You are on page 1of 22

EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

ทฤษฎีเกม (Game Theory)

 องค์ประกอบของเกม และรู ปแบบการเสนอเกม


 ชนิดของเกม
 การหาดุลยภาพของเกมแบบเล่นพร้อมกัน
 Dominant and Dominated Strategies
 Iterated Deletion of Strictly Dominated Strategies
 The Nash Equilibrium
 Maximin Equilibrium
 เกมที่มีการเล่นซ้ า
 เกมแบบผลัดกันเล่น

1. องค์ ประกอบของเกม และรู ปแบบการเสนอเกม


 Game: สถานการณ์ที่มีการแข่งขันเพื่อเอาชนะกัน โดยที่ผเู ้ ล่นแต่ละฝ่ ายตระหนักถึงผลกระทบที่อาจ
เกิดขึ้นซึ่งกันและกัน ตามกลยุทธ์ที่แต่ละฝ่ ายเลือกใช้ ทั้งนี้เพื่อให้ได้ผลประโยชน์ของตนสู งสุ ด
 ตัวอย่าง: Poker, หมากรุ ก, เกมธุรกิจ
 ไม่สนใจวิเคราะห์เกมที่ผลของการแข่งขันขึ้นอยูก่ บั โชคชะตา
 องค์ประกอบของเกม มี 3 ส่ วน
1. ผูเ้ ล่น (Players)
2. กฎเกณฑ์ (Rules) หรื อ กลยุทธ์ (Strategies) ที่เกมอนุญาตให้เล่น
3. ผลรางวัล (Payoff)
Player 2
Left Right
Up 2,2 5,10
Player 1
Down 3,1 4,7

1
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

 ข้อสมมติ
1. มีขอ้ มูลที่สมบูรณ์ (Perfect information) ผูเ้ ล่นทุกคนรู ้กฎเกณฑ์และผลรางวัล และรู ้เขารู ้เรา
o “I know that you know that I know.”
2. มีเหตุมีผล (Rational) ผูเ้ ล่นใช้ขอ้ มูลที่มีอยูท่ ้ งั หมด ในการตัดสิ นใจเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุด
 รู ปแบบการเสนอเกม
1. รู ปแบบปกติ (Normal form)

การนาเสนอในรู ปแบบปกติ จะแสดงผลลัพธ์ผา่ นตาราง


โดยจะประกอบไปด้วย
- ผูเ้ ล่น (2 คน คือ A และ B)
- กลยุทธ์ (si1= ซ้าย, si2= ขวา )
- ผลลัพธ์ (UA,UB)
หมายเหตุ: i แทนด้วย A หรื อ B
คู่ลาดับ x,y ในตารางแสดงถึงผลลัพธ์ ของเกม โดยตัวเลขหน้าและหลังเป็ นผลลัพธ์ของ A และ B
ตามลาดับ ถ้าพิจารณาตามแถว จะแสดงกลยุทธ์ของผูเ้ ล่น A และตามหลักคือกลยุทธ์ของผูเ้ ล่น B
ยกตัวอย่าง กรณี ที่ผเู ้ ล่น A เลือกซ้าย และผูเ้ ล่น B เลือกขวา ผลลัพธ์ คือ -1,1 หรื อช่องขวาบน
หมายความว่า ผูเ้ ล่น A ได้ -1 และผูเ้ ล่น B ได้ 1

2
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

2. รู ปแบบขยาย (Extensive form)

จากภาพ ผูเ้ ล่น A เป็ นผูเ้ ลือกกลยุทธ์ก่อน จากขั้ว A (Node A) มีทางเลือก (ตามปลายลูกศร) ไปยังขั้ว
B (Node B) และจากขั้ว B มีทางเลือกไปยังผลลัพธ์ (ตามปลายลูกศร)
คู่ลาดับของผลลัพธ์ x,y ยังคงแสดงผลลัพธ์ของผูเ้ ล่น A และ B ตามลาดับ

กรณี ที่ผเู ้ ล่นตัดสิ นใจเลือกกลยุทธ์พร้อมกัน การนาเสนอเกมในรูปแบบขยาย จะแสดงเส้นประ


ล้อมรอบ node ของผูเ้ ล่น B ทั้งสองจุดผลลัพธ์ที่แสดงจะเหมือนกรณี การนาเสนอในรูปแบบปกติ

