You are on page 1of 15

EXERCISE 4-5

อ้ างถึงข้ อมูลของบริ ษัท Societe Clemeau ใน Exercise 4-4 ซึง่ มีข้อมูลดังนี ้


บริ ษัท Societe Clemeau ตังอยู
้ ่ใน Lyons, France ผลิตปูนซีเมนต์สำหรับอุตสาหกรรมก่อสร้ างในบริ เวณใกล้ เคียง ข้ อมูล
ที่เกี่ยวข้ องของปูนซีเมนต์หนึง่ กิโลกรัมในกระบวนการของแผนกผสม ซึง่ เป็ นแผนกแรกในการผลิต จัดเตรี ยมดังตารางข้ างล่าง
ในเดือนพฤษภาคม ดังนี ้

ปริมาณซีเมนต์ เปอร์ เซ็นต์ ความสำเร็จของงาน


เป็ นกิโลกรัม วัตถุดบิ ต้ นทุนแปรสภาพ
งานระหว่างทำ 1 พฤษภาคม 80,000 80% 20%
เริ่ มผลิตระหว่างเดือนพฤษภาคม 300,000 - -
งานระหว่างทำ 31 พฤษภาคม 50,000 40% 10%

ให้ ทำ :
1. คำนวณจำนวนกิโลกรัมของปูนซีเมนต์ที่ผลิตเสร็จและโอนออกของแผนกผสมระหว่างเดือนพฤษภาคม
2. เตรี ยมทำตารางปริ มาณของแผนกผสมสำหรับเดือนพฤษภาคม สมมติวา่ บริ ษัทใช้ วิธีเข้ าก่อน-ออกก่อน
ล้ เคียง ข้ อมูล

แปรสภาพ
1. ปริมาณซีเมนต์ หน่ วยเทียบเท่ า
เป็ นกิโลกรัม วัตถุดบิ ต้ นทุนแปรสภาพ
งานระหว่างทำ 1 พฤษภาคม 80,000 16,000 64,000
เริ่ มผลิตระหว่างเดือนพฤษภาคม 300,000 300,000 300,000
รวมหน่วยที่ผลิตเสร็จและโอนออกของแผนกผสม 316,000 364,000

2. บริษัท Societe Clemeau


รายงานการผลิตแผนกผสม
(วิธีเข้ าก่ อน - ออกก่ อน)

ตารางปริมาณและหน่ วยเทียบเท่ า
ตารางปริมาณ
หน่วยที่ทำการผลิต :
งานระหว่างทำ 1 พ.ค. (ใช้ วตั ถุดิบ 80%
ต้ นทุนแปรสภาพ 20%) 80,000
เริ่ มผลิตในเดือนนี ้ 350,000
รวมหน่วย 430,000
หน่ วยเทียบเท่ า
วัตถุดบิ ต้ นทุนแปรสภาพ
หน่วยผลิตที่ผลิตได้ :
โอนให้ แผนกต่อไป :
จากงานระหว่างทำต้ นงวด * 80,000 16,000 64,000
เริ่ มผลิตและเสร็จในเดือนนี ้ 300,000 300,000 300,000
งานระหว่างผลิตปลายงวด (ใช้ วตั ถุดิบ 40%
ต้ นทุนแปรสภาพ 10%) 50,000 20,000 5,000
รวมหน่วย 430,000 336,000 369,000

* หน่วยเทียบเท่าของวัตถุดิบ = 80,000 x 20% = 16,000 กิโลกรัม ต้ นทุนแปรสภาพ = 80,000 x 80% = 64,000 กิโลกรัม
แปรสภาพ

