You are on page 1of 17

โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) เป็นปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั่วโลก และยั ง เป็ น

หนึ่ ง ของโรคที่ น ำไปสู่ ก ารเกิ ด โรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด ปัจจุบันมีการพัฒนาองค์ความรู้


ต่าง ๆ ทั้งในด้านความรู้พื้นฐาน และด้านการรักษาด้วยยาจากผลการศึกษาวิจัยใหม่ ซึ่ง
นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงคำแนะนำต่าง ๆ ในแนวทางเวชปฏิบัติในปัจจุบัน อาทิ แนว
ทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของคณะกรรมการร่วมแห่งชาติ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ฉบับที่ 8 ปี ค.ศ. 2014 (JNC 8) แนวทางเวชปฏิบัติของวิทยาลัยโรคหัวใจและสมาคม
โรคหัวใจแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (ACC)/AHA) ปี ค.ศ. 2017 แนวทางการรักษาโรค
ความดั น โลหิ ต สู ง ของสมาคมโรคหั ว ใจและสมาคมโรคความดั น โลหิ ต สู ง แห่ ง ยุ โ รป
(ESC/ESH) ปี ค.ศ. 2018 และแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป
ของสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย ปี ค.ศ. 2019 ซึ่งมีประเด็นคำแนะนำที่คล้าย
และแตกต่างกันออกไป ดังนั้น เพื่อทบทวนและอัพเดทองค์ความรู้ เกี่ยวกับการรักษาโรค
ความดันโลหิตสูง บทความนีจ้ ึงกล่าวทบทวนนิยาม การจำแนกโรค เป้าหมายและหลักการ
ให้การรักษาโรคความดันโลหิตสูง ทั้งนี้ เพื่อให้บริบาลเภสัชกรรมในโรคความดันโลหิตสูง
อย่างมีประสิทธิภาพ และอยู่บนพื้นฐานของหลักฐานทางวิชาการที่เป็นปัจจุบัน
Hypertension, Guideline, Treatment
พบว่าในประเทศสหรัฐอเมริกามีประชากรประมาณ 50
1. สามารถอธิบายความแตกต่างของคำนิยามของ ล้านคน ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงและจำเป็นต้องได้รับ
ความดัน โลหิตสูง การจำแนกระดับความดัน การรักษา รวมทั้งมีการคาดการณ์ว่าความชุกของผู้ป่วยที่
โลหิต และเป้าหมายการรักษาจากแนวทางการ มีภาวะความดันโลหิตสูงอาจมากถึง 1 พันล้านคน โดยที่
รักษาผู้ป ่ว ยโรคความดัน โลหิต สู งทั้ ง 4 แนว มีผ ู้เสียชีว ิตจากภาวะความดันโลหิตสูงประมาณ 7.1
ทางการรักษาได้ ล้านรายต่อปี [7, 8]
2. สามารถอธิบายความเหมือนและความแตกต่าง สำหรับในประเทศไทยจากรายงานของสำนัก
กันจากแนวทางการรักษาความดันโลหิตสูงทั้ง 4 นโยบายและยุ ท ธศาสตร์ สำนั ก งานปลั ด กระทรวง
แนวทางได้ สาธารณสุข พบว่าอัตราตายด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อ
3. สามารถอธิบายการเลือกใช้ยาลดความดันโลหิต ประชากรแสนคนในภาพรวมของประเทศในปี พ.ศ.
สูงที่เหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละรายได้ 2556-2558 เท่ากับ 8.09, 18.28 และ 25.32 ตามลำดับ
ซึ่งอัตราในปี พ.ศ. 2558 จะเพิ่มขึ้นมากกว่า 3 เท่าจากปี
2556 และจากการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการ
โรคความดัน โลหิตสูง (Hypertension) เป็น ตรวจร่ า งกายครั ้ ง ที่ 4 (พ.ศ.2551-2552) พบว่ า
ปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั่วโลก และยั ง เป็ น หนึ่ ง ของ ประชากรไทยที่มีอายุ 15 ปี ขึ้นไป มีภาวะความดันโลหิต
โรคที่ น ำไปสู่ ก ารเกิ ด โรคหัว ใจและหลอดเลื อ ด โดยพบ สูงเกือบ 11 ล้านคน โดยร้อยละ 60 ในเพศชายและร้อย
จำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะความดันโลหิตสูง ที่ต้องได้รับการ ละ 40 ในเพศหญิง พบว่าไม่รู้ตัวว่าเป็นความดันโลหิตสูง
รักษาเพิ่มมากขึ้น องค์การอนามัยโลกได้รายงานว่าระดับ ส่วนร้อยละ 8-9 ได้รับการวินิจฉัยแต่ไม่ได้รับการรักษา
ความดันโลหิตที่สูงกว่า 115 mmHg จะมีผลเพิ่มความ และมีเพียง 1 ใน 4 ของผู้ที่ได้รับการรักษาที่ สามารถ
เสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ประมาณร้อยละ ควบคุมความดันโลหิตได้ โดยปัญหาหลักของการรักษา
62 และโรคหั ว ใจขาดเลื อ ดประมาณร้ อ ยละ 49 [1] โรคความดันโลหิตสูงในประเทศไทย คือการที่ผู้ป่วยไม่ได้
ข้อมูลการศึกษาทางระบาดวิทยาพบว่าความเสี่ยงในการ ตระหนักว่าเป็นโรค และการที่ยังไม่ส ามารถควบคุ ม
เกิดโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) โรคกล้ามเนื้อหัวใจ ความดันโลหิตให้ลดลงมาตามเกณฑ์ปฏิบัติได้ จึงเห็นได้
ตาย (myocardial infarction) อาการเจ็บแน่นหน้าอก ว่าโรคความดันโลหิตสูงเป็นภาวะที่ส่งผลต่อสุขภาพเป็น
(angina) โรคหัวใจล้มเหลว (heart failure) โรคไตวาย อย่างมาก ซึ่งหากผู้ป่วยตระหนักถึงความสำคัญของโรค
(kidney failure) และการเสี ย ชี ว ิ ต จากโรคหั ว ใจและ ความดันโลหิตสูงและสามารถควบคุมความดันโลหิตให้
หลอดเลือดจะมีความสัมพันธ์โ ดยตรงกับระดับความดัน ลดลงมาตามเกณฑ์ปฏิบัติได้ ก็จะส่งผลให้ลดความเสี่ยง
โลหิต[2, 3] นอกจากนี้ข้อมูลจาก the National Health ในการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหลอดเลือดและ
and Nutrition Examination Survey ( NHANES) หัวใจในอนาคตได้ [6, 7]
น ิ ย า ม ข อ ง ค ว า ม ด ั น โ ล ห ิ ต ส ู ง ( definition of prehypertension และ hypertension ระดับ 1 และ
hypertension) ระดับ 2 ซึ่งต่อมาแนวทางของ ACC/AHA 2017 มีการ
หมายถึ ง ระดั บ ความดั น โลหิ ต ซิ ส โตลิ ก ปรับเกณฑ์ hypertension ระดับ 1 จากเดิมที่ JNC 7
(systolic blood pressure, SBP) ≥ 140 mm Hg และ/ ระบุว่า SBP 140-159 หรือ DBP 90-99 mm Hg เป็น
หรื อ ความดั น โลหิ ต ไดแอสโตลิ ก (diastolic blood 130-139 หรื อ 80-89 mm Hg เนื ่ อ งจากมี ข ้ อ มู ล
pressure, DBP) ≥ 90 mm Hg โดยอ้างอิงจากการวัด การศึ ก ษาเชิ ง สำรวจและการศึ ก ษาเชิ ง ทดลองพบ
ความดันโลหิตที่สถานพยาบาล [4-7] ความสัมพันธ์ระหว่างความดันโลหิตและความเสี่ยงใน
Isolated systolic hypertension ( ISH) การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยพบว่ากลุ่มที่จัดอยู่
หมายถึง ระดับ SBP ≥ 140 mm Hg แต่ระดับ DBP < ใน hypertension ระดั บ 1 มี ค วามเสี ่ ย งในการเกิ ด
90 mm Hg โดยอ้ า งอิ ง จากการวั ด ความดั น โลหิ ต ที่ โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น โดยผู้ที่มีระดับความดัน
สถานพยาบาล โลหิต 120-129/80-84 mm Hg จะมีความเสี่ยงในการ
Isolated office hypertension ห รื อ เกิ ด โรคหลอดเลื อ ดหั ว ใจและโรคหลอดเลื อ ดสมอง
white-coat hypertension หมายถึง ระดับความดัน เพิ่มขึ้นประมาณ 1.1-1.5 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับผู้ที่มี
โลหิตจากการวัดที่สถานพยาบาลอยู่ในเกณฑ์สูงผิดปกติ ระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 120/80 mmHg และผู้ที่มี
(SBP ≥ 140 mm Hg และ/หรื อ DBP ≥ 90 mm Hg) ระดับความดันโลหิตสูงกว่า 130-139/85-89 mm Hg
แต่ระดับความดันโลหิตจากการวัดที่บ้านเป็นปกติ (SBP จะมีความเสี่ยงในการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและโรค
< 135 mm Hg และ DBP < 85 mm Hg) หลอดเลื อ ดสมองเพิ่ ม ขึ ้ น ประมาณ 1.5-2 เท่ า เมื่ อ
Masked hypertension ห ม า ย ถ ึ ง ร ะ ดั บ เปรี ย บเที ย บกั บ ผู ้ ท ี ่ ม ี ร ะดั บ ความดั น โลหิ ต น้ อ ยกว่ า
ความดันโลหิตจากการวัดที่สถานพยาบาลเป็นปกติ (SBP 120/80 mm Hg [9-12] ในส่วนของแนวทางการรักษา
< 140 mm Hg และ DBP < 90 mm Hg) แต่ ร ะดั บ ESC/ESH (2018) มีข้อมูลระดับ hypertension ระดับ
ความดันโลหิตจากการวัดที่บ้านสูงผิดปกติ (SBP ≥ 135 3 ท ี ่ ม ี ค ว า ม ร ุ น แ ร ง ม า ก แ ล ะ Isolated systolic
mm Hg และ/หรือ DBP ≥ 85 mm Hg) hypertension (ISH) เพิ่มเติม ซึ่งแนวทางการรักษาของ
ประเทศไทย Thai (2019) ได้นำข้อมูลการจำแนกระดับ
การจำแนกระดับความดันโลหิตสูง (Classification ความดั น โลหิ ต ของแนวทาง ESC/ESH (2018) มา
of blood pressure) ประยุกต์ใช้ ซึ่งการจำแนกระดับความดันโลหิตเป็นระดับ
ใช้ ก ำหนดจากระดั บ ความดั น โลหิ ต ที ่ ว ั ด ใน ต่ า งๆ มี ค วามสำคั ญ ในการประเมิ น ในการรั ก ษาที่
คลินิก โรงพยาบาล หรือสถานบริการสาธารณสุขเป็น เหมาะสม ความเร่งด่วนในการรักษา การพิจารณาการ
หลัก (Office blood pressure) ดังแสดงในตารางที่ 1 เริ่ ม ยา และจำนวนชนิ ด ยาที ่ เ ลื อ กใช้ เ ริ ่ ม แรก
การจำแนกระดับความดันโลหิตของแนวทางการรักษา (monotherapy or combination therapy) [6]
ต่ า งๆ พบว่ า JNC 8 (2014) มี ก ารกำหนดเป็ น
ตาราง 1 การจำแนกระดับความดันโลหิตสูงของแนวทางการรักษาต่าง ๆ
JNC 8 (2014) และ JNC 7 (2003) ACC/AHA (2017) ESC/ESH (2018) และ Thai (2019)
BP SBP DBP BP SBP DBP BP Category SBP DBP
Category (mm Hg) (mm Hg) Category (mm Hg) (mm Hg) (mm Hg) (mm Hg)
Normal <120 และ <80 Normal <120 และ <80 Optimal <120 และ <80
Prehypertension 120-129 หรือ 80-89 Elevated 120-129 และ <80 Normal 120-129 และ/ 80-84
หรือ
Hypertension 140-159 หรือ 90-99 Hypertension 130-139 หรือ 80-89 High normal 130-139 และ/ 85-89
ระดับ 1 ระดับ 1 หรือ
Hypertension ≥160 หรือ ≥100 Hypertension ≥140 หรือ ≥90 Hypertension 140-159 และ/ 90-99
Stage 2 Stage 2 ระดับ 1 หรือ
Hypertension 160-179 และ/ 100-109
ระดับ 2 หรือ
Hypertension ≥180 และ/ ≥110
ระดับ 3 หรือ
Isolated ≥140 และ <90
systolic
hypertension
(ISH)
หมายเหตุ: SBP, systolic blood pressure; DBP, diastolic blood pressure
การรักษาโรคความดันโลหิตสูง (Treatment of 10 mm Hg หรือการลด DBP ลง 5 mmHg สามารถลด
hypertension) การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้ร้อยละ 20 เช่น ลด
การรักษาโรคความดันโลหิตสูงที่เป็นการรักษา อัตราการเกิด stroke ร้อยละ 35 ลดอัตราการเกิดโรค
มาตรฐานมี 2 วิธ ี คือ การรักษาโดยการปรับเปลี ่ ย น หลอดเลือดหัว ใจ ร้อยละ 20 ลดอัตราการเกิด หั ว ใจ
