You are on page 1of 11

โครงสร้ างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมตรี

บทความนี้จะเขียนเกีย่ วกับ โครงสร้าง หรือรูปแบบของการเขียนเรียงความแก ้ กระทูธ ้ รรม ใน


ึ ้
ระดับ ธรรมศกษาชนตรีเท่านั นั ้ เพือ ่ ให ้ผู ้ทีเ่ ริม ึ ั ้
่ เรียนหรือเรียนธรรมศกษาชนตรีอยูน ่ ัน้ มีแผนการเขียนทีถ
่ ก
ู ต ้อง
ซงึ่ จาเป็ นอย่างมากทีจ่ ะต ้องทาความเข ้าใจในโครงสร ้างรูปแบบการเขียนให ้ชด ั เจนเสย ี ก่อน ฉะนั น
้ โปรดทาความ
เข ้าใจในโครงสร ้างพืน้ ฐานเบือ ้ งต ้นด ้านล่าง
อธิบายเกีย
่ วก ับโครงสร้างการเขียนเรียงความแก้กระทูธ
้ รรม
ในการอธิบายของผมจะขออธิบายอยู่ 8 สว่ นตามหมายเลข สแ
ี ดง ตามภาพเบือ
้ งต ้นนั น
้ ดังนี้

ขนตอนที
ั้ ่ 1 คือสุภาษิตบทตงเป็
ั้ นสุภาษิตทีส
่ นามหลวงกาหนดมาให ้หรือเรียกว่าโจทย์ของวิชานี้ก็ได ้และให ้
เขียนกึง่ หน ้ากระดาษตามภาพ

ขนตอนที
ั้ ่ 2 การเขียนอารัมภบทคือ ณ บ ัดนี.้ . ให ้ขึน
้ บรรทัดใหม่และย่อหน ้าแล ้วให ้เขียนคาเต็มๆ ว่า
ณ บัดนี้จะได ้อธิบายขยายความแห่งกระทู ้ธรรมสุภาษิตทีไ่ ด ้ลิขต ิ ไว ้ ณ เบือ ึ ษาและ
้ ต ้น พอเป็ นแนวทางแห่งการศก
นาไปปฏิบต ั ส ื ต่อไป
ิ บ

ขนตอนที
ั้ ่ 3 ตรงนี้เป็ นการเริม
่ เขียนอธิบายสุภาษิตบทตัง้ ทีส ่ นามหลวงกาหนดเป็ นโจทย์มาให ้นั น้ เอง ให ้เรา
อธิบายประมาณ 7-10 บรรทัด (เว ้นบรรทัดด ้วย) พออธิบายได ้ใจความตามบรรทัดทีก ่ าหนดไว ้แล ้ว ให ้เขียนคาว่า
สมด ังสุภาษิตทีม ่ าใน......ว่า (ต่อท ้าย ตรงจุด...นั น
้ ให ้เขียนบอกทีม ื่ ม ก่อนทีจ
่ าของสุภาษิเชอ ่ ะเริม
่ เขียนสุภาษิต
เชอ ื่ มต ้องบอกทีม ่ าของสุภาษิตก่อน)

ขนตอนที
ั้ ่ 4 การเขียนสุภาษิตเชอ ื่ ม เป็ นสุภาษิตทีเ่ ราท่องไว ้ เป็ นสุภาษิตทีน ื่ มความกับสุภาษิตตัง้
่ ามาเชอ
เวลาเขียนต ้องอยูก
่ งึ่ กลางและตรงกับสุภาษิตบทตัง้

ขนตอนที
ั้ ื่ มทีแ
่ 5 ตรงนี้เป็ นการเขียนอธิบายสุภาษิตเชอ ่ เดียวกันต ้องให ้ได ้ประมาณ7-10 บรรทัด
่ ละเชน
พอสมควร

ขนตอนที
ั้ ่ 6 คือขนตอนการเขี
ั้ ยนสรุป ให ้ย่อหน ้าขึน้ บรรทัดใหม่ เขียนคาว่า สรุปความว่า... การสรุปความนัน ้
ควรสรุปประมาณ 5-6 บรรทัด เมือ ่ เขียนสรุปเสร็จแล ้วให ้เขียนคาว่า สมดังพุทธสุภาษิตทีไ่ ด ้ลิขต
ิ ไว ้ ณ เบือ
้ ต ้นนั น

