You are on page 1of 66

รายงานการวิเคราะห์ โครงสร้ างอาคาร

เสนอ
รศ.เอนก ศิริพานิชกร

จัดทาโดย
นายเจ เนื่องจานงค์ รหัส 60070700915
นายพุฒิพงศ์ มัง่ มูล รหัส 60070700922

CET 623 Building Structural Systems สาขาวิชาเทคโนโลยีวศิ วกรรมโยธา


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
รายงานการวิเคราะห์โครงสร้าง
อาคาร GPF ถนนวิทยุ กรุงเทพมหานคร
.

สารบัญ

สารบัญ ................................................................................................................................................2
สารบัญรูป ............................................................................................................................................4
สารบัญตาราง.......................................................................................................................................7
บทสรุปผูบ้ ริหาร ................................................................................... Error! Bookmark not defined.
1 การตรวจสอบข้อมูล ลักษณะและรูปทรงของโครงสร้างอาคาร .......................................................8
1.1 ข้อมูลสถานทีต่ งั ้ ของอาคาร ............................................................................................... 8
1.2 ประเภทกิจกรรมการใช้อาคาร........................................................................................... 8
1.3 ลักษณะทางกายภาพ ....................................................................................................... 8
1.3.1 อาคาร A ............................................................................................................. 8
1.3.2 อาคาร B ............................................................................................................. 9
1.4 ข้อมูลเกีย่ วกับแผ่นดินไหวของอาคาร ................................................................................ 9
1.5 รูปทรงอาคาร ................................................................................................................. 10
1.5.1 อาคาร A ........................................................................................................... 10
1.5.2 อาคาร B ........................................................................................................... 11
1.6 สมรรถนะอืน่ .................................................................................................................. 13
1.6.1 อาคาร A ........................................................................................................... 13
1.6.2 อาคาร B ........................................................................................................... 13
1.7 แรงสันสะเทื ่ อนจากแผ่นดินไหว ...................................................................................... 14
1.8 สรุปสมรรถนะเบือ้ งต้นของอาคารในการต้านทานแรงสันสะเทื ่ อนจากแผ่นดินไหว .............. 14
2 การวิเคราะห์โครงสร้าง .............................................................................................................16
2.1 แนวความคิดในการวิเคราะห์ .......................................................................................... 16
2.2 แบบจาลองโครงสร้าง ..................................................................................................... 16
2.3 แรงในการวิเคราะห์โครงสร้าง ......................................................................................... 18
2.3.1 น้าหนักบรรทุกคงที่ ............................................................................................ 18
2.3.2 น้าหนักบรรทุกจร ............................................................................................... 18
2.3.3 แรงลม ............................................................................................................... 19
2.3.4 แรงสันสะเทื ่ อนจากแผ่นดินไหว........................................................................... 19
2.3.5 การรวมแรง (Load Combinations) ..................................................................... 20
2.4 คุณสมบัตขิ องวัสดุ ......................................................................................................... 20
2.5 วิธกี ารวิเคราะห์และสมมุตฐิ าน ........................................................................................ 21
3 ผลการวิเคราะห์โครงสร้าง.........................................................................................................22
3.1 โหมดการบิด (Mode Shapes) ........................................................................................ 22
3.1.1 อาคาร A ........................................................................................................... 22
3.1.2 อาคาร B ........................................................................................................... 23

2
.

3.2 การเคลื่อนทีด่ า้ นข้างจากแรงแผ่นดินไหว ........................................................................ 24


3.3 แรงในเสาและกาแพงรับแรงเฉือน ................................................................................... 26
3.4 แรงในคานหลัก .............................................................................................................. 29
3.4.1 คานเชือ่ มผนังลิฟท์ อาคาร A .............................................................................. 31
3.4.2 คานเชือ่ มผนังลิฟท์ อาคาร B .............................................................................. 32
4 สรุปผลการประเมิน ..................................................................................................................34
4.1 การตรวจสอบลักษณะรูปทรงของโครงสร้างอาคาร ........................................................... 34
4.2 การวิเคราะห์โครงสร้างอาคาร ......................................................................................... 35
4.2.1 การตอบสนองของโครงสร้างโดยรวม................................................................... 35
4.2.2 การตรวจสอบกาลังของชิน้ ส่วนโครงสร้าง ............................................................ 35
4.3 การประเมินสมรรถนะของอาคารในการต้านทานแผ่นดินไหว ............................................ 36
4.4 ข้อเสนอแนะ .................................................................................................................. 36
4.4.1 การใช้วสั ดุโพลิเมอร์เสริมเส้นใยคาร์บอน (CFRP) ................................................ 36
4.4.2 การเสริมความแข็งแรงโดยใช้เหล็กแผ่น (Steel Jacketing) ................................... 36
เอกสารอ้างอิง ....................................................................................................................................37
ภาคผนวก ก: แบบจาลองโครงสร้าง ....................................................................................................38
ภาคผนวก ข: การตรวจสอบกาลังของเสา ............................................................................................52
ภาคผนวก ค: การตรวจสอบกาลังของกาแพงรับแรงเฉือน ....................................................................59

3
.

สารบัญรูป

รูปที่ 1 รูปประกอบ 3 มิติ ของอาคาร GPF Witthayu ............................................................................. 9


รูปที่ 2 ตัวอย่างความไม่สม่าเสมอของโครงสร้าง .................................................................................. 12
รูปที่ 3 แบบจาลองโครงสร้าง (สามมิต)ิ ................................................................................................ 17
รูปที่ 4 ตัวอย่างแบบจาลองโครงสร้าง (ผังพืน้ ) ..................................................................................... 17
รูปที่ 5 ลักษณะของ Mode Shape หลักของโครงสร้างอาคาร A ............................................................ 22
รูปที่ 6 ลักษณะของ Mode Shape หลักของโครงสร้างอาคาร B ............................................................ 23
รูปที่ 7 การเคลื่อนทีด่ า้ นข้างระหว่างชัน้ สูงสุดของอาคาร A ................................................................... 24
รูปที่ 8 การเคลื่อนทีด่ า้ นข้างระหว่างชัน้ สูงสุดของอาคาร B ................................................................... 25
รูปที่ 9 ตาแหน่งของการเคลื่อนทีด่ า้ นข้างสูงสุดของอาคาร A ................................................................ 25
รูปที่ 10 ตาแหน่งของการเคลื่อนทีด่ า้ นข้างสูงสุดของอาคาร B .............................................................. 26
รูปที่ 11 ผังเสา ................................................................................................................................... 27
รูปที่ 12 ผังกาแพงรับแรงเฉือน อาคาร A ............................................................................................. 28
รูปที่ 13 ผังกาแพงรับแรงเฉือน อาคาร B ............................................................................................. 28
รูปที่ 14 ตัวอย่างการเปรียบเทียบแรงเฉือนในคาน (อาคาร A ชัน้ 17) ................................................... 29
รูปที่ 15 ตัวอย่างการเปรียบเทียบโมเมนต์ในคาน (อาคาร A ชัน้ 17) ..................................................... 30
รูปที่ 16 ตัวอย่างการเปรียบเทียบแรงเฉือนในคาน (อาคาร B ชัน้ 15) ................................................... 30
รูปที่ 17 ตัวอย่างการเปรียบเทียบโมเมนต์ในคาน (อาคาร B ชัน้ 15) ..................................................... 30
รูปที่ 18 ตาแหน่งคานเชือ่ มผนังลิฟท์ อาคาร A .................................................................................... 32
รูปที่ 19 ตาแหน่งคานเชือ่ มผนังลิฟท์ อาคาร B .................................................................................... 33
รูปที่ 20 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ ใต้ดนิ ................................................................................. 38
รูปที่ 21 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ 1 ...................................................................................... 38
รูปที่ 22 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ 2 ...................................................................................... 39
รูปที่ 23 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ 3-7 ................................................................................... 39
รูปที่ 24 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ 8-17 ................................................................................. 40
รูปที่ 25 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ 18 .................................................................................... 40
รูปที่ 26 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ ดาดฟ้ า .............................................................................. 41
รูปที่ 27 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ ห้องเครือ่ ง .......................................................................... 41
รูปที่ 28 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ แท็งก์น้า ............................................................................ 42
รูปที่ 29 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร A ชัน้ ลานจอดเฮลิคอปเตอร์......................................................... 42
รูปที่ 30 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ ใต้ดนิ ................................................................................. 43
4
.

รูปที่ 31 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 1A.................................................................................... 43


รูปที่ 32 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 1 ...................................................................................... 44
รูปที่ 33 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 1B.................................................................................... 44
รูปที่ 34 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 2A, 3A ............................................................................. 45
รูปที่ 35 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 2B.................................................................................... 45
รูปที่ 36 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 3B.................................................................................... 46
รูปที่ 37 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 3, 4, 5, 6.......................................................................... 46
รูปที่ 38 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 4A, 5A, 6A, 7 .................................................................. 47
รูปที่ 39 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 8 ...................................................................................... 47
รูปที่ 40 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 9 ...................................................................................... 48
รูปที่ 41 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 10-15 ............................................................................... 48
รูปที่ 42 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ 16 .................................................................................... 49
รูปที่ 43 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ ดาดฟ้ า .............................................................................. 49
รูปที่ 44 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ ห้องเครือ่ ง .......................................................................... 50
รูปที่ 45 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ แท็งก์น้า ............................................................................ 50
รูปที่ 46 แบบจาลองโครงสร้างอาคาร B ชัน้ หลังคา ............................................................................... 51
รูปที่ 47 การตรวจสอบกาลังของเสา C1 อาคาร A ................................................................................ 52
รูปที่ 48 การตรวจสอบกาลังของเสา C2 อาคาร A ................................................................................ 53
รูปที่ 49 การตรวจสอบกาลังของเสา C3 อาคาร A ................................................................................ 54
รูปที่ 50 การตรวจสอบกาลังของเสา C4 อาคาร A ................................................................................ 55
รูปที่ 51 การตรวจสอบกาลังของเสา C1 อาคาร B ................................................................................ 56
รูปที่ 52 การตรวจสอบกาลังของเสา C2 อาคาร B ................................................................................ 56
รูปที่ 53 การตรวจสอบกาลังของเสา C3 อาคาร B ................................................................................ 57
รูปที่ 54 การตรวจสอบกาลังของเสา C4 อาคาร B ................................................................................ 57
รูปที่ 55 การตรวจสอบกาลังของเสา C5 อาคาร B ................................................................................ 58
รูปที่ 56 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST1, ST5 อาคาร A ................................................................ 59
รูปที่ 57 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2, ST6 อาคาร A ................................................................ 59
รูปที่ 58 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2, ST6 อาคาร A ................................................................ 60
รูปที่ 59 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST3 อาคาร A ........................................................................ 60
รูปที่ 60 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST4, ST8 อาคาร A ................................................................ 60
รูปที่ 61 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC1 อาคาร A ........................................................................ 61
รูปที่ 62 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC3 อาคาร A ........................................................................ 61

5
.

รูปที่ 63 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2, LC11, LC12 อาคาร A ................................................... 61


รูปที่ 64 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC4, LC7, LC8 อาคาร A ....................................................... 62
รูปที่ 65 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2A, ST3C อาคาร B ........................................................... 62
รูปที่ 66 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2B, ST3B อาคาร B ........................................................... 62
รูปที่ 67 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2C, ST3A อาคาร B ........................................................... 63
รูปที่ 68 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2C อาคาร B ...................................................................... 63
รูปที่ 69 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2B, LC3B, LC3D อาคาร B................................................ 63
รูปที่ 70 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2B, LC3B, LC3D อาคาร B (วิธี Interaction Diagram) ........ 64
รูปที่ 71 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2D อาคาร B ...................................................................... 64
รูปที่ 72 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2F, LC3F อาคาร B ........................................................... 65
รูปที่ 73 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC3D อาคาร B ...................................................................... 65

6
.

