You are on page 1of 6

ประเพณีตานขันข้าว

ประเพณีแห่งความกตัญญูตามวิถีล้านนา

"ยะถา สัพพีติโย...อายุ วัณโณ สุขงั พลัง" เสียงพระสงฆ์ กล่าวให้ พรศรัทธา ญาติโยมที่ต่างพากันหิ ้วปิ่ นโตเถา

ใหญ่ พร้ อมจูงลูกหลานไปทาบุญวันนี ้ ด้ วยจิตใจที่เบิกบานในเทศกาลวันออกพรรษา ณ วัดในหมู่บ้าน พร้ อมตานขันข้ าว


แก่บรรพบุรุษหรื อคนที่รักผู้จากไปอย่างไม่มีวนั กลับ บ้ างก็มีจุดมุง่ หมายเพื่อให้ ต นเองมีความสุขสบายหลังจากจบชีวิตใน
โลกนี ้ ไม่อดอยากเพราะมีของตุนไว้ กินในโลกหน้ าจากอาหารที่นาไปตานขันข้ าวในวันนี ้ประเพณีตานขันข้ าว เป็ นประเพณี
การทาบุญที่ชาวบ้ านล้ านนายึดถือปฏิบตั ิกันมาเป็ นเวลาช้ านาน โดยการนาอาหารคาวหวานไปถวายพระ เพื่ออุทิศส่วน
กุศลไปให้ ผ้ วู ายชนม์ เป็ นการกระทาที่แสดงถึงความกตัญญูของผู้ที่ยงั อยู่ มักนิยมทาในวันเทศกาลสาคัญ เช่น สงกรานต์
เข้ าพรรษา ออกพรรษา วันสิบสองเพ็ญ วันเดือนยี่เป็ ง เป็ นต้ น

