญาก็คือ การพรวนดินใหกับ
สนามหญ า นั่ น เอง โดยการอั ด แน น ของดิ น นั้ น เกิ ด จากการเหยี ย บย่ํ า สนามทั้ ง จากคนและ
เครื่องจักรตางๆ ซึ่งมักเกิดในพื้นที่ที่เปนดินเหนียวไดงายกวาดินประเภทอื่น สงผลทําใหอากาศ
ในดินลดนอยลง การไหลซึมของน้ําลงสูบริเวณเขตรากของหญาไดนอย ทําใหหญาเจริญเติบโตไม
ดี การดูดน้ําและธาตุอาหารไมสมดุลกับการคายน้ํา เกิดการไหลบาของน้ําและธาตุอาหารออกนอก
สนาม
การปรับปรุงแกไขการอัดแนนของดินสามารถทําไดโดยการเขตกรรมวิธีตาง ๆ ไดแก
- การเจาะรูเอาดินออก
- การเจาะรูดวยซอม
- การทํารองเล็ก
- การทํารองดวยเดือยแหลม
2.7 การใสปูนเพื่อแกความเปนกรดของดิน
เนื่องจากหญาตองใชปุยไนโตรเจนเปน จํานวนมาก โดยเฉพาะการใชปุยเคมีที่มี
ไนโตรเจนสูง นาน ๆ จะทําใหสภาพของดินเปนกรดขึ้น เชน ปุยแอมโมเนียมซัลเฟต ปุยยูเรีย
การใสปูนขาวปละครั้งจะชวยแกปญหาดินเปนกรดได และปูขาวยังใหธาตุแคลเซียมแกหญาดวย
นอกจากนี้อาจใชปูนชนิดอื่นก็ได เชน ปูนมารล เปนตน

เอกสารอางอิง
33

บรรจง สมบูรณชัย. 2546-47. การจัดการและดูแลรักษางานภูมิทัศน. รายวิชา e-learning


มหาวิทยาลัยแมโจ. แหลงทีม่ า
http://coursewares.mju.ac.th/section2/la445/publication/Publication1_files/page
0001.htm, วันที่สืบคน 10 เมษายน 2550.
พจน พรหมบุตร. 2532. การทําสนามหญา. วิทยาลัยเกษตรกรรมบุรีรัมย กรมอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ.
ยงยุทธ โอสถสภา. 2543. ธาตุอาหารพืช. สํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
ศุภชัย วิจารณญาณ และ วันชัย ศรีเลขะรัตน. 2538. การดูแลสนามหญา. ใน สํานักสงเสริม
และฝกอบรบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 2358. เอกสารประกอบการฝกอบรม
หลักสูตร “การดูแลรักษาสวน”. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
สิน พันธุพินจิ . 2535. การจัดการสนามหญา. บริษทั รวมสาสน (1977) จํากัด. กรุงเทพฯ.
เอกชัย พฤกษอําไพ และ สําเริง คําทอง. 2545. สนามหญา. พิมพครั้งที่ 3. สํานักพิมพฐาน
เกษตรกรรม. นนทบุรี.
34

การใหน้ําและการใสปุยพรรณไมในสวน
นายพนม สุทธิศักดิ์โสภณ
อาจารยประจํา
โครงการจัดตั้งศูนยวิจัยและการจัดการความรูทางพฤกษศาสตร

การดูแลรักษาพรรณไมในสวนควรกําหนดเวลาใหพรอมกับการดูแลรักษาสนามหญา
เพื่อใหเกิดความสะดวกในการปฏิบัติงาน ทั้งในเรื่องของเครื่องมือ อุปกรณ แรงงาน และ
ระยะเวลา โดยความยากงายในการดูแลรัก ษาตนไมภายในสวน ขึ้นอยูกับการออกแบบ การ
กําหนดกลุมตนไมลงพื้นที่ ซึ่งหากไดคํานึงถึงการดูแลรักษาไวลวงหนาก็จะทําใหการดูแลรักษาทํา
ไดงายขึ้น
สําหรับตนไมในสวนก็มีหลายประเภทไดแก ไมยืนตน ไมพุม ไมคลุมดิน ไมเลื้อย
ไมน้ํา ฯลฯ จึงทําใหวิธีการในการปฏิบัติดูแลรักษาแตกตางกันอยางมาก แตสิ่งที่สาํ คัญคือ ตองทํา
การดูแลรักษาตนไมทุกตนทุกกลุมในสวนอยางสม่ําเสมอ เพื่อคงความสวยงามและความสมบูรณ
ของรูปแบบสวน เพราะตนไมทุกตนทุกกลุมลวนมีบทบาทสําคัญยิ่งตอรูปแบบสวน หากตนใดตน
หนึ่งเกิดตายไปหรือแคระแกรนกวาตนอื่น ๆ แลว จะทําใหรูปแบบสวนที่สวยงามเปลี่ยนแปลงไป
ทันที

1. การใหน้ํา
น้ํา เปนสิ่งที่สําคัญมากที่สุดตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้นการดูแลรักษาพรรณไมใน
สวนให มี ชี วิ ต ชี ว า สวยงาม คงทนอยู ไ ด นั้ น ก็ ต อ งมี ก ารให น้ํ า อย า งเพี ย งพอ และสม่ํ า เสมอ
โดยเฉพาะตนพืชที่เพิ่งนํามาปลูกใหม ๆ หรือตนที่มีขนาดเล็ก ซึ่งตามหลักการแลวการใหน้ําตอง
ใหอยางทั่วถึงและเพียงพอแกพืชทุกตนในสวน การใหน้ําไมควรใหมากเกินไป เพราะนอกจากจะ
เปลืองแลว ยังเปนการชะลางธาตุอาหารในดินอีกดวย และไมควรใหน้ําแกตนไมตอนแดดจัด
ควรรดน้ําตอนเชาหรือตอนเย็น และควรรดใหทั่วพุมใบดวย เพื่อชะลางฝุนและสิ่งสกปรกตรงใบ
พืช ไมควรปลอยใหตนไมแสดงอาการเหี่ยวเฉาออกมาแลวจึงคอยรดน้ํา จะทําใหตนไมออนแอ
เปนโรคไดงาย หรือตายได ในฤดูแลงควรทําการคลุมโคนตนไมดวยเศษวัสดุตางๆ เชน หญาแหง
ฟาง เพื่อชวยทําใหตนไมไมขาดน้ํา และประหยัดปริมาณน้ําที่ใหแกตนไมอีกดวย หากในชวงที่
ไมไดพรวนดินใสปุย การใหน้ําแกตนไมในสวนจะใหพรอมกับสนามหญา เนื่องจากตนไมมีระบบ
รากที่ลึก และแผกวางกวาสนามหญาหากวาใหน้ําพรอมกับหญาสนาม 2-4 วัน ตอครั้งตนไมใน
สวนจะไมขาดน้ําเลย
1.1 ระบบการใหน้ํา
โดยปกติแลวสวนที่มีการจัดตกแตงภูมิทัศน จะมีการใหน้ําแกพรรณไมในสวนอยางมี
ระบบ ซึ่งอาจจะเปนระบบงาย ๆ เชน การใชสายยางตอจากกอกน้ําเพื่อรดน้ําโดยตรง ไปจนกระ
35

ทั้งระบบที่มีความทันสมัยมากขึ้น เชน ระบบสปริงเกลอร ระบบการใหน้ําใตดิน ระบบน้ําหยด


เปนตน ซึ่งระบบตาง ๆ เหลานี้ลวนมีวิธีการดูแลรักษาที่แตกตางกัน ดังนั้นผูที่ทําการดูแลสวน
ควรศึกษาและเรียนรูเกี่ยวกับระบบน้ําในสวนที่ตนเองดูแลรับผิดชอบใหดี ทั้งในเรื่องของการ
ทํางานของระบบ การดูแลรักษา และซอมแทรม เพื่อใหระบบนั้น ๆ สมบูรณและมีประสิทธิภาพ
ในการทํางานตลอดเวลา โดยระบบการใหน้ําแกพรรณไมในสวนที่นิยมใชกันสวนใหญ มี 3 ระบบ
คือ
- ระบบการใหน้ําแบบธรรมดาหรือการใชสายยางรดน้ํา
- ระบบการใหน้ําแบบฉีดฝอยหรือสปริงเกลอร
- ระบบการใหน้ําแบบหยด

1. ระบบการใหน้ําแบบธรรมดาหรือการใชสายยางรดน้ํา
คื อ การดึ ง น้ํ า จากแหล ง น้ํ า ดิบ เช น น้ํา ใตดิ น ลํ า คลอง บ อ เก็บ กักน้ํ า ฯลฯ
โดยเครื่องสูบน้ํา หรือการดึงน้ําจากระบบประปาของชุมชนผานมาตรวัดน้ําเขาสูทอลําเลียงน้ําที่ฝง
อยูใตดินในพื้นที่ที่มีการจัดภูมิทัศน ทอลําเลียงน้ําที่นิยมใช มีอยู 3 ชนิดคือ
- ทออาบสังกะสี (Galvanized iron pipe)
- ทอความดันที่ผลิตมาจากโพลีวินิล (Polyvinyl chloride) หรือทอ PVC
- สายยาง
การลําเลียงน้ําจะผานทอดังกลาวแบบใดแบบหนึ่ง และโผลปลายทอขึ้นเหนือดินเปน
จุด ๆ หางกันประมาณจุดละ 15–20 เมตร ตามขอบแปลงชิดกําแพงหรือตําแหนงที่เหมาะสม
เพื่อตอเขากับกอกสนาม (Faucet) ที่ทําหนาที่ควบคุมปดเปดการจายน้ํา
• การดูแลรักษาและซอมบํารุง
-หลังเสร็จสิ้นการใหน้ําแตละครั้ง ปดกอกน้ําที่ควบคุมระบบการจายน้ําเก็บมวนสาย
ยาง เก็บหัวใหน้ําแบบตาง ๆ และตรวจการอุดตันที่เกิดจากสิ่งสกปรก หยอดน้ํามันหลอลื่นที่แกน
หมุนและเก็บไวในสถานที่เก็บใหเรียบรอย
- หมั่นตรวจรอยเชื่อมตอระหวางทอลําเลียงน้ําแตละชวง โดยเฉพาะชวงตอขึ้นมา
เหนือดินที่ติดเขากับกอกสนาม อาจหลุดหรือหักได เนื่องจากการลากสายยางเวลาใหน้ําแกพืช
พรรณ วิธีการซอมบํารุงหรือปองกัน คือ การเทคอนกรีตหุมเสา ปลอยเฉพาะสวนหัวกอกสนามไว
และตกแตงเสาหุมใหสวยงาม

2. ระบบการใหน้ําแบบฉีดฝอยหรือสปริงเกลอร
ระบบการใหน้ําแกพืชพรรณแบบฉีดฝอยนี้ เปนการใหน้ําพืชเปนวง หรือหลาย
วงบนผิวดิน บริเวณเขตรากพืช โดยน้ําจะถูกพนออกจากหัวฉีดดวยแรงดัน ไปบนอากาศแลวให
เม็ดน้ําตกลงมาบนพื้นที่เพาะปลูกหรือสนามหญาอยางสม่ําเสมอ การใหน้ําแบบนี้เปนที่นิยมมาก
36

ในงานภูมิทัศน โดยหัวฉีดนั้นมีใหเลือกหลายแบบแตกตางกันไป ไดแก แบบหมุนกระจายน้ําโดย


การทํางานของระบบเฟองเกียรภายใน แบบหมุนกระจายน้ําโดยการกระทบของตุมน้ําหนัก แบบ
หมุนดวยแรงเหวี่ยงของน้ําที่ฉีดออกคนละทาง และแบบกระจายละอองน้ําโดยไมมีการหมุนฉีดน้ํา
นอกจากนั้นเรายังสามารถเลือกที่จะกระจายน้ําออกเปนมุมตาง ๆ ได เชน กระจายรอบตัว เปน
วงกลม ครึ่งวงกลม มุมฉาก เสี้ยว ฯลฯ
ระบบการใหนําแบบหัวฉีดฝงใตดินหรือปอบ-อัพ (Pop-up) เปนระบบการ
ใหน้ําอีกแบบหนึ่งที่เหมาะสําหรับงานภูมิทัศนขนาดใหญ ซึ่งตองใชงบประมาณในการติดตั้งสูง
แตมีความเปนระเบียบเรียบรอย สวยงาม ไมมีทอโผลขึ้นมาใหเห็นหรือเกะกะทําใหไมเปน
อุปสรรคตอการใชสอยพื้นที่
• การดูแลรักษาและซอมบํารุง
- หมั่นตรวจสอบระบบการสงน้ํา ระบบการกรองน้ํา ระบบควบคุมแรงดัน ระบบ
ควบคุมเวลาอัตโนมัติใหอยูในสภาพพรอมการใชงาน
- ตรวจสอบการอุดตันของหัวพนน้ําทั้งแบบพนฝอยละอองคลายหมอกและแบบ
หมุนเวียน
- ทําตําแหนงจุดหัวพนใหชัดเจนสวยงามเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดจากการใช
เครื่องมือตัดหญาสนาม

3. ระบบการใหน้ําแบบหยด
การใหน้ําแบบหยดเปนวิธีการใหน้ําแกพืชแตละตนโดยตรง ในกรณีการปลูก
พืชเปนแถว หรือการใหน้ําแกพืชที่ปลูกเปนกลุม โดยมีการควบคุมปริมาณน้ําที่สงใหกับพืชครั้งละ
นอยอยางสม่ําเสมอ ดวยหัวปลอยน้ําที่เรียกวา Emitter ซึ่งเปนทอจายน้ําขนาดเล็กซึ่งผลิตมาจาก
Low density polyethylene resin ที่ติดไวตามจุดของทอจายน้ํา ตามระยะหางของตนพืชหรือกลุม
พืชน้ําที่ปลอยจากหัวใหน้ําตองมีความเหมาะสมกับความตองการน้ําของพืช
• การดูแลรักษาและซอมบํารุง
- ตรวจสอบสิ่งสกปรกที่เขาสูเครื่องสูบน้ํา
- หมั่นตรวจสอบและลางทําความสะอาดระบบกรองน้ําอยูเสมอ
- ตรวจสอบหัวจายน้ําใหทํางานเปนปกติ เพราะหัวจายน้ํามีโอกาสตันไดถามีสิ่ง
เจือปนตาง ๆ เชน ฝุน ผง ตะกอน ฯลฯ เนื่องจากน้ําสกปรก นอกจากนี้อาจเกิดจากคราบหินปูน
37

1.2 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชกับงานใหน้ํา
เปนอุปกรณที่มีความจําเปนในการนําน้ําจากจุดจายน้ําหรือกอกไปใหแกพืช
พรรณโดยใช ค นควบคุ ม ยกเว น ระบบติ ด ตั้ ง โดยสมบู ร ณ ทั่ ว ทั้ ง บริ เ วณที่ ค วบคุ ม เวลาทํ า งาน
โดยเครื่องควบคุมแบบอัตโนมัติ เครื่องมือและอุปกรณการใหน้ําที่จําเปน ไดแก
1) บัวรดน้ํา
การดูแลรักษา หลังใชงานควรถอดฝกบัวลางทําความสะอาด เนื่องจากอาจมีเศษดิน เศษใบไม
หรืออื่นๆ อุดตัน วิธีการเก็บที่ดีที่สุด คือ ใชสวนมือจับแขวนและใหกานบัวหอยลง
2) สายยาง
- สายยางที่ผลิตมาจากยาง
- สายยางที่ผลิตจากไนลอน และไวนิล
- สายยางที่ผลิตจากไวนิล 2 ชั้น
การดูแลรักษา มวนเก็บสายยางเขาที่เก็บทุกครั้งหลังการใชงาน ไมควรปลอยสายยางไวในสนาม
มีน้ําขังภายใน การตากแดดทําใหสายยางกรอบ อายุการใชงานสั้นลง หลีกเลี่ยงลอรถยนตกดทับ
สายยาง จะทําใหสายยางแตก
3) หัวพน ประเภทของหัวพนน้ํา
3.1) พนน้ําเปนฝอยละออง มี 2 แบบ คือ
- หัวพนน้ําทองเหลือง
- หัวใหน้ําแบบพลาสติก
3.2) หัวพนน้ําแบบมีมือจับคลายดามปนมี 2 แบบ คือ หัวทองเหลือง
และหัวพลาสติก
3.3) หัวใหน้ําแบบพัด
3.4) หัวใหน้ําลักษณะพิเศษ
3.5) หัวใหน้ําแบบฝนโปรย มี 4 แบบ คือ
- แบบพนน้ําคงที่
- แบบสายแกวงไปมา
- แบบแขนยืน่ จากแกน 2 ขางเทากัน และหมุนรอบตัว
- หัวใหน้ําแบบอาศัยแรงเหวี่ยง
การดูแลรักษา ถอดหัวใหน้ําทั้งแบบพนน้ํา และแบบใหน้ําแบบฝนโปรย ออกจากสายยางหลัง
เสร็จภารกิจลางทําความสะอาด ตรวจหัวพนน้ําเพื่อขับสิ่งสกปรกออกเช็ดใหแหงหยอด
น้ํามันหลอลื่นในสวนของแกนหมุนแลวเก็บใหเรียบรอย
4) กรองน้ําและหัวกะโหลก
การดูแลรักษา ควรถอดกรองมาทําความสะอาดอยางนอยเดือนละครั้ง เพื่อปองกันการอุดตัน
และตรวจสอบสิ่งสกปรกที่มาติดตามหัวกะโหลกอยูเสมอ ๆ
38