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 น้าหนักบรรทุกจร ............................................................................................................... 19


ตารางที่ 2 แรงดันลม .......................................................................................................................... 19
ตารางที่ 3 การรวมแรง ....................................................................................................................... 20
ตารางที่ 4 คานเชือ่ มผนังลิฟท์ อาคาร A ทีม่ กี าลังรับแรงเฉือนไม่เพียงพอ ............................................. 32
ตารางที่ 5 คานเชือ่ มผนังลิฟท์ อาคาร B ทีม่ กี าลังรับแรงเฉือนไม่เพียงพอ ............................................. 33

7
.

1 การตรวจสอบข้อมูล ลักษณะและรูปทรงของโครงสร้างอาคาร

การตรวจสอบขัน้ แรกจากแบบแปลนการก่อสร้างของอาคาร GPF Witthayu อาคาร GPF Witthayu


ประกอบไปด้วยการหาข้อมูลอาคาร ประเภทการใช้อาคาร ลักษณะทางกายภาพ ข้อมูลเกีย่ วกับแผ่นดินไหว
การพิจารณารูปทรงอาคาร สมรรถนะต่างๆ และการเลือกวิธกี ารคานวณแรงแผ่นดินไหว ทัง้ นี้รายละเอียด
ต่ า งๆสามารถอ้า งอิงได้จ าก มยผ. 1301 พ.ศ. 2554 และ ASCE/SEI 31-03 โดยผลการตรวจสอบมี
ดังต่อไปนี้

1.1 ข้อมูลสถานที่ตงั ้ ของอาคาร


ชือ่ อาคาร GPF Withayu
ตัง้ อยู่เลขที ่ 93/1 หมู่ที ่ - ตรอก/ซอย -
ถนน วิทยุ ตาบล/แขวง ลุมพินี
อาเภอ/เขต ปทุมวัน จังหวัด กทม.
รหัสไปรษณีย์ 10330
โทรศัพท์ 02-636 1000 โทรสาร 02-636 1692

1.2 ประเภทกิ จกรรมการใช้อาคาร


 อาคารพักอาศัย X อาคารพาณิชย์ X อาคารธุรกิจและสานักงาน
 อาคารสถานศึกษา  อาคารชุมนุมคน  อาคารเสียงอั
่ นตรายสูง
 โรงงานอุตสาหกรรม7)  อาคารเก็บวัสดุและคลังสินค้า  อาคารพยาบาลและสถาน
ควบคุมความประพฤติ
 อาคารอืน่ ๆ (โปรดระบุ)

1.3 ลักษณะทางกายภาพ
1.3.1 อาคาร A

(1) จานวนชัน้ 18 ชัน้ ความสูง 78.5 ม. พื้นทีร่ วม 19,00 ตร.ม.


(2) ประเภทวัสดุ
 ไม้ X คอนกรีตเสริมเหล็ก  คอนกรีตอัดแรง
 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ  อืน
่ ๆ (โปรดระบุ)
(3) โครงสร้างชัน้ ใต้ดนิ

8
.

 ไ ม่ มี โ ค ร ง ส ร้ า ง ชั ้น ใ ต้ X มี โ ครงสร้ า งชั ้น ใต้ ดิ น (โปรดระบุ จ านวนชั ้น ) 1


ดิน ชัน้

1.3.2 อาคาร B

(1) จานวนชัน้ 16 ชัน้ ความสูง 63.3 ม. พื้นทีร่ วม 52,000 ตร.ม.


(2) ประเภทวัสดุ
 ไม้ X คอนกรีตเสริมเหล็ก  คอนกรีตอัดแรง

 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ  อืน่ ๆ (โปรดระบุ)


(3) โครงสร้างชัน้ ใต้ดนิ
 ไ ม่ มี โ ค ร ง ส ร้ า ง ชั ้ น ใ ต้ X มี โ ครงสร้ า งชั ้น ใต้ ด ิ น (โปรดระบุ จ า นวนชั ้น ) 1
ดิน ชัน้

(ก) อาคาร A (ข) อาคาร B

รูป ที่ 1 รูป ประกอบ 3 มิติ ของอาคาร GPF Witthayu

1.4 ข้อมูลเกี่ยวกับแผ่นดิ นไหวของอาคาร


อาคาร GPF Witthayu ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร ซึง่ อยูใ่ นบริเวณที่ 1 ตามกฎกระทรวงฯ

(1) การยกเว้นไม่ตอ้ งปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวงฯ


X ได้รบั การยกเว้นตามกฎกระทรวง เนือ่ งจาก  ไม่ได้รบั การยกเว้นตามกฎกระทรวง
 ไม่เป็ นประเภทอาคารควบคุมตามกฎกระทรวงฯ
X เป็ นอาคารทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตหรือได้รบั ใบแจ้งการ
ก่อสร้างหรืออาคารทีม่ อี ยู่ก่อนทีก่ ฎกระทรวงใช้บงั คับ
 ไม่เป็ นประเภทอาคารควบคุมตามกฎกระทรวงฯ และ
ได้รบั ใบอนุ ญาตหรือได้รบั ใบแจ้งการก่อสร้างหรืออาคารทีม่ อี ยู่
ก่อนทีก่ ฎกระทรวงใช้บงั คับ

9
.

(2) บริเวณทีอ่ าคารตัง้ อยู่  บริเวณเฝ้ าระวัง


X บริเวณที ่ 1
 บริเวณที ่ 2

1.5 รูปทรงอาคาร
การตรวจสอบรูปทรงและผังของอาคารว่ามีความไม่สม่าเสมอหรือไม่ ดังตัวอย่างในรูปที่ 2

1.5.1 อาคาร A

(1) ความไม่สมา่ เสมอของโครงสร้างในแนวดิง่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มี


ข้อมูล
ชัน้ ทีอ่ ่อน (Soft Story): ชัน้ ทีม่ สี ติฟเนสทางด้านข้าง (Lateral Stiffness) X
มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 70 ของชัน้ ทีเ่ หนือถัดขึน้ ไปหรือน้อยกว่าร้อยละ 80
ของสติฟเนสเฉลีย่ ของสามชัน้ ทีเ่ หนือขึน้ ไป
ชัน้ ทีอ่ ่อนแอ* (Weak Story): ชัน้ ทีม่ ผี ลรวมกาลังของชิน้ ส่วนทีท่ าหน้าที่ X
ร่วมกันรับแรงแผ่นดินไหวในทิศทางทีพ่ จิ ารณาทัง้ หมด มีค่าน้อยกว่าร้อย
ละ 80 ของชัน้ ทีเ่ หนือถัดขึน้ ไป
ความไม่สม่าเสมอของมวล (Mass Irregularity): มวลประสิทธิผล X
(Effective Mass) ของชัน้ ใดๆ มีค่ามากกว่าร้อยละ 150 ของชัน้ ทีต่ ดิ กัน
ความไม่สม่าเสมอทางเรขาคณิตของรูปทรงในแนวดิง่ (Vertical X
Geometrical Irregularity): ความไม่สม่าเสมอทางเรขาคณิตของรูปทรง
ในแนวดิง่ หมายถึง มิตใิ นแนวราบของระบบต้านแรงทางด้านข้างของชัน้
ใด ๆ มีค่ามากกว่าร้อยละ 130 ของชัน้ ทีต่ ดิ กัน
(2) ความไม่สมา่ เสมอของผังโครงสร้าง
ความไม่สม่าเสมอจากการมีมมุ หักเข้าข้างใน (Re-Entrant Corners): ผัง X
โครงสร้างและระบบต้านแรงด้านข้างมีลกั ษณะหักเข้าข้างใน ทาให้เกิด
ส่วนยื่น โดยทีส่ ว่ นยื่นนัน้ มีระยะฉายในแต่ละทิศทางมากกว่าร้อยละ 15
ของมิตขิ องผังในทิศทางนัน้
แรงบิด** (Torsion): ระยะห่างโดยประมาณของจุดศูนย์ถ่วง (CG) กับจุด X
ศูนย์กลางความแข็ง (CR) มีค่ามากกว่าร้อยละ 20 ของความกว้างอาคาร
ในด้านใดด้านหนึ่ง

10
.

1.5.2 อาคาร B

(1) ความไม่สมา่ เสมอของโครงสร้างในแนวดิง่ ใช่ ไม่ใช่ ไม่มี


ข้อมูล
ชัน้ ทีอ่ ่อน (Soft Story): ชัน้ ทีม่ สี ติฟเนสทางด้านข้าง (Lateral Stiffness) X
มีค่าน้อยกว่าร้อยละ 70 ของชัน้ ทีเ่ หนือถัดขึน้ ไปหรือน้อยกว่าร้อยละ 80
ของสติฟเนสเฉลีย่ ของสามชัน้ ทีเ่ หนือขึน้ ไป
ชัน้ ทีอ่ ่อนแอ* (Weak Story): ชัน้ ทีม่ ผี ลรวมกาลังของชิน้ ส่วนทีท่ าหน้าที่ X
ร่วมกันรับแรงแผ่นดินไหวในทิศทางทีพ่ จิ ารณาทัง้ หมด มีค่าน้อยกว่าร้อย
ละ 80 ของชัน้ ทีเ่ หนือถัดขึน้ ไป
ความไม่สม่าเสมอของมวล (Mass Irregularity): มวลประสิทธิผล X
(Effective Mass) ของชัน้ ใดๆ มีค่ามากกว่าร้อยละ 150 ของชัน้ ทีต่ ดิ กัน
ความไม่สม่าเสมอทางเรขาคณิตของรูปทรงในแนวดิง่ (Vertical X
Geometrical Irregularity): ความไม่สม่าเสมอทางเรขาคณิตของรูปทรง
ในแนวดิง่ หมายถึง มิตใิ นแนวราบของระบบต้านแรงทางด้านข้างของชัน้
ใด ๆ มีค่ามากกว่าร้อยละ 130 ของชัน้ ทีต่ ดิ กัน
(2) ความไม่สมา่ เสมอของผังโครงสร้าง
ความไม่สม่าเสมอจากการมีมมุ หักเข้าข้างใน (Re-Entrant Corners): ผัง X
โครงสร้างและระบบต้านแรงด้านข้างมีลกั ษณะหักเข้าข้างใน ทาให้เกิด
ส่วนยื่น โดยทีส่ ว่ นยื่นนัน้ มีระยะฉายในแต่ละทิศทางมากกว่าร้อยละ 15
ของมิตขิ องผังในทิศทางนัน้
แรงบิด** (Torsion): ระยะห่างโดยประมาณของจุดศูนย์ถ่วง (CG) กับจุด X
ศูนย์กลางความแข็ง (CR) มีค่ามากกว่าร้อยละ 20 ของความกว้างอาคาร
ในด้านใดด้านหนึ่ง

หมายเหตุ อาคารในบริเวณเฝ้ าระวังและบริเวณที่ 1 ทีม่ ปี ระเภทกิจกรรมการใช้อาคารตามกฎกระทรวงฯดังต่อไปนี้


(ก) อาคารทีจ่ าเป็ นต่อความเป็ นอยู่ของสาธารณชน
(ข) อาคารเก็บวัตถุอนั ตราย
(ค) อาคารสาธารณะทีม่ ผี ใู้ ช้อาคารได้ตงั ้ แต่สามร้อยคนขึน้ ไป
(ง) สถานศึกษาทีร่ บั นักเรียนหรือนักศึกษาได้ตงั ้ แต่สองร้อยห้าสิบคนขึน้ ไป
และอาคารในบริเวณที่ 2 ต้องตรวจสอบทุกหลักเกณฑ์ของความไม่สม่าเสมอของโครงสร้างในแนวดิง่ และความไม่
สม่าเสมอของผังโครงสร้าง
สาหรับอาคารทีม่ กี จิ กรรมการใช้อ่นื ในบริเวณเฝ้ าระวังและบริเวณที่ 1 และมีความสูงตัง้ แต่ 23 เมตรขึน้ ไป อนุ ญาต
ให้ตรวจสอบเฉพาะ ชัน้ ทีอ่ ่อนแอ* (Weak Story) และแรงบิด** (Torsion)
สาหรับอาคารทีม่ กี จิ กรรมการใช้อ่นื ในบริเวณเฝ้ าระวังและบริเวณที่ 1 และมีความสูงน้อยกว่า 23 เมตร อนุ ญาตให้
ตรวจสอบเฉพาะ ชัน้ ทีอ่ ่อนแอ* (Weak Story)

11
.