นอกจากการทาบุญตานขันข้ าวแก่ผ้ ลู ว่ งลับตามเทศกาลสาคัญ


ดังกล่าวแล้ ว ตามความเชื่อของชาวล้ านนายังนิยมตานขันข้ าวอีกลักษณะ
หนึง่ ได้ แก่ หลังจากมีผ้ เู สียชีวิต ไม่วา่ จะเป็ นพ่อแม่ญาติพี่น้อง ก็จะเตรี ยม
ขันข้ าว (อาหารคาว หวาน) นาไปถวายแด่พระสงฆ์ในวัดทังตอนเช้
้ าและ
ตอนกลางวัน พระสงฆ์จะกล่าวอุทิศส่วนกุศลที่ญาติทาให้ แก่ผ้ ตู ายพร้ อม
กับหยาดน ้า (กรวดนา้ )ความเชื่ อเรื่ องการตานขันข้ าวอุทิศแก่ผ้ ูตายนัน้
ได้ รับอิทธิ พลมาจากเรื่ องราวในคัมภีร์ทางพุทธศาสนา เช่น ในเรื่ องพระ
มาลัย ได้ ก ล่าวถึง พระมาลัย เถระไปพบกับ พระยายมราชในนรก พระ
ยายมราชสัง่ มาบอกแก่ประชาชนในชมพูทวีปขออุทิศกุศลให้ ญาติพี่น้อง
ที่มาทุกข์ทรมานในนรกภูมินอกจากนี ้ ในเรื่ องอมตปั ญหาหรื อพราหมณ์
ปั ญ หา ซึ่งเป็ นคัมภี ร์ที่ปราชญ์ ล้านนาแต่งไว้ ได้ กล่าวถึง พราหมณ์ สอง
สามีภรรยาในเมืองสาวัตถี เป็ นผู้มีฐานะร่ ารวย มีลกู ชายอันเป็ นที่รักอยู่คนเดียว ได้ ดูแลเอาใจใส่เลี ้ยงดูลกู ชายอย่างดี
ต่อมาลูกชายได้ ถึงแก่กรรมด้ วยโรคระบาด พราหมณ์ ทงสองจึ
ั้ งมีความโศกเศร้ าเสี ยใจเป็ นอย่างยิ่ง เมื่อฝั งลูกชายที่ป่าช้ า
แล้ วก็ให้ คนใช้ เอาข้ าวปลาอาหารไปส่งให้ ลกู ชายที่ป่าช้ าทุกวันเป็ นเวลานานถึง 12 ปี วันหนึง่ เมื่อคนใช้ จะนาอาหารไปให้
ลูกชายของพราหมณ์ที่ป่าช้ าเช่นเคย แต่ระหว่างทางเกิดฝนตกหนักน ้าท่วมไม่สามารถนาอาหารไปให้ ลกู ชายพราหมณ์ได้
ขณะนันเอง
้ มีพระภิกษุเดินบิณฑบาตอยู่ ชายผู้นนจึ
ั ้ งคิดว่าจะนาอาหารเหล่านี ้ข้ ามน ้าไปส่งที่ป่าช้ าไม่ได้ ควรเอาใส่บาตร
ถวายพระคงจะดีกว่าทิ ้ง จึงนาอาหารใส่บาตรพร้ อมทังอุ
้ ทิศส่วนบุญกุศลไปให้ ลกู ชายของพราหมณ์ ด้ วยอานิสงส์ในการใส่
บาตรและอุทิศส่วนบุญ กุศลของคนใช้ ทาให้ ลู กชายของพราหมณ์ ที่ถึงแก่กรรมไปแล้ วนัน้ ได้ รับพลังแห่งบุญ กุศล ตก
ตอนกลางคืนจึงได้ สาแดงตนแก่พราหมณ์ผ้ พู อ่ ต่อว่าพ่อที่ไม่รักตนเพราะตังแต่
้ ตายไป 12 ปี เพิ่งได้ กินอาหารอร่ อยในวันนี ้
เอง ว่าแล้ วลูกชายก็หายวับไปกับตา พราหมณ์จึงคิดว่าตลอดเวลา 12 ปี อาหารที่ตนไปส่งให้ ลกู ชายนันคนใช้
้ คงแอบกิน
ก่อน ลูกชายจึงไม่ได้ กิน คนใช้ จึงเล่าความจริ งให้ ฟัง เมื่อรู้ ความจริ ง พราหมณ์จึงไปเข้ าเฝ้ าพระพุทธเจ้ าเพื่อกราบทูลถาม
ปั ญหา พระพุทธเจ้ าทรงเทศนาว่า พระสงฆ์มีศีล ทายกมีศีลและตังใจท
้ าความดีด้วยการทาทาน รักษาศีลและภาวนา ย่อม
เกิดผลดีแก่ผ้ ทู ี่ตายไปแล้ วพราหมณ์เกิดความเลือ่ มใสในพระพุทธเจ้ า จึงได้ ปฏิญาณตนเป็ นอุบาสกในพุทธศาสนาและได้
บรรลุมรรคผลเป็ นพระโสดาบันในกาลต่อมาจากความเชื่อในคัมภีร์ดงั กล่าว จึงก่อเกิดค่านิยมในการตานขันข้ าวของคน
ล้ านนามาจวบจนถึงปั จจุบนั

การตานขันข้ าวยังใช้ เพื่อการแทนคุณผู้เฒ่าผู้แก่ที่


นับถือ ชาวบ้ านเรี ยกว่า ตานขันข้ าวฮื ้อ (ให้ ) คนเฒ่าคนแก่
มี วิธี ก ารอย่างเดี ยวกับ การถวายพระ กล่าวคื อ ผู้ให้ ห รื อ
ลูกหลานนาอาหารไปประเคนให้ ผ้ ูรับ หรื อปู่ ย่า ตา ยาย
จากนันผู
้ ้ เฒ่าผู้แก่ก็ให้ พร ต่างจากการถวายพระสงฆ์คือ ไม่
อุทิศแก่ผ้ ลู ่วงลับนอกจากนี ้ ชาวล้ านนายังมีความเชื่อ นับ
ถื อ เทพยดาที่ ค อยปกปั กรั ก ษาตนและครอบครั ว จึ ง มี
ประเพณีการตานขันข้ าวแก่เทพยดาทังหลายด้
้ วย เช่น ขอ
พรจากพระแม่ธรณีให้ ค้ มุ ครองเวลาเดินทาง ให้ ตนประสบ
ความสาเร็ จในสิ่งที่หวัง อาจเป็ นการสอบเรี ยนต่อ การทางานหรื อขอให้ พระแม่โพสพคุ้มครองพืชผลในเรื อกสวนไร่ นาให้
เจริ ญ งอกงาม ปราศจากภัยรบกวน เมื่อถึงเทศกาลสาคัญ โดยเฉพาะปี๋ ใหม่เมือง (สงกรานต์ ) ก็ จะจัดสารั บไปถวาย
พระสงฆ์เพื่ออุทิศไปยังสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนนับถือ บางครัง้ ชาวบ้ านยังนิยมนาขันตานข้ าวไปวางไว้ ยงั สถานที่อยู่ของพระแม่
ธรณี โดยบางตาราก็กล่าวเป็ นคาถา(การทักแม่ธรณี) เช่น ” เอ่อ แม่ธรณี เจ้ ากูอยู่ ฮู้หรื อว่ายัง สักกะระตัง๋ โรกะวิทู เจ้ ายัง
แลผ่อกา เอ่อ

