You are on page 1of 99

สารละลายอิเล็กโทรไลต์ และนอนอิเล็กโทรไลต์

สารละลายอิเล็กโทรไลต์ คือ สารละลายที่สามารถนาไฟฟ้าได้เพราะตัวละลายสามารถแตกตัว


เป็นไอออนบวกและลบในน้าได้ เช่น สารละลายกรด-เบส และเกลือต่างๆ

สารละลายนอนอิ เ ล็ ก โทรไลต์ คื อ สารละลายที่ ไม่ ส ามารถน าไฟฟ้า ได้ เพราะตั ว ละลายไม่


สามารถแตกตัวเป็นไอออนได้ แต่อาจจะละลายน้าได้เนื่องจากโมเลกุลมีขั้วเหมือนกับน้า เช่น เอทานอล
สารละลายกลูโคส

ความแรงของกรด - เบส
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 2 | www.edu-deo.com

การแตกตัวของสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโคเวเลนต์

ชนิดของกรด – เบส

1. กรด Monoprotic คือ กรดแตกตัวได้ครั้งเดียว ......................................................


2. กรด Diprotic คือ กรดแตกตัวได้ 2 ครั้ง ......................................................
3. กรด Triprotic คือ กรดแตกตัวได้ 3 ครั้ง ......................................................

1. เบสที่มี OH- 1 หมู่ ......................................................


2. เบสทีม่ ี OH- 2 หมู่ ......................................................
3. เบสทีม่ ี OH- 3 หมู่ ......................................................

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 3 | www.edu-deo.com

ทฤษฎีกรด – เบส
1. อาร์เรเนียส (Arrhenius)
กรด คือ สารที่ละลายน้าแล้วแตกตัวให้ H+ หรือ H3O+
เบส คือ สารที่ละลายน้าแล้วแตกตัวให้ OH-

HCl H+ + Cl-

CH3COOH H+ (aq) + CH3COO- (aq)

NaOH Na+ + OH-

NH4OH NH4+ + OH-

2. เบรินสเตด – ลาวรี (Bronsted – Lowry)


กรด คือ สารที่ให้โปรตอนแก่สารอื่น
เบส คือ สารที่รับโปรตอนจากสารอื่น

(ทฤษฎีนี้เป็นการเปรียบเทียบว่าสารใดมีความเป็นกรด-เบส มากกว่ากัน)

คู่กรด – คู่เบส (Conjugated acid – base)

ในปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ระหว่างกรดกับเบสตามทฤษฎีของเบรินเสตด – ลาวรี สารที่ทาหน้าที่


เป็นกรดในฏิกิริยาไปข้างหน้ากับสารที่เป็นเบสในปฏิกิริยาย้อนกลับ และสารที่เป็นเบสในปฏิกิริยาไป
ข้างหน้ากับสารที่เป็นกรดในปฏิกิริยาย้อนกลับ เรียกว่า “คู่กรด – คู่เบส (Conjugated acid – base)”

CH3COOH + H2O CH3COO- + H3O+

NH3 + H2O NH4+ + OH-

H2CO3 + H2O H3O+ + HCO3+

HCO3- + H2O H3O+ + CO32-

HCO3- + H2O OH- + H2CO3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 4 | www.edu-deo.com

แบบฝึกหัดคู่กรด – คู่เบส

1. จากปฏิกิริยาผันกลับต่อไปนี้

HCO3- (aq) + OH- (aq) CO32- (aq) + H2O (l)

สารคู่ใดจัดเป็นกรดตามทฤษฎีของเบรินสเตด (Bronsted) ทั้ง 2 สาร (Ent’20) (A1)

1. HCO3- และ CO32- 2. HCO3- และ H2O


3. OH- และ H2O 4. OH- และ CO32-

2. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ HCO3- ไอออน ทาหน้าที่เป็นกรด (Ent’24) (A3)

1. HCO3- (aq) + H2O (l) H2CO3 (aq) + OH- (aq)


2. HCO3- (aq) + OH- (aq) H2O (l) + CO32-(aq)
3. HCO3- (aq) + HSO4- (aq) H2CO3 (aq) + SO42- (aq)
4. HCO3- (aq) + CH3COOH (aq) H2O (l) + CO2 (g) + CH3COO- (aq)

3. น้าในข้อใดต่อไปนี้มีสมบัติเป็นเบส ตามทฤษฎีกรด – เบส ของเบรินสเตด – ลาวรี (Ent’40) (A5)

1. CO32- (aq) + H2O (l) HCO3- (aq) + OH- (aq)


2. HClO4 (aq) + OH- (aq) ClO4- (aq) + H2O (l)
3. NH4+ (aq) + H2O (l) NH3 (aq) + H3O+ (aq)
4. HS- (aq) + OH- (aq) S2- (aq) + H2O (l)

4. ข้อใดเป็นคู่เบสของกรดต่อไปนี้ตามลาดับ (Ent’39) (A14)

HSO3- H2PO4- HCO3-

1. SO32- HPO42- CO32- 2. H2SO3 H2PO4- H2CO3


3. HSO3- HPO42- CO32- 4. SO32- HPO42- H2CO3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 5 | www.edu-deo.com

3. ลิวอิส (Lewis)
กรด คือ สารที่รับอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวได้ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์
เบส คือ สารที่ให้อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวได้ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์

การแตกตัวของกรด – เบส

กรดแก่ – เบสแก่ แตกตัวได้ 100%

กรดอ่อน – เบสอ่อน แตกตัวแล้วอยู่ในสมดุล

Ex.1 HNO3 0.1 mol/dm3 แตกตัวได้ 100% จงหาค่า K และ [H+]

Ex.2 Ca(OH)2 7.4 กรัม ในสารละลาย 100 cm3 จงหาค่า K และ [OH-]

Ex.3 กรด HX 1 mol/dm3 แตกตัวได้ 2% จงหาค่า K และ [H+]

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 6 | www.edu-deo.com

Ex.4 กรด CH3COOH 0.5 mol/dm3 มีค่า Ka = 1.8 x 10-5 จงหาร้อยละการแตกตัว และ [H+]

กรด เบส
[ ] √ [ ] √
[ ] [ ]

แบบฝึกหัดการคานวณค่าคงที่กรด-เบส และร้อยละการแตกตัว

1. S กับ Se เป็นธาตุในหมู่เดียวกันในตารางธาตุ ค่า Ka ของ HSeO4- เขียนได้ว่าอย่างไร (Ent’21)


(A26)

[ ] [ ] [ ][ ]
1. 2.
[ ] [ ]

[ ][ ] [ ] [ ]
3. 4.
[ ] [ ]

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 7 | www.edu-deo.com

2. จงคานวณร้อยละการแตกตัวของกรดฟอร์มิก (HCOOH) ในสารละลาย HCOOH เข้มข้น 0.20


mol/dm3 (กาหนดค่าคงที่การแตกตัวของกรด = 1.8 x 10-4) (Ent’มี.ค.47) (A30)

3. HA เป็นกรดอ่อนมีค่าคงที่สมดุลการแตกตัวเท่ากับ 1x10-4 สารละลาย HA 1 mol/dm3 จะแตกตัวได้


ร้อยละเท่าใด (Ent’มี.ค.42) (A29)

4. กรดอ่อน HX มีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 2.5 x 10-6 สารละลายกรด HX จะต้องมีความเข้มข้นกี่โมล


ต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จึงจะทาให้ความเข้มข้นของ H3O+ เท่ากับ 2x10-3 mol/dm3 (Ent’ต.ค.44) (A32)

1. 0.8 2. 1.6 3. 2.0 x 10-3 4. 3.6 x 10-3

5. ละลายกรดฟอร์มิก (HCOOH) จานวนหนึ่งในน้า 5 ลิตร พบว่ามี H3O+ เข้มข้นเท่ากับ


5.0x10-3 mol/dm3 ถ้าค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เท่ากับ 2.0 x 10-4 สารละลายนี้มีกรดฟอร์มิกละลายอยู่กี่
กรัม (Ent’ต.ค.42) (A33)

6. ถ้าผ่านแก๊ส HCl ลงในสารละลาย CH3COOH 0.1 mol/dm3 นี้ จนความเข้มข้นของกรด HCl เป็น 0.3
mol/dm3 อยากทราบว่า จะมี [H3O+] เข้มข้นกี่ mol/dm3 (A35)