รูป ที่ 2 ตัว อย่า งความไม่ส ม่า เสมอของโครงสร้า ง

12
.

1.6 สมรรถนะอื่น
การตรวจสอบสมรรถนะอื่น ๆที่เ กี่ย วข้องกับ ความต้า นทานของอาคารต่อแรงสันสะเทื
่ อนจาก
แผ่นดินไหว ให้ผลดังต่อไปนี้

1.6.1 อาคาร A

สมรรถนะอื่น ใช่ ไม่ใช่ ไม่มขี อ้ มูล


เส้นทางเดินของแรง (Load Path): โครงสร้างจะต้องมีเส้นทาง X
เดินของแรงอย่างน้อย 1 เส้นทาง
การส่งถ่ ายแรง: มีการถ่ ายแรงสันสะเทื
่ อนของแผ่นดินไหวใน X
แนวราบที่ก ระท ากับ มวลของตั ว อาคารสู่ ฐ านรากได้ อ ย่ า ง
ปลอดภัย
อาคารข้างเคียง (Adjacent Building): ระยะห่างระหว่างอาคารที่ X
จะประเมินและอาคารทีอ่ ยู่ขา้ งเคียงจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 4
ของความสูงอาคารทีม่ คี วามสูงน้อยกว่า
ไม่มกี ารเสือ่ มสภาพของวัสดุโครงสร้าง: วัสดุโครงสร้างจะต้องไม่ X
มีการเสือ่ มสภาพอันเป็ นอันตรายต่อความปลอดภัยของอาคาร
รายละเอียดการเสริมเหล็ก (Reinforcement Detailing): อาคาร X
ที่ประเมินมีโครงสร้างที่มีความเหนียวแบบธรรมดาเป็ นอย่า ง
น้อย

1.6.2 อาคาร B

สมรรถนะอื่น ใช่ ไม่ใช่ ไม่มขี อ้ มูล


เส้นทางเดินของแรง (Load Path): โครงสร้างจะต้องมีเส้นทาง X
เดินของแรงอย่างน้อย 1 เส้นทาง
การส่งถ่ ายแรง: มีการถ่ ายแรงสันสะเทื
่ อนของแผ่นดินไหวใน X
แนวราบที่ก ระท ากับ มวลของตั ว อาคารสู่ ฐ านรากได้ อ ย่ า ง
ปลอดภัย
อาคารข้างเคียง (Adjacent Building): ระยะห่างระหว่างอาคารที่ X
จะประเมินและอาคารทีอ่ ยู่ขา้ งเคียงจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 4
ของความสูงอาคารทีม่ คี วามสูงน้อยกว่า
ไม่มกี ารเสือ่ มสภาพของวัสดุโครงสร้าง: วัสดุโครงสร้างจะต้องไม่ X
มีการเสือ่ มสภาพอันเป็ นอันตรายต่อความปลอดภัยของอาคาร
รายละเอียดการเสริมเหล็ก (Reinforcement Detailing): อาคาร X
ที่ประเมินมีโครงสร้างที่มีความเหนียวแบบธรรมดาเป็ นอย่า ง
น้อย

13
.

1.7 แรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดิ นไหว
อาคารทีป่ ระเมินจะถือว่ามีสมรรถนะในการต้านทานแรงแผ่นดินไหวได้กต็ ่อเมือ่ อาคารมีความสามารถ
ในการต้านทานแรงแผ่นดินไหวสูงกว่าหรือเท่ากับแรงสันสะเทื
่ อนในระดับความรุนแรงของแผ่นดินไหว
ตามที่กฎหมายหรือมาตรฐานกาหนด โดยคานวนแรงสันสะเทื ่ อนจากแผ่น ดิน ไหวด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ ง ที่
เหมาะสม สาหรับการศึกษานี้เลือกใช้การวิเคราะห์คานวณเชิงพลศาสตร์ โดยวิธสี เปกตรัมการตอบสนอง
แบบโหมดซึง่ จะกล่าวในบทต่อไป

 อาคารทีม่ ลี กั ษณะเป็ นตึก เรือน โรง และมีรูปทรง X อาคารทีม่ ีลัก ษณะอืน่ หรือ อาคารทีม่ ีรู ป ทรงไม่
สมา่ เสมอ (Regular structure) สมา่ เสมอ (Irregular structure)
วิธกี ารคานวณหาแรงกระทาด้านข้าง วิธกี ารคานวณหาแรงกระทาด้านข้าง
 วิธต ี ามประมวลข้อบังคับอาคาร (พ.ศ. ...............) X วิธกี ารคานวณเชิงพลศาสตร์ (Structural Dynamics)
- สัมประสิทธิค์ วามเข้มของแผ่นดินไหว (Z) X วิธี Response Spectrum Analysis
- ตัวคูณเกีย่ วกับการใช้อาคาร (I)  วิธ ี Time History Analysis

- สัม ประสิท ธิ์ข องโครงสร้า งอาคารทีร่ ับ แรงใน  วิธอ


ี นื ่ ๆ (โปรดระบุ)
แนวราบ (K) {K = 1.67 สาหรับอาคาร
คอนกรีตทีม่ คี วามเหนียวแบบธรรมดา}
- สัมประสิทธิแ์ รงแผ่นดินไหว (C)
- สัมประสิทธิ์ของการประสานความถีธ่ รรมชาติ
ระหว่างอาคารและชัน้ ดินทีต่ งั ้ อาคาร (S)
 วิ ธี ก า ร ค า น ว ณ เ ชิ ง พ ล ศ า ส ต ร์ ( Structural

Dynamics)
 วิธอ ี นื ่ ๆ (โปรดระบุ)  วิธอี นื ่ ๆ (โปรดระบุ)

1.8 สรุป สมรรถนะเบื้อ งต้ น ของอาคารในการต้ า นทานแรงสัน่ สะเทื อ นจาก


แผ่นดิ นไหว
จากการตรวจสอบสมรรถนะเบื้องต้นด้วยแบบแปลนโครงสร้างของอาคาร GPF Witthayu พบว่า
อาคาร A มีลกั ษณะค่อนข้างสม่าเสมอ เนื่องจากพืน้ ทีแ่ ต่ละชัน้ มีขนาดใกล้เคียงกัน นอกจากนี้ศนู ย์กลางของ
มวลและศูนย์กลางความแข็งใกล้เคียงกัน เนื่องจากมีปล่องลิฟท์อยูต่ รงกลางอาคาร

สาหรับอาคาร B มีความไม่สม่าเสมอของมวล และจากการเกิดแรงบิด เนื่องจากบริเวณชัน้ ทีจ่ อด


รถต่างๆมีพน้ื ทีไ่ ม่เท่ากัน และไม่สมมาตรกับปล่องลิฟท์ตรงกลางอาคาร

เพื่อตอบปั ญหาดังกล่าวว่าอาคารจะมีความมันคงแข็
่ งแรงเพียงพอหรือไม่ จึงจาเป็ นต้องจัดทา
แบบจาลองโครงสร้างโดยคานึงถึงคุณสมบัตขิ องวัสดุ รวมถึงสมรรถนะต่างๆข้างต้น และทาการวิเคราะห์

14
.

โครงสร้างโดยวิธสี เปกตรัมการตอบสนองแบบโหมด จากนัน้ จึงตรวจสอบว่าชิน้ ส่วนโครงสร้างแต่ละส่วนมี


กาลังต้านทานแรงภายในทีเ่ กิดขึน้ เพียงพอหรือไม่ รวมถึงตรวจสอบการเคลื่อนทีด่ า้ นข้างของอาคารว่าอยู่
ในเกณฑ์ทเ่ี หมาะสมหรือไม่ ดังรายละเอียดทีจ่ ะแสดงอยูใ่ นบทต่อๆไป

สาหรับรายละเอียดการเสริมเหล็กของอาคาร GPF Witthayu ตรวจสอบพบว่าโครงสร้างส่วนใหญ่


ของอาคารมีความเหนียวแบบธรรมดา (Ordinary Reinforced Concrete) ซึง่ ปั จจุบนั มาตรฐานประกอบการ
ออกแบบอาคารเพื่อต้านทานการสันสะเทื ่ อนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301 พ.ศ. 2554 ได้กาหนดให้อาคาร
สาธารณะทีอ่ ยู่ในบริเวณเสีย่ งต่อภัยแผ่นดินไหวมีรายละเอียดการเสริมเหล็ก โครงสร้างแบบความเหนียว
จากัด (Ductile Reinforced Concrete) ซึง่ มีการจัดเรียงการเสริมเหล็กในส่วนโครงสร้างรับแรงเฉือนทีถ่ แ่ี ละ
เป็ นระบบขึน้ อย่างไรก็ดใี นการวิเคราะห์โครงสร้างของอาคาร GPF Witthayu จะมีการใช้ค่าตัวประกอบ
ปรับผลตอบสนองที่ตรงกับ โครงสร้างที่ม ีความเหนี ยวแบบธรรมดา ซึ่งจะทาให้แรงแผ่นดินไหวทีน่ ามา
วิเคราะห์มคี า่ เพิม่ ขึน้ เพือ่ ทดแทนความเหนียวของโครงสร้างอาคารทีน่ ้อยลง

15
.

2 การวิ เคราะห์โครงสร้าง

2.1 แนวความคิ ดในการวิ เคราะห์


อาคาร GPF Witthayu ประกอบด้ว ยอาคาร 2 อาคาร ได้แ ก่ อาคาร A ซึ่งเป็ น ส่ว นของอาคาร
สานักงาน 18 ชัน้ (20 ชัน้ รวมดาดฟ้ า ห้องเครื่อง และลานจอดเฮลิคอปเตอร์) และอาคาร B ซึง่ เป็ นอาคาร
จอดรถ และส านั ก งาน สูง 16 ชัน้ (17 ชัน้ รวมหลัง คาและห้อ งเครื่อ งลิฟ ท์ ) โดยสองอาคารนี้ ม ีร ะบบ
โครงสร้างแยกออกจากกัน มีทางเดินเชื่อมกันบริเวณชัน้ ใต้ดนิ และชัน้ 1 ในการวิเคราะห์โครงสร้าง จะทา
การจาลองและวิเคราะห์โครงสร้างเป็ นอิสระจากกัน เนื่องจากการเชื่อมของอาคารในระดับผิวดินมีผลกับ
พฤติกรรมของอาคารภายใต้แรงแผ่นดินไหวน้อยมาก

2.2 แบบจาลองโครงสร้าง
การจาลองโครงสร้างอาคาร GPF Witthayu จะใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ETABS โดยอ้างอิงตาม
แบบโครงสร้า ง และสถาปั ต ยกรรมของอาคารที่ไ ด้ ร ับ จากกองทุ น บ าเหน็ จ บ านาญข้า ราชการ โดย
รายละเอียดการจาลองโครงสร้างและการวิเคราะห์แรงทีเ่ กิดขึน้ ในส่วนต่างๆของโครงสร้าง ได้แสดงไว้ใน
ภาคผนวก ก

โปรแกรม ETABS เป็ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้หลักการไฟไนต์อลิ เิ มนต์ (Finite Element) โดย


สามารถจาลองและวิเคราะห์โครงสร้างในรูปแบบ 3 มิตทิ ซ่ี บั ซ้อนได้ โดยโปรแกรมสามารถจาลองมิตแิ ละ
ขนาดของโครงสร้าง น้ าหนักที่กระทา ลักษณะการรองรับโครงสร้าง และการถ่ายแรง เป็ นต้น ผลการ
วิเ คราะห์จ ากโปรแกรมได้แ ก่ โมเมนต์ด ัด (Bending Moment), แรงในแนวแกน (Axial Force), แรงบิด
(Torsion), แรงเฉือน (Shear Force), การแอ่นตัว (Deflection), แรงทีจ่ ุดรองรับ (Support Reaction) จะถูก
แสดงอยู่ในรูปแบบแผนภาพและรูปแบบตาราง แบบจาลองสามมิตขิ องโครงสร้างด้วยโปรแกรม ETABS
แสดงไว้ในรูปที่ 3 และรูปที่ 4

16
.