พฤติ ก รรม (Lifestyle interventions) ดั ง แสดงใน ล้มเหลวร้อยละ 40 และลดอัตราการเสียชีว ิตจากทุ ก
ตารางที่ 2 และการรักษาโดยใช้ย าลดความดันโลหิต สาเหตุได้ร้อยละ 15 การลดความดันโลหิตยังสามารถ
(Anti-hypertensive agents) มีข้อมูลการศึกษาผลการ ส่งผลในการป้องกันการเสื่อมการทำงานของไตอีกด้วย
ให้ยาลดความดันโลหิตแสดงให้เห็นว่าการลด SBP ลง [5]
ตาราง 2 การรักษาโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต (Lifestyle interventions)[5, 13, 14]
วิธีการ ข้อแนะนำ ประสิทธิภาพของการลด SBP
Hypertension Normotension
การลดน้ำหนักในผู้ที่มี ให้มีค่า BMI =18.5-22.9 kg/m2 โดยการลดน้ำหนักลง 1 -5 mm Hg -2/3 mm Hg
น้ำหนักเกิน หรืออ้วน kg คาดหวังให้ความดันโลหิตลดลง 1 mm Hg
การปรั บ รู ป แบบการ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ โดยใช้สูตรเมนูอาหาร -11 mm Hg -3 mm Hg
บ ร ิ โ ภ ค อา หา ร เพื่ อ 2:1:1 ตามแนวทางกรมอนามัย คือ 2 ส่วนเป็นผักอย่าง
สุขภาพ น้อย 2 ชนิด อีก 1 ส่วนเป็นข้าว หรืออาหารที่มาจากแป้ง
และอีก 1 ส่วนเป็นโปรตีน โดยเน้นเนื้อสัตว์ไม่ติดมันและ
เนื้อปลา และทุกมื้อควรมีผลไม้สดที่มีรสหวานน้อยร่วม
ด้วย
การจำกัดปริมาณเกลือ กำหนดปริมาณการบริโภคโซเดียม ไม่เกินวันละ 1,500 -5/6 mm Hg -2/3 mm Hg
และโซเดียมในอาหาร mg การกำจัดโซเดียมให้เข้มงวดขึ้นในปริมาณไม่เกินวันละ
[15] 1,000 mg อาจช่วยลดความดันโลหิตได้เพิ่มขึ้น
-เกลือแกง 1 ช้อนชา มีโซเดียม 2 กรัม
-น้ำปลาหรือซีอิ๊วขาว 1 ช้อนชา มีโซเดียม 350-500 mg
-ผงชูรส 1 ช้อนชา มีโซเดียม 500 mg
การออกกำลังกาย ควรออกกำลังกายชนิดแอโรบิก 90-150 นาที/สัปดาห์ -5/8 mm Hg -2/4 mm Hg
จำกัดหรืองดเครื่องดื่ม กรณีที่งดหรือลดไม่ได้ ควรจำกัดปริมาณ -4 mm Hg -3mm Hg
แอลกอฮอล์ -ชาย ไม่เกิน 2 ดื่มมาตรฐานต่อวัน
-หญิง ไม่เกิน 1 ดื่มมาตรฐานต่อวัน
หมายเหตุ การเลิกบุหรี่ไม่ได้มีผลผลต่อการลดความดันโลหิตโดยตรง แต่สามารถช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
และหลอดเลือดได้
การรั ก ษาโดยใช้ ย าลดความดั น โลหิ ต (Anti- จากรายงานผลการวิ จ ั ย ทางคลิ น ิ ก และการ
hypertensive drug treatment) รวบรวมข้อมูล งานวิจัย meta-analysis พบว่าการลด
การเริ่มให้ยาลดความดันโลหิต (When to SBP ลงมาต่ำกว่า 130 mm Hg อาจให้ประโยชน์ในการ
initiate antihypertensive treatment) ลดโรคแทรกซ้ อ นทางระบบหั ว ใจและหลอดเลื อ ด
การเริ่มให้ยาลดความดันโลหิตในผู้มีโรคความ รวมถึงลดการเสียชีวิตลงได้ ดังนั้นจึงแนะนำว่าควรรักษา
ดันโลหิตสูงจะพิจารณาจากปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ ให้ ค วามดั น โลหิ ต ของผู ้ ป ่ ว ยส่ ว นใหญ่ ล ดลงมาอยู ่ ที่
ระดับ ความดัน โลหิตเฉลี่ย ที่วัดได้จ ากสถานพยาบาล 130/80 mm Hg หรือต่ำกว่านั้น แต่อย่างไรก็ตามมีข้อ
ระดับความเสี่ยงที่จะเกิดโรคทางระบบหัวใจและหลอด พึงระวังอยู่ 2 ประการคือ
เลือดของแต่ละบุคคล โรคร่วมที่ปรากฏอยู่แล้วในบุคคล ประการที่ 1 ในเบื ้ อ งต้ น ควรจะลดความดัน
นั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคทางระบบหัวใจและหลอด โลหิตของผู้ป่วยจากการวัดที่สถานพยาบาลให้ต่ำกว่า
เลือด และปัจจัยสุดท้ายคือ สภาพของการเกิด อวัยวะที่ 140/90 mm Hg ก่อน และหากผู้ป่วยทนต่อการรักษา
ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง (target organ ได้ ดี จึ ง ค่ อ ยปรั บ การรั ก ษาเพิ ่ ม เติ ม จนได้ ร ะดั บ ≤
damage: TOD) 130/80 mm Hg
การเริ ่ ม ให้ ย าลดความดั น โลหิ ต แก่ ผ ู ้ ส ู ง อายุ ประการที่ 2 มีข้อมูลแสดงว่าหากให้ยาเพื่อลด
(ระหว่าง 65-79 ปี) ให้พิจารณาเช่นเดียวกันกับผู้ที่อายุ ความดันโลหิตลงมากเกินไปอาจมีผลเสีย โดยเฉพาะใน
น้อยกว่า 65 ปี แต่หากผู้ป่วยมีอายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป ผู้สูงอายุ และผู้ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น มีโรคทางระบบ
ควรเริ่มให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อมี SBP ตั้งแต่ 160 หั ว ใจและหลอดเลื อ ด หรื อ มี โ รคร่ ว มอื ่ น ๆ อยู ่ แ ล้ ว
mm Hg ขึ้นไป และ/หรือ DBP ตั้งแต่ 90 mm Hg ขึ้น ดังนั้นจึงแนะนำว่าไม่ควรลด SBP ลงมาจนต่ำกว่า 120
ไป อย่ า งไรก็ ต ามถ้ า หากผู ้ ป ่ ว ยมี ค วามเสี ่ ย งสู ง มาก mm Hg ส่ว นค่า DBP ที่เหมาะสมควรจะอยู่ระหว่ า ง
เนื่องจากเคยเป็นโรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือดอยู่ 70-79 mm Hg อย่างไรก็ตามให้คำนึงถึงการลด SBP
แล้ว ไม่ว่าจะเคยเป็น CAD, stroke หรือภาวะสมองขาด เป็นสำคัญ แม้ว ่า DBP อาจลดลงต่ำกว่า 70 mm Hg
เลือดชั่วคราว (transient ischemic attack; TIA) และ บ้างก็สามารถอนุโลมได้ เนื่องจากค่า DBP ในผู้สูงอายุ