1. 0.10 2. 0.20 3. 0.30 4. 0.40

7. ถ้าค่าคงที่สมดุลของเบสเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ที่ 25 เป็นดังแสดงในตาราง ลาดับความแรงของเบส


จากมากไปน้อยคือข้อใด (Ent’26) (A36)

สารละลายเบส ค่าคงที่สมดุล
A 1.79 x 10-5
B 9.00 x 10-7
C 7.00 x 10-7
D 1.50 x 10-14

1. A , B , C , D 2. A , C , B , D 3. D , B , C , A 4. D , C , B , A

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 8 | www.edu-deo.com

การรบกวนสมดุลของกรด – เบส

ตามหลั ก ของเลอ ชาเตอลิ เ อ กล่ า วคื อ “ เมื่ อ ระบบที่ อ ยู่ ใ นภาวะสมดุ ล ถู ก รบกวนโดยการ
เปลี่ยนแปลงปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลของระบบ ระบบจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่จะลดผลการ
รบกวนนั้น เพื่อให้ระบบกลับเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง” เช่น

CH3COOH + H2O CH3COO- + H3O+ จากปฏิกิริยา หากเติม CH3COONa จะทาให้สมดุล


เลื่อนย้อนกลับ ทาให้สารละลายกรด CH3COOH แตกตัวได้น้อยลง เราเรียก CH3COO- ที่เติมลงไปแล้ว
มีผลต่อสมดุลว่า “ไอออนร่วม (Common ion)”

ค่าคงที่การแตกตัวของน้า (Kw)

น้าเป็นสารบริสุทธิ์นาไฟฟ้าได้น้อยมากจนอาจจะตรวจการแตกตัวไม่ได้ แต่ที่จริงแล้วน้าสามารถ
แตกตัวได้ ดังนี้

H2O (l) + H2O (l) H3O+ (aq) + OH- (aq)

[ ][ ]

-14
จากการทดลองที่ 25 วัดค่าคงที่ได้ 1 x 10 เมื่อเพิ่มอุณหภูมิพบว่าน้าสามารถแตกตัวได้มากขึ้น

HX + H2O H3O+ + X- …………..(1)

X- + H 2 O HX + OH- …………..(2)

2H2O (l) H3O+ + OH- …………..(1) + (2)

Ex. จากปฏิกิริยา NH3 + H2O OH- + NH4+ ค่า Kb = 1.8 x 10-5 จงหา Ka

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 9 | www.edu-deo.com

การคานวณ pH pOH

[ ]
[ ]
[ ][ ]

[H+] pH [OH-] pH
10-7 10-7
10-6 10-6
10-5 10-5
10-4 10-4
10-3 10-3
10-2 10-2
10-1 10-1
1 1
2 2
3 3

แบบฝึกหัดเรื่องการคานวณค่า pH และ pOH

1. สารละลายกรดชนิดหนึ่งมี pH เท่ากับ 5 ข้อใดที่แสดง [H3O+] เป็น mol/dm3 ที่ถูกต้อง (Ent’29)


(A46)

1. [ ] 2. [ ]
3. 4. [ ]
[ ]

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 10 | www.edu-deo.com

2. พิจารณาสารละลายที่ 25 ในตารางต่อไปนี้

[H+] mol/dm3 [OH-] mol/dm3 ความเป็นกรด – เบส


5.0 x 10-7 (a) (b)
4.0 x 10-10 (c) เบส
(d) 5.0 x 10-9 กรด

a , b , c และ d ควรเป็นดังข้อใด (Ent’มี.ค.42) (A47)

(a) (b) (c) (d)


1. 2.0 x 10-7 กรด > 2.0 x 10-4 < 2.0 x 10-6
2. 2.0 x 10-8 กรด 2.5 x 10-5 2.0 x 10-6
3. 2.0 x 10-6 เบส 2.0 x 10-5 2.0 x 10-5
4. 2.0 x 10-7 กรด 2.0 x 10-4 2.0 x 10-5

3. สารละลายชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน 1.0 x 10-6 mol/dm3 สารละลายนี้มี pH


เท่ากับเท่าไร (Ent’39) (A48)

1. 6 2. 8 3. 10 4. 12

4. สารละลาย A และ B มีค่า pH เท่ากับ 3 และ 6 ตามลาดับ อัตราส่วนความเข้มข้นของ OH- ไอออนใน


สารละลาย A ต่อความเข้มข้นของ OH- ในสารละลาย B เป็นเท่าใด (Ent’28) (A49)

1. 1 : 2 2. log3 : log6 3. 1000 : 1 4. 1 : 1000

5. สารละลายของแอมโมเนียเข้มข้น 0.10 mol/dm3 มี pH เท่ากับ 11 แสดงว่า (Ent’20) (A51)

1. pOH เท่ากับ 3 2. OH- มีความเข้มข้นเท่ากับ 10-11 mol/dm3


3. H+ มีความเข้มข้นเท่ากับ 10-3 mol/dm3 4. Ka ของ NH4+ เท่ากับ 1 x 10-5

6. จงคานวณความเข้มข้นของ OH- ไอออน เป็น mol/dm3 ในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.1 mol/dm3
(Ent’21) (A53)

1. 1.0 x 10-1 2. 1.0 x 10-8 3. 1.0 x 10-13 4. 1.0 x 10-14

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 11 | www.edu-deo.com

7. จงคานวณหาปริมาณ OH- ในสารละลายกรดแก่โมโนโปรติกเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 25 cm3


(A54)

1. 1.0 x 10-13 mol 2. 1.0 x 10-8 mol 3. 1.0 x 10-15 mol 4. 1.0 x 10-14 mol

8. ในน้าปูนใส Ca(OH)2 ละลายอยู่ 5.10 x 10-2 g/100 cm3 ถ้า Ca(OH)2 เป็นเบสแก่ ความเข้มข้นของ
OH- ในสารละลายเป็นเท่าใด (Ent’31) (A56)

1. 0.138 2. 8.95 x 10-2 3. 1.38 x 10-2 4. 6.89 x 10-3

9. ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 1.0 mol/dm3 จานวน 2 cm3 ลงในน้า 200 cm3 สารละลายใหม่ที่


ได้จะมี pH เท่าใด (Ent’21) (A57)

1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

10. เมื่อนาสารละลาย HCl ที่มี pH = 4 ปริมาตร 400 cm3 ผสมกับสารละลาย HNO3 ที่มี pH = 2
ปริมาตร 100 cm3 สารละลายที่ได้มีค่า pH เท่าใด (กาหนด log2 = 0.301 , log3 = 0.477) (A-Net’50)
(A53)

1. 2.3 2. 2.7 3. 3.0 4. 3.3

11. ข้อใดเป็นการเตรียมสารละลาย HCl pH เท่ากับ 3 จานวน 1 dm3 (Ent’28) (A60)

1. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 1 มา 10 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร


2. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 1 มา 100 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
3. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 2 มา 10 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
4. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 2 มา 50 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร

12. pH ของสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1 x 10-4 mol/dm3เท่ากับ pH ของสารละลายในข้อใด (Ent’26)


(A64)

1. สารละลาย CH3COOH เข้มข้น 1.0 x 10-4 mol/dm3 Ka เท่ากับ 1.6 x 10-8


2. สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 1 x 10-4 mol/dm3 H2SO4 แตกตัว 100%
3. สารละลาย HNO3 เข้ทข้น 0.5 x 10-4 mol/250 cm3 HNO3 แตกตัว 100%
4. สารละลาย HCl 1เข้มข้น 0.5 x 10-4 mol/500 cm3 HCl แตกตัว 100%

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 12 | www.edu-deo.com

การทาปฏิกิริยากันระหว่างกรดกับเบสที่ไม่พอดีกัน

การทาปฏิกิริยากันระหว่างกรดกับเบส เรียกว่า “ปฏิกิริยาการสะเทิน (Neutralization)” ซึ่งจะได้


ผลิตภัณฑ์คือเกลือและน้าเกิดขึ้น ในหัวข้อนี้จะศึกษาปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยา
สารที่เหลือเป็นกรดแก่หรือเบสแก่เท่านั้น

