You are on page 1of 34

คู่มือการใช้ งาน

DVR HIKVISION

7000 / 8000 Series


Version 2.2
สารบัญ

การใช้ งานเครื่ องบันทึกภาพ HIKVISION 1


สถานะการแสดงผลของกล้ อง (Live View) 2
รูปแบบของเมนูคําสัง่ แต่ละฟั งก์ชนั่ 3
การกําหนดรูปแบบหรื อตังค่ ้ า วัน/เวลา 3
การทํางานฟั งก์ชนั่ Scaler 4
การตังชื ้ ่อกล้ อง (Camera Name) 5
การปรับแต่ง Video Parameter 6
การตังค่ ้ าการบันทึกแบบ Manual 7
การตังค่ ้ าการบันทึกแบบ ตรวจจับความเคลื่อนไหว (Motion Detection) 8
การตังค่ ้ าการบันทึกแบบต่อเนื่อง 11
การกําหนดตําแหน่งการแสดงผล (Preview) 13
การตังค่ ้ า Video Loss Alarm 14
การตังค่ ้ าเครื อข่าย (Network) 15
การกําหนดสิทธิการใช้ งาน 15
การเรี ยกดูภาพย้ อนหลัง (Playback) 17
การสํารองข้ อมูล (Backup) 18
การเช็คดูสถานะการทํางานของ HDD (ในกรณีที่ไม่บนั ทึก) 19
การปิ ดเสียง Alarm ในกรณีเปิ ดเครื่ องบันทึกภาพแล้ วมี Alarm 20
การเช็ตความพร้ อมการใช้ งาน Alarm Output 22
วิธีการดูภาพจากไฟล์ที่ทําการ Backup มาจากตัวเครื่ องบันทึกภาพ DVR 23
วิธีการ Snapshot ภาพนิ่ง 24
การเรี ยกดูภาพผ่าน Browser 25
การเรี ยกดูภาพผ่าน Software Client 26
การตังค่
้ าการใช้ งาน Remote Control 30
การตังค่้ าดูภาพผ่านโทรศัพท์มือถือ 32
วิธีการลงโปรแกรมดูภาพผ่านมือถือ 32
คู่มือการใช้ งานเครื่องบันทึกภาพ HIKVISION

เครื่ องบันทึกภาพ DVR ในส่วนของการเข้ าไปแก้ ไข หรื อตังค่้ า Config ตัวเครื่ องบันทึก จะมีคา่ Default
ที่มาจากโรงงาน User ใช้ เป็ น “admin ” และรหัสผ่านของผู้ใช้ เป็ น “12345” ระบบของตัวเครื่ องบันทึกสามารถ
กําหนด User ได้ 15 Users และสามารถกําหนดสิทธิของผู้ใช้ งานได้ อย่างอิสระ

ในลักษณะการใส่รหัสผ่านสามารถทําได้ โดยกดปุ่ มที่หน้ าเครื่ องบันทึก หรื อใช้ Mouse ในการควบคุม


ในกรณีควบคุมผ่านทางปุ่ มกดหน้ าเครื่ องบันทึก สามารถทําได้ โดยกดปุ่ ม จากนัน้ กดปุ่ ม [ENTER]
จะขึ ้นแถบสีนํ ้าเงิน จากนันทํ
้ าการกดปุ่ มที่หน้ าเครื่ อง “12345” จะกด [ENTER] อีก 1 ครัง้ แล้ วกดปุ่ ม มาที่
Confirm และในกรณีควบคุมด้ วย Mouse สามารถใช้ Mouse คลิก๊ ที่ Password เพื่อทําการใส่รหัสผ่านได้ เลย
จะเป็ นลักษณะเมื่อ Keyboard ขึ ้นมาบนหน้ าจอแสดงผล

-1-
สถานะการแสดงผลของกล้ อง (Live View)
การแสดงสถานะบนจอภาพ จะแสดงสถานะการบันทึกภาพ และสถานะการเตือนของกล้ องแต่ละ
ช่องสัญญาณ เมื่อมีการเปลี่ยนรูปแบบของการบันทึก สถานะของสีจะเปลี่ยนเองอัตโนมัติ

ลักษณะของสี สถานะของการบันทึก
Icon Icon Color Status
สีขาว ไม่มีสญ
ั ญาณ
สีเหลือง สัญญาณภาพอินพุท
สีมว่ ง การบันทึกแบบ Manual
สีเขียว การบันทึกแบบ Continuous
สีนํ ้าเงิน การบันทึกแบบ Motion Detection
สีแดง การบันทึกแบบ Alarm

ลักษณะของสี สถานะของสัญญาณเตือน
Icon Icon Color Status
สีขาว ไม่มีสญ
ั ญาณ
สีเหลือง ตรวจจับความเข้ มของสี
สีมว่ ง ความเคลื่อนไหวและสัญญาณเตือน
สีเขียว ไม่มีสญั ญาณเตือน
สีนํ ้าเงิน ความเคลื่อนไหว
สีแดง สัญญาณเตือนภายนอก

-2-
รูปแบบของเมนูคาํ สั่ง แต่ ละฟั งก์ ช่ ัน
ก็จะมีในส่วนของ Display, Image, Recording, Network, Alarms, Exceptions, PTZ, RS232,
Preview, User , Transact และ Utilities

การกําหนดรูปแบบหรื อตัง้ ค่ า วัน/เวลา


สามารถกําหนดได้ ที่เมนู “Display” เลือกที่ Date/Time สามารถคลิก๊ เพื่อแก้ ไข ยังตําแหน่งของตัวเลข
จะเป็ นการกําหนดรูปแบบการแสดงผลของวันที่ และเวลา เมื่อเสร็จแล้ วให้ ทําการคลิก๊ ที่ Confirm เพื่อทําการ
้ า จากรูปด้ านล่าง หัวข้ อ Date จะอยูใ่ นรูปแบบของ เดือน-วัน-ปี (mm-dd-yyyy) และเวลาจะเป็ น
ยืนยันการตังค่
ชัว่ โมง-นาที-วินาที (hh : mm : ss) เป็ นต้ น

-3-
และในส่วนของการจัดตําแหน่งในการแสดงผลของวัน/เวลา สามารถเข้ าไปกําหนดได้ ที่ เมนู “Image”
เลือกที่หวั ข้ อ OSD จะมีให้ เลือก คือ การแสดงผลแบบ ตัวอักษรทึบคงที่ (Opaque&Steady), ทึบแล้ วกระพริบ
(Opaque&Flashing) หรื อแบบโปร่งแสงคงที่ (Transparent&Steady), โปรงแส่งแล้ วกระพริบ
(Transparent&Flashing) และตําแหน่งการแสดงผล สามารถปรับเปลี่ยนได้ โดยเลือกคลิ๊กที่ “Position”

หมายเหตุ : ในกรณี ทีไ่ ม่ตอ้ งการให้แสดงผลของ วัน / เวลา นัน้ ให้เลือกเป็ น “No Display”

การทํางานฟั งก์ ช่ ัน Scaler


โดยปกติแล้ วฟั งก์ชนั่ การทํางาน Scaler นัน้ จะรองรับกับเครื่ องบันทึกภาพ รุ่น DS70xx และ DS80xx
หรื อ Firmware ที่เป็ นแบบ GUI เป็ นต้ น โดยหน้ าที่การทํางานของฟั งก์ชนั่ นี ้นัน้ จะทําการปรับสมดุล หรื อขนาด
ของภาพในการแสดงผลให้ พอดีกบั จอแสดงผล (ไม่ให้ ล้นจอภาพ) ขันตอนการใช้
้ งาน
คลิก๊ เมาส์ขวา เลือกที่เมนู Main Menu จะมีป๊อป-อัพ ขึ ้นมาให้ ใส่ User และ Password ในการใช้ งาน
ซึง่ User จะใช้ เป็ น admin และ Password คือ 12345 และคลิ๊ก Confirm เพื่อเข้ าเมนู

