You are on page 1of 38

3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.

com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น

บทที่ 10 การวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล เบื้ องต้น


ก่อนศึกษารายละเอี ยดเกี่ ยวกับการวิเคราะห์ ขอ้ มู ลเบื้องต้น ต้องทาความรู ้ จกั คาว่า
“ตัวแปร” ก่อน
ตัวแปร ( variable ) หมายถึงลักษณะของประชากรซึ่ งสามารถเปลี่ย นค่าได้ ไม่วา่ จะ
เป็ นเชิงปริ มาณหรื อคุณภาพ
เช่น จานวนสมาชิกในครอบครัว เป็ นตัวแปรเพราะสามารถเปลี่ยนค่าได้
ซึ่งอาจเป็ น 1 , 2 , 3 , ……..
เพศ เป็ นตัวแปรเพราะสามารถเปลี่ยนค่าได้
ซึ่งอาจเป็ นชาย , หญิง
สถานภาพสมรส เป็ นตัวแปรเพราะสามารถเปลี่ยนค่าได้
ซึ่งอาจเป็ นโสด สมรส หย่า

10.1 การแจกแจงความถี่ของข้ อมูล


พิจาณาตัวอย่างสมมติ ต่อไปนี้ จากคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ข องนักเรี ยนชั้น ม.6
กลุ่มหนึ่งจานวน 20 คน เป็ นดังนี้
6 , 8 , 11 , 13 , 13 , 14 , 15 , 15 , 16 , 16
16 , 16 , 17 , 18 , 20 , 21 , 23 , 24 , 24 , 28
เมื่อนาข้อมูลนี้มาเขียนเป็ นตารางแจกแจงความถี่จะได้ดงั นี้
อันตร- ความถี่ ความถี่ ความถี่ ความถี่สะ ร้อยละ ขอบล่าง ขอบบน จุดกึ่ง
ภาคชั้น ( f ) สัมพัทธ์ สะสม สมสัมพัทธ์ ความถี่สะ กลางชั้น
สมสัมพัทธ์
5–9 2 0.10 2 0.10 10 4.5 9.5 7
10 – 14 4 0.20 6 0.30 30 9.5 14.5 12
15 – 19 8 0.40 14 0.70 70 14.5 19.5 17
20 – 24 5 0.25 19 0.95 95 19.5 24.5 22
25 – 29 1 0.05 20 1.00 100 24.5 29.5 24

1
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
อันตรภาคชั้น หมายถึงช่วงชั้นของข้อมูล (คะแนน) ที่ถูกแบ่งเป็ นช่วงๆ
ชั้นบนสุ ดเรี ยกเป็ นอันตรภาคชั้นที่ 1
ชั้นถัดลงมาเรี ยกเป็ นอันตรภาคชั้นที่ 2 , 3 , 4 , ….. ตามลาดับ
ความถี่ ( f ) หมายถึงจานวนคน สัตว์ สิ่ งของ ในอันตรภาคชั้นนั้นๆ
ความถี่สัมพัทธ์ หมายถึงความถี่ช้ นั นั้น  ผลรวมความถี่ท้ งั หมด
เช่นจากตารางนี้ จะได้วา่
2 = 0.10
ความถี่สัมพัทธ์ช้ นั ที่ 1 = 20
4 = 0.20
ความถี่สัมพัทธ์ช้ นั ที่ 2 = 20
8 = 0.40
ความถี่สัมพัทธ์ช้ นั ที่ 3 = 20
5 = 0.25
ความถี่สัมพัทธ์ช้ นั ที่ 4 = 20
1 = 0.05
ความถี่สัมพัทธ์ช้ นั ที่ 5 = 20
ความถี่สะสม หมายถึงผลรวมความถี่ของอันตรภาคชั้นนั้นๆ กับชั้นที่ต่ากว่าทั้งหมด
เช่นจากตารางนี้ จะได้วา่
ความถี่สะสมชั้นที่ 1 = 2
ความถี่สะสมชั้นที่ 2 = 2 + 4 = 6
ความถี่สะสมชั้นที่ 3 = 6 + 8 = 14
ความถี่สะสมชั้นที่ 4 = 14 + 5 = 19
ความถี่สะสมชั้นที่ 5 = 19 + 1 = 20
ความถี่สะสมสั มพัทธ์ หมายถึงความถี่สะสมชั้นนั้น  ผลรวมความถี่ท้ งั หมด
เช่นจากตารางนี้ จะได้วา่
2 = 0.10
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 1 = 20
6 = 0.30
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 2 = 20
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 3 = 14
20 = 0.70
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 4 = 19
20 = 0.95
ความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 5 = 20
20 = 1.00

2
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
ร้ อยละความถี่สะสมสั มพัทธ์ หมายถึงความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั นั้น x 100
เช่นจากตารางนี้ จะได้วา่
ร้อยละความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 1 = 0.10 x 100 = 10
ร้อยละความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 2 = 0.30 x 100 = 30
ร้อยละความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 3 = 0.70 x 100 = 70
ร้อยละความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 4 = 0.95 x 100 = 95
ร้อยละความถี่สะสมสัมพัทธ์ช้ นั ที่ 5 = 1.00 x 100 = 100
ขอบล่าง ( Lower boundary ) = ( ค่าต่าสุ ดชั้นนั้น + ค่าสู งสุ ดชั้นต่ากว่าที่ติดกัน )  2
ขอบบน ( Upper boundary ) = ( ค่าสู งสุ ดชั้นนั้น + ค่าต่าสุ ดชั้นสู งกว่าที่ติดกัน )  2
เช่นจากอันตราภาคชั้นที่ 2 ของตารางนี้จะได้วา่
ขอบล่าง = 102 9 = 9.5
ขอบบน = 14 2 15 = 14.5
จุดกึง่ กลางชั้ น = ( ขอบล่าง + ขอบบน )  2
เช่นจากอันตราภาคชั้นที่ 2 ของตารางนี้จะได้วา่
จุดกึ่งกลางชั้น = 9.5 2 14.5 = 12
ความกว้างอันตรภาคชั้น ( I ) = ขอบบน – ขอบล่าง
เช่นจากอันตราภาคชั้นที่ 2 ของตารางนี้จะได้วา่
ความกว้างอันตรภาคชั้น ( I ) = 14.5 – 9.5 = 5
ฝึ กทา. จงเติมข้อมูลของตารางแจกแจงความถี่ต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
อันตร- ความถี่ ความถี่ ความถี่ ความถี่สะ ร้อยละ ขอบล่าง ขอบบน จุดกึ่ง
ภาคชั้น ( f ) สัมพัทธ์ สะสม สมสัมพัทธ์ ความถี่สะ กลางชั้น
สมสัมพัทธ์
5–9 2
10 – 14 4
15 – 19 8
20 – 24 5
25 – 29 1