การจัดเตรี ยมอาหารสาหรับการตานขันข้ าวในเทศกาลต่างๆ เป็ นสิ่งที่ชาวบ้ านทุกคนเตรี ยมพร้ อมและเต็มใจ


อย่างยิ่ง โดยชาวบ้ านจะหยุดงานภารกิจสาคัญต่างๆ ของตนเอง ไม่วา่ จะเป็ นงานในเรื อกสวน
ไร่นา มีการจัดเตรี ยมอาหารเพื่อไปทาบุญในวันรุ่งขึ ้น เรี ยกว่า วันดา (วันเตรี ยมงาน
ก่อนจะถึงวันจริ ง 1 วัน) ผู้ชายก็จะเป็ นผู้ช่วย เช่น ตัดใบตอง ปอกมะพร้ าว ขูด
มะพร้ าว ผู้ห ญิ งจะเป็ นผู้ท าอาหารคาว หวาน เด็ก ผู้ชายที่ อยากจะลองขูด
มะพร้ าวก็ได้ ลองทาบ้ างก็วิ่งเล่น และรอกินขนมอร่อย ขนมที่นิยมทากันใน
เทศกาลต่างๆ เช่น ขนมจอก ขนมเทียนส่วนอาหารคาวนิยมทาแกง
ฮังเล ห่อนึง่ ไก่ ห่อนึง่ ขาหมู เป็ นต้ น หรื ออาจเป็ นอาหารโปรดของผู้ที่จะอุทิศไปให้
ชาวบ้ านก็จะเลือกสรรอาหารที่ดีที่สดุ เท่าที่มีเพื่อการทาบุญ หลังจากทาอาหาร
เสร็ จแล้ วก็ จะแบ่งส่วนหนึ่งไว้ สาหรับนาไปตานขันข้ าว ส่วนที่เหลือก็กินกันใน
ครอบครัวและแบ่งปั นญาติมิตร บ้ านใกล้ เรื อนเคียง ทุกบ้ านก็จะทาอย่างนี ้จึงทา
ให้ ได้ ลิ ้มรสอาหารหลากฝี มือทัง้ จากของตนเอง
และผู้อื่น

เสียงไก่ขนั แสงสีทองเริ่ มปรากฏให้ เห็นตรงขอบฟ้ าทิศตะวันออก ที่ถนนใน


หมู่บ้ าน ชาวบ้ านต่างทยอยพาลูก จูงหลานเดิ น สู่เป้ าหมายเดี ยวกัน เสีย งพูด คุย
หัวเราะไปตลอดทางจนถึงที่วัด เมื่อไปถึงวัด ทางวัดได้ จัดสถานที่สาหรับให้ ศรัทธา
ชาวบ้ านที่นาอาหารมาถวาย ซึ่งก็จะเป็ นอาหารที่เตรี ยมมาอุ่นๆ ในปิ่ นโต พร้ อมทังสวย