มีอายุตั้งแต่ 80 ปีขึ้นไป อาจพิจารณาเริ่มให้ยาลดความ ส่วนใหญ่มักจะต่ำตามสภาพปกติอยู่แล้วตั้งแต่ก่อนให้ยา
ดันโลหิตเมื่อมีค่ า SBP ตั้งแต่ 140 mm Hg เป็นต้นไป รักษาความดันโลหิต [16]
ได้ โดยควรพิจารณาจากสภาพความแข็งแรงของผู้ป่วย คำแนะนำระดั บ ความดั น โลหิ ต เป้ า หมายใน
ความสามารถในการทนต่อการรักษาโรคร่วมอื่น ๆ และ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงตามแนวทางการรักษาต่าง ๆ ได้
ความพร้อมต่าง ๆ ในการรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง สรุปดังตารางที่ 3
ตาราง 3 ระดับความดันโลหิตเป้าหมายของการรักษา
Guidelines JNC 8 ACC/AHA ESC/ESH (2018) Thai (2019)
(2014) (2017)
อายุ 18 – 64 ปี <140/90 <130/80 120-130/70-79 120-130/70-79
อายุ 65 - 79 ปี <150/90 <130/80 130-139/70-79 130-139/70-79
อายุ ≥ 80 ปี <150/90 <130/80 130-139/70-79 130-139/70-79
ผู้ป่วยโรคเบาหวาน <140/90 <130/80 120-139/70-79 120-139/70-79
ขึ้นกับอายุ ขึ้นกับอายุ
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ <140/90 <130/80 120-139/70-79 120-139/70-79
ขึ้นกับอายุ ขึ้นกับอายุ
ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (eGFR < 60 ml/min/1.73 m2)
- Without <130/80
130-139/70-79 120-139/70-79
proteinuria <140/90
ขึ้นกับอายุ ขึ้นกับอายุ*
- With proteinuria <130/80
ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง <140/90 <130/80 130/70-79 120-130/70-79
หมายเหตุ: eGFR, estimate glomerulus filtration; CKD, chronic kidney disease
* อายุ 18-65 ปี = BP 120-130/70-79; อายุ 65-79 ปี= BP 130-139/70-79; อายุ 80 ปีขึ้นไป = BP 130-139/70-79

การเลือกใช้ยาเพื่อลดความดันโลหิต (ARBs), beta-blockers (BB), calcium-channel


(Pharmacological therapy for blockers (CCBs) และยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
hypertension)[4-7] เช่ น กลุ ่ ม thiazides หรื อ กลุ ่ ม ยาขั บ ปั ส สาวะที่
การเลือกใช้ยาลดความดันโลหิตให้เหมาะสม ใกล้เคียง)
ควรพิ จ ารณาจากโรคร่ ว มต่ า ง ๆ ที ่ ผ ู ้ ป ่ ว ยมี อ ยู่ 2. ควรเริ่มยา 2 ชนิดขึ้นไปในผู้ป่วยส่วนมาก โดยอาจ
นอกเหนือจากโรคความดันโลหิตสูง และพิจารณาจาก เ ล ื อ ก ย า ใ น ก ล ุ ่ ม renin angiotensin system
ข้ อ ห้ า มต่ า ง ๆ ของการใช้ ย าแต่ ล ะชนิ ด โดยสรุ ป blockers (ACEIs หรื อ ARBs) ใช้ ร ่ ว มกั บ ยาขั บ
คำแนะนำการใช้ยาลดความดันโลหิตมีดังนี้ ปัสสาวะ หรือ CCBs แต่อาจใช้ยากลุ่มใดมารวมกัน
1. ควรเลือกยาเริ่มต้นในการรักษาความดันโลหิตสูง ก็ได้ตามความเหมาะสม สำหรับผู้สูงอายุที่สุขภาพ
จากยาลดความดั น โลหิ ต ใน 5 กลุ ่ ม หลั ก ได้ แ ก่ ไม่แข็งแรง ผู้ที่มีความดันโลหิตเริ่มต้นไม่ส ูงมาก
angiotensin converting enzyme inhibitors (140-149/90-99 mm Hg) และมีความเสี่ยงต่ำควร
( ACEIs) , angiotensin receptor blockers เลือกใช้ยาเริ่มต้นเพียงชนิดเดียว
3. ควรเลือกใช้ยาเบื้องต้นเป็นยาผสม 2 ชนิดในเม็ด ventricular hypertrophy: LVH) ภาวะผนั ง หลอด
เดียวกัน เลื อ ดแดงแคโรทิ ด หนาตั ว (Carotid intima–media
4. ควรใช้ยาลดความดันโลหิต 3 ชนิดหากใช้ยา 2 ชนิด thickness: cIMT) ภาวะหลอดเลื อ ดแดงแข็ ง (aortic
แล้วยังไม่สามารถควบคุมความดันโลหิตได้ โดยหนึ่ง stiffness) และการทำงานของหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก
ในยา 3 ชนิดควรจะเป็นยาขับปัสสาวะ (thiazides ที่ผิดปกติ (small artery remodeling) นอกจากนี้ผล
หรือกลุ่มยาขับปัสสาวะที่ใกล้เคียง) การลดอัตราการตายในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาด
5. ควรเพิ ่ ม spironolactone หรื อ beta-blocker เลื อ ด (post-myocardial infarction) ยั ง ไม่ แ น่ ช ั ดใน
หรือ alpha-blocker ทีละชนิด ตามลำดับหากใช้ ผู้ป่วยที่ไม่เป็น LVH ยา BB มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับ
ยา 3 ชนิดแล้วยังไม่สามารถควบคุมความดันโลหิต Diuretics โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยารูปแบบผสม อาจทำ
ได้ และยังไม่ได้ใช้ยา 3 ชนิดนี้มาก่อน ให้เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่ได้ BB ใช้
6. ไม่ควรใช้ ACEIs ร่วมกับ ARBs ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงร่วมกับ มีอาการเจ็บหน้าอก
(symptomatic angina) เพื่อควบคุมอัตราการเต้นของ
จากแนวทางการรักษาต่าง ๆ พบว่าการใช้ยากลุ่ม หั ว ใจ โรคกล้ า มเนื ้ อ หั ว ใจขาดเลื อ ด และโรคหั ว ใจ
BB จะไม่แนะนำให้ใช้เป็นอันดับ แรกในผู้ป่วยที่ไม่มีโรค ล้มเหลว จะสามารถใช้เป็นทางเลือกในผู้ป่วยโรคความ
ร่ ว มที ่ ไ ม่ ไ ด้ ร ั บ ประโยชน์ จ าก BB เนื ่ อ งจากจาก ดันโลหิตสูงที่ เป็น เพศหญิง และอายุ น้ อยที ่เ ดิ ม ใช้ ย า
ผลการวิ จ ั ย RCTs และ meta-analyses ที ่ ท ำการ ACEIs หรือ ARBs ที่วางแผนจะตั้งครรภ์