(ก) อาคาร A (ข) อาคาร B

รูป ที่ 3 แบบจาลองโครงสร้า ง (สามมิติ)

(ก) อาคาร A ชัน้ 1 (ข) อาคาร A ชัน้ 8

(ค) อาคาร B ชัน้ 8 (ง) อาคาร B ชัน้ 10

รูป ที่ 4 ตัว อย่า งแบบจาลองโครงสร้า ง (ผังพื้น )

17
.

2.3 แรงในการวิ เคราะห์โครงสร้าง


การวิเคราะห์โครงสร้าง จะพิจารณาแรงต่อไปนี้

 น้าหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load)


 น้าหนักบรรทุกจร (Live Load)
 แรงลม ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527)
 แรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหว ตามมาตรฐานกรมโยธาธิการและผังเมือง มยผ. 1302

2.3.1 น้าหนักบรรทุกคงที่

น้ าหนักบรรทุกคงที่ คานวณจากขนาดของโครงสร้างคอนกรีต เสริมเหล็กจริง โดยสมมุติความ


หนาแน่ นของคอนกรีตเท่ากับ 2400 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร นอกจากนี้ จะสมมุตนิ ้ าหนักคงทีเ่ พิม่ เติม
(Superimposed Load) ดังนี้

 โถงชัน้ ล่าง 150 กิโลกรัมต่อตารางเมตร


 สานักงาน 200 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
 ถังน้า คิดตามปริมาตรความจุน้าจริง

2.3.2 น้าหนักบรรทุกจร

น้ าหนักบรรทุกจร ใช้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527) ออกตามความในพระราชบัญญัติ


ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 เป็ นดังตารางที่ 1

18
.

ตารางที่ 1 น้า หนั กบรรทุกจร

ประเภทและส่วนต่าง ๆ ของอาคาร น้าหนักบรรทุกจร


(kg/m2)
กันสาดหรือหลังคาคอนกรีต 100
อาคารพาณิชย์ ส่วนของห้องแถว ตึกแถวทีใ่ ช้เพือ่ การพาณิชย์ มหาวิทยาลัย 300
วิทยาลัย โรงเรียนและโรงพยาบาล
ห้องโถง บันได ช่องทางเดินของอาคารชุด หอพัก โรงแรม สานักงาน และ 300
ธนาคาร
ตลาด อาคารสรรพสินค้า หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร ห้องประชุม ห้อง 400
อ่านหนังสือในห้องสมุดหรือหอสมุด ทีจ่ อดหรือเก็บรถยนต์นงั ่ หรือ
รถจักรยานยนต์
ห้องโถง บันได ช่องทางเดินของตลาด อาคารสรรพสินค้า ห้องประชุม 500
หอประชุม โรงมหรสพ ภัตตาคาร ห้องสมุด และหอสมุด

2.3.3 แรงลม

แรงลม ใช้ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2527) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร


พ.ศ. 2522เพือ่ เปรียบเทียบผลของแรงด้านข้างจากแรงลมทีใ่ ช้ในการออกแบบอาคารนี้ กับแรงด้านข้างจาก
แผ่นดินไหว โดยแรงลมทีใ่ ช้ออกแบบ เป็ นดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 แรงดัน ลม

ความสูง แรงดันจากลม
0 – 10 เมตร 50 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
10 – 20 เมตร 80 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
20 – 40 เมตร 120 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
> 40 เมตร 160 กิโลกรัมต่อตารางเมตร

2.3.4 แรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดิ นไหว

การวิเ คราะห์ผลของแรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่น ดินไหวที่กระทาต่ออาคาร จะวิเ คราะห์โดยใช้วิธี
สเปกตรัม การตอบสนองแบบโหมด ตามมาตรฐานการออกแบบอาคารต้า นทานการสันสะเทื ่ อ นของ
แผ่นดินไหวของกรมโยธาธิการและผังเมือง (มยผ. 1302) พ.ศ. 2552 โดยมีสมมุตฐิ านดังนี้

19
.

 โครงสร้างเป็ นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ระบบปฏิสมั พัทธ์ (R = 4.5, Cd = 4)


 ใช้สเปกตรัมการตอบสนองของกรุงเทพมหานคร (โซน 5)
 ตัวประกอบความสาคัญ 1.0
นอกจากนี้ แรงเฉือนทีฐ่ านทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์โดยวิธสี เปกตรัมการตอบสนองแบบโหมด จะต้อง
มีการปรับให้มคี า่ ไม่น้อยกว่า 85% ของค่าทีไ่ ด้จากการคานวณโดยวิธแี บบแรงสถิตเทียบเท่า

2.3.5 การรวมแรง (Load Combinations)

การรวมแรง จะใช้การรวมแรงของมาตรฐาน ACI 318-99 (1999) ร่วมกับมาตรฐาน มยผ. 1302 ดัง


สรุปในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 การรวมแรง

ตัวคูณแรง
กรณี ของการรวมแรง Dead Live Wind X Wind Y EQ X EQ Y
DL 1.4 1.7
DLWX 1.05 1.275 1.275
DLWY 1.05 1.275 1.275
DWX 0.9 1.3
DWY 0.9 1.3
DLEQX 1.2 1.0 1 0.3
DLEQY 1.2 1.0 0.3 1
DEQX 0.9 1 0.3
DEQY 0.9 0.3 1

2.4 คุณสมบัติของวัสดุ
ในการวิเคราะห์ จะสมมุ ตใิ ห้คอนกรีตมีกาลังรับแรงอัดประลัย 280 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
เหล็กเสริมกลม (RB) จะมีกาลังรับแรงดึงทีจ่ ุดคราก เท่ากับ 2400 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ส่วนเหล็ก
เสริมข้ออ้อย (DB) จะมีกาลังรับแรงดึงทีจ่ ุดคราก เท่ากับ 4000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

20
.

2.5 วิ ธีการวิ เคราะห์และสมมุติฐาน


การวิเคราะห์โครงสร้างภายใต้น้ าหนักบรรทุกคงที่ น้ าหนักบรรทุกจร และแรงลม จะใช้วิธีการ
วิเคราะห์แบบแรงคงทีแ่ ละสมมุตใิ ห้วสั ดุมพี ฤติกรรมเชิงเส้น (Linear Static Procedure) ส่วนการวิเคราะห์
แรงแผ่ น ดิน ไหว จะใช้วิธีพ ลศาสตร์ แ บบเชิง เส้น (Linear Dynamic Procedure) โดยใช้ส เปกตรัม การ
ตอบสนอง

ในการวิเคราะห์ จะพิจารณาผลของความชะลูดของเสา (P-Delta Effect) ไว้แล้ว และทาการลดค่า


โมเมนต์ความเฉื่อยเพือ่ คานึงถึงผลของการแตกร้าว ตาม มยผ. 1302

21
.

3 ผลการวิ เคราะห์โครงสร้าง

3.1 โหมดการบิด (Mode Shapes)

3.1.1 อาคาร A

ลักษณะของ Mode Shape สามโหมดแรกของอาคาร A ได้แสดงไว้ในรูปที่ 5 ซึง่ จะเห็นได้ว่า โหมด


แรกเป็ นการเคลื่อนตัวในแกน X เป็ นหลัก โหมดทีส่ องเป็ นการเป็ นการหมุนรอบแกน Z ส่วนโหมดทีส่ าม
เป็ นเคลื่อนตัวในแกน Y เป็ นหลัก ซึง่ ลักษณะของโหมดทัง้ สามเป็ นลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ เนื่องจากอาคารที่
จะต้านทานแผ่นดินไหวได้ดี ไม่ควรมีการเสียรูปในลักษณะแปลกๆในโหมดแรกๆ พฤติกรรมของโหมด
เหล่านี้ เกิดเนื่องจากการทีอ่ าคาร A มีรปู ทรงค่อนข้างสมมาตรกัน มีปล่องลิฟท์อยูต่ รงกลาง

(ก) Mode 1, Period 3.28 sec (ข) Mode 2, Period 2.07 sec (ค) Mode 3, Period 1.98 sec

รูป ที่ 5 ลักษณะของ Mode Shape หลักของโครงสร้า งอาคาร A

22
.

3.1.2 อาคาร B

ลักษณะของ Mode Shape สามโหมดแรกของอาคาร B ได้แสดงไว้ในรูปที่ 6 ซึง่ จะเห็นได้ว่า โหมด


แรกเป็ นการเคลื่อนตัวในแกน X โหมดทีส่ อง เป็ นการหมุนรอบแกน Z ส่วนโหมดทีส่ ามเป็ นการเคลื่อนตัวใน
แกน Y อย่างไรก็ตาม ในแต่ละโหมด จะมีการบิดของอาคารร่วมด้วยเล็กน้อย เนื่องจากอาคาร B มีความไม่
สมมาตรในส่วนทีเ่ ป็ นทีจ่ อดรถ โดยมีปล่องลิฟท์ชดุ หนึ่งอยูต่ รงมุม แต่โดยภาพรวมพบว่าพฤติกรรมการเสีย
รูปอยูใ่ นลักษณะทีป่ กติ

(ก) Mode 1, Period 3.42 sec (ข) Mode 2, Period 2.72 sec

(ค) Mode 3, Period 2.27 sec

รูป ที่ 6 ลักษณะของ Mode Shape หลักของโครงสร้า งอาคาร B

23
.

3.2 การเคลื่อนที่ด้านข้างจากแรงแผ่นดิ นไหว


การเคลื่อนที่ดา้ นข้างของอาคารภายใต้แรงแผ่นดินไหวระหว่างชัน้ (Inter-story Drift) จะต้องมีค่า
ไม่เกิน 2% ของความสูงชัน้ สาหรับอาคารทัวไป่ ตามมาตรฐาน มยผ. 1302 ว่าด้วยข้อกาหนดด้านการ
เคลื่อนตัวสัมพัทธ์ระหว่างชัน้ ทีย่ อมให้

รูปที่ 7 และรูปที่ 8 แสดงการเคลื่อนทีด่ ้านข้างระหว่างชัน้ สูงสุดทัง้ ในทิศ X และ Y ของอาคาร A


และ B ตามลาดับ ซึ่งจะสังเกตได้ว่า อาคาร A มีแนวโน้มทีจ่ ะมีการเคลื่อนทีจ่ ากแผ่นดินไหวในทิศทาง X
มากกว่าในทิศทาง Y เล็กน้อย โดยชัน้ ทีม่ กี ารเคลื่อนตัวระหว่างชัน้ สูงสุดได้แก่ ชัน้ 13-15 โดยภาพรวม การ
เคลื่อนทีด่ า้ นข้างของอาคารภายใต้แรงแผ่นดินไหวมีคา่ ไม่เกิน 0.6% ซึง่ ต่ากว่าค่าสูงสุดทีย่ อมให้

อาคาร B มีแนวโน้มทีจ่ ะมีการเคลื่อนทีด่ า้ นข้างของอาคารมากกว่าอาคาร A ทัง้ นี้เนื่องจากอาคาร


B มีผนังสาหรับรับแรงด้านข้างในสัดส่วนน้ อยกว่าเมื่อเทียบกับพื้นที่ใช้สอยของอาคาร โดยอาคาร B มี
แนวโน้ มที่จะมีการเคลื่อนที่จากแผ่นดินไหวในทิศทาง Y มากกว่าในทิศทาง X เล็กน้ อย และชัน้ ที่มกี าร
เคลื่อนตัวระหว่างชัน้ สูงสุดได้แก่ ชัน้ 14 อย่างไรก็ดี การเคลื่อนทีด่ า้ นข้างของอาคารภายใต้แรงแผ่นดินไหว
มีคา่ ไม่เกิน 1.2% ซึง่ ต่ากว่าค่าสูงสุดทีย่ อมให้

1.2

Max of Drift X (%)


1
Max of Drift Y (%)
Interstory Drift (%)

0.8

0.6

0.4

0.2

0
29.7

41.1
10.7
14.5
18.3
22.1
25.9

33.5
37.3

44.9
48.7
52.5
56.3
60.1
63.9
67.7
71.6
73.6
76.3
1.5
6.7

Elevation (m)

รูป ที่ 7 การเคลื่อนที่ด้า นข้า งระหว่ า งชัน้ สูงสุด ของอาคาร A

24
.