3
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
1(แนว O-net) ในการสารวจอายุของคนในหมู่บา้ นแห่งหนึ่งเป็ นดังนี้
อายุ (ปี ) ความถี่ (คน) ความถี่สัมพัทธ์
0 – 10 10
11 – 20 25
21 – 30 35
31 – 40 x y
41 – 50 40
51 – 60 20 0.10
61 – 70 15
71 – 80 3
81 – 90 2
ค่า y ในตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ์เท่ากับเท่าใด

4
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
2(แนว O-net) ข้อมูลชุดหนึ่งมีบางส่ วนถูกนาเสนอในตารางต่อไปนี้
อันตรภาคชั้น ความถี่ ความถี่สะสม ความถี่สัมพัทธ์
2–6
7 – 11 11 0.2
12 – 16 14
17 – 21 6 0.3
ช่วงคะแนนใดเป็ นช่วงคะแนนที่มีความถี่ต่าสุ ด
1. 2 – 6 2. 7 – 11 3. 12 – 16 4. 17 – 21

5
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.2 การแจกแจงความถี่โดยใช้ กราฟ
10.2.1 ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมมีลกั ษณะเป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉากวางเรี ยงต่อกันบนแกนนอน โดยมีแกนนอน
แทนค่าของตัวแปร ความกว้างของรู ปสี่ เหลี่ยมมุมฉากแทนความกว้างของอันตรภาคชั้น
ตัวอย่างเช่น จากตารางแจกแจงความถี่ดา้ นล่าง
คะแนนสอบ ขอบล่าง – ขอบบน จานวนนักเรียน (คน)
201 – 300 200.5 – 300.5 2
301 – 400 300.5 – 400.5 11
401 – 500 400.5 – 500.5 18
501 – 600 500.5 – 600.5 15
601 – 700 600.5 – 700.5 10
701 – 800 700.5 – 800.5 4
สามารถเขียนเป็ นฮิสโทแกรมได้ดงั นี้
f (จานวนนักเรี ยน)

18
15
12
9
6
3
200.5 300.5 400.5 500.5 600.5 700.5 800.5 x (คะแนนสอบ)

6
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.2.2 แผนภาพต้ น – ใบ
พิจาณาตัวอย่างสมมติ ต่อไปนี้ จากคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ข องนักเรี ยนชั้น ม.6
กลุ่มหนึ่งจานวน 12 คน เป็ นดังนี้ 3 , 5 , 7 , 13 , 14 , 16 , 20 , 21 , 22 , 22 , 30 , 31
เมื่อนาข้อมูลนี้มาเขียนเป็ นแผนภาพต้น–ใบ จะได้ดงั นี้
0 3 5 7
1 3 4 6
2 0 1 2 2
3 0 1
ลาต้ น ใบ
ข้อมูลที่อยูใ่ นบรรทัดที่ 1 ได้แก่ 3 , 5 , 7
ข้อมูลที่อยูใ่ นบรรทัดที่ 2 ได้แก่ 13 , 14 , 16
ข้อมูลที่อยูใ่ นบรรทัดที่ 3 ได้แก่ 20 , 21 , 22 , 22
ข้อมูลที่อยูใ่ นบรรทัดที่ 4 ได้แก่ 30 , 31
พิจารณาตัวอย่างต่อไป
จากแผนภาพต้น–ใบ ที่กาหนดด้านล่าง
ข้อมูลชุดที่ 1 ข้อมูลชุดที่ 2
8 6 4 3 4 9
8 6 6 4 2 2 4
5 0
จะได้วา่ ข้อมูลชุดที่ 1 ได้แก่ 34 , 36 , 38 , 46 , 46 , 48
ข้อมูลชุดที่ 2 ได้แก่ 34 , 39 , 42 , 42 , 44 , 50

7
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.3 การวัดตาแหน่ งทีข่ องข้ อมูล
เปอร์ เซ็ นไทล์ เป็ นค่าที่ แบ่งจานวนข้อมู ลออกเป็ น 100 ส่ วนเท่าๆ กัน เมื่ อเรี ยงข้อมู ล
จากค่ า น้อยไปมาก ส าหรั บ ข้อมู ล ชุ ดหนึ่ งๆ แล้ว จะมี ค่ าเปอร์ เซ็ น ไทล์อยู่ 99 ค่ า ได้แ ก่
เปอร์เซ็นไทล์ที่ 1 (P1) , เปอร์เซ็นไทล์ที่ 2 (P2) , … , เปอร์เซ็นไทล์ที่ 99 ( P99 )
( เรี ยงตามลาดับจากค่าน้อยไปค่ามาก )

เพิ่ม เติม : ควอร์ ไทล์ เป็ นค่ าที่ แบ่ งจานวนข้อมู ล ออกเป็ น 4 ส่ วนเท่ าๆ กัน เมื่ อเรี ย ง
ข้อมู ลจากค่ าน้อยไปค่ามาก ส าหรั บ ข้อมู ลชุ ดหนึ่ งๆ แล้ว จะมี ค่าควอร์ ไทล์อยู่ 3 ค่าได้แก่
ควอร์ไทล์ที่ 1 ( Q1 ) , ควอร์ไทล์ที่ 2 ( Q2 ) , ควอร์ไทล์ที่ 3 ( Q3 )
และ ควอร์ไทล์ที่ 1 (Q1) = เปอร์เซ็นไทล์ที่ 25 ( P25)
ควอร์ไทล์ที่ 2 (Q2) = เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 50 ( P50)
ควอร์ไทล์ที่ 3 (Q3) = เปอร์ เซ็นไทล์ที่ 75 ( P75)

