You are on page 1of 24

โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภททดลอง

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
เรื่อง การรับน้้าหนักของรูปทรงฐานต่างๆ

จัดท้าโดย
นางสาวศรัญญา นิลด้า 5704011732
นางสาวเบญจพร พรหมรักษา 5704019826
นางสาวพรชนก วงษ์บาท 5704021954
นายอเนก เพียรโป้ย 5704026805

ครูที่ปรึกษา
อาจารย์อุดมเกียรติ ศรีชนะ

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โครงงานคณิตศาสตร์ CMA3102


ปีการศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2560
คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค้าแหง
โครงงานคณิตศาสตร์ ประเภททดลอง
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
เรื่อง การรับน้้าหนักของรูปทรงฐานต่างๆ

จัดท้าโดย
นางสาวศรัญญา นิลด้า 5704011732
นางสาวเบญจพร พรหมรักษา 5704019826
นางสาวพรชนก วงษ์บาท 5704021954
นายอเนก เพียรโป้ย 5704026805

ครูที่ปรึกษา
อาจารย์อุดมเกียรติ ศรีชนะ

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา โครงงานคณิตศาสตร์ CMA3102


ปีการศึกษา ภาคเรียนที่ 1/2560
คณะศึกษาศาสตร์ เอกคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค้าแหง
ค้าน้า

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การรับน้้าหนักของรูปทรงฐานต่างๆเป็นโครงงานทีใ่ ช้คณิตศาสตร์ขั้น


พื้นฐานในการท้าโครงงาน เป็นการผสมผสานวิชาคณิตศาสตร์ กระบวนการคิด กับหลักการอื่นๆเข้าด้วยกันท้า
ให้เกิดสิง่ ที่แปลกใหม่ น่าสนใจ และน่าศึกษาค้นคว้า ตลอดจนส่งเสริมให้ผู้อ่านรู้จักวิเคราะห์ วางแผน น้าสิ่ง
รอบตัวมาประยุกต์เข้ากับการเรียนในวิชาคณิตสาสตร์ โครงงานนี้ เป็นโครงงานที่ทางคณะผู้จัดท้ามีความสนใจ
ที่จะศึกษาว่ารูปทรงปริซึมฐานต่างๆว่าชนิดใดที่สามารถรับน้้าหนักได้มากที่สุด และสามารถน้ารูปทรงเหล่านี้
มาสร้างสิ่งต่างๆในชีวิตประจ้าวันได้ เช่น เก้าอี้ โต๊ะ สะพาน เป็นต้น

คณะผู้จัดท้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า โครงงานนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย อีกทั้ง


ข้อมูลนี้ยังน้าไปเผยแพร่ให้ความรู้ และมีประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจและอย่างจะศึกษาในเรื่องเดียวกัน หากผิดพลาด
ประการใด ขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย

คณะผู้จัดท้า

บทคัดย่อ

โครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง การรับน้้าหนักของรูปทรงฐานต่างๆ การท้าโครงงานการสร้างปริซึม


รูปทรงต่างๆให้รับน้้าหนักมากที่สุดมากที่สุด มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบระหว่าง ปริซึมฐานทรงกลม ปริซึม
ฐานสามเหลี่ยม ปริซึมฐานสี่เหลี่ยม ปริซึมหกเหลี่ยม ปริซึมแปดเหลี่ยม ว่ารูปทรงชนิดใดรับน้้าหนักได้มากที่สุด
ผลปรากฏว่า ปริซึมฐานวงกลมหรือปริซึมทรงกระบอก ปริซึมฐานแปดเหลี่ยม ปริซึมฐานหกเหลี่ยม ปริซึมฐาน
สี่เหลี่ยม และปริซึมฐานสามเหลี่ยม รับน้้าหนักได้มากที่สุด ไปหาน้อยสุดตามล้าดับ สรุปว่ารูปทรงปริซึมที่
สามารถรับน้้าหนักได้มากที่สุดคือ ปริซึมฐานวงกลมหรือปริซึมทรงกระบอก