เปรียบเทียบการใช้ยา BB เทียบกับยาหลอก พบว่า BB ยาแต่ละตัวในกลุ่ม BB มีคุณสมบัติไม่เหมือนกัน
ช่ ว ยลดความเสี ่ ย งการเกิ ด โรคหลอดเลื อ ดสมอง ในปัจจุบันมีการใช้ยา vasodilating BB เพิ่มขึ้น เช่น
โรคหัว ใจล้มเหลว โรคหัว ใจและหลอดเลือดอื่นๆ ใน labetalol nebivolol แ ล ะ carvedilol เ น ื ่ อ ง จ า ก
ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูง BB สามารถ การศึกษาพบว่ายาเหล่านี้มีประสิทธิภาพดีในการลด
ป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้เทียบเท่ากับยา ความดันโลหิตโดยภาพรวม ลดภาวะหลอดเลือดแดง
กลุ่มอื่น ส่วนประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดโรค แข็ง (aortic stiffness) ลดภาวะเซลล์บุผิวหลอดเลือด
หลอดเลือดสมองยังคงด้อยกว่ายากลุ่มอื่น แต่ยังไม่มี ทำงานผิ ด ปกติ (endothelial dysfunction) ไม่ มี
ข้อสรุป ที่แน่ช ัด ทั้งนี้อาจเกิดจาก BB ควบคุมระดั บ ผลข้ า งเคี ย งที ่ ท ำให้ เ กิ ด ความเสี ่ ย งในการเป็ น
ความดันโลหิตให้อยู่ในเป้าหมายได้น้อยกว่ายาลดความ โรคเบาหวาน และความผิดปกติของระบบสืบพันธุ์น้อย
ดันโลหิตกลุ่มอื่น ซึ่งอาจส่งผลต่อการเกิดโรคหลอดเลือด กว่ า BB ตั ว อื ่ น การศึ ก ษา RCT พบว่ า Bisoprolol
สมองได้ จากผลงานวิจัย RCT ที่ทำการศึกษาผลลัพธ์ carvedilol nebivolol มีผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้ป่วยโรคหัวใจ
ของความดันโลหิตสูงที่ส่งผลทำลายอวัยวะต่างๆ พบว่า ล้ ม เหลว แต่ อ ย่ า งไรก็ ต ามยั ง ไม่ ม ี ร ายงานผลของ
BB มีป ระสิทธิภ าพน้อยกว่า ACEIs ARBs และ CCBs การศึกษา RCT ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง[7]
ในการป้องกันการเกิดภาวะหัวใจห้องล่างซ้ายโต (left
หลักการเลือกใช้ยาลดความดันโลหิตร่วมกัน ตั ว อย่ า งขนาดการใช้ ย าลดความดั น โลหิ ต
การเลื อ กใช้ ย าลดความดั น โลหิ ต ร่ ว มกั น เริ่มต้น ขนาดใช้ยาเป้าหมาย และจำนวนครั้งที ่ ค วร
สามารถพิจารณาตามข้อบ่งใช้ที่เหมาะสมสำหรับการ บริหารยาต่อวันที่หลักฐานเชิงประจักษ์แนะนำ
เลือกใช้ยาลดระดับความดันโลหิตให้เหมาะสมกับผู้ปว่ ย หลังเริ่มใช้ยาลดความดันโลหิตจะมีการปรั บ
เฉพาะราย ดั ง แสดงในตารางที ่ 4 ซึ ่ ง เภสั ช กรจะมี เพิ่มขนาดใช้ยาขึ้นไปเรื่อยๆ เพื่อควบคุมระดับความดัน
บทบาทในการติดตามด้านประสิทธิภาพและอาการไม่ โลหิ ต ให้ อ ยู ่ ใ นเป้ า หมายของผู ้ ป ่ ว ยจนถึ ง จุ ด หนึ ่ ง ที่
พึงประสงค์จากการใช้ยาลดความดันโลหิต เช่น อาการ ประสิทธิภาพของยาไม่ได้เพิ่มขึ้น และเสี่ยงต่อการเกิด
แขนขาบวมจากการใช้ยา amlodipine โดยประเมินว่า อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ก็จะมีการเพิ่ มยา
ขนาดยาที่ได้รับสูง หรือต่ำกว่าขนาดยาที่แนะนำ หรือ ชนิ ด อื ่ น เข้ า ไปในแผนการรั ก ษา โดยในทางปฏิ บ ั ติ
ขนาดยาที่ได้ร ับ สูงกว่าขนาดยาเป้าหมายหรือไม่ ดัง แนะนำว่าให้ใช้ยาได้ถึง 3 ชนิดร่วมกันในการควบคุ ม
แสดงในตารางที่ 5 ระดับความดันโลหิต

ตาราง 4 หลักการเลือกใช้ยาลดความดันโลหิตร่วมกัน[4-7]
โรคหรือภาวะโรคร่วม ยาลดระดับความดันโลหิตทีแ่ นะนำให้ใช้
diuretic β- ACEI ARB Aldersterone CCB α-
blockers antagonist blocker
ไม่มีโรค หรือภาวะร่วมบ่งชีพ้ ิเศษ √ √ √ √
(thiazide)
โรคหัวใจล้มเหลว √ √ √ √ √ × (non-DHP) ×
(heart failure)
โรคหัวใจล้มเหลวจากโรคหลอด √(thiazide √ √ √ × (non-DHP) ×
เลือดหัวใจ หรือ loop)
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย √ √ √ √
(post myocardial infarction)
มีความเสี่ยงต่อการตายด้วยโรค √ √ √ √
หลอดเลือดหัวใจสูง
โรคหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง √
(aortic aneurysm)
โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย × √
ส่วนปลายอุดตัน
(peripheral arterial disease)
โรคหรือภาวะโรคร่วม ยาลดระดับความดันโลหิตทีแ่ นะนำให้ใช้
diuretic β- ACEI ARB Aldersterone CCB α-
blockers antagonist blocker
การป้องกันภาวะหัวใจหัวใจห้อง √ √ √
บนสั่นพริ้ว
(atrial fibrillation prevention)
การควบคุม ventricular rate √ √(non-DHP)
ในกรณีภาวะหัวใจห้องบนสั่นพริ้ว
Stable coronary artery √ √ √ √ √(non-DHP)
disease และ stable angina (thiazide) หรือ long
acting DHP
Acute coronary syndrome, √ √ √
unstable angina, NSTEMI,
STEMI
Atrioventricular block grade ×
2 หรือ grade 3
เบาหวาน √ แต่ให้เฝ้า ระวังการบด √ √ √
(diabetes) ระวังภาวะ บังภาวะ
insulin น้ำตาลต่ำ
resistant
โรคไตวายเรื้อรัง (chronic √ √
kidney disease), proteinuria
End stage renal failure √ ×
(loop)
โรคหลอดเลือดแดงทีไ่ ตตีบทั้ง 2 × ×
ข้าง หรือไตวายเฉียบพลัน
ภาวะต่อมลูกหมากโต √
โรคกระดูกพรุน √ √
(Thiazide)
โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง โรคหืด ×