การหาค่ าเปอร์ เซ็นไทล์ จากข้ อมูลทีไ่ ม่ ได้ แจกแจงความถี่


ขั้นที่ 1 เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปมาก
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งเปอร์ เซ็นไทล์ที่ตอ้ งการ จาก
ตาแหน่งของ Pr = ( N + 1 ) ( 100 r )
เมื่อ N คือจานวนตัวข้อมูลทั้งหมด
ขั้นที่ 3 หากตาแหน่งที่คานวณได้เป็ นจานวนเต็ม
Pr = ข้อมูลตาแหน่งที่คานวณได้จากขั้น 2 นั้น

8
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
หากตาแหน่งที่คานวณได้ไม่เป็ นจานวนเต็ม
Pr = ข้อมูลตาแหน่งที่ x + z (ข้อมูลตาแหน่งที่ y – ข้อมูลตาแหน่งที่ x)
เมื่อ x คือค่าของจานวนเต็มของตาแหน่งที่คานวณได้
y = x +1
z คือค่าของทศนิยมของตาแหน่งที่คานวณได้
เช่น สมมุติคานวณตาแหน่งได้ 6.23
จะได้วา่ x = 6 , y = 6 + 1 = 7 , z = 0.23

ตัวอย่าง. จากข้อมูลต่อไปนี้
89 , 91 , 94 , 95 , 95 , 105 , 116 , 118 , 131
จงหาค่าของเปอร์เซ็นไทล์ที่ 28 ( P28)
ตอบ 93.4
แนวคิด ขั้นที่ 1 เรี ยงข้อมูลจากน้อยไปมาก
เนื่องจากข้อมูลเรี ยงจากน้อยไปมากอยูแ่ ล้วจึงหาเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 28 (P28)ได้ทนั ที
89 , 91 , 94 , 95 , 95 , 105 , 116 , 118 , 131
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของ P28
จะได้ ตาแหน่งของ P28 = ( N + 1 ) ( 100 r ) = ( 9 + 1 ) ( 28 ) = 2.8
100
เนื่องจากตาแหน่งที่คานวณได้ไม่เป็ นจานวนเต็ม จะได้วา่
x = ค่าของจานวนเต็มของตาแหน่งที่คานวณได้ = 2
y = x +1 = 2+1 = 3
z = ค่าของทศนิยมของตาแหน่งที่คานวณได้ = 0.8
สุ ดท้ าย หา P28
จาก ค่า Pr = ข้อมูลตาแหน่งที่ x + z (ข้อมูลตาแหน่งที่ y – ข้อมูลตาแหน่งที่ x)
ค่า P28 = ข้อมูลตาแหน่งที่ 2 + (0.8) (ข้อมูลตาแหน่งที่ 3 – ข้อมูลตาแหน่งที่ 2)
ค่า P28 = 91 + ( 0.8 ) ( 94 – 91 )
ค่า P28 = 93.4

9
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
3(แนว O-net) พิจารณาข้อมูลต่อไปนี้ 10 , 5 , 6 , 9 , 12 , 15 , 8 , 18
ค่าของ P60 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 10.0 2. 10.4 3. 10.8 4. 12.0

4(แนว O-net) คะแนนของผูเ้ ข้าสอบ 15 คน เป็ นดังนี้ 45 , 54 , 59 , 60 , 62 , 64 , 65 , 68 ,


71 , 73 , 73 , 75 , 76 , 80 , 81 ถ้าเกณฑ์ในการสอบผ่านคือต้องได้คะแนนไม่ต่ากว่าเปอร์ -
เซ็นไทล์ที่ 60 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้เป็ นคะแนนต่าสุ ดของผูท้ ี่สอบผ่าน
1. 68 คะแนน 2. 70 คะแนน 3. 72 คะแนน 4. 73 คะแนน

10
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
5(แนว O–Net) ข้อมูลชุดหนึ่งมี 9 จานวน ประกอบด้วยจานวนต่อไปนี้
4 , 8 , 8 , 9 , 14 , 15 , 18 , 22 , 25
ควอร์ ไทล์ที่สามของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด

6(แนว O–Net) คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ นกั เรี ยนห้องหนึ่งแสดงด้วยแผนภาพต้นใบได้ดงั นี้


3 0 4 9
4 0 7 7 8 8 8
5 0 0 1 2 2 3 4 6 6 7 7 8 8 9
6 0 2 3 3 6 8 9
7 0
เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 50 ของคะแนนสอบนี้ เท่ากับคะแนนเท่าใด

11
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
7(แนว O–Net) ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 19 จานวนต่อไปนี้
6 8 9 12 12 15 15 16 16 19
20 20 21 22 24 24 25 30 30
ควอไทล์ที่ 3 มีค่าต่างจากเปอร์ เซ็นไทล์ที่ 45 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8

8(แนว O–Net) ข้อมูลชุ ดหนึ่ งมี 5 จานวน ถ้าเปอร์ เซ็ นต์ไทล์ที่ 25 เปอร์ เซ็ นต์ไทล์ที่ 50
และเปอร์ เซ็นต์ไทล์ที่ 75 เท่ากับ 18 , 25 และ 28 ตามลาดับ แล้วผลรวมของข้อมูลชุ ดนี้
เท่ากับข้อใด
1. 100 2. 113 3. 117 4. 120