2. การใสปุย
2.1 ปุยที่ใชในงานภูมิทัศน
¾ ปุยคอก ไดแก มูลสัตวตาง ๆ ที่อยูในรูปของเหลวและของแข็ง สวนใหญจะเปนมูล
สัตวเลี้ยง เชน มูลวัว ควาย สุกร เปด และไก เปนตน ปุยคอกนั้นจะมีธาตุอาหารพืชอยูในปริมาณ
ที่นอย แตมีคุณสมบัติเปนสารปรับปรุงดิน ทําใหคุณสมบัติทางกายภาพของดินดีขึ้น
วิธีการใชปุยคอก
ในทางปฏิบัติควรใชปุยคอกรวมกับปุยเคมีจะเปนการดีที่สุด โดยปุยคอกที่ใชควร
จะมีความชื้นนอย หรือพอหมาด ๆ ไมควรใชปุยคอกสดหรือยังใหมอยู เนื่องจากยังสลายตัวไม
สมบูรณ จึงมีการคายความรอนออกมา ซึ่งจะเปนอันตรายตอรากของพืชได
- การใชปุยคอกกับไมกระถาง โดยใชเปนสวนผสมของดินผสมในการปลูกไม
กระถาง หรือใสรองกนหลุมกอนทําการปลูกไมกระถาง
- การใชปุยคอกในแปลงไมดอกหรือแปลงผัก โดยใชปุยคอกหวานผสมลงไป
ในแปลงปลูกในชวงของการเตรียมแปลง หรือในกรณีที่มีตนไมอยูในแปลง
แลวจะใชหวานลงไปบนผิวหนาดิน หรือผสมกับดินกอนนํามาหวานในแปลง
ก็ได
- การใชปุยคอกในการเพาะเมล็ด ควรใชปุยคอกเกาและยอยใหละเอียดกอน
นํามาใช หากใชปุยคอกที่ยังไมสลายตัวสมบูรณ หรือเปนกอนโต จะทําให
เมล็ดไมงอก หรืองอกนอย และอาจกอใหเกิดโรคได
- การใชปุยคอกกับไมยืนตน อาจเทเปนกองไวรอบโคนตนบริเวณรัศมีของตน
หรือใสไปพรอมกับการพรวนดินก็จะเปนการดีมาก ที่สําคัญไมควรเทสุมไวที่
โคนตน เพราะจะทําใหเกิดความรอน หากปุยคอกนั้นยังสลายตัวไมสมบูรณ
และอาจกอใหเกิดโรคแกตนไมได
การเก็บรักษาปุยคอก
- ควรใชวัสดุรองพื้นกอนทําการวางปุยคอก เชน ทอนไม อิฐบล็อก ฯลฯ
- ควรเก็บปุยคอกใสกระสอบและวางเรียงซอนกันใหเรียบรอย หรือหากกองไว
ควรพยายามเก็บมารวบรวมไวใหเปนกองอยูเสมอ
- ควรเก็บปุยคอกไวในที่มีหลังคาปด หรือหากปุยคอกนั้นกองอยูกลางแจงควร
ใชผาใบปดไวใหเรียบรอย เพื่อปองกันการชะลางละลายของธาตุอาหารไปกับ
น้ําฝน
- ไมควรเก็บปุยคอกไวนานเกินไป เพราะจะทําใหธาตุอาหารลดลง ควรใชให
หมดภายใน 3-6 เดือน
39

¾ ปุยหมัก คือปุยที่ไดจากการหมักสารอินทรียใหสลายตัวผุพังไปตามธรรมชาติ เชน


เศษหญา เศษใบไม ขยะมูลฝอย วัชพืช วัสดุทางการเกษตรที่ที่เหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม
ฯลฯ โดยนํามากองรวมกันรดน้ําใหชื้นแลวปลอยทิ้งไวใหเกิดการยอยสลายตัวโดยกิจกรรมของ
จุลินทรีย ซึ่งในการหมักอาจใสหัวเชื้อจุลินทรีย หรือปุยเคมี เพื่อชวยเรงกิจกรรมของจุลินทรียและ
เพิ่มธาตุอาหารใหแกปุยหมักไปในตัวดวย
ลักษณะของปุยหมักที่ใชไดแลว สังเกตไดจาก
- อุณหภูมิในกองปุยลดเทากับอุณหภูมิภายนอกรอบ ๆ กองปุย
- สีของวัสดุเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลดํา หรือมีลักษณะเปอยยุย
- ไมมีกลิ่นเหม็นฉุนของกาซตาง ๆ
- มีหญาหรือเห็ดขึ้นอยูบนกองปุยได
การใชปุยหมัก
- ใชในการเตรียมแปลงปลูก โดยโรยใหกระจายทั่วแปลงหนา ประมาณ 2-4
เซนติเมตร แลวคลุกเคลาผสมใหเขากับเนื้อดิน กอนทําการปลูกพืช
- ใช เ ป น ปุ ย แต ง หน า โดยใช เ มื่ อ ปลู ก พื ช ไประยะหนึ่ ง แล ว อาจใช ร ว มกั บ
ปุยเคมี โรยในแปลงปลูก หรือใสในกระถาง
- ใชเปนสวนประกอบในการผสมดินปลูกไมกระถาง
¾ ปุยเคมี คือปุยที่มีแหลงมาจากสารประกอบอินทรียตาง หรือเปนสารที่สังเคราะห
ขึ้นจากกระบวนการทางเคมี ที่ใหธาตุอาหารพืชในรูปที่นําไปใชประโยชนไดทันที โดยมีการผลิต
ทั้งในรูปของของแข็ง และ ของเหลวหรือปุยน้ํา
การใสปุยเคมี
1. การใส ปุ ย เคมี ช นิ ด ที่ เ ป น ของแข็ ง เช น ปุ ย ผง ปุ ย เม็ ด ฯลฯ มี วิ ธี ก ารใส
2 ขั้นตอนดวยกันคือ
1.1 การใสกอนปลูกหรือพรอมกับการปลูก เรียกวา “การใสปุยรองพื้นหรือ
รองกนหลุม”
1.2 การใสปุยแตงหนา การใสปุยในกรณีที่มีพืชปลูกอยูในแปลงแลว เปนการ
ใสเสริมลงไปในดินเพื่อใหมีธาตุอาหารเพียงพอตอการนําไปใชของพืช และพืชสามารถนําไปใชได
ทันที โดยวิธีการใสมี 4 วิธี ที่ควรเลือกใชตามความเหมาะสมกับลักษณะของพืชที่ปลุก ดังนี้
• การโรยเปนแถวแคบ เหมาะสําหรับพืชที่ปลูกเปนแถว โดยโรยปุยเปน
แถบขางๆ แถวพืช ขางใดขางหนึ่งหรือทั้ง 2 ขางก็ได
• การโรยเปนแถวกวาง เปนการใสปุยที่ขยายแถบหรือแนวใสปุยใหกวาง
ในระหวางแถวพืช ซึ่งจะชวยใหมีบริเวณดินที่รับปุยเพิ่มขึ้น ชวยการ
กระจายของปุย และลดการตรึงปุยของดินได
40

• การหวานทั่วทั้งแปลง ทําไดโดยการหวานปุยใหทั่วทั้งพื้นที่ ใหปุยมี


การกระจายอยางสม่ําเสมอ เหมาะสําหรับบริเวณที่มีพื้นที่กวาง เชน
สนามหญา แปลงปลูกตนไม ฯลฯ เปนวิธีที่นิยมปฏิบัติเนื่องจากทําได
งายและรวดเร็ว แตมีขอเสียคือ ทําใหวัชพืชเจริญเติบโตไดเร็วขึ้น มี
การสูญเสียปุยไปจากดินไดงาย หรือปุยไปคางอยูบนใบ หรือซอกใบ
ซึ่งจะทําใหพืชตายได จึงตองรดน้ําตามทันทีหลังจากใสปุยเสร็จแลว
• การใสปุยเปนจุด คือการใสปุยที่ขุดหรือเจาะรูไวเปนการเฉพาะเทานั้น
วิธีนี้เปนวิธีที่เหมาะสมและใชไดผลดีกับไมยืนตน ที่มีการกระจายของ
รากพืชหลายระดับ และหลายทิศทาง เมื่อหยอดปุยลงไปในหลุมหรือรู
ที่เจาะไวจากนั้นทําการกลบดินใหเรียบรอย ชวยลดการสูญเสียปุยไป
จากดิน เปนการจํากัดการเจริญเติบโตของวัชพืช
2. การใสปุยเคมี ชนิดที่เปนของเหลว สามารถแบงไดเปน 2 วิธี ดังนี้
2.1 การใสปุยรวมกับการใหน้ํา โดยการละลายปุยในน้ํากอนนําไปรดใหกับพืช
หรือใหปุยไปพรอมกับการใหน้ําผานทางระบบน้ํา (Fertigation) วิธีนี้พืชจะไดรับปุยทั้งทางราก
และทางใบ เป น วิ ธี ที่ เ หมาะกั บ ดิ น เนื้อ หยาบ เช น ดิ น ทราย เป น ต น จั ด เป น วิ ธีก ารให ปุ ย ที่ มี
ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ประหยั ด แรงงาน อี ก วิ ธี แต มี ค า ใช จ า ยสู ง ในการติ ด ตั้ ง ครั้ ง แรก และควร
ระมัดระวังในการผสมปุยบางชนิดที่จะกอใหเกิดปฏิกิริยาและทําใหเกิดตะกอนมาอุดตันในระบบ
น้ําได
2.2 การใหปุยทางใบ เปนการใหปุยโดยการฉีดพนปุยใหเปนละอองน้ําไปจับ
ที่ใบพืช ปุยที่ใชควรเปนปุยน้ําหรือปุยที่ละลายน้ําไดงาย การใหปุยทางใบจะทําใหธาตุอาหารเขาสู
พืชไดเร็ว แตปริมาณธาตุอาหารที่ดูดเขาสูพืชไดมักจะนอย ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการใหธาตุ
อาหารเสริมแกพืช หรือพืชที่มีระบบรากถูกทําลาย
¾ ปุยน้ําหมักชีวภาพ เปนปุยอินทรียที่สกัดไดจากการนําเอาสวนตาง ๆ ของพืชสัตว
หรือสารอินทรียตาง ๆ ไปหมักกับกากน้ําตาล (Molasses) ในสภาพที่ไมมีออกซิเจน จะไดเปน
สารละลายสีน้ําตาลไหมตามสีของกากน้ําตาล ซึ่งเปนสารอินทรียและสารอนินทรีย ภายในเซลลพืช
หรือเซลลสัตวที่ถูกดึงออกมานอกเซลลดวยกระบวนการออสโมติก และกระบวนการยอยสลาย
ของจุ ลิ น ทรี ย ซึ่ ง ของเหลวสี น้ํ า ตาลไหม นี้ จ ะประกอบไปด ว ยธาตุ อ าหารพื ช กรดอิ น ทรี ย
กรดอะมิโน และฮอรโมนพืชตาง ๆ แตมีอยูในปริมาณที่นอยมาก
2.2 การใสปุยพรรณไมในสวน
การใสปุยมักจะปฏิบัติไปพรอม ๆ กับการพรวนดิน โดยปกติจะปฏิบัติ 1-2 เดือนตอครัง้
การพรวนจะพรวนเพียงตื้น ๆ 2–3 นิ้ว ก็พอ และจะไมพรวนจนรวนละเอียดเกินไป ไมคลุมดินที่
มี ร ากตื้ น ก็ ต อ งพรวนด ว ยความระมั ด ระวั ง หลั ง จากพรวนดิ น ก็ จ ะให ปุ ย สู ต รเสมอ เช น
41

15–15–15 หรือ 16-16-16 การใสจะใสเพียงเล็กนอย ถาเปนไมยืนตนหรือไมพุมโดดๆ ใหตน


ละ 1–2 ชอนโตะ หากเปนไมที่ปลูกเปนกลุมก็เพิ่มมากขึ้น โดยใสใหทั่วถึงตนภายในกลุมดวย
เมื่อใสปุยเคมีแลวก็ควรหวานทับดวยปุยอินทรียหากเปนไมคลุมดินอยาใหปุยเม็ดหรือเศษปุยคาง
อยูตามใบและซอกใบ สําหรับเฟรนจะไมใสปุยเคมีใชแตปุยอินทรียอยางเดียวก็พอ ทุกครั้งที่ใสปุย
ตองรดน้ําตามทันที ใชน้ําฉีดพนชะลางเศษปุยที่ตกคางตามสวนตางๆของพืชออกใหหมด
- การใสปุยไมพุม
ควรขุดหลุมรอบทรงพุม ใหลึกประมาณ 3-5 เซนติเมตร จากนั้นจึงใสปุยลงไป
กลบดินแลวรดน้ําตาม
- การใสปุยไมยืนตน
การใสปุยไมยืนตน อาจเจาะเปนหลุม รอบบริเวณชายขอบของทรงพุม โดยความ
ลึกของหลุมพิจารณาจากขนาดของตนไมและทรงพุม โดยนําปุยเคมีมาผสมคลุกเคลากับดินเดิมที่
เจาะขึ้นมา แลวใสกลับลงไปในหลุมจากนั้นจึงใหน้ํา
42

เอกสารอางอิง
ขรรชัย เบ็ญจสิงห . 2544. การปลูกไมดอกไมประดับ. แหลงทีม่ า:
http://www.geocities.com/chor014/index.html, วันที่สืบคน 30 เมษายน 2550.
นิรนาม. 2550 ก. น้ําสกัดชีวภาพ. แหลงที่มา:
http://www.doae.go.th/library/html/detail/warter/warter1.htm, วันที่สืบคน 10
เมษายน 2550.
นิรนาม. 2550 ข. ปุย-สารประกอบที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของพืช. แหลงที่มา:
http://www.ssnm.agr.ku.ac.th/main/Know/Ferti.htm, วันที่สืบคน 10 เมษายน
2550.
บรรจง สมบูรณชัย. 2546. การจัดการและดูแลรักษางานภูมิทัศน. รายวิชา e-learning
มหาวิทยาลัย แมโจ. แหลงที่มา
http://coursewares.mju.ac.th/section2/la445/publication/Publication1_files/page
0001.htm, วันที่สืบคน 10 เมษายน 2550.
มุกดา สุขสวัสดิ์. 2543. ปุยและการใชปุยอยางมีประสิทธิภาพ. โอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ.
สํานักงานเกษตรอําเภอดําเนินสะดวก. 2550. ปุยน้ําหมักชีวภาพ. แหลงที่มา:
http://ratchaburi.doae.go.th/damnoensaduak/puy.htm, วันที่สืบคน 10 เมษายน
2550.
สํานักงานสวนสาธารณะ. 2547. คูมือปฏิบัติงานปลูกและดูแลรักษาตนไม. สํานักงาน
สวนสาธารณะ สํานักสวัสดิการสังคม กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพ ฯ.
43

การปองกันและกําจัดศัตรูพรรณไมในสวน

วสินี ไขวพันธุ
นักวิชาการศึกษา
ศูนยวิจัยและการจัดการความรูทางพฤกษศาสาตร มศว องครักษ

การปลูกไมดอกไมประดับนอกจากจะปลูกเพื่อความสวยงามประดับตกแตงสถานที่แลว
ยังสามารถขายเพื่อเปนรายไดใหแกเกษตรกรอีกดวย แตการปลูกไมดอกไมประดับก็มีปญหาและ
อุปสรรค โดยเฉพาะปญหาเรื่องศัตรูพืช ซึ่งกอนการปลูกไมดอกไมประดับเกษตรกรหรือผูที่มีใจ
รักในการปลูกตนไมจึงควรมีความรูหรือศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับปญหาศัตรูพืช เพื่อจะไดทําให
ทราบถึงชนิดของศัตรูพืช อาการ แนวทางในการปองกันและกําจัดศัตรูพรรณไมในสวน
ศัตรูพืช หมายถึง สิ่งที่คอยรบกวนพืชที่เราตองการปลูกประดับหรือตองการผลผลิต ทํา
ใหไดผลผลิตลดลงหรือไมมีคุณภาพ ไดแก โรคพืช วัชพืช และ สัตวศัตรูพืช

โรคพืช

โรคพืช หมายถึง ลักษณะอาการที่ผดิ ปกติที่เกิดกับพืช ทําใหพฒ ั นาการทางรูปราง และ


ระบบการทํางานภายในของพืชเกิดการเจริญเติบโตผิดปกติ ซึ่งจะมีผลกระทบตอผลผลิตและ
คุณภาพของพืช จนอาจทําใหพืชตายได โรคพืชนั้นสามารถเกิดขึ้นไดกับพืชผัก พืชผล พืชไร หรือ
ไมดอกไมประดับ
ปจจัยที่กอใหเกิดโรคพืช การที่พืชนั้นจะเกิดโรคนั้นตองประกอบดวยปจจัย 5 ประการ
คือ
1. พืชปลูก
2. เชื้อโรค
3. สภาพแวดลอม
4. ระยะเวลาที่โรคสัมผัสกับพืช
5. พาหนะนําโรค
ถาเราไมปลูกพืชก็จะไมเกิดโรคพืชถาเราปลูกพืชแลวเชื้อโรคเขาทําลายแตสภาพแวดลอม
ไมเอื้ออํานวยก็จะไมทําใหเกิดโรค แตถาพืชที่เราปลูกไดรับเชื้อโรคแตเชื้อโรคนัน้ ไมใชสาเหตุใน
การทําใหเกิดโรคก็ไมทําใหเกิดโรคถึงแมวา สภาพแวดลอมจะเอื้ออํานวยเพียงใด และก็ตอ งมี
ระยะเวลาที่เหมาะสมตอการที่เชื้อจะเขาทําลายโรคพืช และในบางกรณีเชื้อโรคบางชนิดก็ตองการ
พาหะในการระบาดอีกดวย ดังนั้นทุกปจจัยจะมีการเอื้ออํานวยตอการทําใหเกิดโรค
44

การจําแนกชนิดของโรคพืช สามารถจําแนกไดโดยอาศัยสวนที่ของตนพืชที่ถูกเชื้อโรค
พืชทําลายและสาเหตุของโรค
1. การจําแนกโรคพืชโดยอาศัยสวนของตนพืชที่ถูกเชื้อโรคพืชทําลาย
1.1 โรคที่เกิดกับระบบรากหรือสวนที่อยูใตดิน ซึ่งจะรวมถึงหัวและเหงา โรคที่พบ
กับสวนนี้ ไดแก โรครากเนา โรครากปม โรครากเปนแผล โรคหัวเนา โรคเหงาหรือลําตนใตดิน
เนา โรคเหี่ยว ฯลฯ ซึ่งโรคที่เกิดกับระบบรากหรือสวนที่อยูใตดินนัน้ มีสาเหตุตางกัน เชน เชื้อรา
เชื้อแบคทีเรีย ไสเดือนฝอย ตัวอยางโรคที่เกิดกับพืช เชน โรครากเนาของปาลม โรครากปมเยอร
บีรา ฯลฯ
1.2 โรคที่เกิดกับตนออนหรือกลาไม โรคที่เกิดกับเมล็ดพันธุท ําใหเมล็ดเกิดอาการ
เนา หรือทําใหตนออนหรือตนกลาทีไ่ ดจากการเพาะเมล็ดนั้นเกิดอาการเนา โรคอาการเนาบริเวณ
โคนของตนออนหรือตนกลาตรงระดับคอดิน สาเหตุเกิดมาจากเชื้อรา
1.3. โรคที่เกิดกับสวนของลําตน โคนตน กิ่ง กาน มักเกิดอาการโรคโคนเนา เปน
แผลจุดหรือแผลไหมที่โคนตน โรคกิ่งกานไหมหรือแหง โรคเหี่ยว ซึง่ สวนใหญมีสาเหตุมาจากเชือ้
รา และเชื้อแบคทีเรีย ตัวอยางโรคที่เกิดกับพืช เชน โรคโคนเนาแหงของมะลิ โรคลําตนไหมของ
ทานตะวัน โรคเนาดําของกลวยไม ฯลฯ
1.4 โรคที่เกิดกับใบ สวนใหญจะเกิดกับไมใบประดับ ไดแก โรคใบจุด โรคใบไหม
โรคแอนแทรคโนส โรคราน้ําคาง โรคราแปง โรคราสนิม อาการใบหงิกเหลือง อาการดาง อาการ
ซีดเหลือง สาเหตุของโรคเหลานี้ คือ เชือ้ รา เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ตัวอยางโรคทีเ่ กิดกับพืช เชน
โรคใบจุดของบานไมรูโรยและเบญจมาศ โรคราแปงบนใบกุหลาบ โรคใบดางของพิทูเนีย
1.5 โรคที่เกิดกับดอกสวนใหญเกิดกับไมดอกซึง่ จะทําใหเกิดความเสียหาย เพราะ
ไมสามารถนําสวนของดอกไปขายหรือปลูกประดับได โรคที่เกิดกับดอก ไดแก โรคดอกเนา โรค
ดอกดาง โรคดอกสีเขียว สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ไมโครพลาสมา ตัวอยางโรคที่
เกิดกับพืช เชน โรคดอกเนาของเบญจมาศ โรคดอกไหมของดาวเรือง โรคดอกเนาของคารเนชัน่
ฯลฯ
2. การจําแนกโรคพืชโดยอาศัยสาเหตุของโรคพืช
เมื่อพืชมีการแสดงอาการเจริญเติบโตผิดปกติเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมนั้น เกิดไดจาก
สาเหตุตา ง ๆ กัน ทั้งที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก ไดแก เชื้อจุลินทรียชนิดตาง ๆ และ
สาเหตุที่เกิดจากสิ่งไมมีชีวิต ไดแก สิ่งแวดลอมที่พืชชนิดดํารงอยูไมเหมาะสม หรือมีความผิดปกติ
ของปจจัยตางๆ เชน ปุย หรือธาตุอาหาร น้าํ สภาพภูมิอากาศ เปนตน โรคพืชที่เกิดจาก
45