ดอกไม้ ที่ใส่ดอกไม้ ธูปเทียน ขวดน ้าหยาด (สาหรับกรวดน ้า) กระดาษแผ่นเล็กที่เขียนชื่อผู้ที่จะอุทิศ/ตานขันข้ าวไปให้ เมื่อ
ศรัทธาชาวบ้ านมาพร้ อมกันพอสมควรแล้ ว พระสงฆ์ก็จะกล่าวนามาทาบุญและให้ พร ดังนี ้

1. แสดงความชื่นชมที่ชาวบ้ านช่วยกันรักษาประเพณีที่ดีงามไว้

2. พระสงฆ์อ่านรายชื่อผู้ลว่ งลับที่ชาวบ้ านเขียนมาให้ ในแผ่นกระดาษ หากใครที่ไม่เขียนมา พระสงฆ์ก็จะกล่าว

อุทิศไปให้ บรรพบุรุษ ปู่ ย่า ตา ยาย เจ้ ากรรมนายเวร เทวบุตร เทวดา พระแม่ธรณี เจ้ าที่เจ้ าทาง สรรพสัตว์ตา่ งๆ
3. กล่าวให้ มารับของตาน หากมารับไม่ได้ ให้ ผ้ ใู ดผู้หนึง่ เป็ นผู้นาไปให้

4. อวยพรให้ แก่ผ้ ม
ู าทาบุญ
5. กล่าวเป็ นภาษาบาลี

"สาธุ " ชาวบ้ า นส่ง เสีย งพร้ อมกันหลัง พระให้ พรจบ จากนัน้ จึ ง รั บ ปิ่ นโตน าอาหารไปเทใส่ถ้ ว ย เก็ บไว้ ในตู้ใ ห้

พระสงฆ์ได้ ฉนั ต่อไป เป็ นอันเสร็ จพิธีตานขันข้ าวการตานขันข้ าว นอกจากเป็ นการทาบุญที่แสดงถึงความกตัญญูกตเวทีต่อ


บรรพบุรุษแล้ ว กิจกรรมการประกอบอาหาร การไปทาบุญร่ วมกันของคนในครอบครัวเป็ นการเพิ่มความรัก ความอบอุ่น
และกระชับความสัมพันธ์ ในครอบครัว โดยเฉพาะสมาชิกตัวน้ อยในครอบครัวที่ได้ เรี ยนรู้ การให้ เพื่อปลูกฝั งคุณธรรมและ
ความกตัญญูแก่เด็กโดยไม่จาเป็ นต้ องสอนด้ วยคาพูดที่เด็กมักไม่ค่อยรับฟั งประเพณีการตานขันข้ าวจะยังอยู่ควู่ ิถีชีวิตคน
ล้ านนาสืบไป ตราบที่ในหัวใจของผู้คนยังรู้จกั รักและแบ่งปั นสิง่ ดีตอ่ ผู้มีคณ