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานการรับน้้าหนักของรูปทรงต่างๆให้รับน้้าหนักได้มากที่สุดจัดท้าขึ้นเพื่อเป็นการศึกษาค้นคว้า
ทดลองเปรียบเทียบว่ารูปทรงปริซึมชนิดใดที่จะสามารถเป็นกล่องที่รับน้้าหนักได้มากที่สุด ในการจัดท้า
โครงงานนี้ได้รับค้าปรึกษา ให้ค้าแนะน้า และคอยช่วยเหลือ เป็นอย่างดีจากอาจารย์อุดมเกียรติ ศรีชนะ
คณะผู้จัดท้าขอขอบพระคุณอาจารย์อุดมเกียรติ ศรีชนะ ที่คอยให้ค้าปรึกษาและเป็นก้าลังใจเป็นอย่างดี

สารบัญ

เรื่อง หน้า

บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค-ง
บทที่1 บทน้า 1
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน 1
วัตถุประสงค์ 2
สมมติฐานของการทดลอง 2
ขอบเขตของการทดลอง 2
นิยามศัพท์ 2
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 3-10
บทที่3 อุปกรณ์และวิธีการทดลอง 11
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง 11
ขั้นตอนการประดิษฐ์ 11-12
ขั้นตอนการทดลอง 12
บทที่4 ผลการทดลอง 13
บทที่5 สรุปและอภิปรายผลการทดลอง 14
สรุปผลการทดลอง 14
ประโยชน์ของโครงงาน 14

ข้อเสนอแนะ 14
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16-17
1

บทที่1
บทน้า

ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน

ปัจจุบันในชีวิตประจ้าวันนั้นอาจกล่าวได้ว่า เราเกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง นับตั้งแต่เริ่ม


จากการตื่นนอนจนถึงกระทั้งการพักผ่อน ไม่ว่าจะเป็นการใช้จ่าย การเดินทาง การอุปโภคบริโภค รวมถึง
สิ่งก่อสร้างสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ ก็มีส่วนเกี่ยวข้องกับรูปทรงเรขาคณิตทั้งสิ้น
จากกิจกรรมการรับน้้าหนักของรูปทรงชนิดต่างๆ พวกเราได้เรียนรู้เกี่ยวกับรูปทรงเรขาคณิตศาสตร์
ชนิดต่างๆ รวมถึงการประดิษฐ์รูปทรงปริซึมฐานต่างๆ เช่น ปริซึมฐานสามเหลี่ยม ปริซึมฐานสี่เหลี่ยม ปริซึม
ฐานหกเหลี่ยม ปริซึมฐานแปดเหลี่ยม ปริซึมฐานทรงกลมหรือปริซึมทรงกระบอก เป็นต้น ท้าให้พวกเราเกิดข้อ
สงสัยว่าถ้าเราสร้างปริซึมฐานต่างๆที่มีขนาดเท่ากัน ปริซึมฐานชนิดใดรับน้้าหนักได้มากที่สุด เราจึงได้คิดหาวิธี
ที่จะพิสูจน์ข้อสงสัยดังกล่าว โดยใช้สูตรของปริซึมค้านวณหาพื้นที่ของฐานต่างๆที่มีขนาดเท่ากัน ช่วยในการ
ออกแบบสร้างรูปปริซึมฐานต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องแม่นย้า จากนั้นพวกเราน้าข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการ
ออกแบบประดิษฐ์ปริซึมรูปทรงต่างๆ มาทดลองการรับน้้าหนังของหนังสือ ว่าปริซึมชนิดใดรับน้้าหนักของ
หนังสือได้มากที่สุด นอกจากนี้เราสามารถน้าข้อมูลที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ้าวันได้
2
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษา การรับน้้าหนักของรูปทรงฐานต่างๆ
2. เพือ่ ศึกษารูปทรงที่รับน้้าหนักได้มากที่สุด

สมมติฐานของการทดลอง
1. ปริซึมฐานวงกลมหรือปริซึมทรงกระบอกสามารถรับน้้าหนักได้มากที่สุด

ตัวแปรต้น : รูปทรงเรขาคณิตหลายเหลี่ยม
ตัวแปรตาม : รูปทรงเรขาคณิตหลายเหลี่ยมรับน้้าหนักได้มากที่สุด
ตัวแปรควบคุม : ขนาดของรูปทรงมีขนาดเท่ากัน