เชื้อจุลินทรีย เรียกวาโรคติดเชื้อหรือโรคระบาด และโรคพืชที่ไมไดเกิดจากเชื้อจุลนิ ทรียหรือที่เกิด


จากสิ่งแวดลอมแวดลอม เรียกวาโรคไมตดิ เชื้อหรือโรคที่เกิดจากสิ่งไมมีชีวิต

โรคพืชที่เกิดจากการสิ่งมีชีวิต
พืชเปนโรค หมายถึง พืชที่มีอาการผิดปกติทางดานรูปราง และ กระบวนการทํางาน
ภายใน พืชที่เปนโรคที่มีการติดเชื้อนัน้ เกิดไดกบั ทุกสวนของพืช สามารถแพรระบาดจาก ดิน เศษ
ซากพืชที่เปนโรค ไปสูตน พืชปกติได โดยมีสาเหตุมาจากเชื้อจุลินทรียชนิดตาง ๆ ไดแก รา,
แบคทีเรีย, ไมโครพลาสมา, ไสเดือนฝอย, ไวรัส

สาเหตุของโรคพืชที่มาจากสิ่งมีชีวิต
1. รา
รา โดยทั่วไปจะเปนเสนใยคลายเสนดายละเอียด เสนใยแตละเสนมีขนาดเล็กมาก
มองดวยตาเปลาไมเห็น จะมีการขยายพันธุโดยสรางสวนที่เรียกวา “สปอร” สปอรของเชื้อรามี
หนาที่คลายเมล็ดพันธุพืช คือพรอมที่จะเจริญและงอก แตเปนการเจริญแพรพันธุแ ละงอกไดบน
ตนพืช โดยทีส่ ปอรจะสามารถระบาดจากพืชในพื้นที่หนึ่งไปยังอีกพืน้ ที่หนึ่ง โดยมีลม น้ํา หรือ
มนุษยเปนพาหะในการพัดหรือพาไป เมื่อสปอรปลิวไปตกยังบริเวณที่เหมาะสมก็จะเจริญและงอก
เขาไปในพืชได อาจเขาโดยตรงหรือเขาทางแผลที่เกิดขึน้ ตามสวนตาง ๆ ของพืช โดยเชื้อราจะแยง
ดูดน้ําเลี้ยงจากเซลลพืชเพื่อมาใชในการเจริญเติบโตของตัวเอง เชื้อราจัดเปนสาเหตุที่สําคัญที่ทํา
ความเสียหายใหแกพืชผลมากที่สุด มีเชื้อรามากกวา 8,000 ชนิดที่เปนสาเหตุโรคพืช เชื้อรา
สามารถแพรระบาดไปตามทีต่ าง ๆ ไดโดยติดไปกับซากพืชเปนโรค เมล็ดและ/หรือทอนพันธุ ดิน
ปุยคอก หรือวัสดุปลูกตาง ๆ รวมทั้งแพรไปกับน้ําและปลิวไปกับลมไดดี ลักษณะอาการของโรค
พืชที่เกิดจากเชื้อรา เชน โรคเนาคอดิน (damping off), ราสนิม (rust), ราแปง (powdery
mildew), แผลจุด (spot), ใบไหม (blight), แผลแตกตามลําตน (canker) ฯลฯ
2. แบคทีเรีย
แบคทีเรียเปนจุลินทรียเซลลเดียว มีขนาดเล็กมากตองใชกลองจุลทรรศนกําลังขยายสูงจะ
เห็นเซลลชัดเจน แบคทีเรียบางชนิดสามารถเคลื่อนที่ไดเอง บางชนิดสามารถสรางสปอรที่คงทน
ตอสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมได แบคทีเรียมีการเพิ่มจํานวนขึ้นดวยการแบงเซลล สวนใหญ
แบคทีเรียสาเหตุโรคพืชมีรูปรางเปนทอนสั้นและไมสรางสปอร แตจะมีชั้นเมือกหอหุมผนังดาน
นอกเซลลอีกชั้นหนึ่ง จึงชวยใหมีอายุนานและทนตอสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมไดดีขึ้น
แบคทีเรียสามารถผลิตสารพิษที่ทําลายพืชใหไดรับความเสียหายได แบคทีเรียบางชนิดสรางสาร
46

เรงการเจริญเติบโตไปทําใหเซลลพืชเจริญมากผิดปกติ เกิดอาการบวมพอง เปนปุมปม แบคทีเรีย


เขาทําลายพืชไดทางแผลที่เกิดขึ้นตามผิวพืชและทางชองเปดธรรมชาติ เชน ปากใบ แบคทีเรียที่
เปนสาเหตุโรคพืชมีประมาณ 200 ชนิด การแพรกระจายของแบคทีเรียไปสูที่ตาง ๆ จะเปนไปใน
ลักษณะเชนเดียวกับการแพรระบาดของเชื้อราลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
เชน อาการเนา ใบไหม ใบจุด ใบเปนแผลจุดสะเก็ด อาการเหี่ยว
3. ไสเดือนฝอย
ไสเดือนฝอยเปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีขนาดเล็กมากยากที่จะมองเห็นไดดวยตาเปลา
มีลักษณะรูปรางยาวเรียวเปนสวนใหญ บางชนิดตัวเมียเมื่อโตเต็มวัย มีลักษณะบวมพอง อวนกลม
ไสเดือนฝอยดูดแยงอาหารจากพืชทําใหพชื เปนโรคโดยทําลายเซลลพชื หรือไปเปลี่ยนแปลง
ขบวนการเจริญเติบโตของพืชใหผิดปกติไป สวนมากไสเดือนฝอยมักเขาทําลายบริเวณสวนของ
รากหรือโคนตน ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากไสเดือนฝอยทําใหเปนแผลรากเปนปม
4. ไมโครพลาสมา
ไมโครพลาสมาทําใหเกิดโรคกับพืช โดยอาศัยอยูในทอน้ําทออาหารของพืช เชื้อมีขนาด
เล็กกวาแบคทีเรียแตใหญกวาไวรัสไมมีผนังเซลลจึงมีรูปรางไมแนนอน ไมโคพลาสมาบางชนิด
สามารถเลี้ยงไดในอาหารเลีย้ งเชื้อพิเศษ มีการแพรระบาดโดยมีแมลงบางชนิดเปนพาหะ เชน
เพลี้ยจั๊กจั่น เพลี้ยออน และถายทอดโรคไดโดยตนฝอยทอง (dodder) หรือการติดตาเทียบกิ่ง
ไมโครพลาสมามากกวา 80 ชนิด ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไมโครพลาสมา สวนของ
พืชที่มีสีเขียวเปลี่ยนเปนสีเหลือง (yellow) หรือขาว (white leaf) แตกเปนพุม (witches'
broom) บริเวณจุดเจริญตางๆ เชนยอดหรือตา สวนที่เจริญเปนดอกมีลักษณะคลายใบเปนกระจุก
(phyllody) ลักษณะอื่นๆ คือ ตนแคระแกร็นและไมเจริญเติบโต โรคที่สําคัญที่เกิดจากเชื้อไมโค
พลาสมาที่พบในประเทศไทย ไดแก โรคแตกพุมฝอยในแอสเตอร
5. ไวรัส
ไวรัสเปนอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก ไมสามารถมองเห็นดวยตาเปลา มีไวรัสไมนอ ยกวา
500 ชนิด ที่สามารถเขาทําลายและเปนสาเหตุโรคพืชได ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อ
ไวรัส มักทําใหเกิดอาการใบดาง ยอดบิด ตนเตี้ยแคระ
อาการของพืชที่เปนโรค
1. สังเกตอาการของโรคพืช
1.1 อาการทางเนื้อเยื่อ เปนลักษณะทีผ่ ิดปกติทางโครงสราง สวนประกอบการ
จัดเรียงตัวของเซลล ตรวจสอบโดยการนําเนื้อเยื่อไปสองตรวจใตกลองจุลทรรศน
1.2 อาการทางแผล เปนลักษณะของเนื้อเยื่อที่ผิดไปจากปกติ เชน การเกิดแผลจุด
แผลไหม หรือแผลเนา ฯลฯ
1.3 อาการทางสัณฐาน เปนลักษณะผิดปกติทางรูปรางบนสวนตางๆ ที่อยูภายนอก
พืช การเกิดปุม ปม การยุบตัว ขอปลองสั้นแคระเกร็น
47

2. ลักษณะที่เกี่ยวของกับอาการโรคพืช
2.1 อาการที่ปรากฏกับเนื้อเยื่อสวนตางๆ ของพืชที่เกิดขึ้น เนื่องจาก การเสื่อมสภาพ
หรือการตายของเซลล เชน อาการชุมน้ํา แผลบุม แผลเนา ฯลฯ
2.2 อาการที่พืชมีการพัฒนาและเจริญเติบโตต่าํ กวาปกติ เกิดขึ้นจากอัตราการแบง
เซลลต่ํากวาปกติ เชน อาการแคระแกรน ใบหดบิดเบี้ยว ฯลฯ
2.3 อาการที่พืชมีการพัฒนาและเจริญมากกวาปกติ อาจเกิดกับบางสวนหรือทุกสวน
ก็ไดเกิดขึ้นจากอัตราการแบงเซลลสูงกวาปกติ ทําใหเซลลพืชมีขนาดโตกวาปกติ เชน อาการปุม
ปม อาการแผลสะเก็ดนูน

ตัวอยางอาการโรคพืชที่เกิดกับไมดอกไมประดับ

รูปแบบอาการโรคพืช ลักษณะอาการของโรคโดยสรุป ตัวอยางเชื้อสาเหตุ


และพืชที่เปนโรค
1. โรคพืชที่เกิดจากรา
1.1 แผลจุด - เปนแผลเฉพาะแหงบนสวนของพืช - รา Phyllostictina
(spot) โดยเฉพาะที่ใบ แผลมักมีรปู รางกลม pyriformis พบบริเวณใบของ
เกิดจากเซลลตายทําใหเนื้อเยื่อที่เกิด กลวยไมแวนดา
โรคอาจยุบตัวลง แผลมีสีน้ําตาล-ดํา - รา Diplocarpon rosae พบ
บริเวณใบของกุหลาบ
- รา Pyricularia grisea พบ
บริเวณใบของกามกุง
1.2 แผลไหม - เนื้อเยื่อสวนที่ถูกเชื้อเขาทําลายแหง - รา Phyllostic sp. และ
(blight) กลายเปนสีนา้ํ ตาลอยางรวดเร็ว แผล Diplodia sp.พบบริเวณใบของ
ขนาดใหญกวาแผลจุด พบที่ใบแต กลวยไม
อาจลุกลามจนแสดงอาการทั่วทั้งสวน - รา Phytophthora sp.
ที่เกิดโรค พบบริเวณใบของกลวยไม
รองเทานารี
1.3 เนาคอดิน - เนื่อเยื่อพืชบริเวณระดับดินของตน - รา Phytophthora sp.
(damping-off) กลาเกิดแผลเนาเปนสีน้ําตาลดํา พบบริเวณลําตนและราก
เนื้อเยื่อยุบเลยทําใหตน พืชลมตาย ของกล็อกซิเนีย
อยางรวดเร็ว - รา Sclerotium sp. พบ
1.4 เนา - บริเวณลําตนและโคนตนเกิดแผล บริเวณรากของเยอรบิรา
48

รูปแบบอาการโรคพืช ลักษณะอาการของโรคโดยสรุป ตัวอยางเชื้อสาเหตุ


และพืชที่เปนโรค
(rot) เนาสีนา้ํ ตาลอาจขยายรอบโคนตน - รา Gloeosporium sp.พบ
อาจลุกลามไปสวนอื่น หรือเกิดกับ บริเวณใบของดาหลา
รากเนาเปนสีน้ําตาล-ดํา เปลือกราก - รา Colletotrichum sp.
อาจเปอยหลุดรอน เนื้อไมของราก พบบริเวณใบของบานไมรโู รย,
เนาเปยกหรืออาจแหงเปนสีดํา มะลิ, หนาวัว
อาการเนาอาจลุกลามมายังสวนลาง
ของลําตน
- อาการมีลักษณะตางกันขึน้ กับสวน - เชื้อรา Oidium sp.
1.5 แอนแทรคโนส ของพืชที่เกิดเชื้อโรค เชน ใบ เนื้อเยื่อ พบบริเวณใบของกุหลาบ,
(anthracnose) บริเวณที่เชื้อราเขาทําลายอาจเกิด บานชืน่ , แสยก
แผลจุดสีน้ําตาล เนื้อเยื่อกลางแผล
ทะลุ ถาเกิดกับผลที่อวบน้ําจะทําให
ผิวยุบตัวลง เหี่ยวยนเกิดเปนตุมสีสม
-สวนที่เปนโรคเกิดสีดาํ ขนาดเล็ก - เชื้อรา Puccinia thwaitesii
1.6 ราแปง เรียงเปนวงซอนกันบนสวนทีเ่ กิดโรค พบบริเวณใบของขาไกดาง
(powdery mildew) เนื้อเยื่อของพืชถูกปกคลุมดวยเสนใย - เชื้อรา Uromyces
ราลักษณะเปนขุยสีขาว คลายผงแปง caryophyllinus พบบริเวณใบ
เนื้อเยื่อที่ถูกปกคลุมจะกลายเปนสี ของคารเนชั่น
เขียวซีด - เชื้อรา Uredo cassiae-
- เนื้อเยื่อเปนจุดแผลขนาด surattensis พบบริเวณใบของ
1.7 ราสนิม เล็กมีลักษณะเปนตุมนูนขึ้นมาจากผิว ทรงบาดาล
(rust) พืช สีเหลือง ปกคลุมดวยเนื้อเยื่อ - เชื้อรา Meliola sp.
บางๆ เมื่อเนือ้ เยื่อนี้แตก ภายในก็จะ พบบริเวณใบพุด
พบผงสปอรสีสนิมเหล็ก

- เชื้อรา Peronospora sparsa


พบบริเวณใบกุหลาบ
- เชื้อรา Fusarium sp. พบใน
- พบบริเวณใบ ชอดอก และผลออน บานชืน่ , พิทูเนีย
1.8 ราดํา มีลักษณะเหมือนเขมาหรือฝุนสีดําปก
(sooty molds) คลุมเปนแผนสีดํา ซึ่งเมื่อแหงอาจจะ
49

รูปแบบอาการโรคพืช ลักษณะอาการของโรคโดยสรุป ตัวอยางเชื้อสาเหตุ


และพืชที่เปนโรค
รวงหลุดเปนแผน
- ใบเริ่มเปนจุดสีน้ําตาลดําไหมขยาย - แบคทีเรีย Pseudomonas
1.9 ราน้ําคาง กวางออกไปเล็กนอยบนแผลมีเสนใย cichorii พบบริเวณใบของสาว
(downy mildew) หยาบๆ สีขาวอมเทา นอยประแปง
1.10 เหี่ยว - เริ่มจากใบลางเปลี่ยนสีเหลืองและ - แบคทีเรียXantomonas sp.
(wilt) เริ่มเหี่ยวตอมากานใบลูลง และใบ พบบริเวณใบของอโกลนีมา
สวนใบบนเริ่มเหี่ยวตอมา
- แบคทีเรียXantomonas sp.
พบบริเวณใบของไอวี่และพืช
2. โรคพืชที่เกิดจาก - เนื้อเยื่อตรงบริเวณที่แบคทีเรียเขา ตระกูลสม
แบคทีเรีย ทําลายนัน้ เปนจุดช้ําน้าํ ตอมาแผล
2.1 แผลจุด ขยายใหญขึ้นเนื้อเยื่อกลางแผลแหง - เชื้อไมโครพลาสมา พบใน
(spot) ตายเปนสีน้ําตาลดํา แอสเตอร
2.2 แผลไหม - เนื้อเยื่อจะแหงตายอยาง
(blight) รวดเร็วมีสีน้ําตาลดํา ลุกลามไปอยาง
ไมมีขอบเขต อาจพบหยดเมือก
เนื้อเยื่อเละมีเมือกเยิ้ม กลิ่นเหม็น
2.3 แผลแคงเกอร - เปนตุมนูน ผิวขรุขระอาจพบ - เชื้อไวรัส พบบริเวณใบของ
(canker) เนื้อเยื่อรอบจุดที่มีแผลเปนสีเหลือง ชวนชม
เปนวงลอมรอบแผลนั้น - เชื้อไวรัส พบบริเวณใบของ
3. โรคพืชที่เกิดจากไม หวายมาดามปอมปาดัวร
โครพลาสมา
3.1 แตกใบเกล็ด - พืชแตกยอดหรือตาขางเปนกระจุก
(phyllody) ลักษณะเปนพุม ฝอยประกอบดวยใบ - ไสเดือนฝอย Meloidogyne
ขนาดเล็ก หรือมีดอกที่คลายใบขอ sp. ทําใหพืชหลายชนิดเกิด
ปลองมักถี่แตกเปนกระจุก พุมพืช โรค เชน แอสเตอร
แคระแกร็น
4. โรคที่เกิดจากไวรัส
4.1 ดาง - เกิดเปนบริเวณที่มีสีเขียวเขมสลับสี
(mosaic) เขียวออนหรือเหลืองกระจายทั่ว
เนื้อเยื่อมีลักษณะหยาบ ใบบิดเบี้ยว
50