-4-
เลือกที่เมนู Camera ให้ คลิก๊ เครื่ องหมายถูกที่หน้ าหัวข้ อ Scaler เพื่อปิ ดใช้ งาน จากนันกด
้ Confirm ก็
เป็ นอันเสร็จเรี ยบร้ อย

การตัง้ ชื่อกล้ อง (Camera Name)


จะอยูใ่ นส่วนของเมนู “Image” ในเมนูนี ้ ก็จะประกอบไปด้ วย
Select Camera : การเลือกช่องสัญญาณของกล้ อง
Name : การกําหนดชื่อกล้ องใหม่ โดยสามารถทําการกําหนดชื่อได้ 19 ตัวอักษร และสามารถกําหนด
ตําแหน่งของการแสดงผลของชื่อกล้ องได้ โดยเลือกคลิก๊ ที่ “Position”
้ าเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ ว ให้ ทําการคลิ๊กที่ Confirm เพื่อทําการยืนยันการตังค่
เมื่อทําการตังค่ ้ า

-5-
การปรับแต่ ง Video Parameter
จะอยูใ่ นเมนูของ “Image” ในส่วนนี ้จะมีเมนูฟังก์ชนั่ ให้ คณ
ุ ปรับแต่งคุณภาพของภาพ เช่น
Brightness (ความสว่าง), Contrast (ความเข้ ม), Hue (สี) และ Saturation (การอิ่มตัวของสี) ได้ อิสระต่อกล้ อง
ในลักษณะการปรับ จะมีแถบบาร์ สีชมพู จะเป็ นตัวแสดงสถานะของค่าที่จะทําการปรับแต่ง โดยสามารถเพิ่มหรื อ
ลด ค่าต่างๆ ได้ โดยการหมุนที่สกอล์เมาส์ เมื่อได้ คณ
ุ ภาพที่ต้องการแล้ วให้ คลิ๊กเมาส์ซ้ายเพื่อทําการยืนยันการตัง้
ค่า แต่ในกรณีที่คลิก๊ เมาส์ขวาจะเป็ นการยกเลิกคําสัง่

เมื่อทําการตังค่
้ าเสร็จเรี ยบร้ อยแล้ ว ให้ ทําการคลิ๊กที่ Confirm เพื่อทําการยืนยันการตังค่
้ า

-6-
การตัง้ ค่ าการบันทึกแบบ Manual
หมายเหตุ : ผูใ้ ช้จะต้องทําการติ ดตัง้ ฮาร์ ดดิ ส เข้าที ต่ วั เครื ่องบันทึกภาพ DVR ก่อน จากนัน้ เข้าไปที ่
เมนู Ui เลือก Hard Disk เพือ่ ทําการจัดรูปแบบ (Format) เสร็ จเรี ยบร้อย ถึงจะพร้อมใช้งาน
เริ่มแรก ทําการกดปุ่ ม [REC] จากนันจะขึ
้ ้น Pop-UP ให้ เราใส่ในส่วนของ User และ Password ที่
ถูกต้ อง จากนันคุ
้ ณสามารถเริ่มทํา “Record Manual” ได้ เลย

คําอธิบาย : Manual Record


ในส่วนของการบันทึกแบบ Manual จะประกอบไปด้ วย [Channel] ตัวเลขของช่องสัญญาณ, [Status]
สถานะช่องสัญญาณ, [Start/Stop] เริ่ มต้ น/หยุดการบันทึก, [Start All] เริ่มต้ นการบันทึกทังหมด
้ และ [Stop All]
หยุดการบันทึกทังหมด

Channel : ช่องสัญญาณ จะแสดงรายการตัวเลขของช่องสัญญาณที่ DVR มี
Status : สถานะ ของช่องสัญญาณที่ทํางาน จะมีสถานะอยู่ 4 สถานะ คือ สถานะว่าง, สีเขียว
ลักษณะของช่องสัญญาณกําลังบันทึก (รวมถึงการบันทึกแบบต่อเนื่อง, บันทึกแบบสัญญาณเตือน, ที่บนั ทึกการ
ตรวจสอบการเคลื่อนไหว) สีแดงลักษณะการส่งผ่านเครื อข่าย และสีส้ม ลักษณะทําการบันทึกที่ตวั เครื่ อง และ
ส่งผ่านเครื อข่าย
Start/Stop : “X” ส่งผลให้ คุณสามารถที่จะเริ่มทําการบันทึกแต่ละช่องสัญญาณ และ “÷” ส่งผลให้
คุณหยุดการบันทึก
Start All : เริ่มทําการบันทึกทังหมด

Stop All : หยุดการบันทึกทังหมด้
เมื่อทําการตังค่้ าการบันทึกเสร็จเรี ยบร้ อย ถ้ าจะออกไปที่หน้ าจอการแสดงผล ให้ กดปุ่ ม [ESC] ที่
ตัวเครื่ องบันทึก หรื อ คลิก๊ ปุ่ มขวาของ Mouse

-7-
การตัง้ ค่ าการบันทึกภาพ แบบตรวจจับความเคลื่อนไหว (Motion Detection)
จะอยูใ่ นส่วนของเมนู “Image” ซึง่ ในส่วนนี ้ระบบ จะแยกอิสระต่อกันของแต่ละกล้ อง

เมื่อเข้ ามาในฟั งก์ชนั่ นี ้ จะเห็นได้ วา่ จะมี


Select Camera : การเลือกช่องสัญญาณของกล้ องว่าจะทําการใช้ งานของกล้ องตัวไหน
Motion Det. Level : จะเป็ นการกําหนดค่าความไวในการตรวจจับ โดยจะมีอยู่ด้วยกัน 7 ระดับ ตังแต่ ้
ค่า 0 (ความไวตํ่า) ถึง 5 (ความไวสูง) และ ปิ ดการใช้ งาน โดยค่า เริ่มต้ น (Default) จะอยูท่ ี่ระดับ 2 จากนันทํ
้ า
การเข้ าที่ Area เพื่อกําหนดพื ้น ในการตรวจจับความเคลื่อนไหว

-8-
โดยในส่วนนี ้จอภาพจะแบ่งพื ้นที่ ในการตรวจจับออกเป็ น 22x18 พื ้นที่ที่เป็ นสีนํ ้าเงิน จะเป็ นบริเวณที่
ไม่ต้องการตรวจจับ และพื ้นที่ที่เป็ นสีแดง จะมีการตรวจจับความเคลื่อนไหว
เมื่อทําการกําหนดพื ้นที่ เสร็จเรี ยบร้ อย ให้ คลิก๊ Mouse ด้ านขวา จากนันเลื
้ อก Confirm จะเป็ นการ
ออกจากเมนูการสร้ างพื ้นที่ตรวจจับ
คราวนี ้มาดูในส่วนของการกําหนดรูปแบบการเตือน (Alarm) คลิก๊ ที่ “Policy” จะขึ ้นหน้ าเมนู Motion
Alarm handle
หมายเหตุ : พืน้ ทีใ่ นการตรวจจับความเคลือ่ นไหว ไม่สามารถทําการคัดลอกได้