1.2
Max of Drift X (%)
1
Interstory Drift (%) Max of Drift Y (%)

0.8

0.6

0.4

0.2

Elevation (m)

รูป ที่ 8 การเคลื่อนที่ด้า นข้า งระหว่ า งชัน้ สูงสุด ของอาคาร B

จากการวิเคราะห์ พบว่าจุดที่มกี ารเคลื่อนที่ระหว่างชัน้ สูงสุด ของอาคาร A ได้แก่ ขอบแผ่นพื้น


บริเวณชัน้ 13 (รูปที่ 9) อย่างไรก็ดี การเคลื่อนทีด่ า้ นข้างนี้ มีคา่ สูงสุด 0.55% สาหรับแผ่นดินไหวในทิศทาง
X ซึง่ มีคา่ ไม่เกินเกณฑ์ทย่ี อมรับได้ตามมาตรฐาน

สาหรับอาคาร B จุดทีม่ กี ารเคลื่อนทีร่ ะหว่างชัน้ สูงสุด ได้แก่ปลายของทางขึน้ ทีจ่ อดรถ ชัน้ 14 (รูป
ที่ 10) โดยมีค่าสูงสุด 1.17% สาหรับแผ่นดินไหวในทิศทาง Y ซึ่งยังมีค่าไม่เ กินเกณฑ์ท่ยี อมรับได้ตาม
มาตรฐาน

รูป ที่ 9 ตาแหน่ งของการเคลื่อนที่ด้า นข้า งสูงสุด ของอาคาร A

25
.

รูป ที่ 10 ตาแหน่ ง ของการเคลื่อนที่ด้า นข้า งสูงสุด ของอาคาร B

3.3 แรงในเสาและกาแพงรับแรงเฉื อน
รูปที่ 11 แสดงผังเสาของอาคารจากแบบโครงสร้าง ส่วนรูปที่ 12 และรูปที่ 13 แสดงผังของกาแพง
รับแรงเฉือน ตามลาดับ ตัวอย่างผลการตรวจสอบกาลังโครงสร้างเสาและกาแพงรับแรงเฉือนในการรับ
โมเมนต์ดดั (Bending Moment) แรงในแนวแกน (Axial Force) และ แรงเฉือน (Shear Force) แสดงอยู่ใน
ภาคผนวก ข และ ภาคผนวก ค ตามลาดับ

จากผลการตรวจสอบทัง้ หมดพบว่าโครงสร้างเสามีกาลังรับน้ าหนักเพียงพอในการต้านทานแรง


แผ่นดินไหวได้ตามทีม่ าตรฐาน มยผ. 1302 กาหนด เนื่องจากเสาของอาคารมีขนาดใหญ่และเสริมเหล็กใน
ปริมาณเหมาะสม โดยพบว่าน้าหนักบรรทุกแนวดิง่ เป็ นแรงทีค่ วบคุมการออกแบบของเสาส่วนใหญ่

ส่วนโครงสร้างของกาแพงรับแรงเฉือน พบว่ากาแพงรับแรงเฉือนของอาคาร A มีกาลังรับโมเมนต์


แรงเฉือน และแรงในแนวแกนสูงกว่าทีต่ อ้ งการมาก เนื่องจากมีพน้ื ทีก่ าแพงในสัดส่วนค่อนข้างมากเทียบกับ
พืน้ ทีข่ องอาคาร อีกทัง้ อาคารยังมีรปู ทรงสม่าเสมอ มีผนังอยู่ในแนวแกนหลักของอาคาร

สาหรับอาคาร B พบว่ากาแพงรับแรงเฉือนมีสดั ส่วนค่อนข้างน้ อยเมื่อเทียบกับพื้นที่ของอาคาร


โดยเฉพาะในชัน้ ทีจ่ อดรถต่างๆ อีกทัง้ กาแพงยังไม่อยู่ในแนวหลักของอาคาร ทาให้กาแพงรับแรงเฉือนใน
ส่วนที่จอดรถต้องรับแรงค่อนข้างสูง โดยจากการตรวจสอบ พบว่ากาแพงบางส่วนอาจเกิดการแตกร้าว
เสียหายภายใต้แรงจากแผ่นดินไหวได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ กาแพง LC2B, LC2D, LC3B, LC3D ในรูปที่ 13

26
.

อย่างไรก็ดี กาลังรับแรงภายใต้สภาวะทีเ่ กิดการแตกร้าวนี้ ยังไม่เกินกาลังรับแรงสูงสุดทีก่ าแพงรับได้ตาม


มาตรฐาน จึงยังถือว่ากาแพงรับแรงเฉือนยังมีความปลอดภัยอยู่

รูป ที่ 11 ผังเสา

27
.

รูป ที่ 12 ผังกาแพงรับ แรงเฉือน อาคาร A

รูป ที่ 13 ผังกาแพงรับ แรงเฉือน อาคาร B

28
.

3.4 แรงในคานหลัก
จากผลการวิเคราะห์โครงสร้างทีไ่ ด้จากโปรแกรม ETABS จะนาโมเมนต์และแรงเฉือนจากการรวม
แรงทีม่ แี รงด้านข้างกระทา ไปเปรียบเทียบกับกรณีทไ่ี ด้จากแรงกระทาจากน้ าหนักบรรทุกแนวดิง่ (น้ าหนัก
บรรทุกคงทีแ่ ละน้าหนักบรรทุกจร) ซึง่ เป็ นแรงทีต่ อ้ งออกแบบให้อาคารสามารถรับได้อยูเ่ ดิมแล้ว หากพบว่า
คานตัวใดมีโมเมนต์หรือแรงเฉือนจากผลของแรงด้านข้างสูงกว่าแรงจากน้ าหนักบรรทุกแนวดิ่ง จะต้อง
ตรวจสอบว่าคานเหล่านัน้ มีกาลังเพียงพอเพื่อรับผลของแรงด้านข้างหรือไม่ ในการตรวจสอบ เนื่องจากมี
คานในอาคารจานวนมาก จะพิจารณาเฉพาะคานทีม่ สี ว่ นต่างสูง นัน่ คือ เป็ นคานหลักของโครงสร้ างทีอ่ าจมี
ผลกระทบต่อความมันคงแข็่ งแรงของอาคารโดยรวม

กาลังรับโมเมนต์และแรงเฉือนของคาน คานวณตามมาตรฐานการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริม
เหล็ก ACI 318-99 โดยกาลังรับน้าหนักทีค่ านวณได้ จะต้องคูณด้วยตัวคูณลดค่ากาลังรับน้าหนัก (Strength
Reduction Factor, Ø ) ดังนี้

 Ø = 0.9 สาหรับโมเมนต์ดดั
 Ø = 0.75 สาหรับแรงเฉือน
จากการตรวจสอบ โดยทัวไปพบว่
่ าน้ าหนักบรรทุกแนวดิง่ เป็ นแรงทีค่ วบคุมการออกแบบของคาน
เกือบทัง้ หมด แต่จะมีคานจานวนหนึ่งเท่านัน้ ทีผ่ ลของแรงแผ่นดินไหวสูงกว่าผลของน้ าหนักบรรทุกแนวดิง่
ดังแสดงตัวอย่างในรูปที่ 14 และรูปที่ 15 ซึง่ เมื่อทาการตรวจสอบกับกาลังรับน้าหนักของคานทีม่ อี ยู่ พบว่า
คานหลักทีม่ กี าลังรับน้าหนักไม่พอเพียงมีดงั ต่อไปนี้

300 DEQX2 MAX


DEQX2 MIN
250
DEQY2 MAX
200 DEQY2 MIN
Shear Difference from DL Case

DL
150 DLEQX2 MAX
DLEQX2 MIN
100 DLEQY2 MAX
DLEQY2 MIN
50
DLWXBK1
0 DLWXBK2
DLWYBK1
(blank)

B93-STORY17-4.5
B5-STORY17-2.25
B5-STORY17-15.3

B24-STORY17-0.9

B75-STORY17-0.5

B80-STORY17-1.5

B95-STORY17-7.8

B100-STORY17-0

B105-STORY17-2

B117-STORY17-2

B144-STORY17-0

B192-STORY17-0

B221-STORY17-0
B131-STORY17-0.68

B231-STORY17-10
B18-STORY17-1.16

B25-STORY17-0.45
B27-STORY17-7.63
B43-STORY17-3.467
B44-STORY17-4.405
B45-STORY17-7.025

B97-STORY17-4.42

B103-STORY17-0.9

B115-STORY17-0.9
B46-STORY17-10.025

B48-STORY17-11.82

B68-STORY17-6.533

B75-STORY17-13.65

B86-STORY17-10.65

B126-STORY17-2.25

B132-STORY17-2.2

B157-STORY17-4.2
B161-STORY17-10.933

B182-STORY17-2.8

B206-STORY17-2.1

B212-STORY17-8.4
B213-STORY17-6.8

B232-STORY17-5.4
B48-STORY17-0

B56-STORY17-0

B90-STORY17-2

B129-STORY17-4.775

B138-STORY17-1.35

B148-STORY17-7.725
B149-STORY17-10.2

B167-STORY17-6.533
B170-STORY17-0.387

B188-STORY17-9.522
B189-STORY17-6.273
B190-STORY17-7.683

B193-STORY17-2.227

B209-STORY17-9.818

-50 DLWYBK2
DWXBK1
-100 DWXBK2
DWYBK1
-150
DWYBK2
-200

รูป ที่ 14 ตัว อย่า งการเปรีย บเทีย บแรงเฉื อนในคาน (อาคาร A ชัน้ 17)

29
.