3
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

2. ชนิดของเกม
 เล่นพร้อมกัน (Simultaneous games) หรื อ ผลัดกันเล่น (Sequential games)
 เกื้อกูลกัน (Cooperative games) หรื อ ขับเคี่ยวกัน (Non-cooperative games)
 แข่งขันครั้งเดียว (One-shot games) หรื อ แข่งซ้ าหลายครั้ง (Repeated games)
 ผลรางวัลรวมคงที่ (Constant sum games) หรื อ ผลรางวัลรวมไม่คงที่ (Non-constant sum games)

เกมทีใ ผลตอบแทนคงที เกมทีใ ผลตอบแทนคงทีและผลร มของผลตอบแทนเปน นู ย์


(Zero - sum Game)
(Constant - Sum Game) ผูเล่น B
Player2
A B ั กอย

A ผูเล่น A ั - -
Player 1
B กอย - -

เกมทีใ ผลตอบแทน ม่คงที


( Non - Constant sum Game )
Player2
A B
Player 1 A
B

4
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

3. ดุลยภาพของเกม
 วิธีการหาดุลยภาพของเกม
 Iterated Elimination of Dominated Strategy
 Nash Equilibrium
 Maximin Equilibrium

3.1 Iterated Elimination of Dominated Strategies


 Dominant and Dominated Strategies
 กลยุทธ์เด่น (Dominant Strategy) กลยุทธ์ที่ให้ผลตอบแทน (Pay-off) มากกว่ากล
ยุทธ์อื่น ม่ ่ าคู่แข่ งจะเลือกกลยุทธ์ ใดก็ตาม
(Best strategy regardless of what the other player does)

Def: A strategy si  Si is a strictly dominant strategy for player i in game  N   I, Si  , u i  
if for all si'  si , we have u i  si ,s -i   u i  si' ,s -i  for all s-i  S-i
In word, a strategy si is a strictly dominant strategy for player i if it maximizes
uniquely player i’s payoff for any strategy that player i’s rivals might play.

 การหากลยุทธ์เด่น ใช้วิธี Elimination of Dominated Strategy ต้องกาจัดกลยุทธ์ที่ให้ผลลัพธ์ต่ากว่า


กลยุทธ์อื่น โดยกลยุทธ์ที่ถูกกาจัดจะเรี ยกว่า กลยุทธ์ที่ถูกข่ม (Dominated Stretagy) และกลยุทธ์ที่
เหลืออยู่ คือ กลยุทธ์เด่น (Dominant Strategy)

5
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

บริษทั B
ตัวอย่าง
โฆษณา ไม่โฆษณา

โฆษณา 10,5 15,0


บริษทั A
ไม่โฆษณา 6,8 10,2

จากตาราง ไม่วา่ B จะเลือกกลยุทธ์ใดก็ตาม A จะเลือกโฆษณา เนื่องจาก UA(โฆษณา,---) > UA(ไม่


โฆษณา,---) ดังนั้น โฆษณา เป็ นกลยุทธ์ เด่ นของบริษัท A ในทานองเดียวกัน โฆษณา เป็ นกลยุทธ์
เด่ นของบริษทั B

ตัวอย่าง

ดุลยภาพกรณีผูเล่นมีกลยุทธ์เด่น
MR. Y ( P. 2 )
A B C

MR. X
( P. 1 )

6
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

 การเล่นกลยุทธ์ เด่ นของผูเล่นแต่ ละคนเป็ นดุลยภาพของเกม เพราะการเล่นกลยุทธ์น้ ีให้ payoff สู ง


ที่สุดไม่วา่ คู่แข่งจะเลือกเล่นอะไร

 แต่ถา้ ผูเ้ ล่นทุกคนไม่มีกลยุทธ์เด่น เช่น

ตัวอย่าง

บริษทั B

โฆษณา ไม่โฆษณา

โฆษณา 10,5 15,0


บริษทั A
ไม่โฆษณา 6,8 20,2

จากตาราง โฆษณา ยังคงเป็ นกลยุทธ์ เด่ นของบริษัท B


เนื่องจาก UB(โฆษณา,---) > UB(ไม่โฆษณา,---)
แต่ A ม่ มีกลยุทธ์ เด่ น เนื่องจาก
UA(โฆษณา, โฆษณา) > UA(ไม่โฆษณา, โฆษณา) แต่
UA(โฆษณา, ไม่โฆษณา) < UA(ไม่โฆษณา, ไม่โฆษณา)