ตัวอย่าง คาให้พรของพระสงฆ์ที่อุทิศไปหาบรรพบุรุษ(ภาษาคาเมือง)
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง
เอวะเมวะ อิโต ทินนังเปตานัง อุปะกัปปะติ
อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหังขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโท ปัณณะระโส ยะถามะณิ โชติระโส ยะถา ฯ
เอวัง โหนตุ ดีละ อัชชะในวันนี้ก็เป็นวันดี สะหรี๋สุภะมังคะละอันผาเสริฐ ล้้าเลิศยิ่งกว่าวันและยามตัง
หลาย บัดนี้หมายมีมูลละศรัทธา นาย/นาง...................................พร้อมด้วยครอบครัว ก็ได้ขวยขวายตกแต่ง
แป๋งพร้อมน้อมน้ามายังวัตถุไตยตาน โภชนะอาหารหลากหลาย เพื่อมาถวายเป๋นตาน อุทิศส่วนบุญกุศลไปหา
ยังผู้ที่จุติต๋ายไปสู่ปรโลกปายหน้า อันมีนามกอนว่า...(ชื่อคนต๋าย)..บัดนี้ต๋นตัวแห่งอาตะมา ก็มีธรรมะเมตตา ฮับ
เอาไว้แล้ว หากแม้นว่าในขณะต๋าย ..(ชื่อตนต๋าย)..ในจิตวางอารมณ์อาลัยหา ภรรยา (สามี) ก๊าลูกเต้า หลาน
เหลน ทรัพย์สมบัติ ไร่นาก๋ามะเขต ตี้อยู่ตี้กิ๋น หอเฮือนบ้านจ่องก็ดี จิตเจตนาไปบ่จ่าง ได้ไปตกอยู่ระหว่าง
ประตูจะตุระอบายตังสี่ ต๋ายเป็นผีเป็นเปรต ตุ๊กข์เวทนาล้าบาก ฮ้อนบ่ได้อาบ หยากบ่ได้กิน ดั่งอั้นก็ดี ก็ขอ
ส่วนบุญตังหลายเหล่านี้ไปจุจอดรอดเถิง เติงยังจิตวิญญาณของ..........................หื้อได้รับร่วมฮู้อนุโมทนา หื้อ
ได้กิ๋นได้บริโภคได้เสพสร้างเสวยผล ได้เอาตั๋วตนป้นเสียตี่ยาก ได้พรากเสียจากตี่ทุกข์ หื้อได้เถิงสุขในตีฆาก๋า
ละวันนี้ยามนี้ กั๋นว่าบุญกุศลไปถึงเมื่อยามเจ้า ก็ขอหื้อกลับกล๋ายเป๋นดั่งข้าวงาย กั๋นว่าไปถึงเมื่อยามขวาย
ก่ขอหื้ อกลั บ ก๋ายเป็ น อาภรณ์ เสื้ อผ้ า กั๋ น ว่าไปถึ งเมื่อยามหล้ า ก็ขอหื้ อกลั บ ก๋ายเป็น ขัว แก้ว ส้ าเปาค้ า ล้ า
ประเสริฐต่างน้าเอาดวงวิญญาณของ........................ไปเกิดตี้ตางดีมีพิมาน แม้นว่าได้อยู่ที่ดีแล้ว ก่ขอหื้อส่วน
บุญกุศลเหล่านี้ จุ่งได้กลับก๋ายเป็นข้าวติ๊ปน้้าติ๊ป เป็นเสื่อสาดอาสนะ ปราสาทราชมณเฑียร ขอหื้ออยู่สุข
เสถียรค่้าเจ๊านั้น จุ่งจักมีเตี่ยงแต๊ดีหลี

สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ


มา เต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
อะภิวาทะ นะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลังฯ
บทความเรื่อง ประเพณีตานขันข้าว/ประเพณีแห่งความกตัญญูตามวิถีล้านนา

ผู้รับผิดชอบ นายพุทธินนั ท์ พรมเสน

นายอุเทน จักรบุญมา
วัตถุประสงค์ เพื่อปลูกฝั งคุณธรรมและความกตัญญูแก่เด็กโดยไม่จาเป็ นต้ องสอนด้ วยคาพูดที่เด็กมักไม่

ค่อยรับฟั งประเพณี การตานขันข้ าวจะยังอยู่ค่วู ิถีชีวิตคนล้ านนาสืบไป ตราบที่ในหัวใจของ


ผู้คนยังรู้จกั รักและแบ่งปั นสิง่ ดีตอ่ ผู้มีคณ

กลุ่มเป้าหมาย กลุม่ นักเรี ยน นักศึกษา และผู้สนใจศึกษา

พืน้ ที่ดาเนินงาน --

วิธีดาเนินการ -ศึกษารวบรวมข้ อมูลในเรื่ องดังกล่าวจากประสบการณ์จริง

-ศึกษาข้ อมูลผ่านทางWebsite ต่างๆ เพิ่มเติม

-นาข้ อมูลมาประมวล และวางรูปแบบเอกสารเป็ นเรื่ องราว

-เขียนเป็ นบทความ

ปั ญหาที่เกิดขึน้ -ในการประมวลความคิดจากเรื่ องเดียวกันที่มาจากหลายแหล่ง มีปัญหาในการ

ใช้ ถ้อยคา

แนวทางแก้ ปัญหา -ใช้ การระดมสมอง แลกเปลี่ยนความคิดเป็ นในคณะ เพื่อให้ ได้ มาซึง่

เนื ้อหาสาระของกลุม่ ที่ลงตัว

ทางเลือกในการแก้ ปัญหา
--

You might also like