12
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.4 การวัดค่ ากลางของข้ อมูล
ค่ ากลางของข้ อมูล คือค่าที่ใช้เป็ นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดได้
การหาค่ า กลางของข้อ มู ล สามารถท าได้ห ลายวิธี แต่ ค่ ากลางที่ นิ ย มใช้มี 3 ชนิ ด คื อ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต , มัธยฐาน และฐานนิยม
10.4.1 ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต ( Arithmatic mean )
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของประชากรจะใช้สัญลักษณ์แทนด้วย 
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของกลุ่มตัวอย่างจะใช้สัญลักษณ์แทนด้วย x
ในที่น้ ีจะเน้นหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของกลุ่มตัวอย่างเป็ นหลัก
การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตแบ่งได้เป็ น 4 กรณี ยอ่ ยได้แก่
ก. สาหรับข้ อมูลไม่ แจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหาได้จากสมการ
N
 xi Σx
x = i =N1 เขียนย่อเป็ น x = N i
เมื่อ x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
xi คือค่าของข้อมูลตัวที่ i
Σx i คือผลรวมของข้อมูลทุกตัว
N คือจานวนตัวข้อมูลทั้งหมดที่มี
ข. สาหรับข้ อมูลแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหาได้จากสมการ
k
 fi xi Σf x
สู ตรตรง x = = k1
i เขียนย่อเป็ น x = Σ if i
 fi i
i =1
เมื่อ xi คือจุดกึ่งกลางอันตรภาคชั้นที่ i
fi คือความถี่หรื อจานวนข้อมูลชั้นที่ i
Σf i คือผลรวมความถี่ทุกอันตรภาคชั้น
Σf i x i คือผลรวมของผลคูณความถี่กบ ั จุดกึ่งกลางชั้นทุกอันตรภาคชั้น

13
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
ค. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิตถ่ วงนา้ หนัก ( ใช้ในกรณี ที่ขอ้ มูล แต่ละค่ามีความสาคัญไม่เท่ากัน )
ให้ w1 , w2 , w3 ,  , wk เป็ นความสาคัญ หรื อน้ าหนักถ่วงของข้อมูล
x1 , x2 , x3 ,  , xk ตามลาดับ จะได้วา่
k
 wi xi Σw x
x = i = k1 เขียนย่อเป็ น x = Σ wi i
 wi i
i =1
เมื่อ Σw i คือผลรวมน้ าหนักถ่วงข้อมูล
Σw i x i คือผลรวมของผลคูณน้ าหนักถ่วงกับข้อมูลนั้นๆ

ง. ค่ าเฉลีย่ เลขคณิตรวม
ถ้า x1 , x 2 , …. , x k เป็ นค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลชุดที่ 1 , 2 , , k
N1 , N2 ,  , Nk เป็ นจานวนค่าจากการสังเกตในข้อมูลชุดที่ 1 , 2 ,  , k
k
 Ni x i Σ Ni x
x = i = 1k เขียนย่อเป็ น x = ΣN i
 Ni i
i =1
เมื่อ ΣN i คือผลรวมจานวนข้อมูลทุกกลุ่มย่อย
Σ Ni x คือผลรวมของผลคูณจานวนข้อมูลกับค่าเฉลี่ยแต่ละกลุ่มย่อย
i
9. จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อมูลดิบต่อไปนี้
2 , 3 ,3 , 5 , 6 , 5 , 8 , 8

14
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10(แนว O–Net) ความสัมพันธ์ระหว่างกาไร( y ) และราคาทุน ( x ) ของสิ นค้าในร้ านแห่ งหนึ่ ง
เป็ นไปตามสมการ y = 2x + 4 ถ้าราคาทุนสิ นค้า 5 ชนิด คือ 31 , 34 , 35 , 36 และ 39
บาทแล้ว ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของกาไรในการขายสิ นค้า 5 ชนิดนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 70 บาท 2. 72 บาท 3. 74 บาท 4. 76 บาท

11(แนว O–Net) ตารางแจกแจงความถี่ แสดงจานวนนักเรี ยนในช่ วงอายุต่างๆ ของนักเรี ยน


กลุ่มหนึ่งเป็ นดังนี้
ช่ วงอายุ(ปี ) ความถี่ (คน)
1–5 4
6–10 9
11–15 2
16–20 5
อายุเฉลี่ยของนักเรี ยนกลุ่มนี้ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 ปี 2. 10 ปี 3. 10.5 ปี 4. 11.5 ปี

15
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
12(แนว O–Net) ในการทดสอบความถนัดของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง มีตารางแจกแจงความถี่ของผล
การสอบดังนี้
ช่วงคะแนน ความถี่(คน)
0–4 4
5–9 5
10 – 14 x
15 – 19 7
ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของคะแนนสอบเท่ากับ 11 แล้วนักเรี ยนที่สอบได้คะแนนในช่วง 5 –14
คะแนน มีจานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 9 2. 14 3. 16 4. 19

16
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
13(แนว O–Net) ผลการสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนายคณิ ต จานวน 4 รหัสวิชาเป็ นดังนี้
รหัสวิชา ค41101 ค42101 ค41102 ค41202
จานวนหน่วยกิต 1 1.5 1 1.5
เกรด 2.5 3 3.5 2
เกรดเฉลี่ยของวิชาคณิ ตศาสตร์ของนายคณิ ตใน 4 รหัสวิชานี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2.70 2. 2.75 3. 2.80 4. 2.85

14. ผลการสอบวิชาเคมีของนักเรี ยน 2 กลุ่ม ปรากฏผลดังตาราง จงหาคะแนนสอบเฉลี่ยของ


นักเรี ยนทั้งสองกลุ่มนี้
จานวนคน ค่ าเฉลีย่ เลขคณิต
กลุ่มที่ 1 5 18
กลุ่มที่ 2 7 12

17
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
15(มช 56) ห้างสรรพสิ นค้าแห่ งหนึ่ งมีลูกจ้างประจาและลู กจ้างชัว่ คราว โดยลู กจ้างประจาได้
ค่าจ้างเฉลี่ ยเลขคณิ ต 400 บาทต่อคนต่อวัน ลู กจ้างชั่วคราวได้ค่ าจ้างเฉลี่ ยเลขคณิ ต 300
บาทต่อคนต่อวัน ถ้าจานวนลูกจ้างชัว่ คราวเป็ น 3 เท่าของจานวนลูกจ้างประจาแล้ว ลูกจ้าง
ของห้างสรรพสิ นค้าแห่งนี้มีค่าจ้างเฉลี่ยเลขคณิ ตต่อคนต่อวันเท่าไร