Moment Difference from DL Case Shear Difference from DL Case Moment Difference from DL Case

-200
-100
0

50
100
200
300

-200
-150
-100
0
400
500

-50
100
150
200
250
300

-200
-100
0
100
200
300
400
500
(blank) (blank) (blank)
B29-STORY16-2.874 B29-STORY16-2.48 B5-STORY17-2.25
B55-STORY16-8.697 B55-STORY16-7.763 B5-STORY17-15.3
B56-STORY16-11.2 B56-STORY16-9.8 B18-STORY17-1.16
B76-STORY16-11.391 B76-STORY16-10.252 B24-STORY17-0.9
B82-STORY16-14.256 B82-STORY16-11.879 B25-STORY17-0.45
B85-STORY16-6.533 B85-STORY16-4.2 B27-STORY17-7.63
B85-STORY16-21.933 B85-STORY16-18.73 B43-STORY17-3.467
B88-STORY16-13.364 B88-STORY16-10.046 B44-STORY17-4.405
B94-STORY16-5.94 B94-STORY16-1.98 B45-STORY17-7.025
B94-STORY16-20.153 B94-STORY16-16.39 B46-STORY17-10.025
B95-STORY16-0.613 B94-STORY16-30.266 B48-STORY17-0
B95-STORY16-15.599 B95-STORY16-10.812 B48-STORY17-11.82
B95-STORY16-33.418 B95-STORY16-27.011 B56-STORY17-0
B97-STORY16-15.4 B97-STORY16-10.573 B68-STORY17-6.533
B111-STORY16-4.2 B75-STORY17-0.5
B111-STORY16-10.083
B116-STORY16-3.492 B75-STORY17-13.65
B116-STORY16-10.959
B127-STORY16-1.245
B134-STORY16-5.133 B80-STORY17-1.5
B134-STORY16-13.745
B138-STORY16-2.027 B86-STORY17-10.65
B138-STORY16-10.733
B143-STORY16-2.035 B90-STORY17-2
B145-STORY16-5.49
B165-STORY16-2.8 B93-STORY17-4.5
B168-STORY16-2.333
B168-STORY16-11.667 B95-STORY17-7.8
B170-STORY16-1.867
B170-STORY16-12.133 B97-STORY17-4.42
B170-STORY16-18.2
B173-STORY16-7 B100-STORY17-0
B173-STORY16-13.533
B173-STORY16-24.75 B178-STORY16-4.2 B103-STORY17-0.9
B178-STORY16-14 B178-STORY16-18.667 B105-STORY17-2
B178-STORY16-30.45 B183-STORY16-0.35 B115-STORY17-0.9
B183-STORY16-10.585 B183-STORY16-14.435 B117-STORY17-2

30
B183-STORY16-24.733 B183-STORY16-28.933 B126-STORY17-2.25
B188-STORY16-7.467 B188-STORY16-11.2 B129-STORY17-4.775
B192-STORY16-0 B192-STORY16-2.347 B131-STORY17-0.68
B192-STORY16-16.524 B192-STORY16-19.324 B132-STORY17-2.2
B195-STORY16-14 B195-STORY16-16.333 B138-STORY17-1.35
B218-STORY16-1.98 B218-STORY16-3.96 B144-STORY17-0
B226-STORY16-7.933 B226-STORY16-9.333 B148-STORY17-7.725
B230-STORY16-6.59 B230-STORY16-7.523 B149-STORY17-10.2
B240-STORY16-0.133 B240-STORY16-0.2 B157-STORY17-4.2
B253-STORY16-1.07 B253-STORY16-1.07 B161-STORY17-10.933
B255-STORY16-3.733 B255-STORY16-3.267 B167-STORY17-6.533
B255-STORY16-18.2 B255-STORY16-17.68 B170-STORY17-0.387
B270-STORY16-11.01 B270-STORY16-9.875 B182-STORY17-2.8
B270-STORY16-24.781 B270-STORY16-23.268 B188-STORY17-9.522
B271-STORY16-5.989 B271-STORY16-4.098 B189-STORY17-6.273
B271-STORY16-21.213 B271-STORY16-18.738 B190-STORY17-7.683
B275-STORY16-4.455 B275-STORY16-1.485 B192-STORY17-0
B275-STORY16-20.162 B275-STORY16-17.06 B193-STORY17-2.227
B279-STORY16-13.027 B279-STORY16-8.867 B206-STORY17-2.1
B282-STORY16-3.96 B279-STORY16-24.275 B209-STORY17-9.818
B282-STORY16-22.619 B282-STORY16-17.324 B212-STORY17-8.4
B289-STORY16-10.653 B213-STORY17-6.8

รูป ที่ 17 ตัว อย่า งการเปรีย บเทีย บโมเมนต์ใ นคาน (อาคาร B ชัน้ 15)
รูป ที่ 15 ตัว อย่า งการเปรีย บเทีย บโมเมนต์ใ นคาน (อาคาร A ชัน้ 17)

B310-STORY16-0.933 รูป ที่ 16 ตัว อย่า งการเปรีย บเทีย บแรงเฉื อนในคาน (อาคาร B ชัน้ 15)
B311-STORY16-1.315 B310-STORY16-12.6 B221-STORY17-0
B332-STORY16-4.667 B311-STORY16-11.758 B231-STORY17-10
B342-STORY16-4.074 B340-STORY16-2.48 B232-STORY17-5.4
DL

DL
DL

DWYBK2
DWYBK1
DWXBK2
DWXBK1
DLWYBK2
DLWYBK1
DLWXBK2
DLWXBK1

DWYBK2
DWYBK1
DWXBK2
DWXBK1
DLWYBK2
DLWYBK1
DLWXBK2
DLWXBK1
DLWYBK2
DLWYBK1

DEQY2 MIN
DLWXBK2
DLWXBK1

DEQX2 MIN
DEQY2 MAX

DEQX3 MAX
DEQX2 MAX

DLEQY3 MIN
DLEQY2 MIN

DLEQX3 MIN
DLEQX2 MIN

DLEQY3 MAX
DLEQY2 MAX

DLEQX3 MAX
DLEQX2 MAX

DEQY2 MIN
DEQY2 MIN

DEQX2 MIN
DEQX2 MIN

DEQY2 MAX
DEQY2 MAX

DEQX2 MAX

DEQX3 MAX
DEQX2 MAX

DLEQY3 MIN
DLEQY2 MIN
DLEQY2 MIN

DLEQX3 MIN
DLEQX2 MIN
DLEQX2 MIN

DLEQY2 MAX

DLEQY3 MAX
DLEQY2 MAX

DLEQX3 MAX
DLEQX2 MAX
DLEQX2 MAX
.

3.4.1 คานเชื่อมผนังลิ ฟท์ อาคาร A

คานทีเ่ ชื่อมผนังปล่องลิฟท์ของอาคาร A ทีพ่ บว่ามีกาลังไม่เพียงพอ ได้แสดงไว้ในรูปที่ 18 ซึง่ โดย


ส่วนใหญ่เป็ นคานสัน้ ทีเ่ ชื่อมปล่องลิฟท์ สองปล่องเข้าด้วยกัน ภายใต้แรงแผ่นดินไหวในทิศทาง X หรือ Y
ปล่องลิฟท์จะเกิดการเซ ทาให้เกิดโมเมนต์ดดั และแรงเฉือนในคานทีเ่ ชื่อมผนังปล่องลิฟท์น้ีเกินกาลังทีค่ านนี้
จะรับได้

โดยทัวไปคานที
่ อ่ ยูร่ ะหว่างปล่องลิฟท์จะยอมให้เกิดการวิบตั แิ บบพลาสติก (Plastic Hinge) บริเวณ
รอยต่อระหว่างคานกับผนังลิฟท์ทงั ้ สองด้านภายใต้แรงแผ่นดินไหว ซึ่งจะทาให้โมเมนต์ท่ตี ้องออกแบบ
รองรับลดลง อย่างไรก็ดกี ารทีจ่ ะเกิดพฤติกรรมนี้ได้ จะต้องออกแบบให้ ไม่เกิดการวิบตั เิ นื่องจากแรงเฉือน
เสียก่อนทีจ่ ะเกิด Plastic Hinge

แรงเฉือนทีใ่ ช้ออกแบบ จะต้องคานวณด้วยวิธี Capacity Design คือเป็ นแรงเฉือนทีเ่ กิดเมื่อคาน


เกิดโมเมนต์ดดั สูงสุดทีป่ ลายทัง้ สอง และต้องมีรายละเอียดการเสริมเหล็กปลอกทีม่ รี ะยะถี่

ตารางที่ 4 แสดงกาลังรับแรงเฉือนของคานจากแบบก่อสร้าง เทียบกับกาลังรับแรงเฉือนทีต่ อ้ งการ


จากวิธี Capacity Design พบว่ากาลังรับแรงเฉือนของคาน BC1 มีค่าเกินกาลังทีต่ อ้ งการจากวิธี Capacity
Design ดังนัน้ คานนี้น่าจะวิบตั แิ บบพลาสติกก่อน แต่เนื่องจากระยะเรียงของเหล็กปลอกของคานนี้ (200
มิลลิเมตร) ไม่ได้ตามมาตรฐานสาหรับแผ่นดินไหว (กาหนดไว้เป็ น 1/4 เท่าของความลึก) ทีก่ าหนดไว้เพื่อ
ป้ องกันการสูญเสียกาลังรับแรงเฉือนภายใต้แรงดัดกลับไปกลับมา ดังนัน้ คานนี้จงึ อาจมีความเสีย่ งในการ
วิบตั อิ ยู่ หากเกิดการสันไหวรุ
่ นแรงกลับไปกลับมาหลายรอบ อย่างไรก็ดี คาน BC1 นี้ ไม่ได้รองรับแผ่นพืน้
ใดๆ เนื่องจากมีทศิ ขนานกับแนวของแผ่นพืน้ ทางเดียว ดังนัน้ หากคานนี้เกิด การวิบตั ขิ น้ึ ก็จะเป็ นการวิบตั ิ
ของคานตัวนี้ตวั เดียว ไม่กระทบกับส่วนโครงสร้างอืน่ ของอาคาร อีกทัง้ คานนี้ไม่ได้อยูใ่ นบริเวณทีจ่ ะกีดขวาง
ทางออกฉุกเฉิน ดังนัน้ อาจไม่จาเป็ นต้องทาการเสริมกาลังคานนี้กไ็ ด้

ส่ ว นคาน BA3 พบว่ า คานนี้ ม ีก าลัง ไม่ เ พีย งพอก าลัง ที่ต้อ งการจากวิ ธี Capacity Design หาก
ต้องการให้คานสามารถรับแรงจากแผ่นดินไหวได้ตามมาตรฐาน จาเป็ นจะต้องมีการเสริมกาลังคานเหล่านี้
เพื่อ ต้า นทานแรงเฉื อ นทุ ก ชัน้ เพื่อ ยอมให้ค านนี้ ส ามารถเกิด Plastic Hinge ได้ คานนี้ ม ีค วามส าคัญ
พอสมควรเนื่องจากต้องรองรับคานย่อยอีกตัวหนึ่ง จึงควรพิจารณาเสริมกาลังคานนี้เพือ่ ให้สามารถต้านทาน
แรงแผ่นดินไหวได้

31
.

BC1

BA3

รูป ที่ 18 ตาแหน่ ง คานเชื่อมผนังลิฟ ท์ อาคาร A

ตารางที่ 4 คานเชื่อมผนังลิฟ ท์ อาคาร A ที่ม ีกาลังรับ แรงเฉื อนไม่ เ พีย งพอ

คานหมายเลข ขนาด กาลังรับแรงเฉื อนที่ มี กาลังรับแรงเฉื อนตามวิ ธี


(mm×mm) (kN) Capacity Design (kN)
BA3 200×600 156 178
BC1 200×400 80 31

3.4.2 คานเชื่อมผนังลิ ฟท์ อาคาร B

คานทีเ่ ชื่อมผนังปล่องลิฟท์ของอาคาร B ทีพ่ บว่ามีกาลังไม่เพียงพอ ได้แสดงไว้ในรูปที่ 19 ซึง่ ป็ น


คานสัน้ ทีเ่ ชื่อมปล่องลิฟท์สองปล่องเข้าด้วยกัน ภายใต้แรงแผ่นดินไหวในทิศทาง X หรือ Y ปล่องลิฟท์จะ
เกิดการเซ ทาให้เกิดโมเมนต์ดดั และแรงเฉือนในคานทีเ่ ชือ่ มผนังปล่องลิฟท์น้ีเกินกาลังทีค่ านนี้จะรับได้

หากยอมให้เกิด Plastic Hinge ในคานนี้ ต้องออกแบบคานนี้ให้ไม่เกิดการวิบตั เิ นื่องจากแรงเฉือน


โดยใช้วธิ ี Capacity Design เช่นเดียวกับในหัวข้อก่อนหน้า

จากตารางที่ 5 พบว่ากาลังรับแรงเฉือนของคานนี้มมี ากเพียงพอทีจ่ ะยอมให้เกิด Plastic Hinge ได้


ดังนัน้ คานนี้น่าจะวิบตั แิ บบพลาสติกก่อน แต่เนื่องจากระยะเรียงของเหล็กปลอกของคานนี้ มีระยะมากกว่าที่
32
.