ขอบเขตของการทดลอง
เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์จึงก้าหนดขอบเขตการศึกษาไว้ดังต่อไปนี้
1.ก้าหนดปริมาตรปริซึมให้มีขนาด 335 ลูกบาศก์เซนติเมตร
2.ก้าหนดกระดาษให้มีความหนากระดาษ 165 แกรม
3.น้้าหนักของหนังสือในการวางลงบนปริซึมฐานต่างๆ ต้องมีน้าหนักเท่ากันในการวางแต่ละครั้ง
4.เมื่อว่าหนังสือแล้วปริซึมเกิดการยุบตัวลงจึงหยุดวางน้้าหนัก และถือว่าน้้าหนักที่ท้าให้ปริซึมยุบตัว
เป็นน้้าหนักที่มากที่สุดที่ปริซึมฐานนั้นรับได้

นิยามศัพท์เฉพาะ
1. ปริซึม (อังกฤษ: prism) คือ ทรงหลายหน้าที่สร้างจากฐานรูปหลายเหลี่ยมที่เหมือนกันและขนาน
กันสองหน้า
2. ปริมาตรของปริซึม คือ สามารถค้านวณได้ง่ายๆ โดยการหาพื้นที่ผิวของฐานมาหนึ่งด้าน คูณด้วย
ความสูงของปริซึม
3

บทที่2
เอกสารและงานศึกษาที่เกี่ยวข้อง

ปริซึม
ความหมายของปริซึม
ปริซึม (Prism)

ปริซึม (อังกฤษ: prism) เป็นรูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็นรูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ


ฐานทั้งสองอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เรียกว่า ปริซึม

ปริมาตรของปริซึมสามารถค้านวณโดยการหาพื้นที่ผิวของฐานมาหนึ่งด้าน คูณด้วยความสูงของปริซึม
4

สูตร พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวเส้นรอบฐาน × สูง

พื้นที่ผิวของปริซึม = พืน้ ที่ผิวข้าง + 2(พื้นที่ฐาน)

ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน × สูง


ลักษณะและสมบัติของปริซึม
รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีหน้าตัด (ฐาน) ทั้งสองเป็นรูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ และฐานทั้ง
สองอยู่ในระนาบที่ขนานกัน มีหน้าข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน เรียกว่า ปริซึม ส่วนต่างๆ ของ
ปริซึมทีม่ ีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยม การเรียกชื่อปริซึม จะเรียกตามลักษณะของฐานปริซึมนั้น ๆ ดังรูป ปริซึม
ที่มีฐานเป็นรูปหลายเหลี่ยม ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ได้แก่ เส้นขอบ ( edge ) จุดยอด ( vertex ) หน้า ( face
) และฐาน ( base )

คุณสมบัติของปริซึม
– รูปทรงสามมิติที่มีหน้าตัดหัวท้ายเป็นรูปเหลี่ยม
– พื้นที่หน้าตัดหัวท้ายมีขนาดเท่ากัน
– ด้านข้างของรูปทรงสามมิติเป็นรูปสี่เหลี่ยมทุกรูป
– ชื่อเรียกของปริซึมเรียกตามรูปพื้นที่หน้าตัด เช่น ปริซึมรูปสามเหลี่ยม ปริซึมรูปสี่เหลี่ยม ปริซึมรูป
ห้าเหลี่ยม เป็นต้น
5
ปริซึมฐานต่างๆ

1.ปริซึมฐานสามเหลี่ยม

ปริซึมฐานสามเหลี่ยม หมายถึง ปริซึมที่มีฐานเป็นรูปสามเหลี่ยม


สูตรการหาปริมาตร ของ ปริซึมฐานสามเหลี่ยม = พื้นที่ฐาน × สูง
√3
หรือ = ( × ด้าน2 ) × สูง
4

2.ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า

ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า หมายถึง ปริซึมที่มีฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า


สูตรการหาปริมาตร ของ ปริซึมฐานสี่เหลี่ยม = พื้นที่ฐาน x สูง
หรือ = กว้าง x ยาว x สูง
6
3.ปริซึมฐานหกเหลี่ยม

ปริซึมฐานหกเหลี่ยม หมายถึง ปริซึมที่มีฐานเป็นรูปหกเหลี่ยม


สูตรการหาปริมาตร ของ ปริซึมฐานหกเหลี่ยม = พื้นที่ฐาน x สูง
√3
หรือ = 6( × ด้าน2 ) × สูง
4