เกิดได้ 2 กรณีคือ

1) ทาปฏิกิริยากันแล้วเหลือกรด pH < 7
2) ทาปฏิกิริยากันแล้วเหลือเบส pH > 7

การคานวณ

หลักการ 1) พิจารณาว่าสารใดมีจานวนโมลมากกว่ากัน

2) นาสารที่จานวนมากกว่าลบสารที่จานวนน้อยกว่า

3) นาส่วนต่างที่ได้หารกับปริมาตรรวมของสารละลาย

4) หาคาตอบตามที่โจทย์ต้องการ


เหลือ เหลือ
รวม รวม

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 13 | www.edu-deo.com

แบบฝึกหัดเรื่องปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสที่ไม่พอดีกัน

Ex. สารละลายกรด HCl 2.0 mol/dm3 25 cm3 ทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH 1 mol/dm3 25 cm3 จง
หาว่าเมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาจะเหลือไอออนใด เหลือเท่าใด และสารละลายมี pH เท่าใด

1. เมื่อนาสารละลาย H2SO4 0.5 mol/dm3 30 cm3 กับสารละลาย NaOH 1.0 mol/dm3 20 cm3 เข้า
ด้วยกัน หลังจากคนให้เข้ากันอย่างทั่วถึงแล้ว จะมีสารใดเหลือคิดเป็นความเข้มข้นกี่ mol/dm3 (Ent’26)
(A99)

1. H2SO4 เหลือ เข้มข้น 0.01 mol/dm3 2. NaOH เหลือ เข้มข้น 0.01 mol/dm3
3. H2SO4 เหลือ เข้มข้น 0.05 mol/dm3 4. NaOH เหลือ เข้มข้น 0.05 mol/dm3

2. เมื่อผสมสารละลาย HCl 0.2 mol/dm3 จานวน 30 cm3 กับสารละลาย NaOH 0.05 mol/dm3 จานวน
20 cm3 เข้าด้วยกัน สารละลายที่ได้มี pH เท่าใด (Ent’24) (A100)

1. 5 2. 3 3. 2 4. 1

3. ใส่ NaOH 320 มิลลิกรัม ลงในสารละลาย 0.2 mol/dm3 H2SO4 50 cm3 สารละลายที่ได้มีสมบัติ
อย่างไร (A98)

1. เป็นสารละลายสะเทิน 2. เป็นสารละลายกรด
3. เป็นสารละลายเบส 4. นาไปเคี่ยวจนแห้งเหลือผงเกลือโซเดียมซัลเฟต

4. เมื่อนาสารละลาย KOH 0.01 mol/dm3 จานวน 50 cm3 มาผสมกับสารละลาย HCl 0.02 mol/dm3
จานวน 100 cm3 จะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด (Ent’28) (A101)

1. 1 2. 5 3. 2 4. 3

5.จงหา pH ของสารละลายที่เกิดจากการผสมสารละลาย 2.00 mol/dm3 NaOH จานวน 25.00 cm3 ด้วย


สารละลาย 0.30 mol/dm3 HCl จานวน 175 cm3 [กาหนด log(1.25) = 0.10] (Ent’39) (A105)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 14 | www.edu-deo.com

การหาเกลือที่เกิดขึ้น

การทาปฏิกิริยากันระหว่างกรดกับเบส จะได้เกลือเกิดขึ้นมา ซึ่งการคานวณหาปริมาณเกลือหรือ


ความเข้มข้นเกลือ คานวณได้ดังนี้

Ex.1 ผสมสารละลาย HCl 0.3 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 กับสารละลาย NaOH 0.2 mol/dm3 ปริมาตร
100 cm3 จงหา [H+] [Na+] [Cl-]

Ex.2 ผสมสารละลาย H2SO4 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 70 cm3 กับสารละลาย NaOH 0.4 mol/dm3
ปริมาตร 30 cm3 จงหา [H+] [Na+] [SO42-]

Ex.3 ผสมสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ 0.2 mol/dm3 ปริมาตร 50 cm3 กับสารละลายกรด


ฟอสฟอริก 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 50 cm3 จงหาว่าสารใดเหลือ และเหลือความเข้มข้นเท่าใด และจงหา
[Ca2+] และ [PO43-]

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 15 | www.edu-deo.com

อินดิเคเตอร์ (Indicator)

อินดิเคเตอร์ คือ สารอินทรีย์ซับซ้อนชนิดหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนสีได้มเมื่อสารละลายมี pH


เปลี่ยนแปลงไป ตามทฤษฎีของ Ostwald กล่าวว่า “อินดิเคเตอร์เมื่ออยู่ในรูปโมเลกุลจะมีสีต่างกับรูป
ไอออน”

HIn (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + In- (aq)


แดง น้าเงิน

รูปจาก www.lks.ac.th วันที่ 9 พ.ค. 2554

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 16 | www.edu-deo.com

การเลือกอินดิเคเตอร์ในปฏิกิริยาการไทเทรดระหว่างกรดกับเบส

การทาปฏิกิริยาไทเทรตระหว่างกรดกับเบสนั้น หมายความว่ากรดและเบสจะทา
ปฏิกิริยาพอดีกัน ซึ่งจะได้ผลิตภัณฑ์คือเกลือ และน้า การเลือกอินดิเตอร์จึงต้องเลือกให้มีความเหมาะสม
กับเกลือที่เกิดขึ้น ว่าเป็นเกลือกรด เกลือกลาง หรือเกลือเบส ดังนี้

1) เกลือกรด ควรใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง………………
2) เกลือกลาง ควรใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง………………
3) เกลือเบส ควรใช้อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง………………

แบบฝึกหัดเรื่องอินดิเคเตอร์

1. จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สีที่เปลี่ยน


A 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง
B 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง
C 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
D 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง
สารละลาย X เมื่อหยดอินดิเคเตอร์ให้สีดังนี้

หลอดที่ อินดิเคเตอร์ สีของสารละลาย


1 A เหลือง
2 B เหลือง
3 C น้าเงิน
4 D ส้ม

สารละลาย X มี pH ประมาณเท่าใด (Ent’มี.ค.43) (A138)

1. 6 2. 7 3. 8 4. 9

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 17 | www.edu-deo.com

ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (Hydrolysis)

ลาดับ สารละลาย Ka , K b สารละลาย Ka , K b


- -2
1. HSO4 Ka = 1.2x10 SO42- Kb = 8.3x10-13
2. HNO2 Ka = 4.5x10-4 NO2- Kb = 2.2x10-11
3. CH3COOH Ka = 1.8x10-5 CH3COO- Kb = 5.6x10-10
4. HCN Ka = 4.9x10-10 CN- Kb = 2x10-5
5. HCO3- Ka = 4.7x10-11 CO32- Kb = 2.1x10-4
6. HS- Ka = 1x10-19 S2- Kb = 1x10-5
7. NH3 Kb = 1.8x10-5 NH4+ Ka = 5.6x10-10
8. HS- Kb = 1.1x10-7 H 2S Ka = 9x10-8
ตารางแสดงค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดอ่อนและเบสอ่อน

ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส คือ ปฏิกิริยาระหว่างสารใดๆ กับน้าแล้วได้สารใหม่

ซึ่งในหัวข้อนี้เราจะศึกษาการไฮโดรไลซิสของเกลือ เพื่อหาข้อสรุปว่าเกลือนั้นเป็นเกลือประเภทใด เช่น


เกลือกรด เกลือกลาง และเกลือเบส

Ex.1 จงไฮโดรไลซิสเกลือ CH3COONa และหาว่าเป็นเกลือชนิดใด

Ex.2 จงไฮโดรไลซิสเกลือ NH4Cl และหาว่าเป็นเกลือชนิดใด

Ex.3 จงไฮโดรไลซิสเกลือ NaCl และหาว่าเป็นเกลือชนิดใด

Ex.4 จงไฮโดรไลซิสเกลือ NaHS และหาว่าเป็นเกลือชนิดใด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 18 | www.edu-deo.com

Ex.5 จงไฮโดรไลซิสเกลือ NaHSO4 และหาว่าเป็นเกลือชนิดใด

แบบฝึกหัดเรื่องไฮโดรไลซิสของเกลือ

1. ถ้านาแอมโมเนียมคลอไรด์ซึ่งเป็นของแข็งสีขาวมาละลายน้า สารละลายที่ได้มีสมบัติเป็นกรดหรือเบส
เพราะเหตุใด (Ent’ต.ค.41) (A150)