คําอธิบาย : Policy
Record Chan : การกําหนดการบันทึกของกล้ อง ตามช่องสัญญาณ
Alarm Schedule : การกําหนดตารางเวลาในการเตือน สามารถทําการกําหนดช่วงเวลาได้ 4 ช่วงเวลา
Day : กําหนดวัน (Mon, Tue, Wed, Thu, Fri, Sat, Sun)
Copy to : ใช้ ในกรณีที่คณ ุ ต้ องการคัดลอกข้ อมูลที่คณ
ุ ตังขึ
้ ้นมาไปยังวันต่างๆ โดยที่คณ
ุ ไม่ต้องไปตังค่
้ า
แต่ละวันใหม่
ในส่วนของการเตือน Handle Mothod ก็จะมี
On Screen Warning : เมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ ้น ให้ ตดั ภาพมาที่ กล้ องที่เกิดเหตุการณ์แบบเต็มหน้ าจอ
Audible Warning : ส่งเสียงสัญญาณ
Upload To Center : ส่งข้ อมูลไปยัง CMS
Trigger Alarm Out : สัง่ งานไปยัง Alarm Out ให้ มีการทํางาน ในส่วนนี ้จะเป็ นลักษณะการเปิ ด/ปิ ด
ของ Relay Out ที่อยูใ่ นตัวเครื่ องบันทึก

หมายเหตุ : ในการตัง้ ค่าการบันทึกแบบตรวจจับความเคลือ่ นไหว สามารถกําหนด PreRec. ได้สูงสุด


30 วิ นาที และ PostRec. ได้สูงสุด 10 นาที (สามารถดูรายละเอี ยดได้ทีห่ วั ข้อ “การตัง้ ค่าการบันทึก”)
-9-
จากนันให้
้ ไปกําหนดรูปแบบการบันทึก ที่เมนู “Recording” ในส่วนนี ้ต้ องเลือกให้ ตรงกับกล้ อง ที่คณ

ได้ กําหนดการบันทึกแบบ Motion Detection แล้ วเลือกหัวข้ อ Enable Rec. เลือก “Schedule” เพื่อทําการ
กําหนดรูปแบบ และตารางเวลาในการบันทึกภาพ เช่น All Time (แบบต่อเนื่อง 24 ชัว่ โมง) หรื อ Mot. Det.
(ตรวจจับความเคลื่อนไหว)

ในส่วนฟั งก์ชนั่ Schedule จะสังเกตได้ จากมุมซ้ ายของจอภาพ จะมีหวั ข้ อ Day “Mon” แสดงถึงรูปแบบ
การตังค่้ าของวันจันทร์ ในที่นี ้ให้ ถ้าคุณต้ องการกําหนดให้ รูปแบบทํางานตลอดเวลา (24 ชัว่ โมง) ให้ เลือกคลิก๊
เครื่ องหมายถูก “÷” ที่หวั ข้ อ All Day แต่ถ้าต้ องการกําหนดรูปแบบ เป็ นช่วงเวลา All Day ให้ เป็ นเครื่ องหมาย
กากบาท “X” รูปแบบสามารถกําหนดได้ 4 ช่วงเวลา ซึง่ แต่ละช่วงเวลา ไม่สามารถกําหนดข้ ามวันได้ เช่น 23.00
ถึง 02.00 เป็ นต้ น เมื่อเลือกรูปแบบได้ แล้ ว ให้ ดใู นส่วนของหัวข้ อ Rec. Type กําหนดเป็ น “Mot. Det” จากนันใน

หัวข้ อ Copy to เลือกเป็ น All แล้ วกด “Copy” เพื่อทําการคัดลอกรูปแบบการบันทึกแต่ละวันให้ เหมือนกัน (วัน
อังคารถึงวันอาทิตย์) จากนัน้ คลิก๊ Confirm

- 10 -
หมายเหตุ : รู ปแบบการตัง้ ค่าแต่ละวันสามารถกําหนดการบันทึกภาพได้แตกต่างกัน แต่ถา้ ต้องการให้
ทุกวันบันทึกภาพเหมื อนหกัน ให้สงั่ Copy to All ถ้าไม่มีการคัดลอกรูปแบบก็จะบันทึกเฉพาะวันจันทร์ เท่านัน้

การตัง้ ค่ าการบันทึกแบบต่ อเนื่อง


จะอยูใ่ นเมนู ของ “Recording” ในส่วนของการตังค่
้ าการบันทึกของกล้ อง และแต่ละกล้ องจะเป็ น
อิสระต่อกัน

- 11 -
คําอธิบาย : Recording
If HD Full : เป็ นการกําหนดเงื่อนไขของ Hard disk ว่าถ้ าเต็มแล้ วให้ Overwrite หรื อ Stop recording
Select Camera : การเลือกช่องสัญญาณของกล้ องว่าจะทําการใช้ งานของกล้ องตัวไหน
Stream Type : กําหนดรูปแบบการส่งสัญญาณว่าจะ ส่งภาพและเสียง หรื อ ภาพอย่างเดียว
Resolution : กําหนดขนาดในการบันทึก ก็จะมี QCIF (176x144), CIF (352x288), 2CIF (704x288)
Frame Rate : การกําหนดอัตราของภาพบันทึกสูงสุดต่อวินาที
Bit Rate : คุณภาพของภาพ ที่ใช้ ในการบันทึกและส่งสัญญาณ สามารถปรับได้ ตงแต่ ั ้ 32Kbps ถึง
2Mbps
Enable Rec. : การกําหนดตารางในการบันทึก (Schedule)
PreRec Time : กําหนดให้ บนั ทึกล่วงหน้ าก่อนเกิดเหตุการณ์ สามารถปรับได้ ตงแต่ ั ้ 5 - 30 วินาที
PostRec Time : กําหนดให้ บนั ทึกหลังเกิดเหตุการณ์ไปแล้ ว สามารถปรับได้ ตงแต่
ั ้ 5 วินาที - 10 นาที
Copy to Camera : ใช้ ในกรณีที่ต้องการคัดลอก การตังค่้ าของกล้ อง ไปยังอีกกล้ อง หรื อทุกกล้ อง

Step 1. เลือกที่เมนู Recording ในกรณีที่จะตังค่ ้ าบันทึกให้ เหมือนกันทุกกล้ อง ให้ เลือก Channel


สุดท้ าย เช่น เครื่ องบันทึกภาพ 16 Channel ที่หวั ข้ อ Select Camera เลือกเป็ น 16 จากนัน้ คลิ๊กเครื่ องหมายถูก
ที่หวั ข้ อ Enable Rec. (Schedule)
Step 2. คลิก๊ เข้ าไปที่ หัวข้ อ Schedule
Step 3. ในหัวข้ อ Schedule ค่าเริ่มต้ นในการตังค่้ าจะอยูท่ ี่วนั จันทร์ (Mon) จะสังเกตได้ จากหัวข้ อ
มุมซ้ าย Day: Mon ให้ คลิก๊ เครื่ องหมายถูกที่หวั ข้ อ All Day ในส่วน Rec. Type เลือกเป็ น All Time ในกรณีที่
ต้ องการให้ ทกุ วัน (จันทร์ -อาทิตย์) เหมือนกันทุกวัน ที่หวั ข้ อ Copy to ให้ เลือกเป็ น All แล้ วคลิก๊ Copy ขึ ้นป๊ อป-
อัพ Copy setting to All Week Dates.. OK! จากนันคลิ ้ ๊ก Confirm แล้ วคลิก๊ Confirm อีกครัง้ เพื่อกลับไปยัง
เมนู Recording.