แปรสภาพ
EXERCISE 4-6
บริ ษัท Gulf Fisheries ผลิตปลาทูน่าสำหรับตัวแทนจำหน่ายหลาย ๆ แห่ง มีแผนกที่เกี่ยวข้ อง 2 แผนก คือ แผนกทำความสะอาดและ
แผนกบรรจุ ข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องโดยคิดจากน้ำหนักปลาทูน่ามีหน่วยเป็ นปอนด์ของแผนกทำความสะอาดระหว่างเดือนพฤษภาคมให้ ไว้ ดงั นี ้
น้ำหนักของ เปอร์ เซ็นต์
ปลาทูน่าเป็ นปอนด์ ของความสำเร็จ *
งานระหว่างทำ 1 พฤษภาคม 30,000 55%
เริ่ มผลิตในระหว่างเดือนพฤษภาคม 480,000 -
งานระหว่างทำ 31 พฤษภาคม 20,000 90%

* เฉพาะค่าแรงงานและค่าใช้ จ่ายในการผลิต

วัตถุดิบทังหมดถู
้ กใช้ ไปในตอนเริ่ มต้ นการผลิตในแผนกทำความสะอาด

ให้ ทำ :
เตรี ยมตารางปริ มาณและคำนวณหน่วยเทียบเท่าของเดือนพฤษภาคมสำหรับแผนกทำความสะอาด สมมติวา่ บริ ษัทใช้ วิธีถวั เฉลี่ย
ถ่วงน้ำหนักสำหรับการบันทึกบัญชี
ามสะอาดและ
คมให้ ไว้ ดงั นี ้
บริษัท Gulf Fisheries
รายงานการผลิตแผนกทำความสะอาด
(วิธีถัวเฉลี่ยถ่ วงน้ำหนัก)

ตารางปริมาณและหน่ วยเทียบเท่ า
ตารางปริมาณ
หน่วยที่ทำการผลิต :
งานระหว่างทำ 1 พ.ค. (ใช้ วตั ถุดิบไป 55%) 30,000
เริ่ มผลิตในเดือนนี ้ 500,000
รวม 530,000
หน่ วยเทียบเท่ า
วัตถุดบิ
หน่วยที่ผลิตได้ :
โอนให้ แผนกต่อไป 510,000 510,000
งานระหว่างทำ 31 พ.ค. (ใช้ วตั ถุดิบไป 90%) 20,000 18,000
รวม 530,000 528,000
EXERCISE 5-10
หนึง่ ในการผลิตของบริ ษัท Varic คือกระบวนการเคลือบมันผิว บริ ษัทสังเกตว่าต้ นทุนการเคลือบมันในช่วง 6 สัปดาห์หลังมี
รายละเอียดดังต่อไปนี ้ (ตัวเลขถูกปรับให้ ง่ายต่อการคำนวณ)

สัปดาห์ที่ หน่วยการผลิต ต้ นทุนการเคลือบมัน


1 8 $270
2 5 200
3 10 310
4 4 190
5 6 240
6 9 290

จุดประสงค์ในการวางแผน การจัดการของบริ ษัทควรจะทราบจำนวนของต้ นทุนการเปลี่ยนแปลงต่อหน่วยและต้ นทุนคงที่รวม


ต่อสัปดาห์

ให้ ทำ :
1. ใช้ วิธี least-squares regression ประมาณการส่วนประกอบของต้ นทุนผันแปรและต้ นทุนคงที่ของต้ นทุนการเคลือบมัน
2. แสดงข้ อมูลต้ นทุนในข้ อ 1. ในรูป Y = a + bX
3. ถ้ าบริ ษัททำการผลิต 7 หน่วยในสัปดาห์ตอ่ ไป ค่าใช้ จ่ายในการเคลือบมันที่จะเกิดขึ ้นเป็ นเท่าไหร่
ตนทุนคงที่รวม

รเคลือบมัน
1.