16(แนว O–Net) อายุเฉลี่ ย ของคนกลุ่ ม หนึ่ งเท่ ากับ 31 ปี ถ้า อายุเฉลี่ ย ของผู ห้ ญิ งในกลุ่ ม นี้
เท่ ากับ 35 ปี และอายุเฉลี่ ย ของผู ช้ ายในกลุ่ ม นี้ เท่ ากับ 25 ปี แล้วอัตราส่ วนระหว่า ง
จานวนผูช้ ายต่อจานวนผูห้ ญิงในกลุ่มเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 : 3 2. 2 : 5 3. 3 : 2 4. 3 : 5

18
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
17(แนว O–Net) ชายคนหนึ่ งตักปลาที่เลี้ยงไว้ในกระชังเพื่อส่ งขายจานวน 500 ตัว ซึ่ งมีน้ าหนัก
โดยเฉลี่ยตัวละ 700 กรัม ในจานวนนี้ เป็ นปลาจากกระชังที่หนึ่ ง 300 ตัว และจากกระชัง
ที่สอง 200 ตัว ถ้าปลาในกระชังที่ หนึ่ งมี น้ าหนักเฉลี่ ยต่อตัวมากกว่าในกระชังที่ ส อง 50
กรัม แล้วปลาจากกระชังที่สองมีน้ าหนักเฉลี่ยตัวละกี่กรัม

10.4.2 มัธยฐาน(Median)
มัธยฐาน คือค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมดเมื่อเรี ยงข้อมูลจากค่าน้อยไป
ค่ามาก หรื อจากค่ามากไปหาค่าน้อย
ขั้นตอนการหาค่ามัธยฐานจากข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
ขั้นที่ 1 เรี ยงลาดับข้อมูลจากค่าน้อยไปหาค่ามาก หรื อจากค่ามากไปหาค่าน้อย
ขั้นที่ 2 หาตาแหน่งของมัธยฐาน จาก
ตาแหน่งของมัธยฐาน = N2+ 1
เมื่อ N คือจานวนตัวข้อมูลทั้งหมด
ขั้นที่ 3 หากตาแหน่งที่คานวณได้เป็ นจานวนเต็ม
มัธยฐาน = ข้อมูลตาแหน่งที่คานวณได้จากขั้น 2 นั้น

19
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
หากตาแหน่งที่คานวณได้ไม่เป็ นจานวนเต็ม
มัธยฐาน = ( ข้อมูลตาแหน่งที่ x + ข้อมูลตาแหน่งที่ y )  2
เมื่อ x คือค่าของจานวนเต็มของตาแหน่งที่คานวณได้
y = x +1
เช่นสมมุติคานวณตาแหน่งได้ 6.5
จะได้วา่ x = 6 , y = 6 + 1 = 7
18. ค่ามัธยฐานแต่ละข้อย่อยต่อไปนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
ก) 4 , 9 , 11 , 17 , 21 , 26 , 35
ข) 2 , 4 , 5 , 7 , 9 , 10
ค) 10 , 12 , 12 , 13 , 16 , 17 , 22 , 24 , 29 , 33 , 49 , 50 , 67 , 67 ,
67 , 68 , 69 , 70 , 71
1. ก) 17 ข) 5 ค) 29 2. ก) 17 ข) 6 ค) 33
3. ก) 17 ข) 7 ค) 29 4. ก) 17 ข) 7 ค) 33

20
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.4.3 ฐานนิยม (Mode)
ฐานนิยม คือค่าขอข้อมูลที่มีความถี่สูงสุ ด
การหาค่าฐานนิยมสาหรับข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ ให้ถือหลักว่า
ฐานนิยม = ข้อมูลตัวที่ซ้ ากันบ่อยที่สุด
สาหรับข้อมูล 1 ชุดใดๆ อาจมีฐานนิยมได้หลายค่า หรื ออาจไม่มีฐานนิยมเลยก็ได้
19. ค่าฐานนิยมแต่ละข้อย่อยต่อไปนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด
ก) 3 , 6 , 2 , 6 , 5 , 6 , 4 , 1 , 1 , 6
ข) 21 , 13 , 12 , 6 , 23 , 23 , 20 , 19 , 13
ค) 3 , 4 , 5 , 8 , 10
1. ก) 6 ข) 13 ค) – 2. ก) 6 ข) 23 ค) –
3. ก) 6 ข) – ค) – 4. ก) 6 ข) 13 , 23 ค) –

20(แนว O–Net) ถ้าข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 10 , 12 , 15 , 13 และ 10 ข้อความในข้อ


ใดต่อไปนี้ เป็ นเท็จสาหรับข้อมูลชุดนี้
1. มัธยฐาน เท่ากับ 12 2. ฐานนิยม น้อยกว่า 12
3. ฐานนิยม น้อยกว่า ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 4. ไม่มีขอ้ ใดเป็ นเท็จ

21
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
21(แนว O–Net) ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย 4 , 9 , 2 , 7 , 6 , 5 , 4 , 6 , 3 , 4 ค่ากลางข้อใด
ต่อไปนี้มีค่าน้อยที่สุด
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 2. มัธยฐาน
3. ฐานนิยม 4. มัธยฐาน และฐานนิยม

22(แนว O–Net) กาหนดแผนภาพ ต้น – ใบของข้อมูลชุดหนึ่ง ดังนี้


0 3 7 5
1 6 4 3
2 0 2 1 2
3 0 1
สาหรับข้อมูลชุดนี้ ค่ากลางข้อใดต่อไปนี้มีค่าน้อยที่สุด
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 2. มัธยฐาน
3. ฐานนิยม 4. มัธยฐาน และฐานนิยม