ว่า จากนั น
้ สุภาษิตบทตัง้ มาปิ ดตามขัน้ ตอนที่ 7

ขนตอนที
ั้ ่ 7 ให้นาสุภาษิตบทตงมาปิ
ั้ ดอีกทีตามโครงสร ้างด ้านบน

ขนตอนที
ั้ ่ 8 เป็ นการเขียนคาปิ ดสุภาษิตบทตัง้ อีก คือให ้เขียนคาว่า มีนัยดังพรรณนามาด ้วยประการฉะนี้ โดยไม่
ต ้องย่อหน ้า นี้คอ
ื จบขัน
้ ตอนการเขียนกระทู ้ธรรมตรีครับไม่ยาก

TiP : ควรจาหล ักสาค ัญด ังนี้


1.การเขียนสุภาษิตต ้องอยูก ่ งึ กลางหน ้ากระดาษและตรงกัน
2. ตามเลข 2, 3, 5, 6, เวลาเขียนต ้องย่อหน ้าทุกครัง้ นะครับและให ้ตรงกัน
3.สงิ่ ทีต
่ ้องจาให ้ได ้เองเมือ
่ ลงมือเขียน คือ
-คาอารัมภบท,
-สุภาษิตเชอื่ มพร ้อมคาแปลและทีม ื่ ม,
่ าของสุภาษิตเชอ
-สมดังสุภาษิตทีไ่ ด ้ลิขต ิ ไว ้ ณ เบือ
้ ต ้นนั น
้ ว่า
-มีนัยดังพรรณนามาด ้วยประการฉะนี้

เหล่านี้ผู ้เรียนผู ้สอบต ้องจาให ้ได ้เองนะครับ เพราะเวลาสอบจะมีแค่กระดาษขาวเปล่าๆ และโจทย์ปัญหาก็


คือสุภาษิตบทตัง้ ทีส ่ นามสอบนามาให ้เท่านัน ้ และผู ้สอบจะต ้องเขียนให ้ถูกตามโครงสร ้างเบือ
้ งต ้นนั น
้ ฉะนัน
้ อย่า
ลืมจาให ้ได ้นะครับ

ื่ ว่าถ ้าเราทาความเข ้าใจดีๆแล ้วลองลงมือเขียนประมาณสองสาม


สุดท ้ายหวังว่าคงจะไม่ยากนะครับ ผมเชอ
ครัง้ เราก็จะจารูปแบบโครงสร ้างการเขียนเรียงความแก ้กระทู ้ธรรมได ้ขึน
้ ใจแน่นอน
อธิบายโครงสร้ างการเขียนกระทู้ธรรมตรี
บทความนี้จะอธิบายเสริมเข ้าใจจากทีเ่ คยเขียนอธิบาย โครงสร ้างการเขียนกระทู ้ธรรม เพือ ่ ให ้ผู ้เรียนเกิด
ความเข ้าใจมากยิง่ ขึน
้ และให ้เห็นภาพมากยิง่ ขึน
้ เพราะวิชาการเขียนเรียงความแก ้กระทู ้ธรรมเป็ นวิชาทีม ่ ค
ี วาม
ละเอียดอ่อน แม ้เราจะสามารถอธิบายได ้ดีอย่างไรแต่หากไม่ถูกต ้องตามหลักโครางสร ้างหรือรูปแบบการเขียน
จะต ้องมีผลต่อคะแนนของผู ้เรียนผู ้สอบ ดังนั น ึ ษาให ้เข ้าใจจากบทความนีเ้ สริมอีก
้ ควรศก
อธิบายโครงสร้างตามลูกศร
ลูกศรสแี ดง หมายถึงพุทธสุภาษิตทัง้ 3 นัน้ จะต ้องเขียนให ้อยูร่ ะหว่างกึง่ กลางหน ้ากระดาษ และให ้ตรงกันตัง้ แต่
ื่ ม และสุภาษิตปิ ดท้าย จะต ้องให ้ตรงกันตามแนวลูกศรสแ
สุภาษิตตงั้ สุภาษิตเชอ ี ดงในภาพ