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่ได้ ×
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง × × ×
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ ×
หมายเหตุ: √ แนะนำให้ใช้ได้; × ไม่แนะนำให้ใช้
การใช้ B-blocker ในผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลว ให้เลือกใช้ยาที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์ ที่แนะนำให้ใช้ได้คือ bisoprolol, carvedilol,
metoprolol succinate ชนิดออกฤทธิ์นาน หรือ nebivolol เท่านั้น
โรคหรือภาวะโรคร่วม ยาลดระดับความดันโลหิตทีแ่ นะนำให้ใช้
diuretic β- ACEI ARB Aldersterone CCB α-
blockers antagonist blocker
Methyldopa, B-blocker, CCB เป็นยาที่แนะนำให้ใช้หากผู้ป่วยตั้งครรภ์

ตาราง 5 แสดงตัวอย่างขนาดใช้ยาลดความดันโลหิตเริ่มต้น ขนาดใช้ยาเป้าหมาย และจำนวนครั้งที่ควรบริหารยา


ต่อวันที่หลักฐานเชิงประจักษ์แนะนำ[4-7]
ยาลดความดันโลหิต ขนาดใช้ยาเริ่มต้น ขนาดใช้ยาเป้าหมาย จำนวนครั้งที่ควรบริหารยา
(mg) (mg) ต่อวัน
ACEIs
captopril 12.5 150-200 2
enalapril 5 20 1-2
lisinopril 10 40 1
ramipril 2.5 20 1-2
ARBs
losartan 50 100 1-2
valsartan 40-80 160-320 1
irbesartan 75 300 1
B-blockers
atenolol 25-50 100 1
metoprolol 50 100-200 1-2
carvedilol 6.25 25 2
propranolol 40 120-240 2
CCBs
amlodipine 2.5 10 1
Nifedipine 30 30-120 1
Diltiazem (extended release) 120-180 360 1
Verapamil (intermediate release) 40 40-80 3
Thiazide diuretics
HCTZ 12.5-25 25-50 1
furosemide 20-80 80 1-2
Spironolactone(tablet) 25-100 100 1-2
ยาลดความดันโลหิต ขนาดใช้ยาเริ่มต้น ขนาดใช้ยาเป้าหมาย จำนวนครั้งที่ควรบริหารยา
(mg) (mg) ต่อวัน
α-blockers
prazosin 2 2-20 2-3
doxazosin 1 1-16 1
หมายเหตุ: ขนาดยาเป้าหมายคือ ขนาดใช้ยาเป้าหมายในการศึกษาแบบ randomized control trials

กรณี ผ ู ้ ป ่ ว ยได้ ร ั บ การรั ก ษาแล้ ว ไม่ ส ามารถ อย่างไรก็ต าม ควรตรวจสอบว่ าผู ้ป ่ว ยได้ รั บ
ควบคุ ม ให้ ร ะดั บ ความดั น โลหิ ต ให้ อ ยู ่ ใ นเกณฑ์ ที่ ประทานยาลดความดั นโลหิต อย่ างสม่ำเสมอหรื อ ไม่
เหมาะสมได้ แม้ว่าผู้ป่วยได้ปรับพฤติกรรมและได้รับยา และควรตรวจสอบว่ามีโรคความดันโลหิตสูงชนิดทุติย
ลดความดันโลหิตในขนาดที่เหมาะสมแล้ว อย่างน้อย 3 ภูมิหรือไม่ เพื่อจะได้ให้การรักษาตามสาเหตุของความ
กลุ่ม โดยที่มียาลดความดันโลหิตหนึ่งในจำนวนยาที่ใช้ ดันโลหิตสูงชนิดทุติยภูมิต่อไป ในการรักษาควรพิจารณา
เ ป ็ น ย า ข ั บ ป ั ส ส า ว ะ เ ร ี ย ก ว ่ า ภ า ว ะ Resistant เพิ ่ ม ยา spironolactone หรื อ beta-blocker หรื อ
hypertension พบได้ ป ระมาณร้ อ ยละ 13-16 ของ alpha-blocker ทีละชนิดตามลำดับ หากยังไม่ได้ใช้ยา
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมด โดยส่วนใหญ่พบในกลุ่ม 3 ชนิ ด นี ้ อ ยู ่ ใ นขณะนั ้ น และอาจพิ จ ารณาใช้ ยา
ผู้ป่วยสูงอายุ อ้วน โรคไตเรื้อรัง เบาหวาน และอื่น ๆ vasodilators อื่น ๆ เช่น minoxidil ตลอดจนอาจปรับ
ภาวะ resistant hypertension เป็นปัจจัยที่เพิ่มความ ชนิดและขนาดยาขับปัสสาวะของผู้ป่วยให้เหมาะสมกับ
เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยแต่ละราย [17]
ระยะสุดท้าย และอัตราการเสียชีวิต
การรักษา resistant hypertension นั้น ควร
ต ร ว จ ส อ บ ว ่ า ม ี ภ า ว ะ white-coat hypertension แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิต จะเห็นว่า
หรื อ ไม่ หมายความว่ า ความดั น โลหิ ต ที ่ ว ั ด ที่ มีการเปลี่ยนแปลงเกณฑ์การเริ่มยาและเป้าหมายในการ
สถานพยาบาลอาจสูงเกินจริง แต่ความดันโลหิตที่บ้าน ควบคุมความดั นโลหิต อยู ่ตลอด ซึ่ง แต่ล ะแนวทางมี
เป็น ปกติ ซึ่งควรพิจ ารณาให้ตรวจวัดความดัน โลหิ ต ความแตกต่างกัน นอกจากนี้แล้ว การดูแลผู้ป่ว ยโรค
เพิ ่ ม เติ ม ที ่ บ ้ า นควรตรวจสอบว่ า ผู ้ ป ่ ว ยปรั บ เปลี ่ ย น ความดันโลหิตสูงนั้นขึ้นกับปัจจัยของแต่ละบุคคล ใน
พฤติกรรมชีวิตเพื่อควบคุมความดันโลหิตหรือไม่ และได้ ฐานะบุ ค ลากรทางการแพทย์ จ ึ ง ต้ อ งมี ก ารทบทวน
รับประทานยาบางชนิดที่อาจเพิ่มระดับความดันโลหิต ติ ด ตาม การศึ ก ษาและหลั ก ฐานเชิ ง ประจั ก ษ์ อ ย่ า ง
เช่น ยาคุมกำเนิด ยาแก้ป วดในกลุ่ม NSAIDs และยา ต่อเนื่อง เพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยได้
กระตุ ้ น ระบบ sympathetic activity สารเสพติ ด อย่างมีประสิทธิภาพ
หรือไม่เป็นต้น
H/ASPC/NMA/PCNA Guideline for the
1. World Health Organization (WHO). Global prevention, detection, evaluation, and
status report on noncommunicable management of high blood pressure in
diseases 2010. Geneva: World Health adults. J Am Coll Cardiol. 2017;71 (19):
Organization; 2011. e127-e248.