สัปดาห์ ท่ ี จำนวนหน่ วย ต้ นทุนในการ


ที่ผลิต (X) เคลือบรวม (Y) XY X
1 8 $270 $2,160 64
2 5 200 $1,000 25
3 10 310 $3,100 100
4 4 190 $760 16
5 6 240 $1,440 36
6 9 290 $2,610 81
รวม 42 $1,500 $11,070 322

โดยที่ :
X = ระดับกิจกรรม
Y = ต้ นทุนผสมรวม
a = ต้ นทุนคงที่รวม
b = ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
n = จำนวนค่าที่สงั เกต
= ผลรวมจำนวนค่าที่สงั เกต

จากสูตร :
b = n( XY) - ( X)( y)
n( X) - ( X)
= 6(11,070) - (42)(1,500)
6 (322) - (1,764)
= $20.36

ดังนันต้
้ นทุนในการเคลือบ (ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย) เท่ากับ $ 20.36 ต่อหน่วย
a = ( Y) - b( X)
n
= 1,500 - 20.36(42)
6
= $107.48
ดังนันต้
้ นทุนคงที่รวมเท่ากับ $ 107.48

2. จากสมการในข้ อ 1 สรุปได้ ดงั นี ้ :


Y = a + bx

เขียนสมการต้ นทุนได้ ดงั นี ้ Y = 107.48 + 20.36 x


- "a" คือ ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วยเท่ากับ $ 20.36
- "b" คือ ต้ นทุนคงที่รวมเท่ากับ $ 107.48

3. ถ้ าบริ ษัทฯ ได้ ผลิตในสัปดาห์ที่ 7 ให้ ประมาณการต้ นทุนรวมของการเคลือบของสัปดาห์ที่ 7


- จากข้ อ 1 นำมาพยากรณ์จำนวนผลิตโดยวิธีถวั เฉลี่ยได้ ดงั นี ้ 42 / 6 เท่ากับ 7 หน่วยที่ผลิตได้ ในสัปดาห์ที่ 7
จากนันนำมาแทนค่
้ า X ในสมการได้ ดงั นี ้

Y = $ 107.48 + $ 20.36 (7)

ดังนันต้
้ นทุนรวมของการเคลือบในสัปดาห์ที่ 7 จะเท่ากับ $ 250
PROBLEM 5 - 22
ALDEN COMPANY ได้ ตดั สินใจในการจัดทำงบกำไรขาดทุนโดยวิธีกำไรส่วนเกินในการวางแผนเพื่อให้ บรรลุตาม
วัตถุประสงค์. บริ ษัทฯ ได้ ทำการวิเคราะห์คา่ ใช้ จ่ายและได้ พฒ
ั นารูปแบบในการคำนวณต้ นทุนดังนี ้ :
ต้ นทุน สูตรในการคำนวณต้ นทุน
ต้ นทุนขาย $ 20 ต่อ หน่วยที่ขาย
ค่าโฆษณา $ 170,000 ต่อรอบไตรมาส
ค่านายหน้ าพนักงานขาย 5 % ของยอดขาย
เงินเดือนฝ่ ายบริ หาร $ 80,000 ต่อรอบไตรมาส
ค่าขนส่งออก ?
ค่าเสื่อมราคา $ 50,000 ต่อรอบไตรมาส

ฝ่ ายบริ หารได้ สรุปเกี่ยวกับค่าขนส่งออกว่าเป็ นต้ นทุนผสม ซึง่ ได้ รวมต้ นทุนผันแปรและต้ นทุนคงที่ไว้ เป็ นองค์ประกอบ
จำนวนหน่วยที่ขายและข้ อมูลที่เกี่ยวข้ องกับค่าขนส่งออกที่ผ่านมาในรอบ 8 ไตรมาสมีดงั นี ้ :
ไตรมาสที่ หน่ วยที่ขาย (000) ค่ าขนส่ งออก
ปี ที่ 1 :
ไตรมาสที่ 1 16 $160,000
ไตรมาสที่ 2 18 175,000
ไตรมาสที่ 3 23 210,000
ไตรมาสที่ 4 19 180,000
ปี ที่ 2 :
ไตรมาสที่ 1 17 170,000
ไตรมาสที่ 2 20 190,000
ไตรมาสที่ 3 25 230,000
ไตรมาสที่ 4 22 205,000