รูปแบบอาการโรคพืช ลักษณะอาการของโรคโดยสรุป ตัวอยางเชื้อสาเหตุ


และพืชที่เปนโรค

5. โรคพืชที่เกิดจาก
ไสเดือนฝอย
5.1 รากปม - รากพืชเกิดลักษณะปุมปมทั่วทั้ง
(root knot) ระบบราก

การแพรระบาดของโรคพืชที่เกิดจากสิง่ มีชีวิต มีหลายวิธี คือ


1. เชื้อโรคติดไปกับสวนที่ใชขยายพันธุ เชน เมล็ดพันธุแ ละกิ่งพันธุ
2. ดินหรือเครื่องปลูก อาจเปนที่อาศัยและที่สะสมของโรคพืช
3. ลมสามารถพัดพาสปอรของเชื้อรา แบคทีเรีย หรือ ไสเดือนฝอยตัวเล็กแพรกระจายได
4. น้ําสามารถแพรกระจายสปอรของรา หรือแมกระทั้งน้ําฝนทีต่ กลงมาแรงๆ ก็สามารถ
ทําใหเชื้อกระเด็นไปยังที่ตา งๆได
5. แมลงเปนพาหะสําคัญที่ชวยกระจายเชื้อโรคตางไดโดยอาจติดไปกับอวัยวะสวนตางๆ
หรือแมลงบางชนิดดูดกินพืชที่เปนโรคแลวอาจนําเชื้อไวรัสหรือไมโครพลาสมาไปยังพืชอื่นที่ไมได
เปนโรคไดดวย
6. สัตวอื่นๆ เชน ไสเดือนฝอยและไรสามารถพาเชื้อราที่ตดิ อยูบริเวณลําตัวไปยังที่ตางๆ
ไดดวย
7. กาฝากและฝอยทอง สามารถถายทอดเชื้อโรคจากตนที่เปนโรคไปยังตนที่ปกติได
8. มนุษย เปนตัวการสําคัญที่ทําใหโรคพืชนั้นแพรกระจายไปไดอยางไมมีขอบเขต อัน
เนื่องมาจากการเคลื่อนยายตนที่เปนโรคไปยังบริเวณที่ไมเปนโรคซึ่งอาจทําใหพืชตนอื่นๆ ติดเชื้อ
ได หรือ การปฎิบัตติ อตนพืชโดยใชเครือ่ งมือทางการเกษตร เชน จอบ เสียม กรรไกร ก็สามารถ
แพรเชื้อโรคจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ได

โรคพืชที่เกิดจากสิ่งไมมีชวี ิต
สาเหตุของโรคพืชที่เกิดจากสิ่งไมมีชีวิต เนื่องจากสภาพแวดลอมนั้นไมเหมาะสมตอพืช
อาการผิดปกติเนื่องจากสาเหตุเหลานี้ บางครั้งพืชแสดงอาการคลายกันกับโรคติดเชื้อ อาจทําให
51

เกิดการสับสนได จึงมีความจําเปนตองทําการตรวจวินิจฉัยอยางละเอียดกอนสรุปวาเกิดจาก
สาเหตุใดแน สาเหตุที่ทําใหพืชเกิดโรคอันเนื่องมาจากสิง่ ไมมีชีวิต เชน
1. อุณหภูมิ ตนพืชอาจไดรบั อุณหภูมิสูงหรือไดรับปริมาณแสงที่มากเกินไป ทําใหพืช
ไดรับอาการไหมที่ใบและผล หรืออุณหภูมิบริเวณผิวดินสูงเกินไปใหตนออนนั้นเกิดอาการลวก
หรือไหมทั้งตน แตถาตนพืชไดรับอุณหภูมิต่ําเกินไป เชน อุณหภูมติ ่ํากวา 0 องศาอาจทําใหน้ําใน
เซลลกลายเปนน้ําแข็งอาจทําใหพืชตายได
2. แสง ตนพืชอาจไดรับปริมาณแสงนอยเกินไปทําใหพชื แสดงอาการซีด ลําตนยืดยาว
ผิดปกติ สงผลใหพืชไมออกดอก ผล
3. ความชื้นในดิน ในดินอาจมีความชื้นสูงเกินไปอาจทําใหพืชไมแข็งแรงใบลางเหลืองรวง
รากเนา โคนเนา
4. ความชื้นในอากาศ ในอากาศอาจมีความชื้นมากหรือนอยเกินไป มักทําใหปลายใบหรือ
ขอบใบไหม แหง ใบอาจบิดเบี้ยว ชอดอกแหงรวง ผลเหี่ยว ตนพืชเหีย่ ว
5. อากาศเปนพิษ บริเวณนัน้ อาจมีหมอกควันพิษ หากปกคลุมใบพืชอาจทําใหตน พืชไม
สามารถสังเคราะหแสงไมไดทําใหใบเกิดจุดขาวซีดหรือใบเปลี่ยนสี
6. ธาตุอาหาร เปนสาเหตุทส่ี ําคัญที่สดุ ของโรคพืชที่เกิดจากสิ่งไมมีชีวติ
- การขาดธาตุอาหาร พืชจะแสดงอาการขาดธาตุอาหารเมื่อสภาพดินที่ปลูกขาดแรธาตุ
ชนิดนัน้ ๆ หรืออยูในสภาพที่พืชไมสามารถนําไปใชไดเนื่องจากสภาพความเปนกรดเปนดางไม
เหมาะสม ลักษณะอาการพืชที่ขาดธาตุบางชนิดอาจสรุปไดดังนี้
ขาดธาตุไนโตรเจน พืชเจริญเติบโตชา ใบมีสีซดี เหลืองทั่วทั้งตนเริ่มจากใบลาง
กอน
ขาดธาตุฟอสฟอรัส พืชเจริญเติบโตชา ใบมีสีเขียวเขมหรือมวงบริเวณใบลาง ๆ
ลําตนมียอดสัน้
ขาดธาตุโพแทสเซียม ตนพืชมียอดนอยใบลางซีดเหลือง ขอบใบมวนขึ้นปลายใบ
และขอบใบแหงมีสีน้ําตาล ผลมีขนาดเล็กลง
ขาดธาตุแมกนีเซียม ใบแก แสดงอาการซีดเหลืองหรือแดงบริเวณขอบใบและ
ปลายใบกอน ใบมีสีซดี เหลืองเปนรูปตัววีหัวกลับ ขอบใบมวนขึ้น
ขาดธาตุแคลเซียม ใบออนบิดงอ ชะงักการเจริญเติบโต แสดงอาหารบิดมวน
ขอบใบฉีก ตายอดแหงตายลําตนมีรากนอย ทําใหผลแตกในไมผลหลายชนิด
ขาดธาตุโบรอน ทําใหกา นใบออนแตกและหัก ใบบิดงอ ราก ลําตน และผล
แสดงอาการแผลแตก ลําตนเปนรูกลวง และเมล็ดลีบในผักหลายชนิด
ขาดธาตุกํามะถัน ใบออนมีสีซดี เหลืองทั่วทั้งใบ
52

ขาดธาตุเหล็ก ใบออนมีสีซดี เหลืองแตเสนใบยังคงมีสีเขียว


ขาดธาตุสังกะสีี ใบดางเหลืองระหวางเสนใบ ใบมีขนาดเล็กเกิดเปนกระจุก
- การไดรับธาตุอาหารมากเกินไป ธาตุอาหารที่พืชมีความตองการในปริมาณเพียง
เล็กนอยเทานัน้ อาจเกิดการสะสมทําใหเกิดความเขมขนในเนื้อเยื่อพืชสูงขึ้นจนถึงขั้นที่เปนพิษกับ
พืช เชน การมีธาตุโบรอน (B) มากเกินไป ทําใหพืชเกิดอาการใบเหลืองขึ้นเปนแหง ๆ เริ่มจาก
ปลายใบแลวจึงลุกลามไปตามของใบเกิดการไหมและใบรวงหลนได เปนตน
7.ความเปนกรดดาง โดยปกติสภาพความเปนกรดดางของดิน มิใชตัวควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืชโดยตรง แตมีผลทางออมตอพืชในการนําธาตุอาหารในดินมาใช หรือในแงการ
เจริญเติบโต และอยูรวมกันของเชื้อจุลินทรียในดิน ซึ่งจะมีผลชวยใหพืชมีการเจริญเติบโตดีหรือ
ผิดปกติไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพของดินและพืชแตละชนิด ดินเปรี้ยวทําใหพืชมีขนาดเล็ก การ
เจริญเติบโตชา อันเนื่องมาจากความเปนกรดหรือดางมากเกินไป ทําใหพืชไมสามารถใชธาตุ
อาหารบางชนิดได หรือมีการเสริมใหเชื้อโรคในดินบางชนิดระบาดรุนแรงขึ้น
8. การปฏิบัตทิ างการเกษตรที่ไมเหมาะสม อาจเปนสาเหตุที่ทําความเสียหายแกพืช เชน
- การใชสารเคมีเพื่อการเกษตรตาง ๆ ไดแก ปุย สารกําจัดศัตรูพืชชนิดตาง ๆ (สาร
กําจัดเชื้อสาเหตุโรค สารกําจัดแมลง และสารกําจัดวัชพืช) โดยอาจใชในอัตราทีเ่ ขมขนสูงเกินไป
เลือกสารไมเหมาะสมกับพืช ซึ่งจะทําใหพืชแสดงอาการใบไหม ใบจุด ใบบิดเบีย้ ว หรือ การ
ผิดพลาดอันเนื่องมาจากการใชสารเคมีเพื่อปองกันกําจัดโรค เชน การใชผิดชนิดโดยเฉพาะการใช
สารที่มีองคประกอบของกํามะถันและทองแดง อาจทําใหเกิดอาการใบไหม ใบรวงได
- การปฏิบตั ดิ ูแลตนพืชที่ไมถูกตอง เชน การพรวนดินใกลบริเวณรากหรือโคนตนมาก
เกินไปอาจทําใหรากขาด โคนตนเปนแผล อาจทําใหตน เหี่ยว การใหนา้ํ ใหปุยที่ไมถกู วิธี เชน ให
น้ํามากเกินไปจนทวมขังอาจทําใหรากเนา การปลูกพืชในบริเวณที่ไมเหมาะสมตอความตองการ
ของพืช หรือ การไมแกะพลาสติกที่ใชเพื่อการกาบกิ่งออกกอนนําไปปลูก ซึ่งจะทําใหตนพืชมีลํา
ตนคอดกิ่ว

การปองกันและกําจัดโรคพืช
1. การเลือกที่ปลูก
1.1 เลือกบริเวณที่มีสภาพดินฟาอากาศเหมาะแกพืชที่ปลูก เพื่อใหพืชโดยเฉพาะ
อยางยิ่งระยะกลาและตนออน ซึ่งเปนระยะที่ออนแอตอโรคตางๆ เจริญเติบโตเร็ว เปนการ
หลีกเลี่ยงการเปนโรค เชน โรคเนาระดับคอดิน โรคราน้าํ คาง เปนตน
1.2 เลือกปลูกพืชในบริเวณที่ไมเคยมีโรคระบาดมากอนหรือไมควรปลูกพืชเดิมซ้ํา
แปลงเดิมที่เปนโรค ควรเวนระยะปลูกพืชนั้นใหนานพอประมาณ เพื่อลดปริมาณเชื้อที่เคยระบาด
วิธีนี้จะชวยลดการเกิดโรคไดมาก โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อสาเหตุที่อาศัยอยูในดิน
2. การเตรียมดินและการปรับปรุงดิน
53

2.1 การเตรียมดิน โดยการขุด ไถพลิกดิน เพื่อปรับสภาพดินใหรวน มีการระบายหรือ


อุมน้ําดี และอุณหภูมิภายในดินเหมาะสมแกการปลูกพืช ซึ่งนอกจากจะทําใหพืชเจริญเติบโตเร็ว
หลีกเลี่ยงการเกิดโรคแลว การตากดินเปนครั้งคราวประมาณครั้งละ 10-15 วัน ยังชวยลด
ปริมาณเชื้อโรคในดินและกําจัดวัชพืชตางๆ โรคหลายชนิด เชน โรคราน้ําคาง เชื้อสาเหตุจะยัง
เจริญอยูในเศษที่เนาเปอยของพืชเปนโรค หรือสปอรยังตกคางอยูในดิน ซึ่งการไถพลิกดินตาก
แดดนี้ชวยลดปริมาณเชื้อ และการเกิดโรคในฤดูปลูกตอไปได สวนแปลงที่มีไสเดือนฝอยรากแผล
ระบาด การไถพลิกดินตากแดดในฤดูรอนจะชวยฆาไสเดือนฝอยรากแผล ซึ่งไมทนตอความรอน
แหงและฆาตัวออนของไสเดือนฝอยรากปม สวนไขจะไดรับออกซิเจนและความอบอุน เรงใหฟก
เปนตัวและถูกความรอนฆาตอไป
2.2 การปรับปรุงดิน เชน ดินในบางทองที่เปนกรดมากเกินไป เรียกวา ดินเปรีย้ ว ซึ่ง
เปนสวนสงเสริมใหเชื้อโรคบางชนิดเจริญไดดี หรือธาตุอาหารบางอยางอยูในรูปที่พืชนําไปใช
ไมได เปนสาเหตุใหเกิดอาการผิดปกติ และโรคระบาดเกิดขึ้น วิธีการแกไข คือการใสปูนขาวแลว
คลุกดินใหดี ไมควรโรยที่ผวิ หนาเพราะเมื่อปูนขาวถูกน้ําจะจับกันเปนกอนแข็ง ซึ่งจะไมเปนผลดี
ตอการปลูกพืช การใสปูนขาวจะมากนอยขึ้นอยูกับความเปนกรดของดินที่จะปรับ นอกจากนี้ยัง
นิยมใชปุยอินทรีย เชน ปุยคอก ปุยหมัก ปุยพืชสด หรือปุยอนินทรีย มาชวยในการปรับปรุงดิน
ตามความเหมาะสม

3. การเลือกพืชปลูกสลับหรือพืชหมุนเวียน
เปนวิธีที่จะชวยปองกัน และลดความเสียหายจากการระบาดของโรคบางชนิดได โดยเฉพาะเชื้อ
โรคที่อาศัยอยูใ นดิน หลักเกณฑในการเลือกพืชมาปลูกสลับหรือหมุนเวียนมีดังนี้
3.1 ความสามารถ ที่จะอยูในบริเวณแปลงเปนโรคนานเทาไร
3.2 ปริมาณเชื้อมีมากนอยแคไหน และความสามารถในการแพรขยายพันธุ
3.3 พยายามลดปริมาณของเชื้อใหนอยลง โดยการปลูกพืชที่ทําลายเชื้อสาเหตุ เชน
ดาวเรือง ซึ่งขับสารทําลายไสเดือนฝอย ทําใหปริมาณไสเดือนฝอยลดลง
3.4 ตองระวังพืชบางชนิดที่เชื้อเขาเจริญขยายพันธุไ ดดี แตพืชไมแสดงอาการโรคให
เห็นเดนชัดเพราะฉะนัน้ จึงกลายเปนแหลงเพาะเชื้อเมื่อปลูกพืชก็อาจจะถูกเชื้อเขาทําลายเสียหาย
รุนแรง พืชที่นํามาปลูกสลับ หรือหมุนเวียนนั้น สวนใหญไมควรใชพชื พวกเดียวกัน
4. การคัดเลือกเมล็ดพันธุแ ละสวนขยายพันธุ
4.1 เมล็ดพันธุแ ละสวนขยายพันธุท ี่ปราศจากโรค เปนสิ่งสําคัญยิ่งที่จะตองมีการ
คัดเลือกเพื่อนํามาปลูก เพราะจะเปนการปองกันการเกิดโรคตั้งแตระยะเริ่มตน ดังนั้นจึงควร
คัดเลือกจากตนพืชปกติหรือซื้อหาจากแหลงที่เชื่อถือได
54

4.2 เมล็ดหรือสวนขยายพันธุ เลือกบริเวณปลูกสวนใดสวนหนึ่งที่เหมาะสม มีการดูแล


ทั่วถึงเพื่อปลูกพืช สวนที่จะใชขยายพันธุตอไปหรือควรมีการคัดเลือกพืชตนที่แข็งแรง ไมแสดง
อาการเปนโรคตางๆ มีการดูแลรักษาพิเศษ พรอมทั้งศึกษาวิธีการเก็บสวนขยายพันธุที่ถูกตองและ
มีคุณภาพดี ควรทราบวามีโรคหลายชนิดที่ติดไปกับเมล็ดพันธุ กิ่งตอน หรือทอนพันธุ
5. การเลือกเวลาปลูก
โรคบางอยางอาจหลีกเลี่ยง หรือหนีโรคได ถาเราเลือกเวลาปลูกใหดี เชน ถาพืชนั้นเกิด
โรครุนแรงในฤดูฝน ก็ควรเลี่ยงมาปลูกตนหรือปลายฤดูฝน ถาเกิดโรคมากในฤดูหนาวมีควรเลี่ยง
มากปลูกตนหรือปลายฤดูแทน ซึ่งจะชวยลดความเสียหายที่เกิดขึ้นได
6. การใชสารเคมี
ปจจุบนั สารเคมี เชน ยาปองกันและกําจัดรา ยังมีความจําเปนตองนํามาใชชวยในการ
ปองกันกําจัดศัตรูพชื เพื่อใหไดผลผลิตที่เพียงพอตอความตองการของประชากรโลก การใช
สารเคมีเหลานี้จําเปนตองมีการศึกษาใหทราบเสียกอนวามียาอะไรบางที่ฉีดแลวไดผล ควรจะฉีด
ระยะเวลาใด และควรฉีดบอยครั้งแคไหน ผูปลูกเลี้ยงไมควรไปขอซือ้ ยาตามตลาด ซึ่งทั้งผูซื้อและ
ขายก็ไมทราบวาจะเอาไปฉีดปองกันโรคอะไร ใชแลวใหผลอยางไร ซึ่งเปนการเสี่ยงมากเพราะถา
ใชยาผิดทําใหยาไมไดผล เสียคาใชจายโดยไมจําเปนแลว บางครั้งยังทําใหเชื้อโรคสาเหตุเพิ่ม
ความรุนแรงของโรคมากยิ่งขึ้น ฉะนั้นการจะพิจารณาใชยาอะไร ควรคิดและสอบถามผูรู หรือ
หนวยงานราชการทางการเกษตรใหรอบคอบเสียกอนจึงตัดสินใจใช