- 12 -
Step 4. ในกรณีที่ต้องการให้ ทกุ กล้ อง ทําการบันทึกภาพเหมือนกันทังหมดทุ
้ กช่องสัญญาณ ให้ ดหู วั ข้ อ
ที่ Copy to Camera เลือกเป็ น All แล้ วคลิ๊ก Copy จะขึ ้นป๊ อป-อัพ Copy Parameters to All Cannels… OK.
จากนันคลิ
้ ๊ก Confirm เมื่อคลิ๊กที่ Confirm จะมีป๊อป-อัพ System need to Reboot Continue? แล้ วคลิ๊ก
Confirm อีกครัง้ เครื่ องบันทึกภาพจะทําการ Reboot ระบบ ก็เป็ นอันเสร็จเรี ยบร้ อย
Step 5. เมื่อเครื่ องบันทึกภาพทําการ Reboot ระบบเสร็จเรี ยบร้ อย ให้ สงั เกตที่เมนูบาร์ ด้ านล่างของ
จอแสดงผล จะแสดงสถานะของกล้ องแต่ละตัว โดยจะมีหวั ข้ อ Rec. (การบันทึก) และ Alarm (การแจ้ งเตือน)
สถานะของการตังค่ ้ าการบันทึกภาพแบบต่อเนื่องนัน้ Rec. จะเป็ นสีเขียว เป็ นต้ น

การกําหนดตําแหน่ งการแสดงผล (Preview)

จะอยูใ่ นส่วนของหัวข้ อ “Preview” เป็ นการกําหนดรูปแบบการแสดงผล การกําหนดเวลาในการสลับ


ภาพ หรื อ การเปิ ด/ปิ ด ของสัญญาณเสียง และโครงสร้ างของการแสดงผลบนหน้ าจอหลัก

คําอธิบาย
Preview Mode : เป็ นการกําหนดการแบ่งสกรี นของจอภาพ โดยสามารถที่จะแบ่งได้ เป็ น 1 สกรี น, 4
สกรี น, 9 สกรี น, 12 สกรี น และ 16 สกรี น เมื่อทําการตังค่
้ าในส่วนนี ้ จะมีผลก็ตอ่ เมื่อรี บตู การทํางานของเครื่ อง
ใหม่ เป็ นต้ น
Select Out : เป็ นการกําหนดรูปแบบการเลือกแสดงผลที่เอาว์พทุ (Main / Spot หรื อ AUX)
Switch Time : การหน่วงเวลาในการสลับภาพ สามารถกําหนดเวลาได้ ตงแต่ ั ้ 5 วินาที, 10 วินาที, 20
วินาที, 30 วินาที, 1 นาที, 2 นาที, 5 นาที และ ไม่สลับ (Never)
Audio Preview : การเปิ ด/ปิ ด ของสัญญาณเสียง
Display Delay : เป็ นการหน่วงเวลา ในการเกิด Pop-UP ของการทํางานในลักษณะ “On Screen
Warning” สามารถกําหนดเวลาได้ สงู สุด 10 วินาที
Layout : เป็ นการกําหนด การเปิ ด/ปิ ด การแสดงผลของกล้ อง บนหน้ าจอการแสดงผล โดย “X” คือ
ไม่ให้ แสดงผลบนจอภาพ หรื อข้ ามกล้ อง

- 13 -
สามารถทําได้ โดย การใช้ Mouse ไปคลิก๊ ที่ ตําแหน่งของกล้ องที่ไม่ต้องการให้ แสดงผล หรื อ ปิ ด
จากนันจะมี
้ Pop-UP ของ Keyboard ขึ ้นมา ให้ คลิก๊ ที่ “00” เพื่อทําการปิ ดการแสดงผล จะขึ ้นเป็ นเครื่ องหมาย
กากบาท “X” ถ้ าต้ องการเปิ ดใช้ งานอีกครัง้ ก็ให้ คลิก๊ เป็ นตัวเลขของช่อง (กล้ อง) ที่คณ
ุ ทําการปิ ดไป
การตัง้ ค่ า Video Loss Alarm
ในส่วนนี ้จะอยูใ่ นเมนูของ “Camera” เริ่มแรกเลย ทําการเลือกกล้ อง จากนันคลิ
้ ก๊ ที่ “Advanced
Settings” ในหัวข้ อของ Signal Loss คุณสามารถปรับเปลี่ยนได้ 2 แบบ คือ Ignore ไม่ทํางาน หรื อ Handle เปิ ด
การทํางาน จากนันกํ้ าหนดรูปแบบการ Alarm ได้ ที่ “Policy”

- 14 -
คําอธิบาย : Policy
Alarm Schedule : การกําหนดตารางเวลาในการเตือน สามารถทําการกําหนดช่วงเวลาได้ 4 ช่วงเวลา
Day : กําหนดวัน (Mon, Tue, Wed, Thu, Fri, Sat, Sun)
Copy to : ใช้ ในกรณีที่คณ ุ ต้ องการคัดลอกข้ อมูลที่คณ
ุ ตังขึ
้ ้นมาไปยังวันต่างๆ โดยที่คณ
ุ ไม่ต้องไปตังค่
้ า
แต่ละวันใหม่
ในส่วนของการเตือน Handle Method ก็จะมี
On Screen Warning : เมื่อเกิดเหตุการณ์ขึ ้น ให้ ตดั ภาพมาที่ กล้ องที่เกิดเหตุการณ์แบบเต็มหน้ าจอ
Audible Warning : ส่งเสียงสัญญาณ
Upload To Center : ส่งข้ อมูลไปยัง CMS
Trigger Alarm Out : สัง่ งานไปยัง Alarm Out ให้ มีการทํางาน ในส่วนนี ้จะเป็ นลักษณะการเปิ ด/ปิ ด
ของ Relay Out ที่อยูใ่ นตัวเครื่ องบันทึก

การตัง้ ค่ าเครือข่ าย (Network)


จะอยูท่ ี่เมนู “Network” ในส่วนนี ้คุณต้ องทําการกําหนดค่า IP Address ของตัวเครื่ องบันทึก ให้ อยู่
ภายในวงเดียวกันกับระบบเครื อข่ายของคุณที่ใช้ งานอยู่ หลักๆ แล้ วก็จะมี IP, Mask (Subnet), Gateway, Port
(ใช้ ในการเรี ยกดูผา่ นโปรแกรม หรื อโทรศัพท์มือถือ) และ HTTP Port (ใช้ ในการเรี ยกดูผา่ นทาง Browser)

การกําหนดสิทธิการใช้ งาน
จะอยูท่ ี่ เมนู “User” ซึง่ ชื่อผู้ใช้ หลัก คือ “admin” และรหัสผ่าน คือ “12345’ ในส่วนของชื่อของ
admin นันไม่
้ สามารถเปลี่ยนได้ แต่สามารถที่จะเปลี่ยนรหัสการเข้ าใช้ ได้ โดยทําการคลิ๊กที่ชื่อ admin จากนัน้ ก็
ให้ กรอกรหัสใหม่ลงไปในส่วนของ Password และ Verify แล้ ว Confirm

- 15 -
ในส่วนของสิทธิการใช้ งานนัน้ สามารถที่จะกําหนดได้ วา่ จะให้ สามารถทําอะไรได้ บ้าง ก็จะมี “Local“
(การควบคุมผ่านทางตัวเครื่ องบันทึก) และ “Remote” (การควบคุมระยะไกล) เป็ นต้ น