4.ปริซึมฐานแปดเหลี่ยม

ปริซึมฐานแปดเหลี่ยม หมายถึง ปริซึมที่มีฐานเป็นรูปแปดเหลี่ยม


สูตรการหาปริมาตร ของ ปริซึมฐานแปดเหลี่ยม = พื้นที่ฐาน x สูง
√3
หรือ = 8( × ด้าน2 ) × สูง
4
7
5.ปริซึมฐานวงกลมหรือปริซึมทรงกระบอก

ทรงกระบอก คือ รูปทรงเรขาคณิต 3 มิติที่มีพื้นที่ฐานเป็นวงกลมทั้งสองด้าน


คุณสมบัติของทรงกระบอก
-รูปทรงสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลมทั้งสองด้าน
-เมื่อตัดรูปทรงสามมิตินี้ในระนาบที่ขนานกับฐาน จะได้รอยตัดเป็นรูปวงกลม
-เมื่อตัดรูปทรงสามมิตินี้ในระนาบที่ตั้งฉากกับฐาน จะได้รอยตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยม
สูตรการหาพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ฐาน = พื้นที่วงกลม = 𝜋𝑟 2

พื้นที่ผิวด้านข้าง = กว้าง × ยาว = 2π𝑟ℎ


พื้นที่ผิวรวมทรงกระบอก = 2𝜋𝑟 2 + 2𝜋𝑟ℎ

ปริมาตรทรงกระบอก = พื้นที่ฐาน × สูง = π𝑟 2 ℎ


8
พื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง + 2(พื้นที่ฐาน)

ตัวอย่างที่ 1 จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีฐานยาวด้านละ 5 เซนติเมตร ความสูง 10 เซนติเมตร


วิธีท้า จาก พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง + 2( พื้นที่ฐาน )
เนื่องจาก พื้นที่ผิวข้างของปริซึม = ความยาวรอบฐาน X ความสูง
= 20 X 10 ตารางเซนติเมตร
= 200 ตารางเซนติเมตร
ดังนั้น พื้นที่ผิวของปริซึม = พื้นที่ผิวข้าง + 2( พื้นที่ฐาน )
= 200 + 2( 5 X 5 ) ตารางเซนติเมตร
= 200 + 50 ตารางเซนติเมตร
= 250 ตารางเซนติเมตร

ตัวอย่างที่ 2 จงหาพื้นที่ผิวของปริซึมสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีฐานยาวด้านละ 4 นิ้วและสูง 10 นิ้วดังรูป

พื้นที่ผิวข้าง = (4x10) + (4x10) + (4x10) + (4x10)


= 40 + 40 + 40 + 40
= 160ตารางนิ้ว
พื้นที่ฐาน = (4x4) + (4x4)
9
= 16 + 16
= 32ตารางนิ้ว
ดังนั้นพื้นที่ผิวของปริซึม = 160 + 32
= 192 ตารางนิ้ว

ปริมาตรของปริซึม
ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากมีความกว้าง ความยาว และความสูง ซึ่งยาวเท่ากับ 1 หน่วยเท่ากันหมดเรียกว่า 1
ลูกบาศก์หน่วย
ดังนั้น จะได้ว่าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากนี้มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์หน่วย นั่นคือ
ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง x ความสูง x ความยาว หรือ
ปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน x สูง
ถ้าทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านกว้าง 2 ซ.ม. ด้านยาว 3 ซ.ม. และสูง 2 ซ.ม.
ปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน x สูง
= (2 x 3) x 2
= 12 ลูกบาศก์เซนติเมตร
แต่ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ก็คือ ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากนั่นเอง
ดังนั้น ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง
ตัวอย่าที่ 1 จงหาปริมาตรของปริซึมที่มีพื้นที่ฐานเท่ากับ 20 ตารางหน่วย และสูง 4 หน่วย
วิธีท้า จากสูตร ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง
จะได้ ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง
= 20 x 4
= 80 ลูกบาศก์หน่วย
ดังนั้น ปริมาตรของปริซึม เท่ากับ 80 ลูกบาศก์หน่วย
10

ตัวอย่าง 2 จงหาปริมาตรของปริซึมที่ก้าหนดให้ดังรูป

วิธีท้า จากสูตร ปริมาตรของปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง


และ พื้นที่ฐาน = กว้าง x ยาว
=3x4
= 12 ตารางหน่วย
จะได้ ปริมาตรของปริซึม = 12 x 8
= 96 ลูกบาศก์หน่วย
ดังนั้น ปริมาตรของปริซึม เท่ากับ 96 ลูกบาศก์หน่วย
11

บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง

วัสดุอุปกรณ์ในการทดลอง

1. วงเวียน / ไม้บรรทัด
2. มีดคัดเตอร์ / กรรไกร
3. ดินสอ / ยางลบ
4. กระดาษ 165 แกรม (กระดาษวาดรูป)
6. หนังสือ

ขั้นตอนการประดิษฐ์

1. ออกแบบฐานของปริซึม
2. ก้าหนดปริมาตรให้มีขนาด 335 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. ค้านวณหาความสูงของปริซึม สูตรค้านวณ พื้นที่ฐาน x สูง
รูป พื้นที่ฐาน สูง
สามเหลี่ยม √3 2 7.7
× 10 = 43.3
4
สี่เหลี่ยม 8.4 × 6 = 50.4 7
หกเหลี่ยม √3 5.2
( × 52 ) 6 = 64.95
4
แปดเหลี่ยม √3 5.25
( × 4.32 ) 8 = 64.05
4
วงกลม π𝑟 2 = 𝜋52 = 78.5 4.5

4. วาดแบบลงบนกระดาษ
12

5. ตัดกระดาษตามแบบที่วาดไว้
6. น้ากระดาษมาประกอบเป็นปริซึม

ขั้นการทดลอง
1. ค่อยๆวางหนังสือบนปริซึม โดยวางเล่มหนาก่อน แล้วจึงค่อยๆวางเล่มบางเพื่อจะได้ทราบน้้าหนักที่มี
ความละเอียดมากขึ้น

2. เมื่อปริซึมเกิดการยุบตัวลงจึงหยุดวางน้้าหนัก
3. บันทึกผลการทดลองและสรุปผล
13

บทที่ 4
ผลการทดลอง

ล้าดับที่ ฐานต่างๆ น้้าหนักที่สามารถรับได้สูงสุด


1
1,100 กรัม

2
3,380 กรัม

3
3,800 กรัม

4
7,350 กรัม

5
12,240 กรัม
14

บทที่ 5
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง

สรุปผลการทดลอง

การสร้างสิ่งของต่างๆควรค้านึงถึงความแข็งแรงของฐานในการรับน้้าหนักจากการทดลองและ
เปรียบเทียบการรับน้้าหนักของฐานรูปทรงปริซึมในข้างต้น พบว่า ทรงกระบอกรับน้้าหนักได้มากที่สุด ซึ่ง
ทรงกระบอกเป็นรูปทรงที่มีมุมมากและมีฐานเป็นรูปวงกลมที่มีมุมมากที่สุด จะสามารถกระจายแรงในการรับ
น้้าหนักได้มาก ผ่านมุมที่เปรียบเสมือนเสาที่ช่วยในการรับน้้าหนัก จึงท้าให้สามารถรับน้้าหนักได้มากที่สุด

ประโยชน์ของโครงงาน

1. คิดอย่างเป็นระบบ และยืดหยุ่น
2. น้าคณิตศาสตร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา
3. ท้าให้ทราบว่าปริซึมฐานชนิดใดสามารถรับน้้าหนักได้มากที่สุด
4. สามารถน้ามาประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ได้ เช่น ทางวิศวกรรมศาสตร์ สามารถน้าปริซึมฐานต่างๆไป
ประยุกต์ใช้ในการออกแบบก่อสร้าง หรือทางงานประดิษฐ์ สามารถน้าไปประยุกต์ในการสร้าง ขา
เก้าอี้ หรือท้าขาโต๊ะ ฯลฯ

ข้อเสนอแนะ

1. ควรใช้ตาชั่งที่สามารถรับน้้าหนักได้เพียงพอ
2. ควรศึกษาเกี่ยวกับฐานของรูปเรขาคณิตในแบบอื่นๆ เช่น พีระมิด
15

บรรณานุกรม

https://sites.google.com/site/mathfantastics/from
http://tathoedpong.blogspot.com/2013/09/blog-post_5741.html
http://www.thaigoodview.com/node/68844
https://www.gotoknow.org/posts/421270
http://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=106810&bcat_id=16
https://www.l3nr.org/posts/322032
http://www.rooruepao.com/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%9
7%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%9C%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B9%81%E0%B8%A5
%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%95
%E0%B8%A3-area-and-volume
16

ภาคผนวก
17

You might also like