ลูกศรสเี ขียว หมายถึงย่อหน ้าทุกครัง้ จะต ้องให ้ตรงกันตามแนวลูกศร (การย่อหน ้าควรจะประมาณ 5-6 ตัวอักษร
หรือ 1 ข ้อมือของนิว้ ช)ี้

ลูกศรสฟี ้ า หมายถึงบรรทัดต่อจากทีเ่ ราย่อหน ้าแล ้ว จะต ้องเขียนให ้ชดิ ติดเสนขอบกระดาษพอสวยงาม


้ ไม่ต ้อง
้ กศรสฟ
ติดมากก็ได ้ แต่ตวั อักษรต ้องตรงกันเป็ นระเบียบตามแนวเสนลู ี ้า

ี า หมายถึงเนื้อหาหรือตัวอักษรควรจะชด
ลูกศรสด ิ สน
ิ้ สุดตามเสนของกระดาษเขี
้ ยนนัน้ เอง และอย่างเขียนเลย
ออกมานอกเสน้ นอกจากจะดูไม่สวยงามแล ้วยังอาจจะมีผลต่อคะแนนการเขียนกระทู ้ด ้วย

และเมือ ้ ร ับ
่ นามาเขียนก็จะได้ตามรูปแบบด้านล่างนีค
ทริป : ธรรมศก ึ ษาโทและธรรมศก ึ ษาเอก ก็ใชหลั ้ กการเดียวกันครับ แม ้ว่าโครงสร ้างด ้านบนจะเป็ นของธรรม
ศกึ ษาตรี แต่รป ู แบบการเขียนก็ใชลั้ กษณะเดียวกัน เพียงแต่วา่ ธรรมชน ั ้ โทจะต ้องเพิม
่ สุภาษิตเชอ ื่ มขึน
้ มา 2
สุภาษิตและธรรมศก ึ ษาชน
ั ้ เอกจะต ้องเพิม่ สุภาษิตเชอื่ มขึน
้ มา 3 สุภาษิตเท่านัน ้ เอง
สุดท ้ายคงจะเข ้าใจแจ่มแจ ้งชด ั เจนนะครับ แต่ถ ้าเกิดมีข ้อสงสยั ก็ลองอ่านบทความอืน ่ ๆ เสริมหรือคอมเม ้น
ถามไว ้ด ้านล่างครับผม
ตัวอย่ างการเขียนเรียงความแก้ กระทู้ธรรมตรี

ต่อจากการครั้งก่อนที่ได้พดู ถึงโครงสร้างการเขียนเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรมตรี และอธิบายโครงสร้างกระทูธ้ รรมตรี เพื่อให้เกิด


ความเข้าใจชัดเจนมากยิง่ ขึ้นผูเ้ รี ยนจึงจาเป็ นต้องดูตวั อย่างการเขียนในบทความนี้ประกอบครับ เพราะเมื่อนามาเขียนลงในกระดาษก็จะได้
ตามแบบด้านล่างนี้

Tip: เวลาเขียนจริ งต้องให้สุภาษิตตรงกันอยูก่ ่ ึงกลางหน้ากระดาษ และย่อหน้าก็ตรงตรงกันทุกครั้ง ที่สาคัญต้องเว้นบรรทัดตามตัวอย่างนี้


พุทธศาสนสุภาษิตเล่ ม1 สาหรับธรรมศึกษาชั้นตรี

ในระดับธรรมศก ึ ษาชนตรีั้ จะต ้องใชพุ้ ทธศาสนสุภาษิตเล่ม1ในการเขียนเรียนความแก ้กระทู ้ธรรม