1. เป็นเบส เพราะแอมโมเนียมคลอไรด์แตกตัวให้แอมโมเนียมไอออน
2. เป็นเบส เพราะแอมโมเนียมไอออนทาปฏิกิริยากับน้า ให้แอมโมเนียมซึ่งเป็นเป็นเบส
3. เป็นกรด เพราะแอมโมเนียมซึ่งเป็นเบส เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะระเหยไปบางส่วน
4. เป็นกรด เพราะแอมโมเนียมไอออนให้โปรตอนแก่น้า

2. สารละลายของเกลือในน้า ข้อใดมีฤทธิ์เป็นด่างทุกชนิด (Ent’18) (A151)

1. HCOONa , KBr , NH4NO3 2. NH4Cl , NaOH , NaCl


3. CH3COONa , NH4Cl , CH3COONH4 4. KCN , CH3COONa , HCOONa

3. กลุ่มเกลือที่ละลายน้าแล้ว จะให้สารละลายที่มีสมบัติเป็นเบส (A153)

1. HCOONa , KBr , NH4NO3 2. KCN , CH3COONa , HCOONa


3. CH3COONa , NH4Cl , CH3COONH4 4. NH4Cl , NaOH , NaCl

4. กลุ่มเกลือ 4 ชนิด ต่อไปนี้มาละลายน้า (A154)

ก. NH4NO3 ข. CH3COONa ค. Na2CO3 ง. K2SO4

สารละลายของเกลือชนิดใดบ้างที่สามารถเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน (Ent’35)

1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ข และ ค

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 19 | www.edu-deo.com

สารละลายบัฟเฟอร์ (Buffer solution)

สารละลายบัฟเฟอร์ คือ สารละลายที่ประกอบด้วยกรดอ่อนและเกลือของกรดอ่อน หรือ


ประกอบด้ ว ยเบสอ่ อ นและเกลื อ ของเบสอ่ อ น หรื อ กล่ า วได้ ว่า สารละลายบั ฟ เฟอร์คื อ สารละลายที่
ประกอบด้วยกรดอ่อ นกั บคู่ เบสของกรดนั้น หรือ ประกอบด้วยเบสอ่อ นกับคู่ กรดของเบสนั้น ซึ่งสาร
ดังกล่าวนั้นจะต้องมีมากพอจึงจะเกิดสารละลายบัฟเฟอร์ได้ เพราะสารละลายบัฟเฟอร์คือปฏิกิริยาที่อยู่
ในสมดุล

CH3COOH (aq) + H2O (l) CH3COO- (aq) + H3O+ (aq)

CH3COOH

CH3COO-

NH4OH (aq) + H2O (l) NH4+ (aq) + OH- (aq)

NH4OH
การเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ NH4+
การเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์มีอยู่ 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ

1) นากรดอ่อนหรือเบสอ่อนผสมกับเกลือของมันโดยตรง

2) ทาปฏิกิริยากันระหว่างกรดแก่กับเบสอ่อนหรือกรดอ่อนกับเบสแก่ โดยต้องให้กรด
อ่อนหรือเบสอ่อนเหลือเท่านั้น

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 20 | www.edu-deo.com

การพิจารณาสารละลายบัฟเฟอร์

การคานวณค่า pH ของสารละลายบัฟเฟอร์

กรดอ่อน HX

HX (aq) + H2O (l) X- (aq) + H3O+ (aq)

[ ][ ]
[ ]

[ ]
[ ]
[ ]

เบสอ่อน XOH

XOH (aq) + H2O (l) X+ (aq) + OH- (aq)

[ ][ ]
[ ]

[ ]
[ ]
[ ]

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 21 | www.edu-deo.com

แบบฝึกหัดเรื่องสารละลายบัฟเฟอร์

1. สารละลายผสมในข้อใดจัดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’40) (A177)

ตัวเลือก สารละลายชนิดที่ 1 สารละลายชนิดที่ 2


1. HCN กับ KCN HNO3 กับ KNO3
2. NaH2PO4 กับ Na2HPO4 NH4Cl กับ NH3
3. HI กับ BaI2 NaH2PO4 กับ NaHPO4
4. HBr กับ KBr NaHCO3 กับ Na2CO3

2. สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’27) (A179)

1. HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กับ NaCl 5.85 กรัม


2. HCN เข้มข้น 0.05 mol/dm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตรเท่ากัน
3. HCl เข้มข้น 0.05 mol/dm3 กับ NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตรเท่ากัน
4. CH3COOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตรเท่ากัน

3. การเตรียมสารละลายในข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’ต.ค.42) (A182)

1. เติม NaOH 0.1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงในHCl 0.1 mol/dm3 จานวน 150 cm3
2. เติม NaOH 0.01 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน CH3COOH 0.05 mol/dm3
3. เติม HCl 0.2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน NH3 0.02 mol/dm3 จานวน 200 cm3
4. เติม HCl 0.05 mol/dm3 จานวน 25 cm3 ลงใน NH3 0.02 mol/dm3 จานวน 100 cm3

4. เมื่อผสมสารละลาย CH3COOH 0.2 mol/dm3 จานวน 10 cm3 และสารละลาย NaOH 0.1 mol/dm3
จานวน 10 cm3 เข้าด้วยกัน สารละลายที่ได้จะเป็นสารละลายที่มีสมบัติอย่างไร (Ent’24) (A198)

1. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH ต่ากว่า 7


2. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH สูงกว่า 7
3. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH เท่ากับ 7
4. สารละลายที่ประกอบด้วยเกลือ CH3COONa เพียงอย่างเดียว

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 22 | www.edu-deo.com

5. เมื่อผสมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 จานวน 10 cm3 เข้ากับสารละลาย NH4OH เข้มข้น
0.05 mol/dm3 จานวน 40 cm3 สารละลายที่ได้มีสมบัติอย่างไร (Ent’38) (A201)
(NH4OH มี Kb = 1.8x10-5 , log 1.8 = 0.2553 , โบรโมไทมอลบลูมีช่วง pH 3 – 4.6 สีเหลือง – น้าเงิน)

1. สารละลายเป็นเบส pH > 7
2. สารละลายเป็นบัฟเฟอร์ pH < 7
3. เปลี่ยนสีเมื่อใช้โบรโมไทมอลบลูทดสอบเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นสีเหลือง
4. ไม่เปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสสีแดง

6. สารละลายคู่กรดเบนโซอิกกับโซเดียมเบนโซเอต 10 cm3 มี pH เท่าไร ถ้าความเข้มข้นของเบนโซอิก


เป็น 2 เท่า ของโซเดียมเบนโซเอตเมื่อปริมาตรเท่ากัน (Ka ของกรดเบนโซอิก = 5.0x10-5) (A202)

1. 1 2. 4 3. 5 4.6

7. สารละลายบัฟเฟอร์ที่ประกอบด้วยกรดฟอร์มิกและโพแทสเซียมฟอร์เมตมี pH เท่ากับ 4 อัตราส่วน


ระหว่างความเข้มข้นของเกลือ : กรด ควรมีค่าประมาณเท่าใด (Ka = 1.8x10-4) (Ent’35) (A203)

1. 0.36x10-4 2. 0.55 3. 1.1 4. 1.8

8. นาสารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 25.00 cm3 มาเติมสารละลาย KOH


เข้มข้น 0.15 mol/dm3 ปริมาตร 10.00 cm3 พบว่าสารละลายที่ได้มี pH = 4.0 ค่า Ka มีค่าเท่าใด
(A-Net’50) (A207)
1. 6.42x10-5 2. 6.53x10-5 3. 6.67x10-5 4. 6.74x10-5

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 23 | www.edu-deo.com

การไทเทรตกรด – เบส (acid - base Titration)

การไทเทรต (Titration) คือ วิธีการหาปริมาตรของสารละลายมาตรฐาน (สารละลายที่ทราบ


ความเข้มข้นแน่นอน) ที่จะทาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลายอื่นซึ่งทราบปริมาตรแล้วแต่ยังไม่ทราบความ
เข้มข้น เพื่อนาค่าปริมาตรที่ได้มาคานวณหาความเข้มข้นของสารละลายอื่นนั้น

การไทเทรตกรด – เบส (acid - base Titration) คือการทาปฏิกิริยากันระหว่างกรดกับเบสที่