คําอธิบาย : Set Right


Local : จะเป็ นการควบคุมเครื่ องบันทึกภาพ ผ่านทางปุ่ มกดที่หน้ าเครื่ องบันทึก หรื อใช้ Remote
Control หรื อ Mouse Control
- PTZ Ctrl ควบคุมกล้ อง PTZ - Record ทําการบันทึก - SetPara ปรับแต่งภาพ
- Log ดูเหตุการณ์ - Utilities เครื่ องมือ

- 16 -
Remote : จะเป็ นการควบคุมเครื่ องบันทึกภาพจากระยะไกล เช่น ผ่านทางโปรแกรม หรื อ Browser
- PTZ Ctrl ควบคุมกล้ อง PTZ - Record ทําการบันทึก - SetPara ปรับแต่งภาพ
- Log ดูเหตุการณ์ - Utilities เครื่ องมือ - Talk เสียง
- Alarm สัญญาณเตือน - LocalOut ควบคุมภาพ - COM Ctrl ควบคุมพอร์ ต

หมายเหตุ : ในส่วนของ Utilities จะประกอบไปด้วยฟั งก์ชนั่ Locally upgrade firmware, Format


HDD, Reboot DVR and Shut down DVR, etc.

User’s MAC Add : เป็ นการล็อกค่า MAC Address ของเครื่ องที่จะทําการ Remote เข้ ามา
Channel : แสดงสถานะของจํานวน ช่องสัญญาณ
Local Play : เป็ นการกําหนดให้ สามารถดูภาพจากกล้ องไหนได้ บ้าง โดย “÷” ยอมรับ และ “X” ปฏิเสธ
การเข้ าดูภาพ
Remote Play : เป็ นการกําหนดให้ สามารถดูภาพจากระยะไกล กล้ องไหนได้ บ้าง โดย “÷” ยอมรับ
และ “X” ปฏิเสธการเข้ าดูภาพ
Remote Watch : เป็ นการกําหนดให้ สามารถดูภาพย้ อนหลังจากระยะไกล กล้ องไหนได้ บ้าง โดย “÷”
ยอมรับ และ “X” ปฏิเสธการเข้ าดูภาพ

การเรียกดูภาพย้ อนหลัง (Playback)


สามารถทําได้ โดยกดปุ่ ม [PLAY] ที่หน้ าเครื่ องบันทึก หรื อ คลิ๊กขวาที่หน้ าจอแสดงผล แล้ วเลือกที่เมนู
[PLAY] ก็ได้ เช่นกัน ในลักษณะการ Playback ผ่านทางเครื่ องบันทึก สามารถทําได้ ทีละ 1 กล้ อง

- 17 -
ลักษณะการ Playback
Main Channel : เลือกกล้ องที่ต้องการเรี ยกดูภาพย้ อนหลัง
Rec. Type : จะเป็ นการเลือกรูปแบบ ของการตังค่ ้ าการบันทึก จะแบ่งออกเป็ น “All” ทังหมด,
้ “All
Time” รูปแบบของเวลา, “Motion Detection” การเคลื่อนไหว และ “Alarm” สัญญาณเตือน
Time : เป็ นการกําหนดระยะของวัน/เวลา เริ่มต้ น และสิ ้นสุด ที่ต้องการ Playback
Search : ค้ นหา
Play : กดเพื่อทําการเรี ยกดูภาพย้ อนหลัง โดยจะต้ องคลิก๊ “÷” ที่ช่วงเวลาที่ต้องการก่อน
หมายเหตุ : ในขณะทําการดูภาพย้อนหลังสามารถคลิ๊ กที ่ รูปแว่นขยาย เพือ่ ทําการซูมภาพได้

การสํารองข้ อมูล (Backup)


จะอยูใ่ นส่วนของ “Playback” โดยจะเริ่มจากการค้ นหา ช่วงเวลาที่ต้องการสํารองข้ อมูลก่อน (Rec.
Type เลือกเป็ น All ค้ นหาจากรูปแบบ การบันทึกทังหมด)
้ เมื่อได้ ช่วงเวลานันแล้
้ ว ให้ คลิก๊ “÷” ที่ช่วงเวลาที่
ต้ องการ จากนัน้ ให้ มาดูในส่วนของ Save Device จะเป็ นการกําหนดเอาท์พทุ ของการสํารองข้ อมูล ก็จะมี USB
DISK, USB HDD และ USB CD-RW หรื อ DVD-RW จากนันคลิ ้ ก๊ ที่ Copy เพื่อทําการคัดลอกข้ อมูลลง Disk

ในกรณีที่คณุ ต้ องการสํารองข้ อมูล ในวันนี ้ทังวั


้ น ให้ คลิก๊ ที่ “Backup Today” ระบบจากทําการคัดลอก
ข้ อมูลของวันนี ้ ทังหมดลง
้ Disk ปลายทางโดยอัตโนมัติ
จากรูปด้ านล่าง จะเป็ นลักษณะขันตอนการคั
้ ดลอกข้ อมูลลง Disk อาจจะใช้ เวลาบ้ าง (จะช้ าหรื อเร็ว
ขึ ้นอยูก่ บั ขนาดของไฟล์ที่ทําการคัดลอก)

- 18 -
จากรูปด้ านล่าง จะแสดงรูปแบบของการคัดลอกไฟล์เสร็จสมบูรณ์ ซึง่ ไฟล์ที่ได้ จะเป็ นนามสกุล MP4
และจะต้ องใช้ โปรแกรมที่มากับตัวเครื่ องบันทึกภาพในการเปิ ดดูภาพ (Player.exe)

การเช็คดูสถานะการทํางานของ HDD (ในกรณีท่ ไี ม่ บันทึก)


ในส่วนนี ้เริ่มแรกเลย ให้ สงั เกตที่สถานะบาร์ ด้านล่างของหน้ าจอแสดงผลก่อน ว่าหัวข้ อ Rec. แสดง
สถานะสีอะไร ในกรณีที่ไม่มีการบันทึกภาพ Rec. จะเป็ นสีเหลือง ถ้ าพบว่าเป็ นสีเหลือง ให้ ทําตามวิธีเช็คดังนี ้
คลิก๊ เมาส์ขวา เลือกที่เมนู Main Menu จะมีป๊อป-อัพ ขึ ้นมาให้ ใส่ User และ Password ในการใช้ งาน
ซึง่ User จะใช้ เป็ น admin และ Password คือ 12345 และคลิ๊ก Confirm เพื่อเข้ าเมนู

- 19 -
เลือกที่เมนู Utilities จากนันคลิ
้ ๊กที่หวั ข้ อ Hard Disk
ซึง่ ในหัวข้ อนี ้ จะเป็ นการแสดงรายละเอียดของ Hard Disk ที่ได้ ตอ่ ใช้ งานกับเครื่ องบันทึกภาพ 1. แสดง
พื ้นที่ความจุ (Capacity), 2. พื ้นที่วา่ ง (Freespace) และ 3. สถานะของ Hard Disk (Status) ซึง่ สถานะของการ
ผิดพลาดก็จะแจ้ งเป็ น Unformat หรื อ Error ทัง้ 2 กรณีนี ้เบื ้องต้ นให้ ทําการ Format Hard Disk ดูก่อนถ้ า
Format แล้ วยังไม่บนั ทึกภาพ ให้ เช็คที่ Hard Disk ว่ามี Bad หรื อไม่ หรื อสาย SATA อาจจะหลวม เป็ นต้ น