ตามหลักสูตรของธรรมศก ึ ษาทีป่ ระกาศใชในปั ้ จจุบน ั และมีกาหนดขอบข่ายการออกข ้อสอบไว ้ 5หมวด คือ1.
ทานววรค หมวดทาน 2.สล ี วรรค หมวดศล ี 3.สติวรรค หมวดสติ 4.บาปวรรค หมวดบาป 5.บุญวรรค หมวดบุญ
และยังกาหนดหัวข ้อสุภาษิตทีม ่ ป ี ระโยชน์น่าใชไว ้ ้ด ้วย ซงึ่ เป็ นการดีและสะดวกอย่างมากสาหรับผู ้เรียน เพราะจะ
ได ้ไม่ต ้องไปมั่วหาสุภาษิตเอง เราก็เอาตามทีส ่ นามหลวงกาหนดมาให ้เลยจะดีทส ี่ ด
ุ แต่ทส ี่ นามหลวงกาหนดมา
ให ้ก็มม
ี าก ผมจึงได ้เลือกเอาเฉพาะทีค ิ ว่าจาได ้ง่ายๆ มาโพสใ์ นบทความนี้เพือ
่ ด ่ ให ้ผู ้เรียนได ้สะดวกในการเลือกที่
จะจาและนาไปเขียนเรียงความแก ้กระทู ้ธรรม

1. ทานวรรค คือ หมวดทาน


ทานญฺจ ยุทฺธญฺจ สมานมาหุ
ท่านว่า ทานและการรบ เสมอกัน
ส. ส. ๑๕/๒๙

วิเจยฺย ทาน สุคตปฺปสตฺถ.


การเลือกให ้ อันพระสุคตทรงสรรเสริญ
ส.ส. ๑๕/๓๐

พาลา หเว นปฺปสสนฺต ิ ทาน.


คนพาลเท่านัน
้ ย่อมไม่สรรเสริญทาน.
ขุ. ชา. ๒๕/๓๘.
ทท ปิ โย โหติ ภชนฺต ิ น พหู.
ผู ้ให ้ ย่อมเป็ นทีร่ ัก คนหมูม
่ ากย่อมคบเขา.
องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๔๓.

ททมาโน ปิ โย โหติ.
ผู ้ให ้ ย่อมเป็ นทีร่ ัก.
องฺ. ปญฺจก. ๒๒/๔๔.

ี วรรค คือ หมวดศล


2. ศล ี
สลี ยาว ชรา สาธุ.
ี ยังประโยชน์ให ้สาเร็จตราบเท่าชรา.
ศล
ส.ส. ๑๕/๕๐

สุข ยาว ชรา สล ี .


ศลี นาสุขมาให ้ตราบเท่าชรา.
ขุ.ธ. ๒๕/๕๙.

สญฺญมโต เวร น จียติ.


เมือ
่ คอยระวังอยู่ เวรย่อมไม่กอ
่ ขึน
้ .
ที.มหา. ๑๐/๑๕๙.

ี รกฺเขยฺย เมธาวี.
สล
ปราชญ์พงึ รักษาศลี .
ขุ.อิต.ิ ๒๕/๒๘๒.

3. สติวรรค คือ หมวดสติ


สติ โลกสฺม ิ ชาคโร.
สติเป็ นธรรมเครือ
่ งตืน
่ อยูใ่ นโลก.
ส. ส. ๑๕/๖๑.

สติมโต สทา ภทฺท.


คนผู ้มีสติ มีความเจริญทุก
เมือ
่ .

ส.ส. ๑๕/๓๐๖.

สติมโต สุเว เสยฺโย.


คนมีสติ เป็ นผู ้ประเสริฐทุกวัน.
ส.ส. ๑๕/๓๐๖.

4. ปาปวรรค คือ หมวดบาป


ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย.
ความสงั่ สมบาป นาทุกข์มาให ้.
ขุ.ธ. ๒๕/๓๐.

ปาปาน อกรณ สุข.


การไม่ทาบาป นาสุขมาให ้.
ขุ.ธ. ๒๕/๕๙.

ปาเป น รมตี สุจ.ิ


ิ ดีในความชวั่ .
คนสะอาดไม่ยน
ขุ.อุ. ๒๕/๑๖๖.
นตฺถ ิ ปาป อกุพฺพโต.
บาปไม่มแี ก่ผู ้ไม่ทา.
ขุ.ธ. ๒๕/๓๑.

ปาปานิ ปริวชฺ ชเย.


พึงละเว ้นบาปทัง้ หลาย.
ขุ.ธ. ๒๕/๓๑.

5. ปุญญวรรค คือ หมวดบุญ


ปุญฺญ โจเรหิ ทูหร.
บุญอันโจรนาไปไม่ได ้.
ส.ส. ๑๕/๕๐.

สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย.