2. Bakris GL, Sarafidis PA, Weir MR, Dahlof B, 6. Williams B, Mancia G, Spiering W, Agabiti
Pitt B, Jamerson K, et al. Renal outcomes Rosei E, Azizi M, Burnier M, et al. 2018
with different fixed-dose combination ESC/ESH Guidelines for the management
therapies in patients with hypertension at of arterial hypertension: the task force for
high risk for cardiovascular events the management of arterial hypertension
(ACCOMPLISH): a prespecified secondary of the european society of cardiology and
analysis of a randomised controlled trial. the european society of hypertension.
Lancet. 2010;375(9721):1173-81. Journal of hypertension.
3. Ward AM, Takahashi O, Stevens R, 2018;36(10):1953-2041.
Heneghan C. Home measurement of 7. Sukonthasarn A, Sitthisook S,
blood pressure and cardiovascular Chattranukulchai P, Roubsanthhisuk W,
disease: systematic review and meta- Saengwattanaroj S, Satirapoj B, et al. 2019
analysis of prospective studies. J thai guidelines on the treatment of
Hypertens 2012; 30: 449–456. hypertension. Thai Hypertension Society.
4. James PA, Oparil S, Carter BL, Cushman 2019;1:1-34.
WC, Dennison-Himmelfarb C, Handler J, et 8. Burt VL, Whelton P, Roccella EJ, Brown C,
al. 2014 evidence-based guideline for the Cutler JA, Higgins M, et al. Prevalence of
management of high blood pressure in hypertension in the US adult population.
adults: report from the panel members Results from the third national health and
appointed to the Eighth Joint National nutrition examination survey, 1988–1991.
Committee (JNC 8). Jama. Curr Hypertens Rep. 1995;25:305–313.
2014;311(5):507-20. 9. Guo X, Zhang X, Guo L, Li Z, Zheng L, Yu
5. Whelton PK CR, Aronow WS, Casey DE, S, et al. Association between pre-
Collins KJ, Himmelfarb CD, et al. 2017 hypertension and cardiovascular
ACC/AHA/AAPA/ABC/ACPM/AGS/APhA/AS outcomes: a systematic review and meta-
analysis of prospective studies. Curr systematic evidence review for the US
Hypertens Rep. 2013 Dec;15(6):703-16. preventive services task force. Rockville
10. Huang Y, Wang S, Cai X, Mai W, Hu Y, Tang (MD): Agency for Healthcare Research and
H, et al. Prehypertension and incidence of Quality (US); 2014.
cardiovascular disease: a meta-analysis. 15. Mahtani KR. Simple advice to reduce salt
BMC Med. 2013 Aug 2;11:177. intake. Br J Gen Pract. 2009;59(567):786-7.
11. Huang Y, Su L, Cai X, Mai W, Wang S, Hu Y, 16. Lewington S, Clarke R, Qizilbash N, Peto R,
et al. Association of all-cause and Collins R. Age-specific relevance of usual
cardiovascular mortality with blood pressure to vascular mortality: a
prehypertension: a meta-analysis. Am meta-analysis of individual data for one
Heart J. 2014 Feb;167(2):160-168. million adults in 61 prospective studies.
12. Lee M, Saver JL, Chang B, Chang KH, Hao Lancet. 2002;360(9349):1903-13.
Q, Ovbiagele B. Presence of baseline 17. Williams B, MacDonald TM, Morant S,
prehypertension and risk of incident Webb DJ, Sever P, McInnes G, Ford I,
stroke: a meta-analysis. Neurology. 2011 Cruickshank JK, Caulfield MJ, Salsbury J,
Oct 4;77(14):1330-7. Mackenzie I, Padmanabhan S, Brown MJ,
13. Appel LJ, Champagne CM, Harsha DW, British Hypertension Society's PATHWAY
Cooper LS, Obarzanek E, Elmer PJ, et al. Studies Group. Spironolactone versus
Effects of comprehensive lifestyle placebo, bisoprolol, and doxazosin to
modification on blood pressure control: determine the optimal treatment for
main results of the PREMIER clinical trial. drug-resistant hypertension (PATHWAY-2):
JAMA. 2003;289(16):2083-93. a randomised, double-blind, crossover
14. Lin JS, O'Connor EA, Evans CV, Senger CA, trial. Lancet. 2015;386:2059-2068.
Rowland MG, Groom HC. U.S. Preventive
Services Task Force Evidence Syntheses,
formerly Systematic Evidence Reviews.