22
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
23(แนว O–Net) แผนภาพต้น–ใบของข้อมูลชุดหนึ่งเป็ นดังนี้
2 0 0 3 5 8
3 1 4 4 6 7
4 3 3 5 7
5 1 2 2 2
6 3 5
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. มัธยฐานของข้อมูลชุดนี้ เท่ากับ 52 ข. ไม่มีฐานนิยม
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด

23
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
24(แนว O–Net) แผนภาพต้น – ใบของน้ าหนักในหน่วยกรัมของไข่ไก่ 10 ฟอง เป็ นดังนี้
5 7 8
6 7 8 4
7 0 4 4 7
8 1
ข้อสรุ ปใดเป็ นจริ ง
1. ฐานนิยมของน้ าหนักของไข่ไก่มีค่าเท่ากับ 4 และ 7
2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีค่าน้อยกว่ามัธยฐาน
3. มีไข่ไก่ 5 ฟอง มีน้ าหนักน้อยกว่า 70 กรัม
4. ไข่ไก่มีน้ าหนักสู งกว่าฐานนิยมมีจานวนมากกว่าไข่ไก่ที่มีน้ าหนักเท่ากับฐานนิยม

24
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
25(มช 56) ข้อมูลชุดหนึ่งเรี ยงลาดับจากมากไปน้อยได้เป็ น 12 , 9 , 6 , 6 , a , b , 3 , 3 , 2 , 1
ถ้ามัธยฐานและฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้เป็ น 4 และ 3 ตามลาดับ a และ b มีค่าเท่าใด
1. 3 และ 3 2. 5 และ 5
3. 3 และ 5 4. 5 และ 3

26(แนว O–Net) กาหนดให้ขอ้ มูลชุดหนึ่ง คือ 12 , 3 , x , 5 , 5 ถ้าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของข้อ


มูลชุดนี้มีค่าเท่ากับมัธยฐาน แล้ว x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 3 3. 5 4. 7

25
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
27(แนว O–Net) ในการแข่งขันกี ฬามหาวิทยาลัยโลกครั้งที่ 24 ซึ่ งประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพ มี
การส่ งรายชื่อนักกีฬาจากประเทศไทย 379 คน มีอายุเฉลี่ย 22 ปี ถ้ามีการถอนตัวนักกีฬา
ไทยออก 4 คน ซึ่ งมีอายุ 24 , 25 , 25 และ 27 ปี และมี การเพิ่มนักกี ฬาไทยอี ก 5 คน
ซึ่งมีอายุเฉลี่ย 17 ปี แล้วอายุเฉลี่ยของนักกีฬาจากประเทศไทยจะเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 21.6 ปี 2. 21.9 ปี 3. 22.0 ปี 4. 22.2 ปี

28(แนว O–Net) สาหรับข้อมูลเชิงปริ มาณใดๆ ที่มีค่าสถิติต่อไปนี้ ค่าสถิติใดจะตรงกับค่าของข้อ


มูลค่าหนึ่งเสมอ
1. ฐานนิยม 2. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 3. มัธยฐาน 4. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

26
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.4.4 ข้ อสั งเกตและหลักเกณฑ์ ทสี่ าคัญในการใช้ ค่ากลางชนิดต่ างๆ
1) การคานวณหาค่ าเฉลี่ ย เลขคณิ ตจะใช้ข้อมู ล ทุ ก ๆ ตัว แต่ ม ัธ ยฐานและฐานนิ ย มใช้
ข้อมูลบางค่าเท่านั้น
2) ถ้ามีขอ้ มูลบางค่ามีค่าสู งหรื อต่ากว่าข้อมูลอื่นมากๆ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะเป็ นค่ากลางที่
ไม่เหมาะที่จะเป็ นตัวแทนของข้อมูล
3) ถ้าการแจกแจงความถี่ของข้อมูลประกอบด้วยอันตรภาคชั้นเปิ ด จะไม่สามารถหาค่า
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต แต่อาจหามัธยฐานหรื อฐานนิยมได้
4) ถ้าความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้นไม่เท่ากัน อาจทาให้ค่าเฉลี่ ยเลขคณิ ตหรื อฐาน-
นิยมคลาดเคลื่อนไปจากที่ควรจะเป็ น แต่จะไม่กระทบกระเทือนการหามัธยฐาน
5) มัธยฐานและฐานนิยมหาจากกราฟได้ แต่ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตหาจากกราฟไม่ได้
6) ในกรณี ที่ขอ้ มูลเป็ นข้อมูลเชิงคุณภาพ จะหาได้เฉพาะฐานนิยมเท่านั้น จะหาค่าเฉลี่ย
เลขคณิ ตและมัธยฐานไม่ได้
7) ในสถิติช้ นั สู งค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตมีที่ใช้มาก ส่ วนมัธยฐานกับฐานนิยมแทบไม่มีที่ใช้
29(มช 56) ในการพิจารณาค่ากลางของข้อมูลเชิงปริ มาณต่อไปนี้
6 , 31 , 9 , 8 , 4 , 9 , 4 , 13 , 10 , 10
ควรใช้ค่าในข้อใดจึงจะเหมาะสม
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 2. มัธยฐาน 3. ฐานนิยม 4. พิสัย

27
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
30(แนว O–Net) ข้อมูลต่อไปนี้แสดงน้ าหนักในหน่วยกิโลกรัม ของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง
41 , 88 , 46 , 42 , 43 , 49 , 44 , 45 , 43 , 95 , 47 , 48
ค่ากลางในข้อใดเป็ นค่าที่เหมาะสมที่จะเป็ นตัวแทนของข้อมูลชุดนี้
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 2. ฐานนิยม
3. มัธยฐาน 4. เหมาะสมทุกข้อ