 แม้ A ไม่มีกลยุทธ์เด่น แต่ยงั สามารถหาดุลยภาพของเกมนี้ ได้ดว้ ย Iterated Elimination of


Dominated Strategy

7
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

 การหาดุลยภาพทาได้โดยตัดกลยุทธ์ที่ให้ผลรางวัลต่ากว่ากลยุทธ์อื่นๆเสมอออกไปทีละกลยุทธ์จน
เหลือกลยุทธ์สุดท้ายที่ดีที่สุด เพราะผูเ้ ล่นที่มีเหตุมีผลจะไม่ยอมเล่นกลยุทธ์ที่ให้ผลตอบแทนต่า
แน่นอน
 กลยุทธ์ที่ถูกตัดออก เรี ยกว่า กลยุทธ์ที่ถูกข่ม (Dominated Strategy) คือ กลยุทธ์ที่ให้ payoff ต่ากว่า
กลยุทธ์อื่นๆ ไม่วา่ คู่แข่งจะใช้กลยุทธ์ใด
(ผูเ้ ล่นจะไม่เลือกเล่น dominated strategy และคู่แข่งก็ทราบข้อมูลนี้ดว้ ย
จึงสามารถตัดกลยุทธ์น้ นั ออกจาก payoff matrix)

(Although it is compelling that players should play strictly dominant strategies if they have them,
it is rare strategies to exist. Often, one strategy of player i’s may be best when his rivals play s-i
and another when they play some other strategies s’-i. Even so, we might still be able to use the
idea of dominance to eliminate some strategies as possible choices. In particular, we should
expect that player i will not play dominated strategies)

 กลยุทธ์ที่เหลืออยูเ่ ป็ นกลยุทธ์ที่ไม่ถูกข่ม ... (ไม่ใช่ dominant strategy) เพราะเป็ นกลยุทธ์ที่ดีที่สุด


ภายใต้กลยุทธ์ที่ได้ตดั ทิ้งไปแล้ว

 ตัวอย่าง

บริษทั B

โฆษณา ไม่โฆษณา

โฆษณา 10,5 15,0


บริษทั A
ไม่โฆษณา 6,8 20,2

A จะพิจารณาว่า B มีกลยุทธ์เด่น คือ โฆษณา ดังนั้นสิ่ งที่ A สามารถทาได้ ภายใตการกระทาของ B คือ


โฆษณา

8
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

 ตัวอย่าง Price competition between Coke and Pepsi

COKE
$10.5 $11.5 $12.5 $13.5
$6.25 66,190 68,199 70,198 73,191
PEPSI $7.25 79,201 82,211 85,214 89,208
$8.25 82,212 86,224 90,229 95,225
$9.25 75,223 80,237 85,244 91,245

Find dominant strategy for Pepsi and Coke?


Find the equilibrium of this game?
For Pepsi, a price of $8.25 is a dominant strategy. But there is no dominant strategy for Coke. However, if
Coke assumes that Pepsi will follow its dominant strategy, Coke expect that Pepsi will set a price of
$8.25. Given this price, Coke’s best response is to set price of $12.50.

9
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

 ตัวอย่าง
ผูเ้ ล่น B
ซ้าย ขวา
บน 4,1 5,3
ผูเ้ ล่น A กลาง 1,4 6,3
ล่าง 3,5 7,6

There is no strictly dominant strategy for A and B. However, the equilibrium from iterated elimination
dominated strategies is (Down, Right)

Note 1: ลาดับการตัดมีความสาคัญในการให้ดุลยภาพที่ต่างกัน ถ้ากลยุทธ์ i เป็ น weakly dominated


ผูเ้ ล่น B
L R
U 5,1 4,0 2
ผูเ้ ล่น A M 6,0 3,1 1
D 6,4 4,4

Strategies U and M are weakly dominated.


