You are on page 1of 75

ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) ตามมาตรฐาน

ASME Boiler and Pressure Vessel Code Section VIII Division 1

1
เนือ้ หา
• ภาชนะรั บแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร
• มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรั บแรงดัน
• วัสดุท่ ีนํามาใช้ กับภาชนะรั บแรงดัน
• หลักการออกแบบภาชนะรั บแรงดัน
• การออกแบบส่ วนประกอบหลักของภาชนะรั บแรงดัน
• การจัดการเกี่ยวกับแบบ (drawing)
• การเชื่อมและมาตรฐานการเชื่อม (ASME Section IX)
• การขึน้ รู ปตัวถังและหัวถัง
• การทํา Post weld heat treatment
• การตรวจสอบวัสดุ
• การตรวจสอบขนาด
• การทดสอบแบบไม่ ทาํ ลาย (NDE)
• Nameplate 2
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) ซึ่งได้บญ ั ญัตินิยามศัพท์ตาม


กฎกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งมีลกั ษณะดังนี้
• ภาชนะบรรจุที่มีความกดดันต่างจากบรรยากาศ
• ภาชนะปิดที่ มีความกดดันภายในภาชนะและภายนอกภาชนะ
แตกต่ า งกัน มากกว่ า 1.5 เท่ า ของความดั น บรรยากาศที่
ระดับ นํ้ า ทะเล และมี ข นาดเส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลางมากกว่ า 103
มิลลิเมตร
• ถังปฏิกิริยา (reactor)

3
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

ประวัติภาชนะรับแรงดัน 4
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

ในวงการอุ ต สาหกรรมภาชนะรั บ แรงดั น (Pressure


Vessels) ถือว่าเป็ นอุปกรณ์ ที่มีความสําคัญในกระบวนการผลิต
และติดตัง้ อยู่ในโรงงานอุตสาหกรรมเกือบทุกประเภท ภาชนะรับ
แรงดันที่ มีใช้ในโรงงานทัวไป
่ จะประกอบด้วย ถังนํ้ายาเคมี, ถังลม
อัด, Steam Header, Retort, Sterilizer, Condenser, Economizer,
Heat Exchanger และอื่นๆอีกหลายชนิด

5
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร
ลักษณะการนําไปใช้งาน
1) Industrial compressed air receivers
2) Domestic hot water storage tanks
3) Diving cylinders
4) Recompression chambers
5) Distillation towers (หอกลัน)่
6) Autoclaves
7) Oil refineries and petrochemical plants
8) Nuclear reactor vessels
9) Pneumatic And Hydraulic Reservoirs (ภาชนะเก็บ)
10) Storage vessels for liquified gases such
as ammonia, chlorine, propane, butane, and LPG.
6
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

7
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

8
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

9
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

ภาชนะรับแรงดันในระบบหม้อไอนํ้า

10
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

ภาชนะรับแรงดันในโรงกลันนํ
่ ้ามัน
11
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

Piping and Instrument Diagram (P&ID) 12


ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร
ผู้ที่ ไม่เ คยทํางานหรื อ ไม่เ คยมี ประสบการณ์ เ กี่ ยวข้ องกับ
ภาชนะรับ แรงดัน มา ก่ อ นมัก จะคิ ด ว่ า ภาชนะรับ แรงดัน ก็ค งไม่
แตกต่ า งจากเครื่ อ งจั ก รหรื อ อุ ป กรณ์ ชนิ ดอื่ น ๆ จึ ง ไม่ ไ ด้ ใ ห้
ความสําคัญของมาตรฐานการออกแบบและมาตรฐานการผลิต ซึ่ง
ในความเป็ นจริงภาชนะรับแรงดันนับว่าเป็ นอุปกรณ์ ที่แตกต่างจาก
อุปกรณ์ หรือเครื่องจักรอื่นๆเป็ นอย่างมากเนื่ องจากเป็ นอุปกรณ์ ที่
มีพลังงานภายใน (Stored Energy) สูงและมีโอกาสเกิดการระเบิด
หรือเกิดอันตรายกับบุคคลและทรัพย์สินได้มากกว่าเครื่องจักรที่ไม่
มีความดัน