พอดีกัน ซึ่งก็คือทั้งกรดและเบสที่ทาปฏิกิริยากันนั้นหมดทั้งคู่ จุดที่กรดกับเบสทาปฏิกิริยาพอดีกัน
เรียกว่าจุดสมมูล (equivalent point) หรือจุดสะเทิน ซึ่งจะบอกได้ด้วยอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 24 | www.edu-deo.com

การหาจุดยุติ

1. พิจารณาการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์
การเลือกใช้อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม จะ
2. พิจารณาจากการนาไฟฟ้าของสารละลาย
สาหรับการเกิดเกลือที่ไม่ละลายน้า โดยจุดยุติคือจุดที่สารละลายนาไฟฟ้าได้น้อยที่สุด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 25 | www.edu-deo.com

การไทเทรต (Titration)

รูปจาก http://www.chemguide.co.uk

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 26 | www.edu-deo.com

ข้อมูลจาก http://chemwiki.ucdavis.edu

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 27 | www.edu-deo.com

การคานวณไทเทรต

aC1V1 = bC2V2
การไทเทรต คือ การทาปฏิกิริยากันพอดีกันระหว่างกรดและเบส

a,b = จานวนครั้งของการแตกตัว C = ความเข้มข้น V = ปริมาตร

แบบฝึกหัดเรื่องการไทเทรต

1. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.45 mol/dm3 ปริมาตร 40.0 cm3 อย่างสมบูรณ์ ต้อง
ใช้สารละลายกรด H3PO4 20.0 cm3 กรด H3PO4 ที่ใช้มีความเข้มข้นกี่ mol/dm3 (Ent’มี.ค.46) (A239)

1. 0.60 2. 0.90 3. 1.20 4. 1.35

2. ในการเตรียม Na2SO4 จะต้องใช้ NaOH 0.300 mol/dm3 กี่ cm3 ในการทาปฏิกิริยาพอดีกับ H2SO4
0.170 mol/dm3 ปริมาตร 0.500 mol/dm3 (Ent’มี.ค.42) (A240)

1. 85 2. 142 3. 283 4. 567

3. แบเรียมไฮดรอกไซด์ทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกดังสมการ

Ba(OH)2 (aq) + 2HCl (aq)  BaCl2 (aq) + 2H2O (l)

ถ้าสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์ 20 cm3 ทาปฏิกิริยาสะเทินด้วยกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.1 M


ปริมาตร 30 cm3 สารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นกี่โมลาร์ (Ent’41) (A241)

1. 0.300 2. 0.150 3. 0.100 4. 0.075

4. น้าส้มสายชูตัวอย่างมีกรดอะซีติกอยู่ร้อยละ 4.8 โดยมวล/ปริมาตร ในการไทเทรตน้าส้มสายชูกับ


สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ พบว่าน้าส้มสายชู 10 cm3 ทาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย NaOH 20
cm3 จงหาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH ในหน่วยร้อยละโดยมวล/ปริมาตร (Ent’ ต.ค.43) (A243)

1. 1.0 2. 1.6 3. 2.0 4. 2.4

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 28 | www.edu-deo.com

5. ยาแก้ปวดมีองค์ประกอบสาคัญ คือ แอสไพริน ซึ่งเป็นมอนอโปรติก มีสูตร HC9H7O4 ถ้านาตัวอย่าง


ยาแก้ปวดนี้มา 0.5 กรัม มาวิเคราะห์ โดยการไทเทรตด้วย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 พบว่าต้องใช้
NaOH 20.0 cm3 จงหาร้อยละของแอสไพรินในยานี้ (Ent’31) (A244)

6. สารละลาย NH3 ที่ต้องการหาความเข้มข้น ปริมาตร 25.0 cm3 เมื่อทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl


เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ที่มากเกินพอ ปริมาตร 40.0 cm3 พบว่า ปริมาณ HCl ที่เหลือทาปฏิกิริยาพอดี
กับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 20.0 cm3 ความเข้มข้นของสารละลาย NH3 มีค่า
กี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (A-Net’50) (A247)

1. 0.08 2. 0.12 3. 0.26 4. 0.35

7. ยาลดกรดชนิดหนึ่งมี MgCO3 และ Mg(OH)2 เป็นองค์ประกอบ โดยมี MgCO3 ร้อยละ 21 โดยมวล


ถ้านายาลดกรดชนิดนี้ 0.2 กรัม มาไทเทรตจนถึงจุดยุติด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm3
ปรากฏว่า ต้องใช้สารละลาย HCl ปริมาตร 25 cm3 จงหาร้อยละโดยมวลของ Mg(OH)2 ในยาลดกรด
(Ent’ ต.ค. 47) (A248)

1. 13 2. 29 3. 58 4. 70.5

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 29 | www.edu-deo.com

ข้อสอบชุด A ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย (Entrance)


ทฤษฎีกรด - เบส

1. จากปฏิกิริยาผันกลับต่อไปนี้

HCO3- (aq) + OH- (aq) CO32- (aq) + H2O (l)

สารคู่ใดจัดเป็นกรดตามทฤษฎีของเบรินสเตด (Bronsted) ทั้ง 2 สาร (Ent’20)

1. HCO3- และ CO32- 2. HCO3- และ H2O


3. OH- และ H2O 4. OH- และ CO32-

2. กรดซัลฟูริกทาปฏิกิริยากับกรดไพโรซัลฟูริก ดังสมการ

H2SO4 (aq) + H2S2O7 (aq) H3SO4+ (aq) + HS2O7- (aq)

โมเลกุลและไอออนคู่ใดในปฏิกิริยาที่ทาหน้าที่เป็นกรด (Ent’ต.ค.41)

1. H2SO4 และ H3SO4+ 2. H2SO4 และ H2S2O7


3. H2S2O7 และ HS2O7- 4. H2S2O7 และ H3SO4+

3. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ ปฏิกิริยาใดที่ HCO3- ไอออน ทาหน้าที่เป็นกรด (Ent’24)

1. HCO3- (aq) + H2O (l) H2CO3 (aq) + OH- (aq)


2. HCO3- (aq) + OH- (aq) H2O (l) + CO32-
3. HCO3- (aq) + HSO4- (aq) H2CO3 (aq) + SO42- (aq)
4. HCO3- (aq) + CH3COOH (aq) H2O (l) + CO2 (g) + CH3COO- (aq)

4. ในสมการต่อไปนี้ H2O ทาหน้าที่อะไรในสมการ (1) และ (2) ตามลาดับ (Ent’24)

HCl (g) + H2O (l) H3O+ (aq) + Cl- (aq) …..(1)


NH3 (g) + H2O (l) NH4+ (aq) + OH- (aq) ….. (2)

1. เป็นกรดทั้ง (1) และ (2) 2. เป็นเบสทั้ง (1) และ (2)


3. เป็นกรดใน (1) และเป็นเบสใน (2) 4. เป็นเบสใน (1) และเป็นกรดใน (2)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 30 | www.edu-deo.com

5. น้าในข้อใดต่อไปนี้มีสมบัติเป็นเบส ตามทฤษฎีกรด – เบส ของเบรินสเตด – ลาวรี (Ent’40)

1. CO32- (aq) + H2O (l) HCO3- (aq) + OH- (aq)


2. HClO4 (aq) + OH- (aq) ClO4- (aq) + H2O (l)
3. NH4+ (aq) + H2O (l) NH3 (aq) + H3O+ (aq)
4. HS- (aq) + OH- (aq) S2- (aq) + H2O (l)

6. พิจารณาปฏิกิรยิ าต่อไปนี้ แล้วเลือกคาตอบที่ ถูกที่สุด (Ent’25)

(1) HPO42- + OH- PO43- + H2O


(2) HPO42- + H2O H2PO4- + OH-

1. HPO42- ในสมการ (1) เป็นเบส แต่ HPO42- ในสมการ (2) เป็นกรด


2. HPO42- ในสมการ (1) เป็นกรด แต่ HPO42- ใน (2) เป็นเบส
3. HPO42- ในสมการ (1) และ (2) เป็นเบส
4. HPO42- ในสมการ (1) และ (2) เป็นกรด

7. เมื่อแอมโมเนียละลายน้าจะแตกตัวได้ตามสมการ (Ent’26)