10.5 การวัดการกระจายของข้ อมูล


10.5.1 พิสัย ( Range )
พิสัย คือค่าการกระจายที่หาได้จากการนาข้อมูลที่มีค่าสู งสุ ดลบด้วยข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด
การหาค่าพิสัยสาหรับข้อมูลไม่แจกแจงความถี่ หาได้จากสมการ
พิสัย = xmax – xmin
เมื่อ xmax = ข้อมูลที่มีค่าสู งสุ ด
xmin = ข้อมูลที่มีค่าต่าสุ ด
31(แนว O–Net) ความสู งในหน่วยเซนติเมตรของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่งซึ่ งมี 10 คน เป็ นดังนี้
155 , 157 , 158 , 158 , 160 , 161 , 163 , 165 , 166
ถ้ามีนกั เรี ยนเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งคน ซึ่ งมีความสู ง 158 เซนติเมตร แล้วค่าสถิติใดต่อไปนี้ ไม่
เปลี่ยนแปลง
1. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต 2. พิสัย 3. ฐานนิยม 4. ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

28
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
32(มช 55) ข้อมูลต่อไปนี้ เป็ นแผนภาพต้น–ใบ ของผลผลิตต่อแปลง(กิโลกรัม) ของการทดลอง
ปลูกข้าวพันธุ์หนึ่ง
หลักสิ บ หลักหน่ วย
1 8 9
2 4 4 5
3 0 3 6 8
4 3
ข้อใดสอดคล้องกับข้อมูลข้างต้น
1. พิสัยเท่ากับ 30.5 กก. 2. ฐานนิยมเท่ากับ 38 กก.
3. มัธยฐานเท่ากับ 25 กก. 4. ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต เท่ากับ 29 กก

33(แนว O–Net) ส่ วนสู งของพี่นอ้ ง 2 คน มีพิสัยเท่ากับ 12 เซนติเมตร มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิ ตเท่ากับ


171 เซนติเมตร ข้อใดต่อไปนี้เป็ นส่ วนสู งของพี่หรื อน้องซึ่ งมีส่วนสู งน้อยกว่า
1. 165 เซนติเมตร 2. 172 เซนติเมตร
3. 175 เซนติเมตร 4. 177 เซนติเมตร

29
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
34(แนว O–Net) ครอบครัวหนึ่งมีบุตร 4 คน บุตร 2 คนมีน้ าหนักเท่ากันและมีน้ าหนักน้อยกว่า
บุตรอีก 2 คน ถ้าน้ าหนักของบุตรทั้ง 4 คน มีค่าฐานนิยม มัธยฐาน และพิสัยเท่ากับ 45 ,
47.5 และ 7 กิโลกรัมตามลาดับ แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตของน้ าหนักของบุตรทั้ง 4 คน มี
ค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 46 กิโลกรัม 2. 47 กิโลกรัม 3. 48 กิโลกรัม 4. 49 กิโลกรัม

10.5.2 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation , S.D. )


ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือค่าที่ใช้วดั การกระจายของข้อมูลที่ได้จากการหารากที่สองที่
เป็ นบวกของค่าเฉลี่ยของกาลังสองของผลต่างระหว่างค่าของข้อมูลแต่ละค่ากับค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
ของข้อมูลชุดนั้น
การหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ หาได้จากสมการ
N N
Σ (xi  x )2 Σ x2i
S.D. = i1 N หรื อ S.D. = i1N  x 2

 (x i  x )2 xi
2
2
เขียนย่อเป็ น S.D. = N หรื อ S.D. = N x
30
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
เมื่อ S.D. คือส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( อาจใช้สัญลักษณ์ S ก็ได้ )
xi หรื อ x คือค่าของข้อมูลแต่ละค่า
x คือค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
N คือจานวนตัวของข้อมูล
ตัวอย่าง จงหาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลต่อไปนี้
1 , 3 , 5 , 7 , 9
แนวคิด ขั้นที่ 1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต ( x )
Σx
จาก x = N i = 135579 = 5
ขั้นที่ 2 หาส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.)
2
xi 2
จาก S.D. = N x
จะได้ S.D. = 12  32  552  72  92  52
S.D. = 165 5  25
S.D. = 2.83

 x )2
 (x i
หรื อใช้ สูตร S.D. = N
2 2 2 2 2
จะได้ S.D. = (15)  (35)  (555)  (75)  (95)
S.D. = 2.83
35(มช 55) “ ด้วยนโยบายการส่ งเสริ ม การท่ องเที่ ยวเชิ งอนุ รักษ์ ส่ งผลให้แต่ ละครัวเรื อนใน
หมู่บา้ นมีรายได้สูงในระดับที่ใกล้เคียงกัน ” ข้อใดสอดคล้องกับข้อความข้างต้น
1. รายได้เฉลี่ยมีค่ามาก ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่ามาก
2. รายได้เฉลี่ยมีค่ามาก ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อย
3. รายได้เฉลี่ยมีค่าน้อย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่ามาก
4. รายได้เฉลี่ยมีค่าน้อย ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อย

31
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
10.5.3 ความสั มพันธ์ ระหว่างการแจกแจงความถี่ ค่ ากลาง และค่ าการกระจายของข้ อมูล
สมมุติขอ้ มูลคะแนนสอบชุดหนึ่ง
หากเป็ นการสอบปกติ คนที่ได้คะแนนปานกลางจะมีจานวนมาก คนที่ได้คะแนนน้อย
หรื อมากกว่าปกติจะมีจานวนน้อยดังตาราง
คะแนนสอบ ( x ) จานวนคน ( f )
0 – 19 8
20 – 39 15
40 – 59 60
60 – 79 13
80 – 99 4
เมื่อเขียนกราฟความถี่จะได้เส้นโค้งรู ประฆังคว่าสมมาตร เรี ยก เส้ นโค้ งปกติ
หากเป็ นการสอบซึ่ ง คนจานวนมากได้คะแนนต่ากว่าปกติ ดังตาราง
คะแนนสอบ ( x ) จานวนคน ( f )
0 – 19 15
20 – 39 52
40 – 59 16
60 – 79 13
80 – 99 4
เมื่อเขียนกราฟความถี่ จะได้เส้นโค้งดังรู ป เรี ยก เส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางขวา
หากเป็ นการสอบซึ่ ง คนจานวนมากได้คะแนนสู งกว่าปกติ ดังตาราง
คะแนนสอบ ( x ) จานวนคน ( f )
0 – 19 2
20 – 39 10
40 – 59 18
60 – 79 58
80 – 99 12