ฝ่ ายบริ หารได้ แบ่งแยกต้ นทุนสำหรับค่าขนส่งออกเพื่อที่จะทำประมาณการงบกำไรขาดทุนโดยวิธีกำไรส่วนเกิน


ซึง่ จะเตรี ยมการไว้ สำหรับรอบไตรมาสถัดไป

ให้ ทำ :
1. ให้ ใช้ วิธี LEAST - SQUARES REGRESSION เพื่อใช้ เป็ นสูตรคำนวณในการแยกต้ นทุนของค่าขนส่งออก (ตังแต่

หน่วยที่ขายข้ างต้ น (พันหน่วย) ต้ นทุนผันแปรที่คณ
ุ คำนวณจะเป็ นต่อพันหน่วย ถ้ าตามแบบดังกล่าวคุณสามารถแปลง
ให้ เป็ นต้ นทุนผันแปรต่อหน่วยได้ โดยการหาร 1,000)
2. ในช่วงของไตรมาสแรกของปี ที่ 3 ทางบริ ษัทฯ ได้ วางแผนในการขายไว้ ที่ 21,000 หน่วย ราคาขายต่อหน่วยคือ $ 50
ให้ เตรี ยมการงบกำไรขาดทุนสำหรับไตรมาสแรกโดยใช้ รูปแบบกำไรส่วนเกินในการทำงบดังกล่าว
1. คำนวณแยกต้ นทุนผสมได้ ดงั นี ้ :
หน่ วยที่ขาย ค่ าขนส่ งออก
ไตรมาสที่ (X) (Y) XY X

ไตรมาสที่ 1 16 $160,000 $2,560,000 256


ไตรมาสที่ 2 18 175,000 $3,150,000 324
ไตรมาสที่ 3 23 210,000 $4,830,000 529
ไตรมาสที่ 4 19 180,000 $3,420,000 361

ไตรมาสที่ 1 17 170,000 $2,890,000 289


ไตรมาสที่ 2 20 190,000 $3,800,000 400
ไตรมาสที่ 3 25 230,000 $5,750,000 625
ไตรมาสที่ 4 22 205,000 $4,510,000 484
รวม 160 $1,520,000 $30,910,000 3268

โดยที่ :
X = ระดับกิจกรรม
Y = ต้ นทุนผสมรวม
a = ต้ นทุนคงที่รวม
b = ต้ นทุนผันแปรต่อหน่วย
n = จำนวนค่าที่สงั เกต
= ผลรวมจำนวนค่าที่สงั เกต

จากสูตร :
b = n( XY) - ( X)( y)
n( X) - ( X)
= 8(30,910,000) - (160)(1,520,000)
8 (3268) - (25,600)
= $7,500.00 ต่อพันหน่วย

ดังนันค่
้ าขนส่งออกที่เป็ นส่วนต้ นทุนผันแปรต่อหน่วยเท่ากับ $ 7,500 / 1,000 = $ 7.50
a = ( Y) - b( X)
n
= 1,520,000 - 7,500(160)
8
= $40,000.00

ดังนันต้
้ นทุนคงที่ของค่าขนส่งออกจะได้ เท่ากับ $ 40,000

ดังนันจะได้
้ Y = $ 40,000 + $ 7,500 (X)

ALDEN COMPANY
ประมาณการงบกำไรขาดทุน ( วิธีกำไรส่ วนเกิน)
สำหรับงวดไตรมาส สิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม XXX

ขาย (21,000 X $ 50) $1,050,000.00


หัก ต้ นทุนขาย (21,000 X $ 20) 420,000.00
กำไรขันต้
้ น 630,000.00
ค่าใช้ จ่ายในการดำเนินงาน :
ค่าโฆษณา $170,000.00
ค่านายหน้ าพนักงานขาย 52,500.00
เงินเดือนฝ่ ายบริ หาร 80,000.00
ค่าเสื่อมราคา 50,000.00
ค่าขนส่งออก 197,500.00 550000
กำไรสุทธิ $ 80,000.000

You might also like