กาหนดในมาตรฐานสาหรับแผ่นดินไหว นัน้ คานนี้จงึ อาจจะยังมีความเสีย่ งในการวิบตั อิ ยู่บ้าง ภายการสัน่


ไหวรุนแรงกลับไปกลับมาหลายรอบ เพื่อลดความเสีย่ งนี้ อาจพิจารณาเสริมกาลังรับแรงเฉือนของคานเพือ่
ป้ องกันการวิบตั นิ ้ี อย่างไรก็ดี คาน BC1 นี้ ไม่ได้รองรับแผ่นพืน้ ใดๆ เนื่องจากมีทศิ ขนานกับแนวของแผ่น
พื้นทางเดียว ดังนัน้ หากคานนี้เกิดการวิบตั ขิ ้ึน ก็จะเป็ นการวิบตั ขิ องคานตัวนี้ตวั เดียว ไม่กระทบกับส่วน
โครงสร้างอืน่ ของอาคาร

B26

B26

รูป ที่ 19 ตาแหน่ ง คานเชื่อมผนังลิฟ ท์ อาคาร B

ตารางที่ 5 คานเชื่อมผนังลิฟ ท์ อาคาร B ที่ม ีกาลังรับ แรงเฉื อนไม่ เ พีย งพอ

คานหมายเลข ขนาด กาลังรับแรงเฉื อนที่ มี กาลังรับแรงเฉื อนตามวิ ธี


(mm×mm) (kN) Capacity Design (kN)
B26 250×400 143 48

33
.

4 สรุปผลการประเมิ น

ได้ทาการวิเคราะห์และตรวจสอบกาลังโครงสร้างต้านทานแรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหวของ
อาคาร GPF Witthayu ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร จากแบบแปลนการก่อสร้าง
งานวิศวกรรมโครงสร้าง ประกอบกับสมมุตฐิ านทางทฤษฎีดา้ นวิศวกรรมโครงสร้างแล้ว สามารถสรุปผลการ
ประเมินสมรรถนะต้านทานแรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหวของอาคารตามลาดับ ได้ดงั นี้

4.1 การตรวจสอบลักษณะรูปทรงของโครงสร้างอาคาร
จากการตรวจสอบแบบแปลนโครงสร้างของอาคาร พบว่าอาคาร A มีความสม่าเสมอของโครงสร้าง
แต่อาคาร B อาจมีจุดอ่อนในการต้านทานแรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหวใน 2 ลักษณะคือ

 ความไม่ส ม่ า เสมอของโครงสร้า งในแนวดิ่ง โดยมีความไม่ส ม่ า เสมอของมวล (Mass


Irregularity) เนื่องจากมวลประสิทธิผล (Effective Mass) ของชัน้ ใดๆ มีคา่ มากกว่าร้อยละ
150 ของชัน้ ทีต่ ดิ กัน
 ความไม่ ส ม่ า เสมอของผัง โครงสร้า ง (Horizontal Structural Irregularity) เนื่ อ งจากมี
จุดศูนย์ถ่วง (Center of Gravity) ห่างจากจุดศูนย์กลางของความแข็ง (Center of Rigidity)
มากกว่าร้อยละ 20 ของความกว้างอาคารด้านใดด้านหนึ่ง
สมรรถนะของอาคารในการต้านทานแรงแผ่นดินไหวของอาคาร B จึงไม่เทียบเท่ากับอาคาร A ซึง่ มี
รูปทรงสม่าเสมอ และอาจทาให้เกิดการบิดตัวภายใต้การสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหวได้

34
.

4.2 การวิ เคราะห์โครงสร้างอาคาร


จากการวิเ คราะห์โครงสร้าง ด้ว ยแบบจาลอง 3 มิติ โดยโปรแกรมคอมพิว เตอร์ ETABS อย่า ง
ละเอียด ภายใต้แรงกระทาจากน้าหนักบรรทุก แรงแผ่นดินไหว และแรงลม ตามกฎกระทรวงฯและมาตรฐาน
ทีเ่ กีย่ วข้อง มีผลโดยสรุปดังต่อไปนี้

4.2.1 การตอบสนองของโครงสร้างโดยรวม

การเคลื่อนตัวสัมพัทธ์ระหว่างชัน้ (Inter-story Drift) ของอาคารภายใต้แรงแผ่นดินไหว อยูใ่ นเกณฑ์


ทีม่ าตรฐานกาหนด ซึง่ อาจกล่าวได้ว่าอาคารนี้จะไม่เกิดการวิบตั ใิ นลักษณะพังทลาย (Collapse) ภายใต้แรง
แผ่นดินไหวทีก่ าหนดไว้ตามมาตรฐาน มยผ. 1302 ของกรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย

4.2.2 การตรวจสอบกาลังของชิ้ นส่วนโครงสร้าง

เมือ่ เปรียบเทียบแรงภายในทีเ่ กิดขึน้ กับกาลังต้านทานของชิน้ ส่วนโครงสร้าง พบว่า

 เสามีกาลังต้านทานแรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหวเพียงพอ
 กาแพงรับ แรงเฉือน (Shear Wall) ซึ่งเป็ น ส่ว นโครงสร้า งคอนกรีต เสริม เหล็ก มีกาลัง
ต้านทานเพียงพอ
 คานในอาคาร A และ B โดยรวมพบว่าแรงแผ่นดินไหวมิได้เป็ นปั จจัยหลัก ควบคุมการ
ออกแบบของคานเหล่านี้ ยกเว้นคานทีเ่ ชื่อมผนังลิฟท์เข้าด้วยกัน บางจุด ตามทีป่ รากฎใน
แบบแปลนก่อสร้าง เนื่องจากคานเหล่านี้มกี าลังรับแรงเฉือนและโมเมนต์ดดั ไม่พอเพียงต่อ
แรงกระทาจากแผ่นดินไหว จึงอาจเกิดการแตกร้าวหรือวิบตั ไิ ด้

35
.

4.3 การประเมิ นสมรรถนะของอาคารในการต้านทานแผ่นดิ นไหว


จากผลการวิเ คราะห์ แ ละประเมิน อาจกล่ า วได้ ว่ า อาคารนี้ จ ะมีค วามสามารถต้ า นทานแรง
แผ่นดินไหว ได้ประมาณ 2.5% ของความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก (g) ซึง่ เทียบได้กบั แผ่นดินไหว
ขนาด 7.2 ริกเตอร์ทร่ี ะยะไกล กระทาทีต่ วั อาคาร โดยทีจ่ ะต้องมีการแก้ไขข้อบกพร่องของคาน ตามทีร่ ะบุใน
4.2.2

4.4 ข้อเสนอแนะ
จากผลสรุปข้างต้น จึงมีความเห็นว่าควรจะมีการปรับปรุงและเสริมกาลังให้กบั ส่วนโครงสร้างคาน
เชือ่ มปล่องลิฟท์ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คาน BA3 ในอาคาร A ซึง่ มีแนวทางในการดาเนินการได้หลายวิธี ดังนี้

4.4.1 การใช้วสั ดุโพลิ เมอร์เสริ มเส้นใยคาร์บอน (CFRP)

วิธีน้ีจะทาการติดแผ่น CFRP เข้าไปกับผิวคานคอนกรีตโดยใช้กาวอิพ อกซี่ บริเวณตาแหน่ งที่


ต้องการเสริม กาลังทัง้ แรงเฉือนและโมเมนต์ด ัด วิธีการนี้ ย งั สามารถเพิ่ม ความเหนีย วให้กบั ข้อต่อของ
โครงสร้างได้อกี ด้วย สามารถติดตัง้ ได้คอ่ นข้างง่ายและรวดเร็ว ไม่กระทบกับพืน้ ทีใ่ ช้สอยของอาคาร

4.4.2 การเสริ มความแข็งแรงโดยใช้เหล็กแผ่น (Steel Jacketing)

วิธนี ้ีจะทาการติดตัง้ เหล็กแผ่นเข้ากับคานคอนกรีต โดยใช้สลักยึด (Anchor Bolt) บริเวณตาแหน่งที่


ต้องการเสริมกาลังทัง้ แรงเฉือนและโมเมนต์ดดั วิธีน้ีมคี วามคงทนถาวรมากกว่าวิธี 0 แต่มคี วามยุ่งยากใน
การติดตัง้ มากกว่า และอาจกระทบกับพืน้ ทีใ่ ช้สอยของอาคารบ้าง

36
.

เอกสารอ้างอิ ง

1. กฎกระทรวง กาหนดการรับน้าหนัก ความต้านทาน ความคงทนของอาคารและพืน้ ดินทีร่ องรับ


อาคารในการต้านทานแรงสันสะเทื
่ อนของแผ่นดินไหว พ.ศ. 2550
2. กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย : มาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทานการ
สันสะเทื
่ อนของแผ่นดินไหว มยผ. 1302 พ.ศ. 2552
3. กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย : มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพือ่
ต้านทานการสันสะเทื
่ อนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301 พ.ศ. 2554
4. American Society of Civil Engineers: Minimum Design Loads for Buildings and Other
Structures, 2005 (ASCE 7-05)
5. American Society of Civil Engineers / Structural Engineering Institute: Seismic Evaluation
of Existing Buildings, 2003 (ASCE/SEI 31-03)
6. British Standards: Design of Structures for Earthquake Resistance, 2005 (BS EN 1998-3-
05)
7. New Zealand Society for Earthquake Engineering: Assessment and Improvement of the
Structural Performance of Buildings in Earthquakes, 2006 (NZSEE-06)
8. Standards Australia: Strengthening Existing Buildings for Earthquake, 1998 (AS 3826-
1998)
9. ACI Committee 318: Building Code Requirements for Structural Concrete, 1999 (ACI318-
99)
10. Computers and Structures, Inc., ETABS Plus 9.7.1, Extended 3D Analysis of Building
Systems

37
.

ภาคผนวก ก: แบบจาลองโครงสร้าง

รูป ที่ 20 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ ใต้ดิน

รูป ที่ 21 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ 1

38
.

รูป ที่ 22 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ 2

รูป ที่ 23 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ 3-7

39
.

รูป ที่ 24 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ 8-17

รูป ที่ 25 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ 18

40
.

รูป ที่ 26 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ ดาดฟ้ า

รูป ที่ 27 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ ห้องเครื่อง

41
.

รูป ที่ 28 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ แท็งก์น้า

รูป ที่ 29 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร A ชัน้ ลานจอดเฮลิคอปเตอร์

42
.

รูป ที่ 30 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ ใต้ดิน

รูป ที่ 31 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 1A

43
.

รูป ที่ 32 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 1

รูป ที่ 33 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 1B

44
.

รูป ที่ 34 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 2A, 3A

รูป ที่ 35 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 2B

45
.

รูป ที่ 36 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 3B

รูป ที่ 37 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 3, 4, 5, 6

46
.

รูป ที่ 38 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 4A, 5A, 6A, 7

รูป ที่ 39 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 8

47
.

รูป ที่ 40 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 9

รูป ที่ 41 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 10-15

48
.

รูป ที่ 42 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ 16

รูป ที่ 43 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ ดาดฟ้ า

49
.

รูป ที่ 44 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ ห้องเครื่อง

รูป ที่ 45 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ แท็งก์น้า

50
.

รูป ที่ 46 แบบจาลองโครงสร้า งอาคาร B ชัน้ หลัง คา

51
.