32
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
เมื่อเขียนกราฟความถี่ จะได้เส้นโค้งดังรู ป เรี ยก เส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางซ้ าย

สมบัติสาคัญของเส้ นโค้ งแต่ ละอย่าง


1) เส้ นโค้ งปกติ
คะแนนซึ่ งอยูต่ รงจุดกึ่งกลาง = x = มัธยฐาน = ฐานนิยม
x
มัธยฐาน
ฐานนิยม
2) เส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางขวา
ฐานนิยม < มัธยฐาน < x
ฐานนิยม มัธยฐาน x
3) เส้ นโค้ งเบ้ ลาดทางซ้ าย
x < มัธยฐาน < ฐานนิยม

x มัธยฐาน ฐานนิ ยม

แผนภาพกล่องเป็ นแผนภาพที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อวัดการกระจายของข้อมูล โดยแสดง


รายละเอียดค่าสถิติ 5 ค่าดังรู ป
ค่าต่าสุ ด Q1 Q2 Q3 ค่าสู งสุ ด

สิ่ งทีต่ ้ องทราบเกีย่ วกับแผนภาพกล่อง


1. ถ้าความกว้างของ Box มากแล้วข้อมูลมีการกระจายมาก
ถ้าความกว้างของ Box น้อยแล้วข้อมูลมีการกระจายน้อย

33
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
2. จากแผนภาพกล่องเราสามารถพิจารณาลักษณะการกระจายข้อมูลได้ดงั นี้
2.1 ถ้ามัธยฐานหรื อควอไทล์ที่สอง ( Q2 ) อยูต่ รงกลางของ Box จะได้วา่ ข้อมูลมีการ
กระจายแบบปกติ ดังรู ป
x
มัธยฐาน
ฐานนิยม

Q1 Q2 Q3
2.2 ถ้ามัธยฐานหรื อควอไทล์ที่สอง(Q2) อยูท่ างด้านซ้ายของ box แล้วข้อมูลมีการ
กระจายแบบเบ้ขวา ดังรู ป

ฐานนิยม มัธยฐาน x

Q1 Q2 Q3

2.3 ถ้ามัธยฐานหรื อควอไทล์ที่สอง(Q2) อยูท่ างด้านขวาของ box แล้วข้อมูลมีการ


กระจายแบบเบ้ซา้ ย ดังรู ป

x มัธยฐาน ฐานนิยม

Q1 Q2 Q3

34
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
36(แนว O–Net) คะแนนสอบของนักเรี ยน 200 คน นาเสนอโดยใช้แผนภาพกล่อง ดังนี้

10 12 16 18 24
ข้อใดเป็ นจริ ง
1. จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 12 ถึง 16 คะแนนมีค่าเท่ากับ จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 16
ถึง 18 คะแนน
2. จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 12 ถึง 18 คะแนนมีค่าเท่ากับ จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 18
ถึง 24 คะแนน
3. จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 10 ถึง 12 คะแนนมีค่าน้อยกว่า จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 18
ถึง 24 คะแนน
4. จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 12 ถึง 16 คะแนนมีค่ามากกว่า จานวนนักเรี ยนที่ทาได้ 16
ถึง 18 คะแนน

35
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
37(แนว O–Net) จากการทดสอบนักเรี ยนจานวน 100 คน ใน 2 รายวิชา แต่ละรายวิชามีคะ-
แนนเต็ม 150 คะแนน ถ้าผลการทดสอบทั้งสองรายวิชาเขียนเป็ นแผนภาพกล่องได้ดงั นี้
คะแนนสอบรายวิชาที่ 1
คะแนนสอบรายวิชาที่ 2

0 20 40 60 80 100 120 140


ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. คะแนนสอบทั้งสองรายวิชามีการแจกแจงปกติ
2. คะแนนสู งสุ ดที่อยูใ่ นกลุ่ม 25% ต่าสุ ด ของผลการสอบรายวิชาที่ 1 น้อยกว่าคะแนน
สู งสุ ดที่อยูใ่ นกลุ่ม 25% ต่าสุ ด ของผลการสอบรายวิชาที่ 2
3. จานวนนักเรี ยนที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนน ในรายวิชาที่ 1 มากกว่า จานวนนัก-
เรี ยนที่ได้คะแนนไม่เกิน 80 คะแนน ในรายวิชาที่ 2
4. จานวนนักเรี ยนที่ได้คะแนนระหว่าง 60 – 80 คะแนน ในการสอบรายวิชาที่ 2 น้อย
กว่าจานวนนักเรี ยนที่ได้คะแนนในช่วงเดียวกัน ในการสอบรายวิชาที่ 1

36
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น
38(แนว O–Net) จากแผนภาพกล่องของคะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนจาแนกตามเพศ
เป็ นดังนี้ ข้อสรุ ปในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
คะแนนสอบของนักเรี ยนหญิง
คะแนนสอบของนักเรี ยนชาย

0 คะแนนสอบ 100
ข้อสรุ ปในข้อใดต่อไปนี้ 0
1. คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชายมีการกระจายเบ้ซา้ ย
2. คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนหญิงมีการกระจายมากกว่าคะแนนสอบวิชา
คณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนชาย
3. คะแนนสอบเฉลี่ยวิชาคณิ ตศาสตร์ ของนักเรี ยนชายสู งกว่าคะแนนสอบเฉลี่ยวิชาคณิ ต-
ศาสตร์ของนักเรี ยนหญิง
4. คะแนนสอบวิชาคณิ ตศาสตร์ของนักเรี ยนหญิงมีการกระจายเบ้ขวา



37
3 วันพร้อมสอบคณิต O-Net เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 10 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบื้องต้น

เฉลยบทที่ 10 การวิ เ คราะห์ ข ้อ มู ล เบื้ องต้น


1. ตอบ 0.25 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบ 20 6. ตอบ 54 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบ 5 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบ 14.5 15. ตอบ 325 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบ 670 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 3.



38

You might also like