ผูเ้ ล่น B
L R
U 5,1 4,0 1
ผูเ้ ล่น A M 6,0 3,1
D 6,4 4,4

Note 2: ดุลยภาพของกลยุทธ์เด่น (Equilibrium in Dominant strategy) เกิดขึ้นเมื่อ ผูเ้ ล่นทุกคนมีกลยุทธ์เด่น


บางกรณี แม้ผเู ้ ล่นทั้งคู่ไม่มีกลยุทธ์เด่น แต่อาจจะหาดุลยภาพของเกมได้ โดยวิธี Iterated of Elimination of
Dominated Strategies ข้อสมมติที่สาคัญคือ ผูเ้ ล่นมีขอ้ มูลของเกมและผูเ้ ล่นอื่นครบถ้วน และเป็ น
สมเหตุสมผล (Rational)

10
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

3.2 Nash Equilibrium


 เกิดขึ้นเมื่อ แต่ละหน่วยผลิตเลือกกลยุทธ์ที่ดีที่สุด ภายใต้กลยุทธ์ที่คู่แข่งเลือกใช้อยู่

Def: A strategy profile s = (s1 ,..., s I ) constitutes a Nash equilibrium of game  N   I, Si  , u i  
if for every i = 1,..., I, we have u i  si ,s-i   u i  si' ,s-i  for all s'-i  S-i

 ลบข้ อด้ อยของวิธีกลยุทธ์เด่น ที่เลือกโดยไม่ คิดถึงฝ่ ายตรงข้ าม


 ดุลยภาพของกลยุทธ์เด่น เป็ นเพียงส่ วนหนึ่งของดุลยภาพแนช
 Existence of Nash Equilibrium ทุกเกมสามารถหาคาตอบได้

N.E.: I’m doing the best I can given what you are doing. You’re
doing the best you can

Dominant
given whatStrategy Eq: I’m doing the best I can no matter what you
I am doing.
do. You’re doing the best you can no matter what I do.

 ผูเ้ ล่นทุกคนคาดคะเนกลยุทธ์ที่คู่แข่งจะเลือก ณ จุดดุลยภาพได้ถูกต้อง


given what you are doing

 การหา Nash Equilibrium: การเลือกกลยุทธ์ของผูเ้ ล่นเริ่ มจาก การคิดว่าอีกฝ่ ายเลือกกลยุทธ์ใด แล้ว


ผูเ้ ล่นจะมีการตอบโต้อย่างไรที่ดีที่สุด
 1. สมมติวา่ คู่แข่งขันใช้กลยุทธ์ใดกลยุทธ์หนึ่ง แล้วดูวา่ ถ้าจะให้ได้ Pay - off สู งสุ ด
จะต้องใช้กลยุทธ์ใด… ทาเครื่ องหมายที่ Pay - off นั้น
 2. สมมติวา่ คู่แข่งใช้อีกกลยุทธ์หนึ่ง แล้วทาแบบเดียวกับข้อ 1
 3. ทาขั้นตอนที่ 1 และ 2 กับกรณี คู่แข่งอีกรายหนึ่ง
 4. กลยุทธ์ที่ท้ งั สองเลือกพร้อมกันคือดุลยภาพแบบแนช

11
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

• ไม่มี dominant strategy Nash equilibrium


• แต่มี Nash equilibrium
บริษัท B
โฆษณา ม่โฆษณา

โฆษณา 10 , 5 15 , 0
บริษัท A
ม่
โฆษณา
6,8 20 , 2

Find N.E.
Player 2
Strategy D Strategy E Strategy F
Strategy A 4,2 13,6 1,3
Player 1 Strategy B 3,10 0,0 15,2
Strategy C 12,14 4,11 5,4

 Nash Equilibrium มีคุณสมบัติ 2 ประการ


.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

 ปัญหาของ Nash Equilibrium


1. บางเกมมี Nash Equilibrium ได้มากกว่าหนึ่งดุลยภาพ
เช่น เกม The Battle of the sexes ที่ต่างฝ่ ายต่างชอบเล่นกลยุทธ์คนละอย่าง แต่การเล่นกลยุทธ์แบบ
เดียวกันให้ผลรางวัลมากกว่าการเล่นแยกกัน

12
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

น้ าฝน
ฟุตบอล คอนเสิ ร์ท
ฟุตบอล 5,4 2,2
สเตฟาน
คอนเสิ ร์ท 2,2 4,5

วิธีแก้ เล่นแบบ Repeated game เล่นหลายๆรอบผลัดกันทาในสิ่ งที่แต่ละฝ่ ายชอบ หรื อเล่นแบบ