การปิ ดเสียง Alarm ในกรณีเปิ ดเครื่องบันทึกภาพแล้ วมี Alarm


ในกรณีที่เป็ นเครื่ องบันทึกภาพตัวใหม่ มาจากโรงงานผู้ผลิต เครื่ องบันทึกภาพจะมีการเปิ ดใช้ งาน
ฟั งก์ชนั่ Exceptions อยู่ 3 ฟั งก์ชนั่ ซึง่ จะเป็ นการตรวจสอบระบบของเครื่ องบันทึกภาพ จะสังเกตได้ จาก เมื่อทํา
การเปิ ดเครื่ องบันทึกภาพ จะมีเสียงสัญญาณเตือนมาจากเครื่ องบันทึกภาพ ในส่วนนี ้สามารถทําการปิ ด
สัญญาณเตือนได้ ดงั นี ้
Step 1. คลิก๊ เมาส์ขวา เลือกที่เมนู Main Menu จะมีป๊อป-อัพ ขึ ้นมาให้ ใส่ User และ Password ใน
การใช้ งานซึง่ User จะใช้ เป็ น admin และ Password คือ 12345 และคลิ๊ก Confirm เพื่อเข้ าเมนู

- 20 -
Step 2. เลือกที่เมนู Exceptions
Step 3. เมื่อเข้ ามายังฟั งก์ชนั่ Exceptions แล้ วให้ สงั เกตที่ด้านบน จะมีหวั ข้ อของ Hard Disk Full อยู่
ให้ ทําการเปลี่ยนเป็ น Video Exception จากนัน้ ด้ านล่างจะเป็ นรูปแบบการ Alarm ให้ คลิก๊ เครื่ องหมายถูกให้
เป็ นกากบาทที่หวั ข้ อ Audible Warning
Step 4. จากนันให้้ เปลี่ยนเป็ น NTSC/PAL Differ (เครื่ องบันทึกภาพที่มาจากโรงงาน ถูกตังค่ ้ าระบบให้
เป็ น NTSC ซึง่ TV และกล้ องเป็ น PAL จึงทําให้ มีการ Alarm) ให้ ทําการปิ ด Audible Warming และ HDD Error
(ยังไม่ได้ Format HDD) ให้ ทําการปิ ด Audible Warming จากนันคลิ ้ ก๊ Confirm เสียงสัญญาณเตือนก็จะเงียบ
หายไป
Step 5. เลือกที่เมนู Camera เพื่อทําการเปลี่ยนระบบภาพ จากเดิมเป็ น NTSC ให้ เป็ น PAL ที่หวั ข้ อ
Video Standard แล้ วคลิก๊ Confirm จากนันไปที ้ ่เมนู Utilities คลิก๊ ที่หวั ข้ อ Hard Disk เพื่อทําการ Format HDD
เมื่อเสร็จเรี ยบร้ อยให้ ทําการ Reboot เครื่ องบันทึกใหม่ โดยคําสัง่ Reboot จะอยูเ่ มนู Utilities ก็เป็ นอันเสร็จ
เรี ยบร้ อย เหลือแต่วิธีการตังค่
้ าการบันทึกภาพ

หมายเหตุ Hard Disk Full = ในกรณี ทีฮ่ าร์ ดดิ กส์เต็ม


Hard Disk Error = ในกรณี ทีฮ่ าร์ ดดิ กส์ผิดพลาด
NTSC/PAL Differ = ในกรณี ทีร่ ะบบของภาพไม่ตรงกัน
Video Exception = ในกรณี ทีส่ ญ ั ญาณภาพอิ นพุทมี ปัญหา
Illegal access = ในกรณี ทีม่ ี การกรอกรหัสผิ ด
IP address conflict = ในกรณี ทีม่ ี ค่าไอพีซํ้ากับตัวเครื ่อง
Network failure = ในกรณี ทีเ่ น็ตเวิ ร์คล้มเหลว

- 21 -
การเช็ตความพร้ อมการใช้ งาน Alarm Output
การตังค่้ าการทํางานของฟั งก์ชนั่ Alarm Output จะลักษณะของ dry contact รูปแบบการทํางานจะ
ขึ ้นอยูก่ บั การสัง่ งานของ Policy แต่ละฟั งก์ชนั่ ในส่วนนี ้จะอธิบายวิธีการเซ็ตความพร้ อมของการทํางาน Alarm
Output สามารถทําได้ ดงั นี ้
Step 1. คลิก๊ เมาส์ขวา เลือกที่เมนู Main Menu จะมีป๊อป-อัพ ขึ ้นมาให้ ใส่ User และ Password ใน
การใช้ งานซึง่ User จะใช้ เป็ น admin และ Password คือ 12345 และคลิ๊ก Confirm เพื่อเข้ าเมนู
Step 2. เลือกที่เมนู Alarms

Step 3. ดูที่หวั ข้ อ Alarm Out ซึง่ ค่าเริ่มต้ นจะอยูท่ ี่พอร์ ตที่ 1 จากนันคลิ
้ ๊กเข้ าไปหัวข้ อ Schedule
(หมายเหตุ DVR รุ่น DS7204HI-S มี 1 Relay Output และ DS7108HI-S, DS70xxHI-S มี 4 Relay Output)

- 22 -
Step 4. ในหัวข้ อ Schedule ค่าเริ่มต้ นในการตังค่
้ าจะอยูท่ ี่วนั จันทร์ (Mon) จะสังเกตได้ จากหัวข้ อ
มุมซ้ าย Day: Mon ด้ านล่างจะเป็ นการกําหนดช่วงเวลาการทํางานของ Alarm Output ซึง่ จะแบ่งออกเป็ น 4
ช่วงเวลา (Period) ด้ วยกัน (ในส่วนของการกําหนดเวลานัน้ ไม่สามารถทําการกําหนดเวลาข้ ามวันได้ เช่น 22.00
น. ถึง 02.00น. แบบนี ้ไม่สามารถทํางานได้ ให้ กําหนดเป็ น Period 1. 22.00น. ถึง 24.00น. และ Period 2.
00.00น. ถึง 02.00น. เป็ นต้ น) ในกรณีที่ต้องการให้ ทกุ วัน (จันทร์ -อาทิตย์) เหมือนกันทุกวัน ที่หวั ข้ อ Copy to ให้
เลือกเป็ น All แล้ วคลิก๊ Copy ขึ ้นป๊ อป-อัพ Copy setting to All Week Dates.. OK! จากนันคลิ ้ ๊ก Confirm แล้ ว
คลิก๊ Confirm อีกครัง้ เพื่อกลับไปยังเมนู Alarm.