สารเคมีหรือยาปราบศัตรูพืชนี้ สามารถแบงการใชประโยชนได 2 ประเภท คือ


1. กําจัดศัตรูพืชใหหมดสิ้นไปมากที่สดุ มักจะกระทํากอนเริ่มปลูกพืช เชน การอบดินฆา
เชื้อ ซึ่งมีผลฆาทั้งศัตรูพืช เชน ไสเดือนฝอย เชื้อโรคในดิน วัชพืช และเชื้อจุลินทรียอื่น ๆ ที่อาจมี
ประโยชนดวยหรืออาจกระทําใหขณะที่ปลูกพืชแลว แตตองมีการคัดเลือกชนิดของยาใหเหมาะสม
และไมเปนอันตรายตอพืช
2. การฉีดยาปองกันศัตรูพืช การใชยาประเภทนี้จะมีการวางแผน และฉีดยาลวงหนากอน
เกิดโรคโดยใชหลักวาปลูกพืชอะไร พืชนั้นมีโรคอะไรบางเกิดโรคในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม
อยางไร จากนั้นจะมีการคัดเลือกชนิดยาที่เหมาะสม (สวนมากมักเปนยาเคลือบคลุมสวนตางๆ
ของพืช) สวนการวางตารางการฉีดยาวาจะบอยครั้งแคไหนขึ้นอยูกับสภาพสิ่งแวดลอม
7. การฉีดยาฆาแมลงเพื่อทําลายแมลงนําเชื้อโรค
เปนการฉีดยาที่จําเปนอยางยิ่งเชนกัน โรคพืชหลายชนิดที่เกิดจากเชื้อไวรัส หรือไมโค
พลาสมามีแมลงพวกเพลี้ย จั๊กจั่น เพลี้ยกระโดด แมลงหวี่ขาว เปนตัวนําเชื้อโรคและถายทอดไป
55

ยังตนปกติใกลเคียงหรือที่ที่แมลงบินไปถึง ฉะนั้นการฉีดยาฆาแมลงเปนครั้งคราวจะชวยลดการ
ระบาดของโรคได การฉีดยารักษาตนพืชที่เปนโรค พืชบางชนิดโดยเฉพาะพวกที่มรี าคาแพง หรือ
หายาก เชน กลวยไมหรือไมยืนตนบางประเภท ถาเปนโรคจะเผาทิง้ ทันทีก็เสียดาย จึงพยายาม
หาทางรักษา เมื่อเกิดโรคระบาดแลวจะตองคัดเลือกหายาที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม ฉีดกําจัด
โรคนั้น เพื่อหยุดยั้งการแพรระบาดหรือลดความเสียหายลง แตโดยหลักปฏิบัตใิ นการปองกันและ
กําจัดโรคนัน้ จะตองยึดถือหลักที่วา ควรทําการปองกันไมใหพืชเปนโรคมากกวาการรักษา
8. การตัดแตงสวนเปนโรคหรือทําลายตนเปนโรค
เมื่อพบโรคระยะเริ่มตนเปนเพียงเล็กนอยที่กิ่งกานหรือใบ ควรตัดสวนที่แสดงอาการออก
ทิ้ง หรือขุดตนที่เปนโรคออกทําลายโดยการเผา หรือฝงลึกๆ ไมควรกองทิ้งไวในบริเวณแปลงปลูก
เพราะเชื้อสาเหตุในชิน้ สวนเปนโรคเหลานัน้ ยังไมตาย และจะแพรระบาดเขาทําลายพืชปกติตอไป
ในบางกรณีจําเปนตองขุดตนออกทิ้ง เนื่องจากเชื้อเขาทําลายจนทําใหตนทรุดโทรม รักษาใหหาย
ไดยาก
ขอควรระวัง
1. ในการตัดแตงกิ่งกาน หรือแตงทรงพุมของไมผล การตัดไมดอกเพื่อจําหนาย เชน
ดอกกลวยไม ดอกหนาวัว หรือแมกระทั่งการตัดแตง สวนที่เปนโรคทําลายทิ้ง ควรทราบวามีโรค
บางชนิดที่ตดิ ไปกับมีด หรืออุปกรณที่ใชเชนโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส สามารถถายทอดโรคไดงาย
โดยเชื้อในน้ําเลี้ยงพืชเปนโรคติดไปกับมีด หรือเครื่องมือที่ใช เมื่อนําไปตัดตนปกติ ก็จะทําใหตน
ปกติเกิดโรค และทําใหเกิดการแพรระบาด เชน โรคไวรัสของกลวยไมซึ่งมีระบาดทั่วไปทุกแหลง
เนื่องจากการขยายพันธุโดยขาดความระมัดระวัง ดังนั้นจึงตองมีการฆาเชื้อที่ตดิ มากับเครื่องมือ
ตาง ๆ เหลานีด้ วย
2. แผลที่เกิดจากการตัดแตงดังกลาว จะตองมีการทายากันราหรือฉีดยาบริเวณที่เปนโรค
ทั้งนี้เพื่อปองกันการเขาทําลายทางบาดแผล และเพื่อลดปริมาณ หรือฆาเชื้อในบริเวณที่พบโรค ซึ่ง
จะเปนทางปองกันการแพรระบาดโรคตอไป
9. การใชพันธุตานทานโรคปลูก
พืชที่จะนํามาปลูกนอกจากจะมีการคัดพันธุทางดานการเจริญเติบโตใหผลผลิตสูงและ
คุณภาพดีแลว ยังจะตองมีการคัดพันธุ หรือพยายามผสมพันธุใ หมใหไดพันธุที่มคี วามตานทาน
โรคมาปลูก ซึ่งจะชวยลดปญหาตนทุนการผลิตสูง คือไมตองเสียคาใชจายในดานการดูแลรักษา
และการใชยาฉีดปองกันโรคหรือแมลง ปจจุบนั ประเทศไทยก็มีพืชพันธุตา นทานโรคที่ใชไดผลและ
แพรหลายอยูในขณะนี้
56

เอกสารอางอิง

ปฐพีชล วายุอัคคี. 2534. โรคและแมลง. พิมพครั้งที่ 4. 143 หนา.


พิบูลย มงคลสุข. 2541. โรคพืชวิทยา. พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพมหาวิทยาลับรามคําแหง.
319 หนา.
มหาวิทยาสุโขทัยธรรมาธิราช. 2539. การจัดการศัตรูพืช. พิมพครั้งที่ 1. โรงพิมพมหาวิทยา
สุโขทัยธรรมาธิราช. 556 หนา.
สืบศักดิ์ สนธิรตั น. 2543. การจัดการศัตรูพืช. พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพรั้วเขียว. 189
หนา.
อนงค จันทรศรีกุล. 2544. โรค-ศัตรูไมประดับและวิธีการกําจัดแบบชีวภาพ. พิมพครั้งที่ 7.
บริษัทโรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด. 220 หนา.
ภาควิชาชีวปาไม คณะวนศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โรคพืช. แหลงที่มา
http://cyberlab.lh1.ku.ac.th/elearn/faculty/forest/fo27/index.htm, วันที่สืบคน 1
เมษายน 2550.
มหาวิทยาลัยขอนแกน. หลักการจัดการศัตรูพืช. แหลงที่มา:http://agserver.kku.ac.th
/e-learning/100221/E-Learning100221/detail/main/main_
PPPM.htm, วันที่สืบคน 20 เมษายน 2550.
สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เลม 7.
โรคพืช. แหลงที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK7/ chapter4/
chap4.htm วันที่สืบคน 20 เมษายน 2550.
57

วัชพืช

วัชพืช หมายถึง พืชที่ไมตองการหรือขึ้นผิดวัตถุประสงค หรือพืชที่ขึ้นในพื้นที่ที่ไม


ตองการใหขึ้น พืชชนิดที่ถอื วาเปนพืชหลักในพื้นทีน่ ั้นๆถาหากวาไปขึ้นในพื้นที่ที่ปลูกพืชอีกชนิด
หนึ่งก็ถือวาเปนวัชพืชในพื้นที่นั้น เชน การปลูกหญาคาไวเลี้ยงสัตวก็ไมถือวาเปนวัชพืช แตหากวา
หญาคานัน้ ไปขึ้นในบริเวณสวนผลไมก็จะกลายเปนวัชพืชในสวนผลไมตอไป
วัชพืชเปนพืชที่มนุษยรูจักมาพรอมๆกับการปลูกพืช และมีการขจัดวัชพืชเรื่อยมา
โดยเฉพาะทางดานการเกษตร ซึ่งวัชพืชเปนปญหาในการเพาะปลูกพืช วัชพืชเปนตัวแยงน้ํา
อาหาร แสง และเปนพืชอาศัยของโรคและแมลงทําใหผลผลิตลดลง แตถึงอยางไรก็ตามวัชพืชก็มี
ผลดีตอดานการเกษตร เนือ่ งจากมนุษยสามารถนําวัชพืชใชประโยชนไดหลายทางดวยกัน ไดแก
นํามาเปนอาหารสัตว เชน ผักตบชวาเปนอาหารของหมู หญาขนใชเลี้ยงกระตาย การนําวัชพืชมา
เพาะเห็ดฟาง การนําวัชพืชมาทําปุย ทั้งปุยพืชสด และปุย หมัก การใชวัชพืชเปนพืชคลุมดินชวยใน
การยึดเหนี่ยวและรักษาความชื้นใหกับดิน วัชพืชบางชนิดสามารถใชเปนสารสกัดชีวภาพในการ
ปองกันกําจัดศัตรูพืชไดอีกดวย

ลักษณะพิเศษของวัชพืช
วัชพืชเปนพืชที่ไมตองการแตกลับมีการเพิ่มจํานวนไดในปริมาณมากและกระจายไปยัง
พื้นที่ตางๆ เนื่องจากวัชพืชมีการปรับตัวใหมีการอยูรอดมากยิ่งขึ้น โดยที่วัชพืชมีลักษณะบางอยาง
ที่ทําใหเจริญเติบโตและแพรพันธุไดรวดเร็ว ดังนี้
1. วัชพืชสามารถติดเมล็ดไดเปนจํานวนมาก ซึ่งเปนการแพรพันธุ ไดงายและรวดเร็ว
2. วัชพืชสามารถผลิตเมล็ดไดหลายสภาวะ ไมวา ที่นนั้ พื้นที่นนั้ จะมีความอุดมสมบูรณ
มากนอยแคไหน วัชพืชก็ยังคงผลิตเมล็ดไดมาก เชน หญานกสีชมพู หญาขจรจบ หญาคา
3. วัชพืชสามารถออกดอกและผลิตเมล็ดไดเปนระยะเวลาอันยาวนาน เชน เทียนนา
4. เมล็ดวัชพืชสามารถมีชีวิตอยูไดนาน เมล็ดพืชบางชนิดสามารถมีอายุไดถึง 30 ป และ
บางชนิดมีการพักตัว ซึ่งเปนการปองกันไมใหวัชพืชงอกในสภาวะที่ไมเหมาะสม
5. วัชพืชเติบโตงายแมแตในดินทีไ่ มอุดมสมบูรณ เชน ดินเปรี้ยว ดินเค็ม และยังสามารถ
เจริญเติบโตไดดีกวาพืชชนิดอื่นที่เปนพืชปลูก
6. วัชพืชบางชนิดถึงแมจะมีปริมาณนอยก็สามารถกอความเสียหายตอพืชปลูกได เชน
หญาคา
7. วัชพืชมีลักษณะที่ไมเหมาะที่จะเปนอาหารสัตว วัชพืชบางชนิดมีกลิ่น รส บางชนิดมี
หนามจึงไมเหมาะที่จะใหสตั วเขาไปแทะเล็ม และยากตอการที่มนุษยจะเขาไปกําจัด
58

ปญหาวัชพืชที่มีตอการปลูกตนไม
1. วัชพืชเปนตัวแกงแยงน้ํา ธาตุอาหาร และแสงกับพืชปลูกซึ่งเปนปจจัยที่สําคัญทีส่ ุดใน
การเจริญเติบโตของพืช และการแขงขันจะมีมากขึ้นเมื่อปจจัยอยางใดอยางหนึ่งมีปริมาณนอย แต
ความตองการของพืชปลูกและวัชพืชมาก
2. วัชพืชแกงแยงกันในทางพื้นที่เพื่อการเจริญเติบโตกับพืชปลูก
3.วัชพืชบางชนิดมีรากหรือสวนที่ของลําตนใตดนิ ขับสารบางอยาง ซึ่งสงผลตอการเจริญ
เติบโตของพืชปลูก
4. วัชพืชเปนพืชอาศัยของศัตรูพืชบางชนิด และเปนแหลงแพรระบาดของแมลงศัตรูพืช
ทําใหยากตอการปองกันกําจัด
5.วัชพืชบางชนิดเปนพืชกาฝาก โดยที่จะดูดน้ําและธาตุอาหารจากพืชปลูกทําใหเกิดความ
เสียหาย

การจําแนกวัชพืช
วัชพืชมีอยูมากมายหลายชนิดอาจมีลักษณะคลายคลึงกัน บางลักษณะแตกตางกัน เพื่อให
งายตอการควบคุมปองกันกําจัดวัชพืชจึงควรมีการจําแนกวัชพืช สามารถแบงออกเปน 3 แบบ
ดังนี้
1. จําแนกตามหลักทางพฤกษศาสตร จําแนกออกเปน 4 ประเภท คือ
1.1 วัชพืชใบแคบ หรือวัชพืชใบเลี้ยงเดีย่ ว แบงออกเปน 2 กลุม
1.1.1 ตระกูลหญา ซึ่งจะมีจดุ เจริญอยูที่ยอดและตาขาง มีกาบใบหุมไว
ยาว มีเสนใบขนานกัน
1.1.2 ตระกูลกก หญากกชนิดตางๆ
1.1.3 สาหราย เปนวัชพืชชั้นต่าํ ที่มีเซลลเดียวหรือหลายเซลล สืบพันธุ
โดยการแบงตัวออกจากกันแลวเจริญเพิ่มขนาดขึ้น
1.1.4 เฟรน เปนวัชพืชที่มีระบบทอลําเลียงมีการสืบพันธุโดยใชสปอร
1.2 วัชพืชใบกวาง
2. จําแนกตามชีพจักร เปนการจําแนกพืชตามอายุการเจริญเติบโตทางดานลําตนจนไปถึง
สวนที่ใชในการสืบพันธุ
2.1 วัชพืชปเดียว หรือวัชพืชลมลุก เปนวัชพืชที่มีอายุการเจริญเติบโตจนกระทั่ง
ครบวงจรชีวิตภายในปเดียว หรือฤดูเดียว สวนใหญขยายพันธุดวยเมล็ด เมื่อออกดอกผลิตเมล็ดก็
จะตายหลังจากนั้นเมล็ดที่รว งหลนก็จะงอกใหมในฤดูกาลตอไป เชน ผักปอด ผักเบี้ยหิน หญา
ตีนกา
59

2.2 วัชพืชหลายป แบงไดเปนวัชพืชสองป คือ วัชพืชที่มีอายุการเจริญเติบโต


จนกระทั่งครบชีวิตภายใน 2 ป โดยปแรกจะมีการเจริญเติบโตทางลําตนและใบ ปที่สองจะเริ่มมี
การออกดอกและเมล็ด สวนวัชพืชหลายปเปนวัชพืชที่มีอายุการเจริญเติบโตมากกวา 2 ปขึ้นไป มี
ทั้งการขยายพันธุแบบอาศัยเพศและไมอาศัยเพศ เจริญงอกงามไดในสภาพที่เหมาะสม เมื่อถึง
เวลาที่เหมาะสมก็จะออกดอกและผลิตเมล็ดใหม
3. จําแนกตามลักษณะทางนิเวศวิทยา สามารถจําแนกตามสภาพนิเวศที่เหมาะสมตอการ
เจริญเติบโตของวัชพืชนั้นๆ ไดแก
3.1 วัชพืชบก หมายถึง วัชพืชที่ขึ้นอยูตามพื้นดินทั้งหมด วัชพืชเหลานี้จะมีผล
ตอการปลูกพืชเปนสวนใหญ เพราะวัชพืชเหลานี้จะขึ้นตามพื้นดินทั่วไป เชน หญาตีนนก หญาตีน
ควาย แหวหมู
3.2 วัชพืชน้ํา หมายถึง วัชพืชที่ขึ้นอยูในน้าํ ริมน้ํา หรือตามที่มนี ้ําขัง แบง
ออกเปนชนิดตางๆ ไดดังนี้
3.2.1 วัชพืชลอยน้ํา เปนวัชพืชที่ลอยอยูตามน้ํา วัชพืชพวกนี้จะมีสวน
ของลําตนทําหนาที่เปนทุน พยุงใหสวนตางๆลอยน้ําได รากไมหยั่งถึงพื้นดินใตน้ํา เชน ผักตบชวา
จอก จอกหูหนู ฯลฯ
3.2.2 วัชพืชใตนา้ํ เปนวัชพืชที่มีอยูใตนา้ํ มีทั้งพวกที่หยั่งรากยึดพื้นดิน
เปนสายทอดไปตามน้ํา เชน สาหรายหางกระรอก
3.2.3 วัชพืชโผลเหนือน้ํา เปนวัชพืชที่มากและลําตนเจริญอยูในดินใต
น้ําแตสวนของใบและดอกเจริญอยูเหนือผิวน้ํา เชน ขาเขียด ผักปอด
3.3 วัชพืชอากาศ เปนวัชพืชที่สามารถเจริญเติบโตอยูต ามตนไมอื่นหรือไปเกาะ
อยู เชน เฟรน
3.4 วัชพืชกาฝาก เปนวัชพืชที่ตองเจริญอยูกับตนไมอื่นแลวใชรากแทงเขาไปดูด
น้ําและอาหารจากตนพืชที่มันเจริญเติบโตอยู เชน กาฝาก ฝอยทอง

ตัวอยางวัชพืชที่สําคัญ
1. วัชพืชใบแคบ วัชพืชที่สําคัญที่กอใหเกิดความเสียหายตอพืชปลูกแบงออกเปน 2
ประเภท คือ
1.1 วัชพืชพวกตระกูลหญา
1.1.1 หญาคา (Impereta cylindrical (L.) P.Beauv.)
ลักษณะทั่วไป หญาคาเปนพืชที่มีอายุขามฤดู มีเหงาใหญและแข็งมาก ลําตนตั้งตรง สูง
ประมาณ 50-80 เซนติเมตร ลําตนแข็ง ยาว ใบแข็งสาก ตาขอมีขนเห็นไดชดั ตรงโคนตนกาบใบ
ที่แกจะแตกเปนฝอย สีน้ําตาลออน ดอกเปนชอเดี่ยว กานชอดอกสูงเสมอปลายใบ ดอกเล็กมีขนสี
60

ขาวฟูอยูรอบๆ หญาคานอกจากจะเปนวัชพืชแลวยังเปนที่อาศัยของตั๊กแตนกินใบพืชอีกดวยแต
หญาคาก็มีประโยชน โดยนําใบหญาคาไปใชเปนวัสดุคลุมดินเพื่อปองกันวัชพืชอื่น

1.1.2 หญาปากควาย (Dactyloctenium aegyptium (L.) P.Beauv.)