13
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

อุปกรณ์ที่มีพลังงานภายใน (Stored Energy)

14
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

15
แนวโน้ มอุบติเหตุเกี่ยวกับการระเบิดของหม้อไอนํ้า

5000 psi

1600 psi

PRE
SSU
400 psi RE L
650 psi EVE
L

500 psi

16
ภาชนะรับแรงดัน (Pressure Vessel) คืออะไร

ส่วนประกอบหลักของภาชนะ
รับแรงดัน
1. Cylindrical or Spherical
Shell
2. Formed Heads
3. Blind Flanges, Cover
Plates, Flanges
4. Openings And Nozzles
5. Supports
17
มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรับแรงดัน

ในประเทศไทยมีการออกกฎหมายมาบังคับใช้ เกี่ยวกับการ
นํ าภาชนะรับแรงดันไปใช้ งานแต่ ยงั ไม่ได้มีการกําหนดมาตรฐาน
บัง คับ ใช้ ในการออกแบบภาชนะรับ แรงดัน อี กทัง้ ยัง ยอมรับ การ
ออกแบบภาชนะรับแรงดันตามมาตรฐานนานาชาติหรือมาตรฐาน
ที่ หน่ วยงานของรัฐรับรอง ซึ่ งมาตรฐาน ASME Boiler and
Pressure Vessel Code เป็ นมาตรฐานที่หน่ วยงานของรัฐรับรองได้
ให้การรับรองและยังเป็ นมาตรฐานที่ หน่ วยงานเอกชนส่วนใหญ่ใน
ประเทศนิยมนํามาใช้กนั มากที่สดุ

18
มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรับแรงดัน

19
มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรับแรงดัน

20
มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรับแรงดัน
ASME Boiler & Pressure Vessel Code Section:
I Power Boilers
II Material Specifications
III Nuclear Components
IV Heating Boilers
V Nondestructive Examination
VI Recommended Rules for Care and Operation of
Heating Boilers
VII Recommended Guidelines for the Care of Power
Boilers
21
มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรับแรงดัน
ASME Boiler & Pressure Vessel Code Section:
VIII Pressure Vessels
Division 1
Division 2- Alternative Rules
Division 3- High Pressure Vessels
IX Welding and Brazing Qualifications
X Fiber-Reinforced Plastic Pressure Vessels
XI Rules for In-service Inspection of Nuclear Power
Plant Components
XII Construction and Continued Service of Transport
Tanks
22
มาตรฐานเกี่ยวกับภาชนะรับแรงดัน
ASME Boiler & Pressure Vessel Code Section VIII Division 1:
CONTENTS
■ Subsection A - General Requirements (Part UG applies to all
materials and methods of construction)

■ Subsection B - Requirements Pertaining to Methods of Fabrication


 Part UW - Requirements for Vessels Fabricated by Welding
 Part UF - Requirements for Vessels Fabricated by Forging
 Part UB - Requirements for Vessels Fabricated by Brazing

■ Subsection C - Requirements Pertaining to Classes of Materials


and Part UHX
■ Mandatory Appendices
■ Non-mandatory Appendices
23
SME Section VIII Division 1

Subsection A General Requirements


Part UG: General Requirements for All Methods of
Construction and All Materials
Materials UG-4 to UG-15
Design UG-16 to UG-55
Fabrication UG-75 to UG-85
Inspection and Tests UG-90 to UG-103
Marking and Reports UG-115 to UG-120
Overpressure Protection UG-125 to UG-140 24
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน
ASME Boiler & Pressure Vessel Code Section II:

25
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน
ASME Boiler & Pressure Vessel Code Section II:
Part A - Ferrous Material Specifications
Part B - Nonferrous Material Specifications
Part C - Specifications for Welding Rods, Electrodes, and Filler
Metals
Part D - Properties (Customary)
Part D - Properties (Metric)

26
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน

27
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน

Mechanical Properties (คุณสมบัติทางกล)