Sequential game ให้มีคนเริ่ มเล่นก่อน เลือกกลยุทธ์ที่ตวั เองชอบมากที่สุด

2. Nash Equilibrium อาจให้คาตอบที่มีประสิ ทธิภาพต่ากว่าทางเลือกอื่นเช่น เกม Prisoners’


Dilemma นักโทษ 2 คนถูกกล่าวหาว่าทาอาชญากรรม แต่มีหลักฐานเพียงแค่พอลงโทษในคดีลกั
ทรัพย์ นักโทษจะถูกแยกขัง และสื่ อสารกันไม่ได้ แต่ละคนถูกสอบสวนให้รับสารภาพว่าฆ่าเจ้า
ทรัพย์
นักโทษ 2
สารภาพ ปฏิเสธ
สารภาพ -6,-6 0,-12
นักโทษ 1
ปฏิเสธ -12,0 -1,-1

………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

วิธีแก้ เล่นเกมแบบร่ วมมือกัน (Cooperative game)


ความสาเร็ จในการร่ วมมือกันของนักโทษมีมากน้อยแค่ไหน?
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

13
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

ตัวอย่าง: Prisoners’ Dilemma and Cartel


Firm 2
ผลิตมากกว่าโควตา ผลิตเท่ากับโควตา
ผลิตมากกว่าโควตา 2,2 4,1
Firm 1
ผลิตเท่ากับโควตา 1,4 3,3

3. บางเกมไม่มี (Pure) Nash Equilibrium


เช่น เกม Matching Pennies (ทายใจหัวก้อย, เป่ ายิง้ ฉุบ)
B
หัว ก้อย
หัว 1,-1 -1,1
A
ก้อย -1,1 1,-1

วิธีแก้ ใช้ Mixed Strategy เล่นกลยุทธ์แต่ละอันแบบสุ่ มด้วยความน่าจะ เป็ นต่างๆ… N.E. มี


คาตอบเสมอ

4. ในกรณี ที่คู่แข่งไม่มีเหตุผล และไม่มีความคงเส้นคงวา เช่น คู่แข่งล้ ือกใช้กลยุทธ์ที่ให้ผลรางวัลต่า


เพื่อที่จะล้างแค้นเพื่อความสะใจ การหาดุลยภาพแบบ Nash มีความเสี่ ยงสู งเกินไป

B
ซ้าย ขวา
บน 2,1 2,2
A
ล่าง -1000,1 3,2

วิธีแก้ หาดุลยภาพแบบ Maximin

14
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

3.3 Maximin

 หาดุลยภาพจากการเลือกกลยุทธ์ที่ให้ค่า payoff สู งที่สุด ในบรรดา payoff ที่ต่าที่สุด

ขันตอนในการ าดุลยภาพ
ของกลยุทธ์ Maximin

ผูเล่นคนที า row minima


1. ใ คู่แข่งเลือกกลยุทธ์ต่าง แล ดู ่า ถา P.1 เลือกกลยุทธ์ใด แล Pay - off
ตาสุดเปนเท่าใด (ตาสุดของแถ ) แล เขียน Pay - off ตาสุด
2 เลือกค่าสูงสุดของบรรดาค่าตาสุด แล ดู ่าการ ดมา งึ Pay - off ดังกล่า
เปนกลยุทธ์ใด
ผูเล่นคนที 2 า column minima

ดุลยภาพแบบMaximin
MR. Y ( P. 2 )
A B C Row
minima
MR. X
( P. 1 )

Column
minima

15
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

B
Don’t invest Invest
Don’t invest 0,0 -10,10
A
Invest -100,0 20,10

 ปัญหาของ Maximin
1. เป็ นการมองโลกในแง่ร้ายเกินไป
2. เป็ นวิธีค่อนข้าง Conservative เพราะเน้นปลอดภัยไว้ก่อน มากกว่าที่จะยอมเสี่ ยงเพื่อหากาไร
สู งสุ ดแบบ Nash
*Maximin เหมาะกับสถานการณ์ที่ขาดข้อมูลของคู่แข่ง หรื อกรณี ที่มีโอกาสเกิดความเสี ยหายมีมาก

4. เกมทีมีการเล่ น า (Repeated game)


 เป็ นเกมที่มีการเลือกกลยุทธ์และได้รับผลรางวัลหลายรอบ
 ผูข้ ายในตลาดผูข้ ายน้อยรายแข่งขันกันหลายครั้ง
 หากมีการเล่นเกม Prisoners’ Dilemma ซ้ าหลายครั้งผูเ้ ล่นมีโอกาสสร้างชื่อเสี ยง (reputations)
เกี่ยวกับพฤติกรรมของตน และศึกษาพฤติกรรมของคู่แข่ง --> ผูเ้ ล่นจะแก้ปัญหา “หนีเสื อปะ
จระเข้” ได้หรื อไม่ ?
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….