รูปแบบการต่ อใช้ งาน Alarm Out

วิธีการดูภาพจากไฟล์ ท่ ที าํ การ Backup มาจากตัวเครื่องบันทึกภาพ DVR


ทําการดับเบิ ้ลคลิก๊ Player เพื่อเปิ ดโปรแกรม จากนันเลื
้ อกที่เมนู File แล้ ว “Open…” เพื่อเปิ ดไฟล์

- 23 -
ยกตัวอย่ าง
ไฟล์ ch01_20080526124541.mp4 คือ ไฟล์ทีไ่ ด้จากการ Backup ข้อมูล และ “Player.exe”
โปรแกรมทีใ่ ช้ในการดูภาพ จากรูปด้านล่าง คือลักษณะของโปรแกรมทีใ่ ช้ในการดูภาพ และ สามารถทีจ่ ะทําการ
Convert to AVI ในกรณี ทีค่ ณ
ุ ต้องการใช้โปรแกรมอีกในการเปิ ดดู เช่น Windows Media Player

วิธีการ Snapshot ภาพนิ่ง


ทําการเล่นไฟล์ภาพตามปกติ หลังจากนันให้
้ คลิก๊ ที่ เพื่อทําการ Save ภาพ

ส่วนรูปแบบของไฟล์ภาพที่ได้ นนั ้ สามารถเลือกกําหนด ได้ 2 แบบ คือ BMP หรื อ JPEG โดยไฟล์ภาพที่
ได้ จากการ Snapshot สามารถกําหนด Path ในการว่างได้ ที่เมนู “Set Cap Pic Path”

- 24 -
การเรียกดูภาพผ่ าน Browser IE
สามารถทําได้ โดย พิมพ์เป็ น IP Address ของเครื่ องบันทึกภาพ DVR ผ่านทาง Internet Explorer ได้
เลย ยกตัวอย่างเช่น ค่าไอพีของเครื่ องบันทึกเป็ น 192.168.1.10 (ในกรณีที่คา่ Port เป็ น 80 ไม่ได้ แก้ ไข) เป็ นต้ น
และถ้ าคุณเปลี่ยน HTTP Port ใหม่ ก็ให้ ใส่คา่ Port ตามท้ ายของเลข IP Address เช่น 192.168.1.10:1450

จากรูปด้านบนเป็ นลักษณะการเรี ยกดูภาพผ่าน Browser ของ HIKVISION Series 7000

หมายเหตุ : ในกรณี ทีค่ ณ ุ จะเรี ยกดูภาพผ่านทาง Internet Explorer ต้องทําการ Enable ในส่วนของ
ActiveX ก่อนถึงจะสามารถเรี ยกดูภาพได้ (วิ ธีเปิ ดใช้งาน ActiveX : เข้าที ่ IE เมนู Tool – Internet Options
เลือก Security – Internet เลื อก Custom Level จากนัน้ มาทีห่ วั ข้อหลักของ ActiveX controls and plug-ins.
ในส่วนที เ่ ป็ น disable ให้เปิ ดใช้งานเป็ น enable หรื อ ในกรณี ที่ enable (not secure) ให้เลือกเป็ น prompt)

- 25 -
HIKVISION Series 7000 / 8000 v2.2
สถานะยังไม่ได้ เชื่อมต่อ
สถานะการเชื่อมต่อ

หมายเหตุ : ในลักษณะการเรี ยกดูภาพ ผ่านทาง Browser ระบบจะยังไม่แสดงภาพ คุณต้องทําการ


ดับเบิ้ ลคลิ๊ กที ก่ ล้องทีต่ อ้ งการดูภาพก่อน เพือ่ ทําการเชือ่ มต่อเข้าดูภาพ หรื อกดปุ่ ม [PLAY] และในการ
แสดงผลผ่านทาง Browser สามารถดูภาพย้อนหลังได้ทีละ 1 กล้อง และสามารถทําการสํารองข้อมูลได้เช่นกัน

การเรียกดูภาพผ่ าน Software Client


การ Insert ค่ า IP Address และการเรี ยกดูภาพ
เริ่มแรก ทําการลงโปรแกรม Client Software (v4.01) ที่มาพร้ อมกับตัวเครื่ องบันทึกภาพ เมื่อลงเสร็จ
เรี ยบร้ อย ให้ ทําการเปิ ดโปรแกรม โปรแกรมจะให้ คณ
ุ กําหนด User และ Password ที่จะใช้ ในการเข้ าใช้ งาน
หมายเหตุ : ในการกําหนด Password เข้าใช้โปรแกรม จะต้องกําหนดเป็ นตัวอักษรหรื อตัวเลขจํ านวน
6 หลักขึ้นไป

มาดูในส่วนของการตังค่ ้ า IP Address ของ DVR เข้ าที่ตวั โปรแกรม ให้ ดใู นส่วนของ Configure
จากนัน้ ทําการคลิก๊ ขวาบนพื ้นที่วา่ ง จะขึ ้น Pop-UP เลือก “Create root node”

- 26 -
จากนันจะมี
้ Pop-UP “Area Properties” ในส่วนของหัวข้ อ Area name ให้ กําหนด หรื อ ตังชื
้ ่อ อะไรก็
ได้ ยกตัวอย่าง เช่น CCTV แล้ วกดปุ่ ม OK

จะขึ ้นเป็ นไอคอน “รูปโลก” ให้ ไปคลิก๊ ขวาที่ตําแหน่ง ของชื่อที่ได้ ตงไว้


ั ้ ก่อนหน้ านี ้ จากนันเลื
้ อกที่
เมนู “Add device”

จะมี Pop-UP “Server Properties” ในส่วนนี ้ ให้ กรอกข้ อมูล ของ IP Address, User name,
Password, Port และ Channel ของเครื่ องบันทึกภาพ DVR เมื่อกรอกข้ อมูลเสร็จเรี ยบร้ อย ให้ กดปุ่ ม OK

จากรูปด้านบน เป็ นการเรี ยกผ่านทาง IP LAN (Local Area Connection)

- 27 -
จากรูปด้านบน เป็ นการเรี ยกผ่านทาง Domain Name

เมื่อทําตามขันตอนการเพิ
้ ่มค่า IP Address ของ DVR เสร็จแล้ ว ถ้ าต้ องการที่จะเรี ยกดูภาพ ให้ เลือกที่
เมนู “Preview” จากนันทํ
้ าการดับเบิ ้ลคลิก๊ ที่ชื่อ Area ที่คณ
ุ ตังเอาไว้
้ เช่น จะเป็ นลักษณะการ
เปิ ดการแสดงผลของเครื่ องบันทึกทุกกล้ อง หรื อกดปุ่ ม ก็สามารถทําได้ เช่นกัน หรื อ คุณสามารถที่จะ
เลือกทําการ เชื่อมต่อของกล้ องแต่ละตัวได้ โดยการดับเบิ ้ลคลิก๊ ที่ กล้ องแต่ละตัว ตามที่คณุ ต้ องการ ยกตัวอย่าง
เช่น (สถานะยังไม่ได้ เชื่อมต่อ) (สถานะการเชื่อมต่อ)

การเรี ยกดูภาพย้ อนหลังผ่ านทางโปรแกรม Client


จะอยูท่ ี่เมนู “Playback” จากนันเลื
้ อกที่หวั ข้ อ “Remote” ทําการเลือกกล้ องที่ต้องการดูภาพย้ อนหลัง
กําหนดวัน/เวลา รูปแบบของการบันทึก สามารถเลือกเป็ น “All” คือ ค้ นหาทังหมด้ จากนันกดปุ่
้ ม Search หรื อ
ไอคอน รอจนกว่าจะขึ ้นข้ อความ “Search completed” จะมีรายละเอียดของข้ อมูลการบันทึก สามารถทํา
การดับเบิ ้ลคลิ๊กไฟล์ เพื่อดูภาพได้ เลย
หมายเหตุ : สามารถเรี ยกดูภาพย้อนหลังได้พร้อมกัน 4 หน้าจอต่างช่วงเวลา หรื อ 4 กล้องพร้อมกัน

- 28 -
ในกรณีที่ต้องการสํารองข้ อมูล หรื อ Backup ข้ อมูล สามารถคลิ๊กได้ ที่ “Start download” หรื อ “Start
save” ได้ เลย