1. Tensile Stress
2. Yield Stress
3. Elongation
4. อื่นๆ ตามที่กาํ หนดเพิ่มเติมเช่น
• ค่า Impact
• Hardness
• Dimensional
28
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน

การทดสอบทางกล

29
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน

 ASTM = American Society for Testing and Materials


 ASME = American Society of Mechanical Engineers

30
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน
ASME SA-516 Mechanical Properties

31
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน
ASME SA-516 Chemical Composition

32
ASME B36.10

33
ASME B36.10

34
ASME B16.5

35
ASME B16.5

36
ASME B16.9

37
ASME B16.9

38
ASME B16.9

39
ASME B16.11

40
ASME B16.11

41
ASME B16.11

42
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน

ASME/AWS

43
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน
มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
Long welding neck flange ( ของ FVC)

44
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน

มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
Long welding neck flange ( ของ FVC)

45
วัสดุที่นํามาใช้ทาํ ภาชนะรับแรงดัน
มาตรฐานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
Weldolet, Sockolet, etc.

46
การรับและทบทวนความต้องการจากผูส้ งซื
ั ่ ้อ

เอกสารที่รบั จากผูส้ งซื


ั ่ ้อและต้องทบทวน
1. แบบร่างความต้องการ (Conceptual design)
2. ข้อมูลสําหรับการออกแบบ (Data Sheet)
3. ข้อกําหนดโครงการ (Project Specification)
4. แบบ P&I Diagram
5. เอกสารประกอบอื่นๆ เช่นภาพถ่าย หรือแบบงาน
เดิม เป็ นต้น

47
การรับและทบทวนความต้องการจากผูส้ งซื
ั ่ ้อ

48
การรับและทบทวนความต้องการจากผูส้ งซื
ั ่ ้อ

49
การรับและทบทวนความต้องการจากผูส้ งซื
ั ่ ้อ

50
การรับและทบทวนความต้องการจากผูส้ งซื
ั ่ ้อ

51
การรับและทบทวนความต้องการจากผูส้ งซื
ั ่ ้อ

52
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

ขัน้ ตอนการออกแบบภาชนะรับแรงดัน
1. กําหนดข้อมูลการออกแบบ (Design Data)
2. ทําการคํานวณ (Design Calculation) กรณี ที่ใช้โปรแกรม
สําเร็จรูป (Software) ในการคํานวณต้องทําการทวนสอบ
(Verification) โปรแกรมสําเร็จรูปนัน้ ด้วย
3. จัดทําแบบ (Drawing)
• Engineering Drawing
• Detail Drawing
• Shop Drawing
• Cutting Plan 53
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

54
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

55
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

56
ASME Section VIII Division 1

57
ASME Section VIII Division 1

Subsection A General Requirements


Part UG: General Requirements for All Methods of
Construction and All Materials
Materials UG-4 to UG-15
Design UG-16 to UG-55
Fabrication UG-75 to UG-85
Inspection and Tests UG-90 to UG-103
Marking and Reports UG-115 to UG-120
Overpressure Protection UG-125 to UG-140 58
ASME Section VIII Division 1

Design

59
ASME Section VIII Division 1

Design

60
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

61
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

62
การออกแบบภาชนะรับแรงดัน

63
ASME Section II Part D

64
ASME Section II Part D

65
ASME Section VIII Division 1 Part UW
การหาค่า Joint Efficiency

66
การออกแบบโดยการสร้างโปรแกรมคํานวณเอง

67
การออกแบบโดยการสร้างโปรแกรมสําเร็จรูป

68
การออกแบบโดยการสร้างโปรแกรมสําเร็จรูป

69
การออกแบบส่วนประกอบหลักของภาชนะรับแรงดัน

70
การออกแบบ Ellipsoidal Head

71
การออกแบบ Ellipsoidal Head

72
การออกแบบ Ellipsoidal Head

73
การออกแบบ Ellipsoidal Head

74
การออกแบบ Spherically Dished (Torispherical)

75

You might also like