Behavioral counseling to promote a
healthy lifestyle for cardiovascular
disease prevention in persons with
cardiovascular risk factors: an updated
1.ข้อใดคือเป้าหมายความดันโลหิต ที่เหมาะสม สำหรับ 3. ผู้ป่วยอายุ 48 ปี วัดความดันโลหิต วันนี้ได้ 160/90
ชายไทยอายุ 55 ปี ที่มีโรคประจำตัวคือไขมันในเลือด mmHg วัดความดันโลหิต เมื่อ 3 เดือนก่อนได้ 160/95
ผิดปกติและโรคหืด ตามแนวทางการรักษาโรคความดัน mmHg มีโ รคประจำตัว คือเบาหวานชนิดที ่ 2 และมี
โลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 FBS 150 mg%, Scr 1.0 mg% และยังไม่เคยได้รับยา
ก. < 120/80 mmHg ลดความดันโลหิต ควรเริ่มการรักษาในข้อใด
ข. < 130/80 mmHg ก. HCTZ
ค. < 140/80 mmHg ข. Carvedilol ร่วมกับ HCTZ
ง. < 140/90 mmHg ค. Enalapril ร่วมกับ Amlodipine
จ. < 150/90 mmHg ง. Furosemide
2. ข้อใดคือเป้าหมายการควบคุมระดับความดันโลหิต จ. Atenolol
ของหญิ ง ไทยอายุ 75 ปี มี ภ าวะ chronic kidney 4. ผู้ป่วยอายุ 45 ปี วัดความดันโลหิตครั้งนี้ได้ 140/80
disease แ ล ะ ม ี ภ า ว ะ albuminuria ม า ก ก ว ่ า 30 mmHg วัดความดันโลหิต เมื่อ 3 เดือนก่อนได้ 120/85
mg/day ตามแนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงใน mmHg เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 มาแล้ว 1 ปีและยัง
เวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2562 สมาคมความดันโลหิตสู ง ไม่เคยได้รับยาลดความดันโลหิต ควรได้ยาลดความดัน
แห่งประเทศไทย โลหิตตัวใด
ก. < 120/80 mmHg
ก. Carvedilol
ข. < 130/80 mmHg
ข. Enalapril
ค. < 140/80 mmHg
ค. Furosemide
ง. < 140/90 mmHg
จ. < 150/90 mmHg ง. Diltiazem
จ. ยั ง ไม่ จ ำเป็ น ต้ อ งได้ ร ั บ ยาลดระดั บ ความดั น
โลหิต
5. ยาลดความดันโลหิตใดไม่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยที่ 9. ยาลดความดันโลหิตชนิดใดควรระมัดระวังการใช้ในที่
ได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหลอดเลือดแดงที่ไตตีบทั้ง 2 ได้รับการวินิจฉัยภาวะไตวายชนิดเฉียบพลัน
ข้าง ก. Carvedilol
ก. Atenolol ข. Enalapril
ข. Diltiazem ค. Amlodipine
ค. Enalapril
ง. Furosemide
ง. HCTZ
จ. Methyldopa
จ. Verapamil
10. ยาใดมีผลข้างเคียงทำให้ระดับโพแทสเซียมในเลือด
6. ยาลดความดันโลหิตใดควรระวังการใช้ในผู้ที่มี acute
decompensate heart failure ต่ำ
ก. Atenolol ก. Propranolol
ข. Enalapril ข. Enalapril
ค. Losartan ค. Amlodipine
ง. HCTZ ง. Furosemide
จ. Spironolactone จ. Losartan
7. ข้อใดคือผลข้างเคียงที่ต้องเฝ้าระวังในกรณีที่ผู้ป่วย 11. ยาลดความดันโลหิตตัวใดมีข้อบ่งใช้สำหรับควบคุม
เริ่มใช้ยา amlodipine เป็นครั้งแรก ventricular rate สำหรับผู้ที่มี ภ าวะหัว ใจห้องบนสั่ น
ก. ภาวะบวมส่วนปลาย พลิ้ว
ข. ภาวะโพแทสเซียมสูง ก. Metoprolol
ค. ภาวะการมองเห็นผิดปกติ
ข. Enalapril
ง. ภาวะเลือดออกผิดปกติ
ค. Nitrate
จ. ภาวะโซเดียมต่ำ
ง. Methyldopa
8. ยาใดควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหืดที่ไม่สามารถคุม
อาการได้ จ. Losartan
ก. Propranolol 12. หญิงไทยอายุ 54 ปี สูง 150 cm หนัก 45 kg ได้รับ
ข. Enalapril การวินิจฉัยความดันโลหิตสูงมานาน 1 ปี วันนี้ความดัน
ค. Amlodipine โลหิตคือ 145/100 mmHg ปัจจุบันได้รับยา HCTZ 25
ง. HCTZ mg 1 tab PO OD ผลการตรวจอื ่ น พบ Na 138
จ. Losartan mg/dL, K 5 . 4 mg/dL, Cl 1 0 0 mg/dL, Scr 1 . 2
mg/dL ปฏิเสธโรคประจำตัวอื่น และปฏิเสธการแพ้ยา
ใด ๆ เคยได้รับคำแนะนำให้ปรับ พฤติกรรมมาแล้ว 6 14. ข้อใดถูกต้อง
เดือน แต่ไม่สามารถทำได้ ผู้ป่วยชอบรับประทานกล้วย ก. หลีกเลี่ยงการใช้ยา Amlodipine ร่วมกับยา
แอปเปิ้ล และน้ำมะพร้าวทุกวัน Simvastatin ในขนาดสูงกว่า 20 mg ต่อวัน
ก. คงการรักษาเดิม ข. หลีกเลี่ยงการใช้ยา Amlodipine ร่วมกับยา
ข. หยุดยา HCTZ และเปลี่ยนยาเป็น Enalapril Enalapril เพราะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไตวาย
ค. ห ย ุ ด ย า HCTZ แ ล ะ เ ป ล ี ่ ย น ย า เ ป็ น เฉียบพลัน
Amlodipine ค. ยาลดความดันโลหิตที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย
ง. ใช้ HCTZ ขนาดเดิม และเพิ่มยา Amlodipine ที่ ได้รับยา Paroxetine คือ Metoprolol
จ. หยุดยา HCTZ และเปลี่ยนยาเป็น Losartan ง. ควรติดตามภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำหลังใช้ยา
13. หญิงไทยอายุ 50 ปี ได้รับ การวินิจฉัยว่ามีภาวะ HCTZอย่างใกล้ชิด
ความดันโลหิตสูงมาแล้ว 2 ปี ได้รับ การวินิจฉัยว่าเป็น จ. ห้ามใช้ยา Amlodipine ร่วมกับยา Losartan
เบาหวานชนิดที่ 2 และโรคหัวใจล้มเหลวเรื้อรังมาแล้ว 1 เพราะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน
ปี (LVEF 30%) วันนี้ความดันโลหิตคือ 150/90 mmHg 15. ยาใดสามารถเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะความดันโลหิต
HR 110 /min วั น นี ้ แ พทย์ พ ิ จ ารณาเริ ่ ม ยา ASA, สูงได้
Enalapril, Felodipine และ Glipizide ก. NSAIDs
ผลการตรวจอื่นพบ BUN 25 mg/dL, Scr 2.1 mg/dL, ข. Loratadine
K 5.5 mg/dL, FBS 90 mg/dL ผู้ป่วยรายนี้ควรได้รับ ค. Levodopa
ยาใดเพิ่มเติม ง. Bromocriptine
ก. Hydralazine จ. Cetirizine
ข. Carvedilol
ค. Losartan
ง. HCTZ
จ. Amlodipine

You might also like