คําอธิบาย
Start download : คือการสํารองข้ อมูลเป็ นแบบไฟล์ของช่วงเวลา
Start save : คือการสํารองข้ อมูลที่ คุณสามารถเลือกช่วงเวลาเริ่ มต้ น และสิ ้นสุดเอง ยกตัวอย่างเช่น
เมื อ่ คุณดูภาพย้อนหลังอยู่ คุณอยากได้ช่วงเวลาตรงนี ้ คุณก็สามารถกดที ่ Start save จากนัน้ โปรแกรมจะให้คณ ุ
ตัง้ ชื อ่ ไฟล์ และตําแหน่งในการจัดเก็บ แล้วกด Save และเมื อ่ พอก็กดปุ่ ม Stop แค่นีก้ ็เรี ยบร้อย

หมายเหตุ : ในส่วนของ Path ในการเก็บข้อมูลในการบันทึกภาพทางโปรแกรม หรื อการสํารองข้อมูล


ออกมานัน้ จะอยู่ในส่วนของ “Configure” จากนัน้ เลือกเมนู “Local Configure” จะอยู่ทีห่ วั ข้อ Others ทีห่ วั ข้อ
File download save path. ”Start download”

- 29 -
การตัง้ ค่ าการใช้ งาน Remote Control
คลิก๊ เมาส์ขวา เลือกที่เมนู Main Menu จะมีป๊อป-อัพ ขึ ้นมาให้ ใส่ User และ Password ในการใช้ งาน
ซึง่ User จะใช้ เป็ น admin และ Password คือ 12345 และคลิ๊ก Confirm เพื่อเข้ าเมนู

เลือกที่เมนู Camera ให้ ดทู ี่หวั ข้ อ Device ID ซึง่ ค่าเริ่มต้ นจากโรงงานผู้ผลิตจะเป็ น 88 ในส่วนนี ้จะเป็ น
เล่นของเครื่ องบันทึกภาพ โดยปกติแล้ ว Remote Control ที่แถมกับเครื่ องบันทึกภาพไปนัน้ จะมีเลข ID ของ
Remote Control เป็ นเลข 255 ซึง่ ถ้ าเครื่ องบันทึกภาพ มีการตังค่ ้ า Device ID เป็ น 255 ก็จะสามารถใช้ งานได้
เลย แต่ถ้าต้ องการใช้ เป็ นเลข ID อื่น ก็สามารถทําได้ เหมือนกัน สมมติ Device ID ของเครื่ องบันทึภาพเป็ น 88
ให้ ดทู ี่ Remote Control ด้ านขวาบนจะมีปมที ุ่ ่เขียนว่า DEV ให้ กดปุ่ ม DEV 1 ครัง้ แล้ วตามด้ วยเลข Device ID
88 แล้ วกด Enter ก็เป็ นอันใช้ งานได้ ปกติ

- 30 -
ลําดับ หัวข้ อ คําอธิบาย
1 POWER ปิ ดเครื่ องบันทึก
2 DEV การสัง่ เปิ ด/ปิ ด IR Remote Control
3 Numeric Keys การกดเลือกช่องสัญญาณกล้ อง
4 EDIT แก้ ไข หรื อ ลบ
5 A เปลี่ยนโหมดการเขียน
6 REC บันทึกแบบ Manual
7 PLAY เรี ยกดูภาพย้ อนหลัง
8 INFO คําแนะนํา
9 VOIP การปรับ [Main/Aux]
10 MENU เมนู
11 PREV แบ่งสกรี นหน้ าจอแสดงผล
12 Direction Keys ENTER การควบคุมตําแหน่ง บน/ล่าง, ซ้ าย/ขวา และตกลง
13 PTZ เข้ าโหมดควบคุมกล้ อง PTZ
14 ESC ออก หรื อ ยกเลิก
15 Reserved แผงควบคุมสัญญาณเสียง
16 F1 **ไม่ได้ ใช้ งาน**
17 Lens control การซูมภาพ, ปรับ Iris และโฟกัส ของกล้ อง PTZ
18 F2 **ไม่ได้ ใช้ งาน**

- 31 -
การตัง้ ค่ าดูภาพผ่ านโทรศัพท์ มือถือ
วิธีการตังค่
้ า Config ให้ ดผู า่ นโทรศัพท์มือถือ สามารถทําได้ โดยการรี โมทผ่านทาง
ClientSoftware(v4.01MD) หรื อ IE Browser ไม่สามารถตังค่ ้ าผ่านทางเครื่ องบันทึกภาพได้
Step 1. ทําการรี โมทล็อกอินเข้ าไปที่ตวั เครื่ องบันทึก (ClientSoftware(v4.01MD) หรื อ IE Browser)
้ อกที่หวั ข้ อ Configure จะมีป๊อป-อัพ Remote Configuration เลือกที่ Cannel Configuration
จากนันเลื
Step 2. ที่หวั ข้ อ Type ค่าเริ่มต้ นจะอยูท่ ี่ Main stream ให้ เลือกเป็ น Sub stream
ทําการตังค่
้ า Config โดยดูที่หวั ข้ อดังนี ้
• Frame type เลือกเป็ น Only P.
• Resolution เลือกเป็ น QCIF.
• I Frame interval เลือกเป็ น 8.
• Frame rate เลือกเป็ น 2 frame/second.
• Max bit rate เลือกเป็ น 96kbps หรื อ 128kbps.
Step 3. จากนันทํ ้ าการคัดลอกให้ ทกุ กล้ องเหมือนกันหมด

วิธีการลงโปรแกรมดูภาพผ่ านมือถือ
คุณสมบัติของโทรศัพท์ และ PDA (Windows mobile 6.0 หรื อ 6.1) รองรับ CLDC1.0, MIDP2.0,
JAVA เป็ นต้ น
Step 1. ทําการคัดลอกไฟล์ MobileToDevice.jad และ MobileToDevice.jar ลงใน Memory ของ
โทรศัพท์มือถือ จากนันทํ ้ าการดับเบิ ้ลคลิก๊ ไฟล์เพื่อติดตังโปรแกรม

Step 2. เมื่อติดตังโปรแกรมเสร็
้ จเรี ยบร้ อย จะเปิ ดใช้ งานโปรแกรม MobileToDevice อัตโนมัติ ในส่วน
นี ้ โปรแกรมจะให้ เลือกการใช้ งานของภาษา ให้ เลือกเป็ น อังกฤษ (English) จากนันจะขึ ้ ้นหน้ าจอ Mobile
Surveillance
Step 3. เลือกที่เมนู Menu จากนันเลื ้ อก Browse Device
Step 4. คลิก๊ ที่เมนู Menu อีกครัง้ เลือก Add
Step 5. ในส่วนนี ้จะมีรายละเอียดให้ กรอกเกี่ยวกับ IP, Port, User และ Password ของเครื่ อง
บันทึกภาพ ดังนี ้
Device Name สามารถตังชื ้ ่ออะไรก็ได้
Device IP ใส่เป็ นไอพี WAN หรื อ Domain name
เช่น 124.120.10.115 หรื อ sitedemo.dyndns.org
Device Port พอร์ ตของเครื่ องบันทึกภาพ (Default 8000)
User name ชื่อผู้ใช้ งานเครื่ องบันทึกภาพ (admin)
Password รหัสผ่านเครื่ องบันทึกภาพ (12345)
เมื่อทําการกรอกข้ อมูลเรี ยบร้ อย ให้ กด save จะขึ ้น Add Device Successfully
Step 6. Device List จะขึ ้น Device name ที่ได้ ตงเอาไว้
ั้ ทําการเลือกเพื่อทําการเชื่อมต่อระบบ
ลักษณะการเรี ยกดู จะเรี ยกดูได้ ทีละกล้ องเท่านัน้

- 32 -

You might also like