ลักษณะทั่วไป ลําตนตั้งตรง สูงประมาณ 40-50 เซนติเมตร มีไหลแตกออกจากโคนตน
ขอที่อยูติด พื้นดินจะออกรากและแตกยอดออกเปนตนใหม ขอบใบมีขน ชอดอกแตกเปนแฉก
จากจุดเดียวกัน ตั้งแต 3-5 แฉก แตละแฉกยาวประมาณ 3 เซนติเมตร ที่จุดรวมของแฉกชอดอก
นั้นเปนขน ปลายกลีบดอกแหลมโคง มีเมล็ดมาก
1.1.3 หญาตีนกา (Eleusine indica (L.) Gaertn.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนแบนออนและตั้งเปนกอ สูงประมาณ 50 เซนติเมตร เมื่อแตกยอด
ขึ้นไปสูงๆ ตนจะเอนนอนไปตามพืน้ และแตกตนใหมตามขอ ใบเรียวยาว รอยตอระหวางใบ และ
กาบใบเห็นชัดมีขนยาวคลายสําลี กานชอดอกตั้งสูงที่ปลายกานชอจะแตกเปนชอยอย 4-5 ชอ ใน
ขอยอยยังประกอบดวยชอยอยหลักๆ อีก ซึ่งในชอยอยชอหนึ่งมีดอกซอนกันประมาณ 3-5 ดอก
1.1.4 หญานกสีชมพูหรือหญาขาวนก (Echinochloa colonum (L.) Link.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนสูงถึง 50 เซนติเมตร ตนเปนกอเปนพืชปเดียว ลําตนเรียวเรียบสี
มวง ขอพองและงอเอนออก รากหยั่งดินลึก ขอบใบคมมีขนเล็กนอย ตามขอและริมใบใกลกาบใบ
ชอดอกสลับกันมีดอกยอย 3-4 แถว
1.1.5 หญาดอกขาว (Leptochloa chinensis (L.) Nees.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนเรียวเล็กขึ้นเปนกอตนสูงประมาณ 50 เซนติเมตร ลําตนสวนกลาง
มักเอนขนานไปกับพื้นดิน มีรากงอกออกมาจากขอที่แตะกับดินและสามารถแตกยอดเปนตนใหม
ไดใบขาวเรียว กาบใบมีขนประปรายตรงรอยตอระหวางกาบใบและใบมีขนชอดอกยาวซึ่งมีชอ
ดอกยอยมากมาย แตละชอดอกยอยจะมีดอกละเอียดเล็กๆ กานสัน้ ตัดกับแกนกลาง
1.1.6 หญารังนก (Chloris barbata (L.) Sw.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนสูงประมาณ 50-60 เซนติเมตร มีไหลทอดไปตามพื้นดิน โคนตน
แบน ใบยาว มีขนตรงขอบใบและรอยตอระหวางใบและกาบใบ กาบใบเรียบ กานชอดอกตัง้ สูง
ปลายกานชอดอกแตกเปนชอดอกยอย ดอกมีขนนุมออกดอกตลอดป
1.1.7 หญาขจรจบดอกใหญ (Pennisetum pedicellatum Trin)
ลักษณะทั่วไป เปนพืชปเดียวขึ้นเปนกอ ตนสูงประมาณ 60-150 เซนติเมตร ลําตนแข็ง
61

แตกแขนงตามขอ ขอลางใกลโคนตนมักจะนอนราบไปกับพื้น แตกรากหยั่งลงดินและแตกยอด


เปนตนใหม ใบเปนขนทั้งดานบนและดานลาง ชอดอกเปนยอดเปนชอเดี่ยวดอกติดอยูรอบๆกาน
ชอ ชอดอกออกแนนฟู
1.2 วัชพืชใบแคบพวกตระกูลกก
1.2.1 แหวหมู (Cyperus rotundus L.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนสูงประมาณ 10-50 เซนติเมตร มีหัวใตดนิ และไหลยาว ผิวใบเรียบ
เปนมัน เสนกลางใบดานหลังเปนสัน ดานหนาใบเปนรอง กานชอดอกยาวและเปนสามเหลี่ยม
มีกานชอดอกยอยและใบประดับเล็กรองรับชอดอก
1.2.2 กกสามเหลี่ยมแหวกระดาน (Scirpus grossus L.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนเปนสามเหลี่ยมสูงประมาณ 1-2 เมตร เมื่อถึงหนาแลง ไหล
จะเปนหัวแข็งสีดําและมีขนคลายรากปกคลุม ใบยาวเกือบถึงชอดอก ชอดอกแตกกลางตน กานชอ
ดอกเปนสามเหลี่ยม
1.2.3 แหวทรงกระเทียม (Eleocharis dulcis (B.m.f.) Henschel)
ลักษณะทั่วไป ลําตนกลม ภายในพองมีผนังบางๆ กัน้ เปนชอง ตลอดลําตนไมเห็นใบ ใบ
มีขนาดเล็กหุม โคนตน ออกดอกที่ยอด
1.2.4 กกขนาก (Cyperus difformis L.)
ลักษณะทั่วไป ตนเล็กสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร ลําตนออนใบยาวและออนชอดอก
สั้นอยูติดกันเปนกระจุก กานชอดอกยาวบางสั้นบาง
2. วัชพืชใบกวาง
2.1 ผักตบชวา (Eichhornia crassipes (Mart.) Solms.)
ลักษณะทั่วไป เปนพืชที่เจริญอยูบนผิวน้ํา ตนประกอบดวยใบเรียงเปนกระจุก ใบเดี่ยว
กานใบยาว โคนกานใบจะมีกานใบซึ่งจะเชื่อมติดตอกันโดยมีไหลชวยในการขยายพันธุ ดอก
ออกเปนชอ ผักตบชวาเปนพืชที่สามารถขยายพันธุไดรวดเร็วมาก และเปนปญหาทีม่ ากที่สุด
2.2 ไมยราบยักษ (Mimisa pigra L.)
ลักษณะทั่วไป เปนไมพุมขนาดกลางสูงประมาณ 4 เมตร มีหนามแหลมทั้งใบและลําตน
อายุการเจริญเติบโตหลายป ดอกเปนพุมทรงกลม ฝกสีน้ําตาล ไมยราบมักขึ้นตามริมน้ําและที่รก
ราง
2.3 สาบเสือ (Eupatorium odoratum L.)
ลักษณะทั่วไป เปนไมพุมสูงประมาณ 2 เมตร ใบเดี่ยว ออกตามขอและลําตนเปนคูๆ 
ขอบใบจักหยาบ ออกดอกตามยอดเปนชอใหญ ชอดอกยอยชอหนึ่งๆ มีดอกเล็กหลายดอกอยู
เปนกระจุกสีขาว ดอกหนึ่งมีเมล็ดเพียงเมล็ดเดียว
2.4 ตีนตุกแก (Tridax procumbens L.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนทอดนอนไปตามพืน้ ดินชูยอดและดอกขึ้น ลําตนเปนขน ขอรากที่ติด
62

กับดินจะงอกรากและแตกยอดใหม กานชอดอกเปนขนออกดอกตลอดทั้งป
2.5 บานไมรูโรยปา (Gomphrena celosioides Mart.)
ลักษณะทั่วไป ตนนอนราบไปกับพื้น ลําตนมีขนยาว คลายสําลี ใบเดี่ยวออกจากลําตน
ตรงกันเปนคู ปลายใบมนใบดานลางมีขนยาว ออกดอกที่ยอด ลักษณะของดอกคลายบานไมรูโรย
แตมีขนาดเล็กกวา เมล็ดสีนา้ํ ตาลออน
2.6 ผักเบี้ยหิน (Trianthema portulacatrum L.)
ลักษณะทั่วไป เปนพืชลมลุกลําตนแผไปตามดิน ลําตนมีขนละเอียด ใบเดี่ยว ปลายใบมน
ใบออกตามขอเปนคู ดอกเดี่ยวไมมีกานดอกและออกดอกตามซอกกานใบ ผลฝงอยูตามขอบกาน
ใบ เมล็ดสีดาํ

2.7 เทียนนา (Ludwigia hyssopifolia (D.Don) Exell)


ลักษณะทั่วไป เปนไมลมลุกอายุปเดียว ลําตนสูงประมาณ 30-40 เซนติเมตร ใบยาว
เรียวปลายแหลม ใบเรียบไมเปนขน ดอกเดี่ยวออกตามซอกระหวางกานใบกับลําตน
2.8 แพงพวยน้ํา (Jussiaca repens L.)
ลักษณะทั่วไป เปนไมน้ํา ตามขอแกมีนมสีขาว ชวยในการลอยน้ํา ลําตนอวบ ใบเดี่ยวออก
สลับกันปลายใบมีดอกขาว
2.9 ผักปราบ (Commelina diffusa Burm.f)
ลักษณะทั่วไป ลําตนอวบน้ําและเปนขนเห็นไดชัด ขอแกที่แตะดินจะงอกแตกกานใหม ใบ
เรียวคลายใบหญาไมมีกา น โคนใบเปนแผนหุมรอบลําตน และตามขอที่โคนใบหุมจะพองและมี
ดอกออกมาจากซอกใบ
2.10 ผักเปดน้ํา (Alternanthera philoxeroides (Mart.) Griseb.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนเรียบ ใบเดี่ยวออกจากลําตนตรงกันเปนคู ชอดอกคลายบานไมรูโรย
แตเล็กกวา
2.11 น้ํานมราชสีห
ลักษณะทั่วไป เปนพืชลมลุก ลําตนแผไปตามพืน้ ดิน ลําตนและใบเปนขนโดยเฉพาะตาม
ยอดออน มียางขาวคลายน้าํ นมใบเดี่ยว ออกตามขอตรงกันเปนคูๆ ดอกออกระหวางกานชอดอก
กับลําตน ดอกออกเปนกระจุก ผลแกจะแยกเปน 3 ซีก เมล็ดสีน้ําตาล
3. สาหราย
สาหรายไฟ (Chara zeylanica KL. ex Wild.)
ลักษณะทั่วไป ลําตนเปนเสนกลมเล็กๆ ใบเปนเสนอยูรอบลําตน
4. เฟรน
ผักแวน (Marsilia crenata C.Presl)
ลักษณะทั่วไป เปนเฟรนชนิดหนึ่งที่ขึ้นในน้ํา ใบเปน 4 แฉกกานยาว ไมมีดอก สืบพันธุ
63

โดยการใชสปอร

ปจจัยที่เกี่ยวของกับการแพรกระจายของวัชพืช
โดยทั่วไปแลวการเจริญเติบโตของวัชพืชนั้นขึ้นกับความสามารถในการปรับตัวใหเขากับ
สภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ปจจัยที่มผี ลตอการแพรกระจายของวัชพืชไดแก
1. ปจจัยที่เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศ
1.1 แสง วัชพืชตองการแสงเพื่อใชในการเจริญเติบโต การสืบพันธุ และการ
กระจายพันธุ
1.2 อุณหภูมิ มีความสัมพันธกับการงอกและการพักตัวของเมล็ด และยัง
เกี่ยวกับการแพรกระจายของวัชพืชและถาวัชพืชใดที่ทนตอสภาพอุณหภูมิไดดีก็จะชวยให
แพรกระจายพันธุไดดี

1.3 น้ํา วัชพืชบางอยางสามารถปรับตัวใหเจริญเติบโตไดดีทั้งในสภาพที่มีน้ํา


เหมาะสม หรือ มีน้ํามากเกินความตองการ หรือแมในที่ๆ แหงแลง แตบางชนิดก็ตองการน้าํ ใน
ปริมาณที่พอดี
1.4 ลม ความเร็วลมและความถี่ของกระแสลม จะมีผลตออุณหภูมิและความชื้น
2. ปจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดลอมของดิน ไดแก ปริมาณน้าํ ในดิน อุณหภูมิของดิน ชอง
อากาศ สภาพความเปนกรดดาง และระดับความอุดมสมบูรณของดิน
3. ปจจัยที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต ไดแก พืช และสัตว เปนปจจัยที่เปนตัวการที่มีผลตอ
สิ่งแวดลอมของวัชพืช

กลไกในการแพรกระจายของวัชพืช
วัชพืชมีคุณสมบัติพิเศษที่จะสรางเมล็ดไดมากและแพรกระจายออกไปในพืน้ ที่ใกลเคียง
ไดอยางรวดเร็ว อาจแพรกระจายออกไปไดมาก โดยวัชพืชแพรกระจายออกไปสูพ ื้นที่ตางๆ ได
หลายทาง ดังนี้
1. มนุษย เปนสวนทําใหวัชพืชแพรกระจายไปไดมาก อาจติดไปกับเสื้อผา ซึ่งเปนวิธีการ
แพรกระจายพันธุทําใหวัชพืชสามารถแพรกระจายไปไดทั่วโลก
2. สัตว เปนพาหะที่นาํ วัชพืชไปยังที่ตางๆ ทั้งทางตรงและทางออม เชน สัตว อาจกิน
วัชพืชชนิดหนึ่งแลวไปถายมูลยังอีกที่หนึ่ง ซึ่งเมล็ดนั้นไมถูกยอยและสามารถงอกเปนตนใหมได
3. น้ํา อาจพัดพาเมล็ด สปอร และตนวัชพืชไปยังที่ตางๆ และสามารถงอกเปนตนใหมได
โดยเฉพาะวัชพืชที่ลอยไปตามน้ํา เชน ผักตบชวา จอก จอกหูหนู ฯลฯ
64

4. ลม เปนตัวที่พาเมล็ดและสปอรที่เบาๆ หรือมีสวนที่ชวยใหปลิวไปยังที่ตางๆ เชน


สปอรของเฟรน และเมล็ดของตนธูปฤาษี
5.วัสดุอุปกรณและสิ่งอื่นๆบางครั้งเมล็ดและสปอรอาจติดไปตามวัสดุอุปกรณการ เกษตร
จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งหรือการขุดหนาดินไปขายจากที่หนึ่งไปอีกทีห่ นึ่งก็จะเปนการกระจาย
พันธุวัชพืชไปยังที่ตางๆ

การแกปญหาวัชพืช
วัชพืชกอใหเกิดปญหาทางดานการเกษตรเปนอยางมาก ดังนั้นจึงไดมีการพยายามหา
วิธีการตางๆ เพื่อมาแกปญหาเหลานั้น โดยมีจุดมุงหมายในการแกปญ  หาดังนี้
1. การปองกันวัชพืช หมายถึง วิธีการใดๆ ที่สกัดกั้นเพื่อไมใหเมล็ดหรือสวนที่ใช
ขยายพันธุของวัชพืชกระจายไปยังที่ตา งๆ ได
2. การควบคุมปริมาณวัชพืช เปนการควบคุมปริมาณวัชพืชเพื่อลดปริมาณวัชพืชใหอยูใน
ระดับทีไ่ มเปนอันตรายตอพืชปลูก
3. การกําจัดวัชพืช เปนการกําจัดวัชพืชใหหมดสิ้นไปจากพื้นที่ โดยเฉพาะพื้นที่ๆเรา
ตองการ

วิธีการแกปญ
 หาวัชพืชมีหลายวิธีดวยกัน คือ
1. วิธีกายภาพ
เปนการทําใหตนวัชพืชถูกทําลายทางกายภาพ แบงออกเปน 2 วิธี คือ
1.1 การใชแรงงานคน โดยการถอน ตัด หรือใชจอบขุด ถาก ดายหญา รวมถึง
การจุดไฟเผา ซึ่งจะทําหลังจากวัชพืชนั้นงอกขึ้นมา เหมาะสําหรับพื้นที่ปลูกขนาดเล็ก วิธนี ี้ไม
อันตรายตอพืชใกลเคียงแตไมเหมาะตอพืน้ ที่มากๆเนื่องจากตองใชแรงงาน
1.2 การใชเครื่องมือกล เปนการใชเครื่องมือกลในการกําจัดวัชพืช วิธีนี้เหมาะ
สําหรับการขาดแรงงานหรือแรงงานมีคาแรงสูงอีกทั้งสามารถกําจัดไดในพื้นทีใ่ หญ
2. วิธีเขตกรรม
การแกปญหาวัชพืชโดยวิธีเขตกรรม เปนการดัดแปลงวิธีการเขตกรรมตางๆ เชน
2.1 การเตรียมดิน การกําจัดวัสดุเหลือใช การจัดการระบบปลูกพืช เพื่อให
สภาพแวดลอมไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของวัชพืช การปองกันกําจัดวัชพืชโดยวิธีเขตกรรม
เชน การไถพรวนในขณะเตรียมดินปลูกพืช ซึ่งอาจใชเครือ่ งจักรกล
2.2 การจัดระบบการปลูกพืช ไดแก การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม
และการปลูกพืชคลุมดิน เปนการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมไมใหเหมาะสมตอการงอกของ
วัชพืช การปลูกพืชหมุนเวียนยังทําใหการใชสารกําจัดวัชพืชแตละชนิดหมุนเวียนกัน
65