NH3 + H2O NH4+ + OH-

ข้อความในข้อใด ถูกต้อง

1. NH3 และ NH4+ เป็นเบส 2. NH3 และ OH- เป็นเบส


3. H2O และ OH- เป็นเบส 4. NH4+ และ OH- เป็นเบส

8. โมเลกุลหรือไอออนที่ไม่สามารถทาหน้าที่เป็นกรดได้ คือ (Ent’18)

1. HSO4- 2. H2O 3. CH4 4. NH4+

9. สารหรือไอออนใดต่อไปนี้ ไม่สารมารถเป็นได้ทั้งกรดและเบส (Ent’19)

1. H2O 2. HC2O4- 3. HS- 4. NO3-

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 31 | www.edu-deo.com

10. ข้อใดที่ไอออนแต่ละชนิดในน้ามีสมบัติเป็นกรด (Ent’39)

1. NH4+ CO32- CH3COO- 2. H2PO4- HCO3- NO3-


3. NH4+ H2PO4- HCO3- 4. HS- H2PO4- CH3COO-

11. จากทฤษฎีเกี่ยวกับกรด – เบส ของอาร์เรเนียสและเบรินาเตด – ลาวรี สารกลุ่มใดที่จัดว่าเป็นเบส


ทุกตัว (Ent’29)

1. CO32- HPO42- Cl- NH4+ 2. Na+ Ca(OH)2 NO3- NH3


3. OH- HCO3- SO42- NH3 4. KOH H2PO4- H3O+ SO32-

12. ถ้าผสมสารละลาย A และสารละลาย B เข้าด้วยกัน A จะทาหน้าที่เป็นกรด B จะทาหน้าที่เป็นเบส A


และ B คือข้อใด (Ent’24)

1. CH3COOH , HCl 2. Ba(OH)2 , NaHCO3


3. KCl , CH3COONa 4. NaHCO3 , NH3

13. จากปฏิกิริยาต่อไปนี้

H2PO3- (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + HPO3- (aq)


HS- (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + S2- (aq)

ไอออนคู่ใดเป็นคู่กรด คู่เบส ซึ่งกันและกัน (Ent’28)

1. H2PO3- (aq) HPO32- (aq) 2. H2PO3- (aq) H3O+ (aq)


3. H3O+ (aq) S2- (aq) 4. SO32- (aq) HS- (aq)

14. ข้อใดเป็นคู่เบสของกรดต่อไปนี้ตามลาดับ (Ent’39)

HSO3- H2PO4- HCO3-

1. SO32- HPO42- CO32- 2. H2SO3 H2PO4- H2CO3


3. HSO3- HPO42- CO32- 4. SO32- HPO42- H2CO3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 32 | www.edu-deo.com

15. HPO42- (aq) + H2O (l) H3O+ (aq) + PO43- (aq) Ka = 4x10-13
HPO42- (aq) + H2O (l) OH- (aq) + H2PO4- (aq) Ka = 1x10-7

ข้อใดถูกต้อง (Ent’ต.ค.47)

1. คู่กรดของ HPO42- ในข้อ 1 คือ PO43-


2. คู่เบสของ HPO42- ในข้อ 2 คือ H2PO4-
3. สารละลายของ HPO42- มี pH อยู่ระหว่าง 4 – 5
4. สารละลายของ HPO42- มี [H3O+] < [OH-]

16. พิจารณาสมการต่อไปนี้

(1) HS- (aq) + OH- (aq) A (aq) + B (l)


Cu2+ (aq)
D (s)
- +
(2) HS (aq) + H3O (aq) C (g) + E (l)
Cu2+ (aq)
D (s) + F (g)

ข้อสรุปใด ผิด

1. HS- เป็นได้ทั้งกรดและเบส
2. สาร D คือ CuS
3. สาร B และสาร E ทาหน้าที่ต่างกัน
4. สาร B และสาร E เป็นสารต่างชนิดกัน แต่มีสถานะเหมือนกัน

17. สาร A B C และ D มีรูปร่างดังกาหนดในตาราง ข้อใดเป็นไปได้ (Ent’มี.ค.44)

สาร A B C D
รูปร่าง พีระมิดฐานสามเหลี่ยม มุมงอ สามเหลี่ยมแบน ทรงสี่หน้า
ราบ
1. คู่เบสของ H2S คู่กรดของ H2O คู่กรดของ PH3 คู่เบสของ NH4+
2. คู่กรดของ H2O คู่กรดของ HS- คู่เบสของ HNO3 คู่กรดของ NH3
3. คู่เบสของ HSO4- คู่เบสของ H2O คู่เบสของ HNO3 คู่กรดของ NH3
4. คู่เบสของ HCO3- คู่กรดของ HS- คู่กรดของ H2O คู่เบสของ NH4+

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 33 | www.edu-deo.com

18. จากปฏิกิริยา HNO2 + CN- HCN + NO2- ถ้าค่าคงที่สมดุล K = 1x106 สามารถสรุปได้ว่า


(Ent’29)

1. NO2- เป็นเบสแก่กว่า CN- 2. HCN เป็นเบสแก่กว่า HNO2


2. NO2- เป็นสารคู่กรดของ HNO2 4. HCN เป็นสารคู่กรดของ CN-

19. ในปฏิกิริยาที่อยู่ในภาวะสมดุล

HF (aq) + H2O (aq) H3O+ (aq) + F- (aq)

ถ้าทิศทางของสมดุลเกิดจากขวามาซ้าย จะสรุปได้อย่างไร (Ent’24)

1. HF เป็นกรดแก่ 2. F- เป็นเบสที่แก่กว่าน้า
3. ค่าคงที่สมดุลมากกว่า 1 4. ค่าคงที่สมดุลเท่ากับ 1 โดยประมาณ

20. ในปฏิกิริยาต่อไปนี้ HX (aq) + Y- (aq) HY (aq) + X- (aq) ถ้าค่า K ของปฏิกิริยา = 10-2


ข้อสรุปใด ถูกต้อง (Ent’36)

1. HX เป็นกรดที่แก่กว่า H3O+ 2. HY เป็นกรดแก่กว่า HX


3. Y- เป็นเบสแก่กว่า X- 4. K ของปฏิกิริยาย้อนกลับมีค่า = 0.1

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ในการตอบคาถามข้อ 21-22 (Ent’30)

21. 1. HCl + HCN H2CN+ + Cl-


2. HCN + H2O H3O+ + CN-
3. HClO4 + HCl H2Cl+ + ClO4-
4. H2O + NH3 NH4+ + OH-

ข้อความใด ถูกต้องที่สุด

1. สารละลายชุดที่ 2 , 3 จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้าเงินเป็นแดง
2. สารละลายชุดที่ 1 , 2 จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน
3. สารละลายชุดที่ 3 , 4 จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้าเงินเป็นแดง
4. สารละลายชุดที่ 1, 4 จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 34 | www.edu-deo.com

22. การเรียงลาดับความแรงของกรดจากมากไปน้อย ในข้อใด ถูกต้อง

1. H2O > HClO4 > HCl > HCN 2. HCl > HCN > HClO4 > H2O
3. HClO4 > HCl > HCN > H2O 4. HCl > HClO4 > HCN > H2O

23. ถ้ากรด H2Y มีค่าคงที่สมดุลเป็น Ka1 = 1.5x10-6 และ Ka2 = 1.5x10-12 ในสารละลายกรดนี้มีไอออน
ใดอยู่มากน้อยกว่ากัน ให้เรียงลาดับจากมากไปหาน้อย (Ent’41)

1. HY- , Y2- , H3O+ 2. Y2- , H3O+ , HY-


3. H3O+ , HY- , Y2- 4. H3O+ , Y2- , HY-

24. H3PO4 สามารถแตกตัวให้โปรตอนได้ 3 ขั้นตอน จากค่า Ka ต่อไปนี้ข้อสรุปใด ผิด (Ent’ต.ค.42)

H3PO4 H+ + H2PO4- : Ka1 = 7.5x10-3


H2PO4- H+ + HPO42- : Ka2 = 6.3x10-8
HPO42- H+ + PO43- : Ka3 = 4.0x10-13

1. H3PO4 เป็นกรดแก่กว่า H2PO4- และ HPO42- ตามลาดับ


2. สารละลาย H3PO4 จะมีปริมาณ H+ (หรือ H3O+) มากกว่าไอออนชนิดอื่นๆ
3. H2PO4- แสดงสมบัติเป็นทั้งกรดและเบส
4. H3PO4 และ H2PO4- เป็นคู่กรด – เบสกันเช่นเดียว H2PO4- กับ HPO42- ดังนั้น H3PO4 และ
HPO42- นับเป็นคู่กรด – เบสกันได้