ความสงั่ สมขึน
้ ซงึ่ บุญ นาสุขมาให ้.
ขุ.ธ. ๒๕/๓๐.

ปุญฺญานิ ปรโลกสฺม ึ ปติฏฺฐา โหนฺต ิ ปาณิน.


บุญเป็ นทีพ
่ งึ่ ของสตั ว์ในโลกหน ้า.
ส.ส. ๑๕/๒๖

ปุญฺญานิ กยิราถ สุขาวหานิ


ควรทาบุญอันนาสุขมาให ้.
ส.ส. ๑๕/๓.

Tip : การนาสุภาษิตไปใชต้ ้องจาทีม ื่ มสุภาษิตทีเ่ รา


่ าของสุภาษิตด ้วย เพราะการเขียนกระทู ้ธรรมก่อนจะเชอ
เตรียมไว ้เราจะต ้องบอกทีม
่ าของสุภาษิตนัน
้ ๆ ก่อนครับ

อีกอย่างจะสงั เกตว่าจะมีตวั เลขทับตัวเลขด ้านข ้างของทีม


่ าสุภาษิตแต่ละตัว ตัวเลขนั น้ เป็ นการบอกเล่มและบอก
หน ้าของทีม
่ าสุภาษิตแต่ละตัว แต่ไม่ต ้องไปจานะครับให ้จาเฉพาะทีม ่ าสุภาษิตเป็ นตัวอักษรย่อ เชน่ “ส. ส.” แต่
เวลานาไปเขียนก็เขียนตัวใหญ่ศก ึ ษาได ้จากบทความ อ ักษรย่อบอกทีม ่ าของพุทธสุภาษิต นะครับ...

เครดิตสุภาษิต : คูม
่ อ ึ ษาตรีรวม 4 วิชาของสานั กงานแม่กองธรรมสนามหลวง พ.ศ. 2550
ื หลักสูตรธรรมศก
อักษรย่ อบอกทีม่ าของพุทธศาสนสุ ภาษิต
การเขียนเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรมธรรมศึกษาชั้นตรี ธรรมศึกษาชั้นโท และธรรมศึกษาชั้นเอกนั้น ผูเ้ รี ยนผูส้ อบจาเป็ นอย่างมากที่
จะต้องอ้างที่มาของพุทธศาสนสุภาษิต เพื่อให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์การเขียนกระทูแ้ ละถูกต้องตามหลักปฏิบัตใิ นการสอบสนามหลวง
เนื่องจากการอ้างที่มาของสุภาษิตทาให้เกิดความน่าเชื่อถือและถูกต้องว่าผูเ้ รี ยนผูส้ อบไม่ได้เขียนกระทูข้ ้ ึนอย่างมัวๆ และที่สาคัญยังเป็ นการ
ให้เครดิตกับสุภาษิตและแหล่งที่มาของสุภาษิตทาให้งานเขียนของเราออกมาอย่างสร้างสรรค์และเป็ นประโยชน์แก่บุคคลอื่นครับ
TiP : ตัวอักษร สแ
ี ดง ด ้านซาย
้ คือตัวย่อทีม่ าของสุภาษิต และสว่ นตัวอักษร สน ี า้ เงิน ด ้านขวา คือตัวเต็มของ
พุทธศาสนสุภาษิต ทีจ่ ะต ้องนามาเขียนอ ้างทีม่ าในวิชาเรียงความแก ้กระทู ้ธรรม

และสุดท ้ายอย่างลืมนะครับ เวลานาทีม ่ าของพุทธศาสนสุภาษิตใดไปอ ้างอิงบอกทีม ่ าของสุภาษิตนัน


้ ๆ
จะต ้องนา "ต ัวเต็ม" ของสุภาษิตนั น
้ ๆ ไปเขียน และอย่าเขียนแบบตัวย่อนะครับ ต ัวอย่างดูดา้ นล่าง

เเบบนี้ "ถูกต้ อง"

แบบนี้ "ผิด"

และหวังว่าบทความนี้คงจะเป็ นประโยชน์ตอ ึ ษาทุกคนนะครับและอย่าลืมจาทีม


่ ผู ้เรียนธรรมศก ่ าของ
สุภาษิตทีจ
่ ะนาไปอ ้างอิงแม่นๆ

You might also like