2.3 การใชวัสดุคลุมดิน วัสดุใชคลุมดินอาจเปนพวก ฟางขาว หญาแหง ปุยคอก


แกลบ ใบพืช กระดาษหรือพลาสติก เปนการปองกันไมใหวัชพืชไดรับแสงสวางในการเจริญเติบโต
2.4 การคัดเลือกเมล็ดพันธุท ี่ปราศจากวัชพืช กอนนําไปปลูกตองแนใจเสียกอน
วาไมมีเมล็ดของวัชพืชปนเปอนติดมาดวย
3. วิธีการใชสารกําจัดวัชพืช
เปนการแกปญ  หาวัชพืชโดยการใชสารเคมี ที่เรียกวา สารปองกันกําจัดวัชพืช หมายถึง
สารเคมีชนิดใดๆ ก็ตามทีใ่ ชเพื่อฆาหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของพืช อาจใชในขณะที่วัชพืชงอก
มาแลว หรือยังเปนสวนของเมล็ดที่อยูบนดินหรือใตดนิ การใชสารกําจัดวัชพืชเริ่มมีบทบาทมาก
ขึ้นเนื่องจากปญหาการขาดแรงงานคน และคาแรงแพง อีกทั้งการใชสารกําจัดวัชพืชยังใหผลเร็ว
และสารถควบคุมวัชพืชไดหลายชนิด ถึงแมการใชสารกําจัดวัชพืชจะตอบสนองความตองการได
มากเพียงใด แตการใชสารกําจัดวัชพืชนัน้ จําเปนตองมีความรูอยางเพียงและใชอยางถูกวิธีจึงจะทํา
ใหเกิดผลดีไมเปนอันตรายตอผูใช พืช และสิ่งแวดลอม
ปจจัยที่เกี่ยวของกับการใชสารกําจัดวัชพืช
การใชสารกําจัดวัชพืชใหไดผล หมายถึง ประสิทธิภาพในการกําจัดวัชพืชและไมเปน
อันตรายตอผูป ลูกตองคํานึงถึงปจจัยที่เกี่ยวของตอไปนี้
- ปจจัยที่เกี่ยวกับพืช การใชสารเคมีตองคํานึงถึงพืชปลูกและวัชพืช ตองคํานึงถึงลักษณะ
เลือกทําลายและการเลือกไมทําลายของสารกําจัดวัชพืช
- ปจจัยที่เกี่ยวกับสารกําจัดวัชพืช ตองอานฉลากการใชเกี่ยวกับอัตราการใช ปริมาณน้ําที่
ใชผสม ใหถูกสัดสวน
- ปจจัยที่เกี่ยวของกับสภาพแวดลอม สารกําจัดวัชพืชประเภทที่พนทางดินจะตองมีการ
เตรียมดิน เนือ่ งจากจะใชไดผลดีตอเมื่อดินมีความชื้น แตตองระมัดระวังผงตกคางของสารกําจัด
วัชพืชในดินดวย ดังนั้น การที่จะปลูกพืชอะไรตามพืชที่เคยปลูกไวแลวจะตองระวังใหมาก สําหรับ
สารสกัดที่พนทางใบสวนมากจะเขาสูใบไดดีในขณะที่มแี สงจัด อีกทั้งฝนยังเปนอุปสรรคในการใน
การใชสารกําจัดวัชพืชทางใบโดยเฉพาะประเภทซึมเขาทางใบจะชากวาประเภทสัมผัส สารกําจัด
วัชพืชบางชนิดตองการความชื้นในอากาศและในดินสูง จึงจะซึมเขาสูใบและลําตนดี และการพน
สารกําจัดวัชพืชจะไดผลดีเมือพนเวลาลมสงบ
- ปจจัยอื่นๆ เชน การรูความชํานาญของผูใชสารกําจัดวัชพืช ที่จะฉีดสารกําจัดวัชพืชให
ทั่วทั้งแปลง และถังพนตองอยูในสภาพทีส่ มบูรณ หัวฉีดไมอดุ ตัน ไมมีรอยรั่ว
การจําแนกชนิดสารกําจัดวัชพืช สารเคมีที่มีคุณสมบัติในการปองกันกําจัดวัชพืชมีหลาย
ชนิด การจัดกลุมประเภทของสารเคมีจึงนับวามีความสําคัญมาก ซึ่งมีแนวทางการจําแนกดังนี้
1. การจําแนกตามขอบเขตของวัชพืชที่ถูกควบคุม อาศัยหลักการที่วาสารชนิดตางๆ มี
ประสิทธิภาพขอบเขตการควบคุมวัชพืชไดมากนอยเพียงใด สามารถจําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
1.1 สารกําจัดวัชพืชประเภทเลือกทําลาย คือ สารกําจัดวัชพืชที่มีคุณสมบัตใิ น
66

การเลือกทําลายวัชพืชบางชนิด โดยจะไมมีผลหรือมีผลเพียงเล็กนอยตอวัชพืชชนิดอื่นๆ หรือพืช


ปลูก ซึ่งการใชในชวงเวลาและอัตราสวนทีเ่ หมาะสมสวนใหญจะใชกําจัดวัชพืชประเภทใบแคบและ
สารกําจัดพืชตระกูลหญา
ตัวอยางสารกําจัดวัชพืชที่เปนสารกําจัดวัชพืชประเภทเลือกทําลาย ไดแก อาลาคลอร,
โพรพานิล, 2,4-D
1.2 สารกําจัดวัชพืชประเภทไมเลือกทําลาย คือ สารที่มคี ณุ สมบัติการทําลาย
วัชพืชคอนขางกวาง มีความสามารถในการทําลายวัชพืชไดเกือบทุกชนิด
2. การจําแนกตามลักษณะการใชกับวัชพืช สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
2.1 สารกําจัดวัชพืชประเภทใชทางใบ เปนสารกําจัดวัชพืชที่เขาทําลายวัชพืชทาง
สวนของใบหรือสวนอื่นๆ ทีอ่ ยูเหนือดิน แบงเปน 2 กลุม คือ
2.1.1สารกําจัดวัชพืชประเภทสัมผัส เปนสารกําจัดวัชพืชที่เขาทําลาย
ทางใบแลวไมมีการเคลื่อนยายไปยังสวนตางๆของพืช โดยเฉพาะสวนที่อยูใตดิน เชน ราก ก็จะ
ไมไดรับอันตรายจึงสามารถมีชีวิตอยูรอดและขยายพันธุตอไปได จึงไมนิยมนํามาใชในการควบคุม
วัชพืชที่มีอายุหลายป เนือ่ งจากพืชเหลานี้จะมีสวนที่อยูใตดนิ ตัวอยางสารกําจัดวัชพืชประเภท
สัมผัส ไดแก พาราควอท และไดโนแซบ
2.1.2 สารกําจัดวัชพืชประเภทเคลื่อนยายหรือดูดซึม เปนสารเคมีที่เมื่อ
เขาไปสวนใดสวนหนึ่งของวัชพืชแลว สามารถเคลื่อนยายไปยังสวนตางๆ จึงทําใหวัชพืชนั้นตาย
อยางสิ้นเชิง สามารถนํามาใชคุมวัชพืชโดยเฉพาะวัชพืชที่มีอายุหลายป แตตองคํานึงถึงปริมาณที่
ใชดวยเพราะถาหากมีอัตราที่สูงเกินไปก็อาจทําใหเซลลพืชตายได ตัวอยางสารกําจัดวัชพืชประเภท
เคลื่อนยายหรือดูดซึม ไดแก ไกลโฟเสท, ดาลาพอน, 2,4-D
3. การจําแนกตามชวงเวลาที่ใช สามารถจําแนกออกเปน 3 ใหญๆ
3.1 สารกําจัดวัชพืชประเภทใชกอนปลูกพืช เปนสารที่พน ไปแลวอาจทํา
อันตรายตอพืชปลูกได จึงจําเปนตองใชในสภาพทีไ่ มมพี ืชปลูกขึ้น ตัวอยางของสารพวกนี้ ไดแก
ไทรฟลูราลิน
3.2 สารกําจัดวัชพืชประเภทใชกอนวัชพืชงอก เปนสารทีใ่ ชกําจัดวัชพืชที่เขา
ทําลายกอนวัชพืชงอกโดยเขาทําลายสวนของราก เมล็ด ยอดออนใตดิน เพื่อไมใหงอกออกมาพน
เหนือดิน ตัวอยางของสารพวกนี้ ไดแก อาทราซีน, ไดยูรอน, อาลาคลอร และบูทาคลอร
3.3 สารกําจัดวัชพืชประเภทใชหลังวัชพืชงอก เปนสารทีใ่ ชกําจัดวัชพืชที่เขา
ทําลายวัชพืชทางสวนของใบ ลําตน หรือ ตาที่อยูเหนือดิน ตัวอยางของสารพวกนี้ ไดแก ไกล
โฟเลท, ดาลาพอน, 2,4-D ประเภทนี้เปนพวกที่ทําใหวัชพืชตายอยางถอนรากถอนโคน แต พา
ราควอท เปนประเภทสัมผัสตาย
4. การใชชีววิธี
เปนการนําศัตรูธรรมชาติของวัชพืชทําลายโดยโรค แมลง หรือ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ เพื่อลด
67

ระดับทีไ่ มทําความเสียหายใหแกผลผลิตทางเกษตร วิธีชีววิธีนี้เปนอีกวิธีหนึ่งที่ชวยลดความเปน


พิษใหแกสภาพแวดลอม และเปนวิธีทไี่ ดผลถาวรกวาการใชสารกําจัดวัชพืช ซึ่งไดผลเพียงระยะ
สั้นและชั่วคราว ศัตรูธรรมชาติที่ใชควบคุมวัชพืชโดยชีวิธีนั้นนัน้ อาจเปนแมลงเชื้อโรคพืช พืช
กาฝากหรือพืชใชแขงขัน ซึ่งจะไมกอใหเกิดผลกระทบตอสภาพแวดลอม
5. วิธกี ฎหมาย
เปนการแกปญ  หาโดยใชกฎหมายเชน ในการนําพืชเขาประเทศมีการออกกฎหมาย เชน
ในการนําพืชเขาประเทศมีการออกกฎหมายหามนําพืชที่คาดวาจะเปนวัชพืชหรือวัชพืชที่รายแรง
เขาประเทศ มีการตรวจสอบเมล็ดพันธุทอี่ าจจะมีเมล็ดพืชรายแรงปะปนเขามาดวย และยังออก
กฎหมายปองกันการนําวัชพืชรายแรงไปแพรกระจายในทองถิ่นอื่นๆ
6. การนํามาใชประโยชน
เปนการแกปญ  หาวัชพืชวีธกี ารหนึ่ง โดยนําสวนตางๆของวัชพืชมาใชประโยชน ซึ่งเปนการ
ควบคุมวัชพืชที่ประหยัดและไดรบั ผลตอบแทนกลับคืนมาดวย รวมทั้งไมทําลายสิ่งแวดลอม โดย
บางชนิดอาจจะเปนอาหารมนุษย เชน ขาเขียด ผักบุง ผักแวน นอกจากนี้ยังเปนวัสดุคลุมดิน ปุย
หมัก เยื่อกระดาษ
68

เอกสารอางอิง

มหาวิทยาสุโขทัยธรรมาธิราช. 2539. การจัดการศัตรูพืช. พิมพครั้งที่ 1. โรงพิมพมหาวิทยา


สุโขทัยธรรมาธิราช. 556 หนา.
สืบศักดิ์ สนธิรัตน. 2543. การจัดการศัตรูพืช. พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพรั้วเขียว. 189 หนา.
เอกชัย พฤกษอําไพ, สําเริง คําทอง. 2535. สนามหญา. พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพฐาน
เกษตรกรรม. 160 หนา.
มหาวิทยาลัยขอนแกน. หลักการจัดการศัตรูพืช. แหลงที่มา: http://agserver.kku.ac.th/e-
learning/100221/E-Learning100221/detail/main/main_PPPM.htm, วันที่สืบคน
20 เมษายน 2550
สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เลม 3.
วัชพืช. แหลงที่มา: http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK3/chapter8/chap8.htm,
วันที่สืบคน 26 เมษายน 2550
69

สัตวศัตรูพืช

สัตวศัตรูพืช หมายถึง สัตวที่ทําลายกอใหเกิดความเสียหายตอพืช ซึ่งสวนใหญแลวจะ


เปนสัตวในตระกูลแมลง
แหลงที่มาของสัตวศัตรูพืช
1. สัตวศตั รูพืชอาจมีการนํามาจากตางประเทศโดยนํามาเพื่อเลี้ยง เปนการคา หรืออาจมี
การติดมาเพื่อโดยความบังเอิญ เชน ติดมาตามกระเปา เสื้อผา
2. สัตวศตั รูพืชมีอยูเดิมในทองถิ่นนั้นๆ

แมลงศัตรูพืช
ถาแบงตามการเขาทําลายพืช สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ
1. แมลงกัดกิน เชน
- หนอนผีเสื้อ ตัวหนอนจะทําลายโดยการกัดกินหรือเจาะสวนตางของพืช
- แมลงปกแข็ง ไดแก ดวงชนิดตางๆ
- จิ้งหรีดและตัก๊ แตน ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยกัดกินยอดออน ใบพืช และรากของพืช
2. แมลงดูดน้าํ เลี้ยง
- เพลี้ย เชน เพลี้ยออน เพลี้ยหอย เพลี้ยแปง เพลี้ยไฟ เปนตน ตัวออนและตัวเต็มวัย
ดูดน้ําเลี้ยงจากพืชทําใหลําตนแคระแกร็น ผลผลิตมีตาํ หนิ เสื่อมคุณภาพ
- มวนชนิดตางๆ ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากพืช ทําใหพชื เกิดอาการ
เชนเดียวกับเพลี้ยเขาทําลาย
3. แมลงที่เจาะไชภายในพืช
- หนอนแมลงวัน ตัวออนเจาะชอนไชอยูในลําตน รากและกิ่งกานของตนพืช ทําให
ลําตนหัก แคระแกรน ไมเจริญเติบโต
- หนอนผีเสื้อบางชนิด เจาะไชอยูในฝก ยอดออน หรือหัวของพืช ทําใหพืชชะงักการ
เจริญเติบโต ผลผลิตไมสมบูรณ

ตัวอยางแมลงศัตรูพืช
1. เพลี้ยแปง (Mealy bugs)
ลักษณะทั่วไป เปนแมลงดูดกินน้ําเลี้ยง มีลกั ษณะลําตัวออนนุม ภายนอกถูกปกคลุมดวย
ผงสีขาวและไขมัน แมลงชนิดนี้ถา ยมูลน้าํ หวานออกมาเพื่อลอใหมดมากินน้าํ หวานและทําหนาที่
เปนพาหนะใหไขและตัวออนระบาดไปยังที่อื่นๆ อีกทั้งมูลน้ําหวานยังเปนอาหารใหแกราดํามาขึ้น
ปกคลุมอีกดวย ตัวอยางพืชที่เพลี้ยแปงเขาทําลาย ไดแก กลวยไม
70

การปองกันกําจัด ควรใชสารปองกันกําจัดแมลงชนิดนี้ฉดี พนทุกๆ 15-30 วัน ตอครั้ง


โดยใชสารเคมีตัวอยางเชน ไซกอน (Cygon), ไดอะซินอน (Diazinon), มาลาไทออน
(Malathion) ฯลฯ
2. เพลี้ยหอย (Scale insects)
ลักษณะทั่วไป เพลี้ยหอยมี 2 ประเภทคือ ชนิดแรกทีไ่ มมีเกราะแข็งหุม แตมีเปลือกบาง
คลายขี้ผึ้งหุมอยู พวกนี้จะดูดกินน้าํ เลี้ยงและถายมูลน้ําหวานไวเพื่อลอใหมดมากินน้ําหวานและทํา
หนาที่เปนพาหนะใหไขและตัวออนระบาดไปยังที่อื่นๆ อีกชนิดคือ มีเปลือกแข็งหุมจะดูดกินน้าํ
เลี้ยงแตไมมีการถายมูลน้ําหวาน บริเวณที่มีการดูดกินของเพลี้ยชนิดนี้บางทําใหเนือ้ เยื่อตรง
บริเวณที่ดูดกินเหลืองแลวแหงไป ตัวอยางพืชที่เพลี้ยหอยเขาทําลาย ไดแก กลวยไม
การปองกันกําจัด ควรใชสารปองกันกําจัดแมลงชนิดนี้ฉดี พนใหทั่วถึงและติดตอกันหลาย
ครั้ง ครั้งหนึ่งหางกันประมาณ 3-4 สัปดาห สารเคมีตัวอยางเชน ไดอะซินอน (Diazinon), มาลา
ไทออน (Malathion) ฯลฯ
3. เพลี้ยไฟ (Thrips)
ลักษณะทั่วไป เพลี้ยไฟเปนจําพวกปากดูดที่มีขนาดเล็กมาก ลําตัวยาว มีสีเหลืองหรือสี
น้ําตาลออน แมลงชนิดนี้จะดูดน้ําเลี้ยงจากสวนออนๆ เชน ตา ยอด ซงมีผลทําใหเนื้อเยื่อสวนนัน้
ซีดขาวและแหงไป หรือมีสีนา้ํ ตาล ตัวอยางพืชที่เพลี้ยไฟเขาทําลาย ไดแก กลวยไม
การปองกันกําจัด ควรใชสารปองกันกําจักแมลงฉีดพน เชน ไดอะซินอน (Diazinon),
มาลาไทออน (Malathion), พาราไทออน (Parathion), เซฟวิน (Sevin)
4. มวนแดง (Stinging bug)
ลักษณะทั่วไป แมลงจําพวกปากดูดน้าํ เลี้ยงจากใบพืช ลําตนคอนขางกลม สีแดงสด เมื่อ
เวลาดูดน้ําเลีย้ งแลวใบจะเปนจุดสีขาว เหลืองน้ําตาลและแหงตอไป ตัวอยางพืชที่มวนแดงเขา
ทําลาย ไดแก กลวยไม
การปองกันกําจัด ควรใชสารปองกันกําจัดแมลงฉีดพน เชน ไดอะซินอน (Diazinon),
มาลาไทออน (Malathion), เซฟวิน (Sevin), ดีลดริน
5. แมลงปกแข็ง (Leaf eating beetle)
ชื่อวิทยาศาสตร : Adoretus sp.
ลักษณะทั่วไป ตัวเต็มวัยมีสนี ้ําตาลแกหรือสีเทา มักออกทําลายกัดกินใบออนพืชตอน
กลางคืน กลางวันซอนตัวตามที่มืด ตัวอยางพืชที่แมลงปกแข็งเขาทําลายใบ เชน กุหลาบ
การปองกันกําจัด ใชไฟสองตอนกลางคืนแลวจับมาทําลายหรือใชสารหนูตะกั่ว พน
เคลือบใบ
71