ภาคผนวก ข: การตรวจสอบกาลังของเสา

รูปที่ 47 ถึง รูปที่ 55 แสดงผลการตรวจสอบกาลังของเสาต่างๆ จากวิธี P-M Interaction Diagram


โดยคู่ ล าดับ Axial Force (P) และ Moment (M) ภายใต้ ก ารรวมแรงใดๆจะต้ อ งไม่ เ กิน ขอบเขตของ
Interaction Diagram จึงจะถือได้ว่ามีความปลอดภัย
30000

CA1-B-8
25000 P-M3
P-M2
H48DB32 0 Deg
20000
H48DB32 45 Deg
H48DB32 90 Deg

15000
Axial Load (kN)

10000

5000

0
0 1000 2000 3000 4000 5000

Moment (kN-m)
-5000

-10000

(ก) ชัน้ ฐานราก-8


30000 30000

CA1-9-11 CA1-12-RF
25000 25000
P-M3 P-M3

P-M2 P-M2

20000 48DB32 20000 24DB28

15000 15000
Axial Load (kN)

Axial Load (kN)

10000 10000

5000 5000
Moment (kN-m)

Moment (kN-m)
0 0
0 1000 2000 3000 4000 5000 0 1000 2000 3000 4000 5000

-5000 -5000

-10000 -10000

(ข) ชัน้ 9-11 (ค) ชัน้ 15-ดาดฟ้ า

รูป ที่ 47 การตรวจสอบกาลังของเสา C1 อาคาร A

52
.

30000

CA2-ALL
25000 P-M3

P-M2

20000 12DB32

15000

Axial Load (kN)


10000

5000

Moment (kN-m)
0
0 1000 2000 3000 4000 5000

-5000

-10000

รูป ที่ 48 การตรวจสอบกาลังของเสา C2 อาคาร A

53
.

30000 30000

CA3-B-8 CA3-9-11
25000 P-M3 25000 P-M3
P-M2
P-M2
H48DB28 0 Deg
20000 20000 48DB28
H48DB28 45 Deg
H48DB28 90 Deg

15000 15000

Axial Load (kN)


Axial Load (kN)

10000
10000

5000
5000

Moment (kN-m)
0
0
0 1000 2000 3000 4000 5000
0 1000 2000 3000 4000 5000

Moment (kN-m)
-5000
-5000

-10000
-10000

(ก) ชัน้ ฐานราก-8 (ข) ชัน้ 9-11

30000 30000

CA3-12-14 CA3-15-RF
25000 P-M3 25000 P-M3

P-M2 P-M2

20000 24DB28 20000 12DB32

15000 15000
Axial Load (kN)

Axial Load (kN)

10000 10000

5000 5000

Moment (kN-m) Moment (kN-m)


0 0
0 1000 2000 3000 4000 5000 0 1000 2000 3000 4000 5000

-5000 -5000

-10000 -10000

(ค) ชัน้ 12-14 (ง) ชัน้ 15-ดาดฟ้ า

รูป ที่ 49 การตรวจสอบกาลังของเสา C3 อาคาร A

54
.

30000

CA4-B-11
25000 P-M3
P-M2
H48DB32 0 Deg
20000
H48DB32 45 Deg
H48DB32 90 Deg

15000

Axial Load (kN)


10000

5000

0
0 1000 2000 3000 4000 5000

Moment (kN-m)
-5000

-10000

(ก) ชัน้ ฐานราก-11

30000 30000

CA4-12-14 CA4-15-RF
25000 P-M3 25000 P-M3

P-M2 P-M2

20000 36DB32 20000 12DB32

15000 15000
Axial Load (kN)

Axial Load (kN)

10000 10000

5000 5000

0 0
0 1000 2000 3000 4000 5000 0 1000 2000 3000 4000 5000
Moment (kN-m) Moment (kN-m)

-5000 -5000

-10000 -10000

(ข) ชัน้ 12-14 (ค) ชัน้ 12-ดาดฟ้ า

รูป ที่ 50 การตรวจสอบกาลังของเสา C4 อาคาร A

55
.

30000 30000

CB1-B-2 CB1-3-8
25000 P-M3 25000 P-M3

P-M2 P-M2

20000 48DB28 20000 12DB32

15000 15000
Axial Load (kN)

Axial Load (kN)


10000 10000

5000 5000

0 0
0 1000 2000 3000 4000 5000 0 1000 2000 3000 4000 5000
Moment (kN-m) Moment (kN-m)

-5000 -5000

-10000 -10000

(ก) ชัน้ ฐานราก - 2 (ข) ชัน้ 3-8

รูป ที่ 51 การตรวจสอบกาลังของเสา C1 อาคาร B

รูป ที่ 52 การตรวจสอบกาลังของเสา C2 อาคาร B

56
.

รูป ที่ 53 การตรวจสอบกาลังของเสา C3 อาคาร B

30000 30000

CB4-B-8 CB4-9-RF
25000 P-M3 25000 P-M3
P-M2
P-M2
H54DB32 0 Deg
20000 20000 48DB28
H54DB32 45 Deg

H54DB32 90 Deg

15000 15000
Axial Load (kN)

Axial Load (kN)

10000 10000

5000 5000

0 0
0 1000 2000 3000 4000 5000 0 1000 2000 3000 4000 5000
Moment (kN-m)
Moment (kN-m)
-5000 -5000

-10000 -10000

(ก) ชัน้ ฐานราก - 8 (ข) ชัน้ 9-ดาดฟ้ า

รูป ที่ 54 การตรวจสอบกาลังของเสา C4 อาคาร B

57
.

30000 30000

CB5-B-8 CB5-9-RF
25000 P-M3 25000 P-M3
P-M2
P-M2
H54DB32 0 Deg
20000 20000 48DB28
H54DB32 45 Deg

H54DB32 90 Deg

15000 15000
Axial Load (kN)

Axial Load (kN)


10000 10000

5000 5000

0 0
0 1000 2000 3000 4000 5000 0 1000 2000 3000 4000 5000
Moment (kN-m)
Moment (kN-m)
-5000 -5000

-10000 -10000

(ก) ชัน้ ฐานราก - 8 (ข) ชัน้ 9-ดาดฟ้ า

รูป ที่ 55 การตรวจสอบกาลังของเสา C5 อาคาร B

58
.

ภาคผนวก ค: การตรวจสอบกาลังของกาแพงรับแรงเฉื อน

แสดงผลการตรวจสอบกาลังของผนังส่วนต่างๆ โดยใช้วธิ กี ารคานวณกาลังรับโมเมนต์ตามวิธขี อง


PCI ซึง่ เป็ นวิธโี ดยประมาณสาหรับผนังทีม่ กี ารเสริมเหล็กสม่าเสมอ โดยจะพิจารณาผลของแรงในแนวแกน
ของผนังไว้ดว้ ยแล้ว โดยจะแสดงค่าเป็ นร้อยละระหว่างแรงกระทา (ภายใต้การรวมแรงใดๆ) เปรียบเทียบ
กับกาลังรับน้ าหนักของผนังนัน้ ๆ (แกนนอนของกราฟเป็ นจานวนจุดทีต่ รวจสอบภายใต้ Load Case และ
ชัน้ ต่างๆ) แต่หากผนังใดมีแรงกระทาใกล้เคียงกับกาลังรับแรง จะตรวจสอบกาลังของผนังส่วนนัน้ ด้วยวิธี
Interaction Diagram เช่นเดียวกับในกรณีของเสา และจะรวมผลของเหล็กเสริมพิเศษทีป่ ลายของผนังไว้
ด้วย ซึง่ จะให้คา่ ทีใ่ กล้เคียงจริงมากขึน้

ส่ ว นก าลัง รับ แรงเฉื อ น จะเป็ นก าลัง รับ แรงเฉื อ นที่ไ ม่ ไ ด้พ ิจ ารณาผลของแรงในแนวแกน ซึ่ง
โดยทัวไปหากมี
่ แรงในแนวแกน จะทาให้กาลังรับแรงเฉื อนจริงสูงกว่าค่าทีค่ านวณได้น้ี ผลการวิเคราะห์จะ
แสดงค่าเป็ นร้อยละระหว่างแรงกระทา (ภายใต้การรวมแรงใดๆ) เปรียบเทียบกับกาลังรับน้ าหนักของผนัง
นัน้ ๆ

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 500 1000 1500 2000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 1500 2000 0 500 1000 1500 2000

รูป ที่ 56 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST1, ST5 อาคาร A

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 500 1000 1500 2000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 1500 2000 0 500 1000 1500 2000

รูป ที่ 57 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2, ST6 อาคาร A

59
.

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80
Axial
80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 500 1000 1500 2000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 1500 2000 0 500 1000 1500 2000

รูป ที่ 58 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2, ST6 อาคาร A

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial
80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 500 1000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 0 200 400 600 800 1000

รูป ที่ 59 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST3 อาคาร A

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80
Axial
80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 500 1000 1500 2000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 1500 2000 0 500 1000 1500 2000

รูป ที่ 60 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST4, ST8 อาคาร A

60
.

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 500 1000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 0 200 400 600 800 1000

รูป ที่ 61 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC1 อาคาร A

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 200 400 600 800
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 200 400 600 800 0 200 400 600 800

รูป ที่ 62 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC3 อาคาร A

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 1000 2000 3000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 1000 2000 3000 0 500 1000 1500 2000 2500

รูป ที่ 63 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2, LC11, LC12 อาคาร A

61
.

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 1000 2000 3000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 1000 2000 3000 0 500 1000 1500 2000 2500

รูป ที่ 64 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC4, LC7, LC8 อาคาร A

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 1000 2000 3000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 1000 2000 3000 0 1000 2000 3000

รูป ที่ 65 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2A, ST3C อาคาร B

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 1000 2000 3000 4000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 1000 2000 3000 4000 0 1000 2000 3000 4000

รูป ที่ 66 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2B, ST3B อาคาร B

62
.

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 1000 2000 3000
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 1000 2000 3000 0 1000 2000 3000

รูป ที่ 67 การตรวจสอบกาลังของกาแพง ST2C, ST3A อาคาร B

500 100 100


450 Moment 90 Shear 80 Axial

400 80 60
350 70 40
300 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
250 50 0
0 200 400 600
200 40 -20
150 30 -40
100 20 -60
50 10 -80
0 0 -100
0 200 400 600 0 100 200 300 400 500

รูป ที่ 68 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2C อาคาร B

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 500 1000 1500
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 500 1000 1500 0 500 1000 1500

รูป ที่ 69 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2B, LC3B, LC3D อาคาร B

63
.

Column Interaction Diagram | 300x2800 mm Tie Column | Reinf. Ratio


1.52% | ACI 318-1999
30000

Unfactored P-M
25000
Factored P-M

20000
Unfactored Pn

15000
Factored Pn
0.05 0.1 0.2 0.3
10000 P-Mx
0.4
Axial Force (kN)

0.5
5000 0.7
1.0

0
0 2000 4000 6000 8000 10000 12000 14000 16000 18000 20000

-5000

-10000

-15000

-20000
Moment (kN-m)

รูป ที่ 70 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2B, LC3B, LC3D อาคาร B (วิธี Interaction


Diagram)

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity

50 50 0
0 200 400 600
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 200 400 600 0 200 400 600

รูป ที่ 71 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2D อาคาร B

64
.

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 200 400 600 800
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 200 400 600 800 0 200 400 600 800

รูป ที่ 72 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC2F, LC3F อาคาร B

100 100 100


90 Moment 90 Shear 80 Axial

80 80 60
70 70 40
60 60 20
% Capacity

% Capacity

% Capacity
50 50 0
0 200 400 600
40 40 -20
30 30 -40
20 20 -60
10 10 -80
0 0 -100
0 200 400 600 0 100 200 300 400 500

รูป ที่ 73 การตรวจสอบกาลังของกาแพง LC3D อาคาร B

65

You might also like