 กลยุทธ์ที่ดีที่สุดในการเล่น Repeated Prisoner’s Dilemma คือ การใช้กลยุทธ์ตาต่อตา ฟันต่อฟัน Tit-


for-Tat
 กลยุทธ์การเล่นเกมซ้ าที่เริ่ มเล่นด้วยการร่ วมมือในรอบแรก และผูเ้ ล่นจะตอบโต้คู่แข่งด้วย
กลยุทธ์ที่คู่แข่งใช้ในรอบที่แล้ว

16
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

 ร่ วมมือกับคู่แข่งที่ให้ความร่ วมมือ และลงโทษคู่แข่งที่ไม่ร่วมมือ และให้อภัยในรอบ


ถัดไปเมื่อคู่แข่งกลับใจ
 Tit-for-Tat จะประสบผลสาเร็ จในการทาให้เกิดความร่ วมมือกันหรื อไม่ ขึ้นกับว่าจานวนครั้งของ
การเล่นเกมมีที่สิ้นสุ ด หรื อ เล่นไปเรื่ อยๆไม่รู้จบ
1. Infinite rounds
 Tit-for-tat strategy เป็ นกลยุทธ์ที่มีเหตุมีผล
 ถ้าคู่แข่งผลิตเกินโควตา คูแ่ ข่งจะได้กาไรในเดือนนั้น แต่รู้วา่ อีกฝ่ ายจะผลิตเกินโควตาใน
เดือนต่อไปด้วย
 ทั้งคู่จะได้กาไรต่าถ้าผลิตเกินต่อไป
 แต่ถา้ คู่แข่งจะเลิกผลิตเกินโควตา หนึ่งเดือนหลังจากที่เขากลับใจจะได้กาไรสู งกลับคืน
 ถ้าผลิตตามโควตาตลอด ได้กาไรรวมสู งกว่า
 ไม่มีเหตุผลที่จะผลิตเกินโควตา
 Tit- for-Tat ทาใ กลยุทธ์ ร่ มมือ ดผล
2. Finite rounds
 ถ้าทั้งคู่ rational จะผลิตตามโควตาจนก่อนครั้งสุ ดท้าย
 ถ้าผลิตเกิน อีกฝ่ ายไม่สามารถลงโทษหลังรอบสุ ดท้ายได้
 แต่ในรอบรองสุ ดท้าย ต่างรู ้วา่ อีกฝ่ ายจะผลิตเกิน จึงต่างผลิตเกิน
 จะผลิตเกินทุกครั้ง ด้วยเหตุผลเดียวกับรอบรองสุ ดท้าย
 ดังนั้น กลยุทธ์ที่ดีที่สุดสาหรับ 2 ฝ่ าย คือ ผลิตเกินตั้งแต่รอบแรก
 กลยุทธ์ Tit-for-Tat ม่ มีประโยชน์ ในการสรางค ามร่ มมือ

17
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

5. เกมแบบผลัดกันเล่ น (Sequential game)


 มีผเู ้ ล่นที่ตดั สิ นใจเลือกเล่นก่อน (แทนที่จะเล่นพร้อมกัน) โดยผูเ้ ล่นผลัดเปลี่ยนกันเล่นเกม ตอบโต้
กลยุทธ์ของคู่แข่ง
 ตัวอย่าง: Stackelberg model , การตอบโต้การโฆษณาของคู่แข่ง, การตัดสิ นใจเข้าตลาด

ตัวอย่าง: การออกผลิตภัณฑ์ใหม่
ขนมกรอบ หรือ หวาน บริษัท 2
กรอบ าน

กรอบ -5, -5 10, 20

าน 20, 10 -5, -5

มี 2 N.E. >>ใช้ sequential game แก้ปัญหา

18
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

การออกผลิตภัณ ์ใ ม่ใน Extensive Form

กรอบ -5, -5
บริษัท 2
กรอบ
าน 10, 20
กรอบ 20, 10
าน
บริษัท 2 าน
-5, -5

 ผูเ้ ล่นก่อนได้เปรี ยบ First mover advantage


 เกมการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ บริ ษทั ที่ออกสิ นค้าเร็ วกว่าได้เปรี ยบ
 ใน Stackelberg model บริ ษทั ที่ผลิตก่อนได้เปรี ยบด้วยการผลิตมากขึ้น บริ ษทั ที่
ผลิตทีหลังจาเป็ นต้องลดการผลิตลง
 ตัวอย่าง