6. ดวงงวง
ชื่อวิทยาศาสตร : Apoderus notatus Fabr.
ลักษณะทั่วไป ตัวเต็มวัยมีสนี ้ําตาลดํา มีงวงยื่นออกมาจากปาก มีหนวด 1 คู โดยตัวดวง
เจาะเขาทําลายบริเวณยอด ทําใหผลรวงหมด หรือเจาะกาบทําใหทางใบแหง หรือเขาทําลายทาง
บาดแผลหลังจากตัดแตงหนอ ตัวแกวางไขภายในกาบและเกิดเปนตัวหนอนกัดกินทําลายครบ
วงจร ตัวอยางพืชที่ดวงงวงเขาทําลายใบ เชน สนามหญา พืชตระกูลปาลม มะพราว
การปองกันกําจัด ใชสารเคมี อโซดริน 56% ฉีดพนใหทวั่ ถึง
7. เพลี้ยจั๊กจั่น
ลักษณะทั่วไป เปนแมลงที่มขี นาดเล็ก ลําตัวยาวเล็กมีสีเขียว สีเหลือง น้ําตาลปนเทา ซึ่ง
จะดูดน้าํ เลี้ยง อีกทั้งเพลี้ยจั๊กจั่นอาจนําโรคไวรัสซึ่งอาจปลอยสารพิษเขาสูตนพืชไดอกี ดวยตัวอยาง
พืชที่เพลี้ยจั๊กจั่นเขาทําลายใบ เชน สนามหญา
การปองกันกําจัด ใชสารเคมี มิพริน 50%
8. เพลี้ยไกฟา
ชื่อวิทยาศาสตร : Allocaridara malayensis
ลักษณะทั่วไป ตัวเต็มวัยของแมลงชนิดนี้วางไขเขาไปในเนื้อเยื่อพืช ทําใหเห็นเปนวงสี
เหลืองหรือน้ําตาลตามใบเปนกลุม ๆ กลุม หนึ่งมีประมาณ 8 - 14 ฟอง หลังจากนั้นไขจะฟก
ออกเปนตัวออนขนาดยาวประมาณ 3 มม. และมีปุยสีขาวติดอยูต ามลําตัว โดยเฉพาะดานทายของ
ลําตนมีปุยสีขาวคลาย ๆ กับหางไก เมื่อแมลงนี้ลอกคราบเปนตัวเต็มวัยสีน้ําตาลปนเขียว ขนาด
ยาวประมาณ 5 มม. ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยจะอาศัยอยูดานหลังใบตลอดเวลา ตัวอยางพืชที่
เพลี้ยไกฟาเขาทําลาย เชน พญาสัตบรรณ
การปองกันกําจัด ใชสารเคมี คาราเต, เดซิส, ไดคาโซล, ทามารอน, ไพริเน็กซ
9. ไรแดง (Red spider mites)
ลักษณะทั่วไป สัตว 8 ขา ขนาดเล็กมาก มีสีแดง สีเหลืองอมเขียว รูปรางกลม มัก
รวมกลุมอยูบริเวณใตใบ จะใชปากดูดกินน้ําเลี้ยง ทําใหใบมีอาการเปนจุดละเอียดสีน้ําตาล
ตัวอยางพืชทีไ่ รแดงเขาทําลาย เชน กลวยไม
การปองกันกําจัด ใชกํามะถันละลายน้าํ ฉีดพน หรือใชมาลาไทออน, เคลเทน, อาราไมล
ผง
10. หนอนบุงกินใบ (Leaf eating caterpillar)
ชื่อวิทยาศาสตร : Cricula trifenestrata
ลักษณะทั่วไป เปนตัวออนหนอนชนิดหนึ่ง ลําตัวเปนขอสีแดงสลับสีดาํ มีขนสีขาว จะกัด
กินใบพืชหมดตั้งเปนเวลารวดเร็ว ตัวอยางพืชที่หนอนบุงกินใบเขาทําลาย ไดแก กามกุงสีทอง
72

การปองกันกําจัด ควรพนใบเมื่อถูกทําลาย โดยใชสารเคมี เชน สารคารบาริล 80% ชนิด


ผง

ตัวอยางสัตวศัตรูพืชอื่นๆ
1. หอยทาก (Snail)
ลักษณะทั่วไป หอยทากเปนศัตรูพืชที่ระบาดในบริเวณที่มีน้ําทวมขัง มักจะกัดกินใบออน
ยอดออน ทําใหใบขาดเปนรู อาจสังเกตไดโดยพบรองรอยของทางน้ําเมือกที่ขับออกมาแหง
ติดตามกระถางหรือบริเวณที่มันเคลื่อนไป ตัวอยางพืชที่หอยทากเขาทําลาย ไดแก กลวยไม
การปองกันกําจัด ใชวิธีลอดวยเหยื่อพิษโดยผสมสารฆาแมลงกับอาหารลอใหมันมากิน
เหยื่อพิษ ซึ่งมีขายในทองตลาด เชน เหยื่อพิษเมทัลดีไฮด, สารสลักกิต
2. หนู (Rats and Mice)
ลักษณะทั่วไป หนูจะเขาไปกัดกิน ดอก และผล ของพืชที่ปลูกเลี้ยง ตัวอยางพืชที่หนูเขา
ทําลาย ไดแก กลวยไม
การปองกันกําจัด ใชวิธีลอดวยเหยื่อพิษ เชน วอรฟาริน (Warfarin)
3. ไสเดือนฝอย (Nematodes)
ลักษณะทั่วไป เปนสัตวไมมกี ระดูกสันหลัง อาศัยอยูในน้ําและดิน สวนใหญไสเดือนฝอย
เปนศัตรูพืชที่ไมถึงกับทําลายใหพืชตาย เวนแตจะมีเชื้อโรคชนิดอืน่ เขารวมดวย เชน เชื้อ
แบคทีเรียและเชื้อรา ซึ่งจะทําใหเกิดความเสียหายเปนอยางมากแกพืช ตัวอยางพืชที่ไสเดือนฝอย
เขาทําลาย ไดแก กลวยไม
การปองกันกําจัด ถาไสเดือนฝอยเขาทําลายที่สวนไหนก็ใหตดั ทําลายโดยการเผาทิ้ง หรือ
อาจใชสารปองกันกําจัด เชน นีมากอน (Nemagon)

การจัดการหรือการบริหารแมลงศัตรูพืช ไมไดหา มการใชสารฆาแมลง ในการปองกัน


กําจัดแมลงศัตรูพืช เพียงแตจะตองใชอยางถูกตองตามหลักการ โดยตระหนักถึงมลภาวะ และ
สิ่งมีชีวิตนอกเปาหมาย เพราะสารฆาแมลงยังมีบทบาทสําคัญในการปองกันกําจัดศัตรูพืช
หลักการที่ควรทราบกอนดําเนินการปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืชมีดังนี้
1. ความสําคัญทางเศรษฐกิจของพืชที่เพาะปลูก ความคุม ทุน คาใชจายในการปองกัน
กําจัดแมลงศัตรู ราคาของผลิตผลทีไ่ ดรบั
2. ทราบระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจของแมลงศัตรูพืช และระดับเศรษฐกิจของ
แมลงศัตรูพืช ที่พบบนตนพืชที่เพาะปลูก วามีความหนาแนนมากพอที่จะปองกันกําจัด
73

3. การผันแปรของประชากรแมลงศัตรูพืช ทราบบทบาทของปจจัยตางๆ ทั้งปจจัยที่ไมมี


ชีวิต และปจจัยที่มีชีวิต ที่มีผลตอการเปลีย่ นแปลงของประชากรแมลงศัตรูพืช ในแตละฤดูการ
เพาะปลูกพืช เพื่อคนหาสาเหตุที่ทําใหแมลงศัตรูพืชเกิดการแพรระบาดขึ้นในแตละฤดูกาลหรือ
แตละป ขณะเดียวกันก็ทราบถึงสาเหตุหรือปจจัยที่สามารถควบคุมประชากรของแมลงใน
ธรรมชาติ ไมใหแพรระบาด
4. การใชเทคนิคตางๆในการปองกันกําจัด โดยคํานึงถึงชนิดของพืช ชวงระยะเวลากอน
เก็บเกี่ยว ความรุนแรงและปริมาณของแมลงศัตรู ตลอดจนชนิดและปริมาณแมลงศัตรูธรรมชาติ
ประกอบการตัดสินใจ
วิธีการตางๆ ในการปองกันกําจัดแมลงศัตรู วิธีแบงออกเปน 2 วิธกี ารหลักดังนี้
1. การปองกันกําจัดโดยวิธีธรรมชาติ วิธีการนีไ้ ดแกการควบคุมประชาการแมลงศัตรูใน
ระบบนิเวศ ซึง่ เกี่ยวของกับ
1.1 ปจจัยที่ไมมีชีวิต ไดแก
1.1.1 ลักษณะทางภูมิอากาศ เชน อุณหภูมิ ความชื้น กระแสลม ปริมาณน้าํ และ
พายุฝน
1.1.2ลักษณะทางภูมิศาสตร สภาพความอุดมสมบูรณของดิน สภาพภูเขา เกาะ
แกง และแหลงน้ําเปนตน
1.2 ปจจัยที่มีชีวิต ไดแก
1.2.1 ตัวห้ํา ไดแก กบ คางคก จิ้งจก แมงมุมชนิดตางๆ แมลงตัวห้ําเชน ดวง
เสือ แมลงปอ แมลงชาง และดวงเตาลาย เปนตน
1.2.2 ตัวเบียน ไดแก ตอเบียนและแตนเบียน เปนตน
1.2.3 จุลินทรีย ไดแก เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ไสเดือนฝอย ที่เปนสาเหตุ
ทําใหแมลงเกิดโรค เปนตน
ซึ่งในสภาพธรรมชาตินั้นสิ่งมีชีวติ ิมีความหลากหลาย เชน พืชอาหารมีหลากหลายชนิด
แตละชนิดมีจาํ นวนจํากัด แมลงศัตรูที่มีมากชนิดแปรผันโดยตรงกับชนิดพืชอาหาร ปริมาณแมลง
ศัตรูแตละชนิดก็ถูกจํากัดดวยปริมาณพืชอาหารแตละชนิดที่มีจาํ กัด และในสภาพธรรมชาติยงั มี
แมลงตัวห้ํา และแมลงตัวเบียนที่คอยควบคุมปริมาณแมลงศัตรูแตละชนิดตลอดจน เชื้อจุลินทรีย
ที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคในแมลงคอยควบคุมประชากรแมลงศัตรู
74

ทั้งนี้เนื่องจากสภาพปาในธรรมชาติปราศจากการใชสารเคมีฆาแมลงศัตรู จึงปราศจาก
มลพิษตางๆ แมลงศัตรูพืชไมเกิดการแพรระบาด เนื่องจากความสมดุลในธรรมชาติ ซึ่ง
เกี่ยวเนื่องจากความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ
2. การปองกันกําจัดโดยวิธีประยุกต ซึ่งเปนวิธตี างๆ ในการปองกันกําจัดแมลงศัตรู
มนุษยเปนผูคดิ คน เพื่อความมีประสิทธิภาพและเหมาะสมในการปองกันกําจัดแมลงศัตรูชนิด
ตางๆ ปริมาณความหนาแนนระดับตางๆ ของแมลงศัตรู ทั้งนี้ก็สบื เนื่องมาจากความสมดุลใน
ธรรมชาติไดเสียไปเนื่องจากฝมือของมนุษยกอใหเกิดการแพรระบาดทําลายพืชผลการเกษตรของ
แมลงศัตรู วิธีการตางๆ ในการปองกันกําจัดแมลงศัตรูมีดังตอไปนี้
2.1 การปองกันกําจัดแมลงศัตรูโดยวิธีเขตกรรม
ไดแกการเปลีย่ นแปลงสภาพแวดลอมเพื่อใหไมเหมาะสมตอแมลงศัตรูพืช เชน
2.1.1 การทําลายแหลงขยายพันธุ วางไขและที่อยูอาศัยของแมลง
2.1.2 การทําความสะอาดแปลงปลูกพืช กําจัดผลิตผลที่เนาเสียและเศษพืช
อาหาร ทําลายวัชพืชและพืชอาศัย
2.1.3 กําหนดชวงระยะเวลาปลูกอยางเหมาะสมเพื่อไมใหระยะออนแอของพืช
ตรงกับระยะการทําลายของแมลง เชน ระยะออกดอกของพืชไมตรงกับระยะที่มีแมลงศัตรูพืช
แข็งแรง และมีปริมาณมาก
2.1.4 การปลูกพืชหมุนเวียน และปลูกพืชตางชนิดสลับกันทั้งนี้เพื่อกําจัดปริมาณ
พืชอาหารของแมลง
2.1.5 การปลูกพืชพันธุออนแอตอแมลงเพื่อลอใหแมลงลงทําลายและวางไขแลว
ทําการควบคุมแมลงศัตรูกอ นการปลูกพืชหลัก
2.1.6 การควบคุมชนิดและปริมาณปุย เพื่อใหพืชแข็งแรงอยูเสมอ
2.1.7 การถอนแยกและตัดแตงกิ่งเพื่อปองกันการหลบซอนของแมลงศัตรู
2.2 การใชพันธุพืชตานทานแมลงศัตรู
การใชพันธุพชื ตานทานแมลงศัตรูระดับปานกลาง แตมีคุณภาพและปริมาณผลผลิตดี
หลายพันธุปลูกสลับเปลี่ยนหมุนเวียนกัน ซึ่งการใชพนั ธุพืชตานทานสามารถใชผสมผสานกับการ
ใชแมลงศัตรูธรรมชาติ เชื้อจุลินทรีย ตลอดจนสารฆาแมลงไดดี
2.3 การปองกันกําจัดแมลงศัตรูโดยวิธีฟสิกส
เปนการปองกันกําจัดแมลงศัตรูพืชโดยใชความรอน, ความเย็น , คลื่นไฟฟา, คลื่นเสียง,
ความชื้น, ระดับน้ําและกับกักตางๆ เชนการใชกับดักไฟฟาลอแมลงศัตรูที่บนิ ไปมาติดกับดัก การ
ใชกับดักกาวเหนียว การใชรังสีเพื่อทําหมันแมลง การใชถุงพลาสติกบรรจุเมล็ดพืชแลวดูดอากาศ
ออกหมด ก็สามารถปองกันกําจัดแมลงศัตรูของผลผลิตหลังเก็บเกี่ยวได เปนตน
2.4 การปองกันกําจัดแมลงศัตรูโดยวิธีกล
75

เปนวิธีการเคลื่อนยายแมลงศัตรูออกไปจากตนพืชหรือแหลงปลูกพืชโดยการจับ หรือ ดูด


แมลง การใชพัดตบตียุง วิธีกลนี้เหมาะสําหรับใชในพืชที่เพาะปลูกขนาดเล็กหรือใชกับแมลงที่มี
ขนาดลําตัวโต สะดวกในการจับไปทําลาย
2.5 การปองกันกําจัดแมลงโดยชีววิธี
โดยการใชศัตรูธรรมชาติ ไดแก การนําแมลงตัวห้ําและแมลงตัวเบียนที่มีประสิทธิภาพใน
การควบคุมแมลงศัตรูมาเลีย้ งเพื่อเพิ่มปริมาณใหมีจาํ นวนมาก แลวปลอยเสริมลงไปในแปลงปลูก
พืชในชวงที่พบแมลงศัตรูแพรระบาดทําลายพืช การเพาะเลี้ยงเชื้อจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพ เชน
เชื้อรา แบคทีเรีย และไสเดือนฝอย ใหไดปริมาณมากแลวทําการฉีดพนลงไปบนตนพืชขณะที่พบ
แมลงศัตรูพืชแพรระบาดทําลายพืช โดยทําการฉีดพนในขณะที่มีความชื้นสูงและชวงตอนเย็นเพือ่
หลีกเลี่ยงแสงอาทิตยจากคลื่นแสง UV
2.5.1 แมลงห้ําที่สําคัญไดแก มวนเพชฒฆาต, มวนพิฆาต, แมลงชางปกใส,
แมลงหางหนีบ, ดวงเสือ, ดวงดิน, ดวงเตาลาย, แมลงปอ เปนตน
2.5.2 แมลงเบียนที่สําคัญไดแก แตนเบียน, ตอเบียน, แตนเบียน และแมลงวัน
กนขน เปนตน
2.5.3 เชื้อจุลินทรียสําคัญไดแก เชื้อแบคทีเรีย เชน Bacillus
thuringiensis เชื้อไวรัส เชน Nuclear Polyhedrosis Virus (NPV) เชื้อรา เชน Metarhizium
anisoplae และไสเดือนฝอย Steinernema carpocapsae เปนตน ซึ่งเชื้อจุลลินทรีย มีความ
เฉพาะเจาะจงตอชนิดของแมลงอาหารสูง
2.6 การปองกันกําจัดแมลงโดยใชสารเคมี
เปนวิธีที่เกษตรกรนิยมใชมากที่สุด เนื่องจากสามารถใชไดงาย สะดวก สามารถ
ควบคุมแมลงศัตรูไดหลายชนิด และรวดเร็ว แตก็มีขอเสียหลายประการ เชน เปนสารพิษอันตราย
ตอผูใช ผูบ ริโภคผลิตผลทางการเกษตร สิ่งมีชีวิตนอกเปาหมาย กอใหเกิดมลพิษในดิน ในแหลง
น้ํา กระทบตอระบบนิเวศในธรรมชาติ และกอใหแมลงศัตรูหลายชนิดดื้อตอสารเคมีฆาแมลง และ
เกิดการระบาดซ้ํา ของแมลงศัตรูหลายชนิด สงผลใหการปองกันกําจัดยากยิ่งขึ้น
ประเภทของสารฆาแมลงที่เขาสูตัวแมลง มีดังตอไปนี้
- ประเภทกินตาย แมลงกินสารเขาไปจึงจะออกฤทธิ์ เชน สารหนู
- ประเภทถูกตัวตาย โดยการสัมผัสทางผิวหนัง เชน สาร Pyrethroid, Carbaryl และ
Carbofuran เปนตน
- ประเภทรมควัน โดยการสูดดมเขาไปทางระบบหายใจ เชน methylbromide และ กาช
คารบอนไดออกไซด เปนตน
76

ปจจัยที่มีผลตอการออกฤทธิ์ของสารฆาแมลง
1. แมลง แมลงวัยออนจะกําจัดไดงา ยกวาแมลงวัยแก แมลงที่มีนิสัยหลบซอนจะกําจัด
ไดยากกวา เชน หนอนชอนใบ หนอนกอ ถาจําเปนตองใชสารเคมีประเภทดูดซึม
2. สภาพภูมิอากาศ สารประเภทเชื้อจุลินทรียจะเสื่อมฤทธิ์เร็ว เมื่ออากาศรอนจัด หรือ
แสงแดดจา แตจะมีประสิทธิภาพดีถา มีความชื้นสูงในอากาศ ดังนั้นการใชเชื้อจุลินทรียตองฉีดพน
ในชวงเย็นใหทั่วถึง
3. สภาพของพืช พืชที่มีผิวมัน หรือมีขนเปนอุปสรรคในการเกาะติดของสารฆาแมลง
ควรเติมสารจับใบพืชในเวลาฉีดพนสาร
4. เครื่องมือใชฉีดพน ความละเอียดฝอยและความสม่ําเสมอของละออง สารที่พน
ออกมาควรตรวจเช็คถังและกระบอกฉีด ไมใหมีรอยรั่วซึมกอนฉีดพน

เอกสารอางอิง

เอกชัย พฤกษอําไพ, สําเริง คําทอง. 2535. สนามหญา. พิมพครั้งที่ 1. สํานักพิมพฐาน


เกษตรกรรม. 160 หนา.
มหาวิทยาลัยขอนแกน. หลักการจัดการศัตรูพืช. แหลงที่มา:
http://agserver.kku.ac.th/e-learning/100221/E-
Learning100221/detail/main/main_PPPM.htm, วันที่สืบคน
20 เมษายน 2550.

You might also like