19
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

Threats, Commitments, and Credibility


 บริ ษทั 2 ในเกมออกผลิตภัณฑ์อาจ ขู่ (threat) ว่าจะผลิตขนมแบบหวานแข่ง ไม่วา่ บริ ษทั 1 จะผลิต
ขนมแบบหวานหรื อไม่
 แต่บริ ษทั 1 ทราบดีวา่ นี่เป็ นการขู่ที่ไม่มีน้ าหนัก (empty threat) หรื อเป็ น การขู่ที่ไม่น่าเชื่อถือ (not
credible)
 ตัวอย่าง Empty threat
Firm 2
High price Low price
High price 100,80 80,100
Firm 1
Low price 20,0 10,20

 ทาอย่างไรให้คาขู่น่าเชื่อถือ>>>>>>>>>> Strategic Move เดินกลยุทธ์


 กลยุทธ์ที่สามารถโน้มน้าวการตัดสิ นใจของผูอ้ ื่น ให้เป็ นประโยชน์ต่อตัวผูเ้ ดินกลยุทธ์น้ นั
 ผูเ้ ดินกลยุทธ์ จะจากัดทางเลือกของคู่แข่งด้วยการจากัดทางเลือกของตนเอง เช่น บริ ษทั 2
ต้องทามากกว่าประกาศเฉยๆ ต้องแสดงให้ชดั ว่าเป็ นพันธสัญญา , ลงทุนโฆษณาครั้งใหญ่ ,
สัง่ ซื้อน้ าตาลจานวนมาก ประกาศให้ทราบ
 Commitment ต้องเพียงพอที่จะจูงใจบริ ษทั 1 ให้ตดั สิ นใจตามที่บริ ษทั 2 ต้องการ

20
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

ชื อเสี ยง (Reputation)
 ถ้าผูเ้ ล่นคนหนึ่งมีชื่อเสี ยงว่าเป็ น “คนบ้าบิ่น” หรื อ เป็ นคนยอมหักไม่ยอมงอ
การขู่เฉยๆ อาจได้ผล เพราะอาจไม่ตอ้ งการกาไรสู งสุ ด
 คนที่ทาให้คนอื่นเชื่อว่าบ้าบิ่นอาจได้เปรี ยบ

ตัวอย่าง เกมการป้องกันการเข้าสู่ ตลาด

Entry Deterrence

ราคาสูง 0 , 10

ม่เขา
ราคาตา 0, 5
ราคาสูง 2 ,5
เขา

ราคาตา -2, 4

ดุลยภาพ: เข้าสู่ ตลาด, ตั้งราคาสู ง


ถ้าบริ ษทั เก่าขู่วา่ ถ้าเจ้าใหม่จะเข้าสู่ ตลาด จะเลือกใช้กลยุทธ์ “ราคาต่า” ทาให้เจ้าใหม่ขาดทุน -2
แต่คาขู่น้ ีไม่มีเหตุผล!!!
ถ้าเจ้าเก่าลงทุนเพิ่มกาลังการผลิต ซื้อเครื่ องจักรที่มีประสิ ทธิภาพ ต้นทุนเฉลี่ยลดลงมาก เจ้าเก่าจะ
สามารถจั้งราคาต่าได้ >>>>>> Strategic move
ดังนั้น การขู่วา่ จะตัดราคาจะ credible เจ้าใหม่จะไม่กล้าเข้าตลาด

21
EC 311 1/62 สัปดาห์ท่ี 12 ตลาดผลผลิต (ตลาดผูข้ ายน้อยราย) พิจิตรา ประภัสสรมนู

Entry Deterrence
ก่อนลงทุน ลังลงทุน

ราคาสูง 0 , 10 0,7

ม่เขา
ราคาตา 0, 5 0,4
ราคาสูง 2 ,5 2,2
เขา

ราคาตา -2, 4 -2 , 3

22

You might also like