25. ข้อใดที่สารทุกตัวเป็นกรดอ่อน (Ent’39)

1. HF HNO2 HCOOH HBr HCN 2. HCN HI H2S HF HCOOH


3. HI HF HCN HBr HNO2 4. HNO2 HF HNO2 HCOOH H2S

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 35 | www.edu-deo.com

ค่าคงที่ Ka , Kb , Kw

26. S กับ Se เป็นธาตุในหมู่เดียวกันในตารางธาตุ ค่า Ka ของ HSeO4- เขียนได้ว่าอย่างไร (Ent’21)


[ ] [ ] [ ][ ]
1. 2.
[ ] [ ]

[ ][ ] [ ] [ ]
3. 4.
[ ] [ ]

27. สมดุลของปฏิกิริยาใดที่แสดงว่าเป็น Ka ของ HS- ได้ (Ent’29)

1. HS- + OH- S2- + H2O 2. HS- + H2O H2S + OH-


3. HS- + H2O S2- + H3O+ 4. HS- + H3O+ H2S + H2O

28. กรด H2A , H2B , H2C มีค่า Ka เท่ากับ 1.03x10-17 , 1.3x10-4 และ 2.3x10-3 ตามลาดับ ข้อมูลใด
ถูกต้อง ในการทานายพลังงานพันธะของ H – A , H – B , H – C , และ Ka ของกรด H2D เมื่อ D เป็น
ธาตุที่หนักกว่า C ซึ่งอยู่ในหมู่เดียวกัน (Ent’36)

ตัวเลือก พลังงานพันธะ Ka ของ H2D


1. H–A<H–B<H–C 1x10-8
2. H–A<H–B<H–C 1x10-1
3. H–A>H–B>H–C 1x10-8
4. H–A>H–B>H–C 1x10-1

29. HA เป็นกรดอ่อนมีค่าคงที่สมดุลการแตกตัวเท่ากับ 1x10-4 สารละลาย HA 1 mol/dm3 จะแตกตัวได้


ร้อยละเท่าใด (Ent’มี.ค.42)

1. 1 2. 2 3. 4 4. 10

30. จงคานวณร้อยละการแตกตัวของกรดฟอร์มิก (HCOOH) ในสารละลาย HCOOH เข้มข้น 0.20


mol/dm3 (กาหนดค่าคงที่การแตกตัวของกรด = 1.8 x 10-4) (Ent’มี.ค.47)

31. เมื่อนากรด HCN ซึ่งมีค่า Ka = 4.9 x 10-10 มา 5.4 กรัม เติมน้ากลั่นจนได้สารละลายปริมาณ 2 ลิตร
อยากทราบว่ากรดนี้แตกตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์ (Ent’28)

1. 0.005 2. 0.007 3. 0.05 4. 0.07


© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 36 | www.edu-deo.com

32. กรดอ่อน HX มีค่าคงที่การแตกตัวเท่ากับ 2.5 x 10-6 สารละลายกรด HX จะต้องมีความเข้มข้นกี่โมล


ต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จึงจะทาให้ความเข้มข้นของ H3O+ เท่ากับ 2x10-3 mol/dm3 (Ent’ต.ค.44)

1. 0.8 2. 1.6 3. 2.0 x 10-3 4. 3.6 x 10-3

33. ละลายกรดฟอร์มิก (HCOOH) จานวนหนึ่งในน้า 5 ลิตร พบว่ามี H3O+ เข้มข้นเท่ากับ


5.0x10-3 mol/dm3 ถ้าค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เท่ากับ 2.0 x 10-4 สารละลายนี้มีกรดฟอร์มิกละลายอยู่กี่
กรัม (Ent’ต.ค.42)

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 34 – 35 กาหนดสารละลายของกรดให้ 4 ชนิด


แต่ละชนิดมีความเข้มข้นเท่ากัน คือ 0.1 mol/dm3

กรด ค่า Ka ที่ 25


HClO2 1.1 x 10-2
HF 6.8 x 10-4
CH3COOH 1.8 x 10-5
H2CO3 4.4 x 10-7

34. pH ของสารละลายกรดในข้อใดมีมากที่สุด

1. HClO2 2. H2CO3 3. HF 4. CH3COOH

35. ถ้าผ่านแก๊ส HCl ลงในสารละลาย CH3COOH 0.1 mol/dm3 นี้ จนความเข้มข้นของกรด HCl เป็น
0.3 mol/dm3 อยากทราบว่า จะมี [H3O+] เข้มข้นกี่ mol/dm3

1. 0.10 2. 0.20 3. 0.30 4. 0.40

36. ถ้าค่าคงที่สมดุลของเบสเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ที่ 25 เป็นดังแสดงในตาราง ลาดับความแรงของเบส


จากมากไปน้อยคือข้อใด (Ent’26)

สารละลายเบส ค่าคงที่สมดุล
A 1.79 x 10-5
B 9.00 x 10-7
C 7.00 x 10-7
D 1.50 x 10-14

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 37 | www.edu-deo.com

1. A , B , C , D 2. A , C , B , D 3. D , B , C , A 4. D , C , B , A

37. จากค่า Ka ของสารละลายที่ความเข้มข้น 1.0 mol/dm3 การเปรียบเทียบความเข้มข้นของ H3O+ และ


pH ของข้อใด ถูกต้อง (Ent’38)

สารละลาย Ka [H3O+] pH
HNO2 4.5 x 10-4 a e
HF 6.8 x 10-4 b x
HOCl 3.5 x 10-5 c y
HCN 4.9 x 10-10 d z

1. a = b และ e = x 2. b > c และ y < x


3. c > d และ y < z 4. b > d และ x > y

38. ค่าคงที่สมดุลของกรดต่างๆ เป็นดังนี้ (Ent’27)

กรด Ka
H2SO3 1.2 x 10-2
HNO2 5.1 x 10-4
HCN 4.8 x 10-10
H 2S 1.1 x 10-7

ข้อใด ถูกต้องที่สุด

1. เรียงลาดับความเป็นกรดเป็นดังนี้ H2SO3 < HNO2 < H2S < HCN


2. เรียงลาดับความเป็นเบสเป็นดังนี้ CN- < HS- < NO2- < HSO3-
3. สารละลายทั้ง 4 ชนิด เป็นสารละลายอิเล็กโทรไลต์แก่ ไม่นาไฟฟ้า
4. ถ้าสารละลายทั้ง 4 ชนิด มีความเข้มข้นเท่ากันสารละลาย H2SO3 นาไฟฟ้าได้ดีที่สุด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 38 | www.edu-deo.com

39. กรด A , B , C , D เป็นกรดโมโนโปรติก

สารละลาย ปริมาตร (cm3) ความเข้มข้น (mol/dm3) Ka


A 50 1.5 6 x 10-10
B 100 0.1 4 x 10-5
C 100 0.01 1 x 10-4
D 150 1.0 4 x 10-8

จากข้อมูลข้างต้น สารละลายใดมี pH ต่าที่สุด (Ent’34)

1. A 2. B 3. C 4. D

40. จากสารละลายต่อไปนื้ เบสชนิดใดเป็นเบสอ่อนที่สุด (Ent’39)

ตัวเลือก เบส ความเข้มข้น (mol/dm3) % การแตกตัว


1. AOH 0.1 5.0
2. BOH 0.5 1.0
3. COH 1.0 0.5
4. DOH 5.0 0.1

41. กาหนดให้ (Ent’38)

กรด ความเข้มข้น (mol/dm3) Ka1 Ka2


H 2C 2O 4 0.10 5.6 x 10-2 5.1 x 10-5
H2SO3 0.10 1.3 x 10-2 6.8 x 10-8
H2CO3 0.10 4.4 x 10-7 5.0 x 10-11
H 2S 0.10 1.1 x 10-7 1.3 x 10-13

ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูกต้อง

1. HSO3- เป็นคู่เบสของ SO32- แต่เป็นคู่กรดของ H2SO3


2. ลาดับความแรงในการรับโปรตอนเรียงจากมากไปน้อย คือ HCO3- > HS- > HSO3- > HC2O4-
3. ปริมาณโมเลกุลของกรดในสารละลายเรียงจากมากไปน้อย คือ H2S > H2CO3 > H2SO3 >
H2C2O4
4. ลาดับ pH ของสารเรียงจากมากไปน้อย คือ H2C2O4 > H2SO3 > H2CO3 > H2S
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 39 | www.edu-deo.com

42.กาหนดให้

A (C2H5)2NH + H2O (C2H5)2NH2+ + OH- Kb = 6.9 x 10-4


B C2H5NH2 + H2O C2H5NH3+ + OH- Kb = 4.5 x 10-4
C (CH3)2NH + H2O (CH3)2NH2+ + OH- Kb = 5.4 x 10-4

ถ้าสารละลายทั้งสามมีความเข้มข้นเริ่มต้นเท่ากัน และเมื่อถึงภาวะสมดุลที่อุณหภูมิเดียวกัน ข้อใดถูก


(Ent’34)

ตัวเลือก การเปรียบเทียบ 1 การเปรียบเทียบ 2


1. [(C2H5)2NH] < [(CH3)2NH] pH B > pH C
2. [C2H5NH2] > [(C2H5)2NH] [H3O+] B > [H3O+] C
3. [(CH3)2NH] < [(C2H5)2NH] [OH-] A > [OH-] B
4. [(C2H5)2NH] > [C2H5NH2] pH B < pH A

43. คาชีแ้ จง กาหนดค่าคงที่สมดุลของสารต่างๆ ดังนี้

1. HCOOH Ka = 1.76 x 10-4 2. C6H5COOH Ka = 6.46 x 10-5


3. CH3NH2 Kb = 3.70 x 10-4 4. NH4OH Kb = 1.77 x 10-5

ข้อความใดต่อไปนี้ ข้อใด ถูกต้อง (Ent’37)

1. เมื่อทุกสารละลายมีความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย 1 จะมี pH ต่าสุด สารละลาย 4 มี pH


สูงสุด
2. C6H5COOH เป็นกรดที่อ่อนกว่า HCOOH และ NH4OH เป็นเบสที่แก่กว่า CH3NH2
3. สารละลาย 4 เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นแดง ขณะที่สารละลาย 3 ไม่เปลี่ยนสี
กระดาษลิตมัสสีน้าเงิน
4. หลังจากผสมสารละลาย 1 กับ 3 ด้วยความเข้มข้นและปริมาตรเท่ากัน สารละลายผสม
สามารถ
เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีแดงเป็นน้าเงิน

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 40 | www.edu-deo.com

44. กาหนดค่าคงที่สมดุลของการแตกตัวของกรดและเบสดังนี้

1. HNO2 Ka = 4.5 x 10-4 2. C6H5COOH Ka = 6.5 x 10-5


3. NH(CH3)2 Kb = 7.4 x 10-4 4. N2H4 Kb = 9.8 x 10-7

สาหรับสารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ข้อใดถูก (Ent’ต.ค.46)

1. สารละลาย 4 จะมี pH มากที่สุด


2. การแตกตัวของสารละลาย 1 มากกว่าสารละลาย 2 ประมาณ 10 เท่า
3. สารละลาย 3 และสารละลาย 4 จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากสีน้าเงินเป็นสีแดง
4. สารละลาย 1 ผสมกับสารละลาย 4 ในปริมาตรที่เท่ากัน สารละลายที่เกิดจากการผสมจะมี
pH < 7

45. เมื่อกรดแอซีติกละลายน้า จะแตกตัวเป็นไฮโดรเนียมไอออนและแอซีติกไอออน เขียนสมการได้ดังนี้

CH3COOH + H2O H3O+ + CH3COO-

ค่า Ka ที่ 25 เท่ากับ 1.8 x 10-5 ; ค่า Kb ของคู่เบสของกรดแอซีติกมีค่าเท่าใด

1. x 10-9 2. 1.8 x 3. 1.8 x 10-9 4. 1.8 x 10-5

การคานวณค่า pH , pOH , [H+] , [OH-] , H+ , OH – ของกรด – เบส

46. สารละลายกรดชนิดหนึ่งมี pH เท่ากับ 5 ข้อใดที่แสดง [H3O+] เป็น mol/dm3 ที่ถูกต้อง (Ent’29)

1. [ ] 2. [ ]
3. 4. [ ]
[ ]

47. พิจารณาสารละลายที่ 25 ในตารางต่อไปนี้

[H+] mol/dm3 [OH-] mol/dm3 ความเป็นกรด – เบส


5.0 x 10-7 (a) (b)
4.0 x 10-10 (c) เบส
(d) 5.0 x 10-9 กรด

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 41 | www.edu-deo.com

a , b , c และ d ควรเป็นดังข้อใด (Ent’มี.ค.42)

(a) (b) (c) (d)


1. 2.0 x 10-7 กรด > 2.0 x 10-4 < 2.0 x 10-6
2. 2.0 x 10-8 กรด 2.5 x 10-5 2.0 x 10-6
3. 2.0 x 10-6 เบส 2.0 x 10-5 2.0 x 10-5
4. 2.0 x 10-7 กรด 2.0 x 10-4 2.0 x 10-5

48. สารละลายชนิดหนึ่งมีความเข้มข้นของไฮดรอกไซด์ไอออน 1.0 x 10-6 mol/dm3 สารละลายนี้มี pH


เท่ากับเท่าไร (Ent’39)

1. 6 2. 8 3. 10 4. 12

49. สารละลาย A และ B มีค่า pH เท่กับ 3 และ 6 ตามลาดับ อัตราส่วนความเข้มข้นของ OH- ไอออนใน
สารละลาย A ต่อความเข้มข้นของ OH- ในสารละลาย B เป็นเท่าใด (Ent’28)

1. 1 : 2 2. log3 : log6 3. 1000 : 1 4. 1 : 1000

50. ถ้าต้องการเปลี่ยน pH ของสารละลาย HCl จาก pH 3 เป็น pH 2 จะต้องเติมแก๊ส HCl ลงไปอีกกี่


โมลในสารละลายที่มีปริมาตร 1dm3 (Ent’32)

1. 1 2. 0.01 3. 0.09 4. 0.009

51. สารละลายของแอมโมเนียเข้มข้น 0.10 mol/dm3 มี pH เท่ากับ 11 แสดงว่า (Ent’20)

1. pOH เท่ากับ 3 2. OH- มีความเข้มข้นเท่ากับ 10-11 mol/dm3


3. H+ มีความเข้มข้นเท่ากับ 10-3 mol/dm3 4. Ka ของ NH4+ เท่ากับ 1 x 10-5

52. ข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดถูกต้องที่สุด (กาหนด log 2 = 0.301) (Ent’22)

1. สารละลายที่มีความเข้มข้นของ H3O+ ไอออนน้อยกว่า 1.0 x 10-8 mol/dm3 มีค่า pH น้อย


กว่า 8
2. pH ของสารละลายมีค่าเป็นบวกเสมอ
3. pH ของสารละลายกรด HCl เข้มข้น 2 mol/dm3 มีค่าเท่ากับ 0.301
4. pH ของสารละลาย NaOH เข้มข้น 2 mol/dm3 มีค่าเท่ากับ 14.301
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 42 | www.edu-deo.com

53. จงคานวณความเข้มข้นของ OH- ไอออน เป็น mol/dm3 ในสารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.1 mol/dm3
(Ent’21)

1. 1.0 x 10-1 2. 1.0 x 10-8 3. 1.0 x 10-13 4. 1.0 x 10-14

54. จงคานวณหาปริมาณ OH- ในสารละลายกรดแก่โมโนโปรติกเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 25 cm3

1. 1.0 x 10-13 mol 2. 1.0 x 10-8 mol 3. 1.0 x 10-15 mol 4. 1.0 x 10-14 mol

55. จงคานวณหาปริมาณ OH- ในสารละลายกรดแก่โมโนโปรติก เข้มข้น 0.02 mol/dm3 ปริมาตร 20


cm3 (Ent’30)

1. 0.5 x 10-12 mol 2. 2.5 x 10-13 mol 3. 1.0 x 10-14 mol 4. 2.0 x 10-15 mol

56. ในน้าปูนใส Ca(OH)2 ละลายอยู่ 5.10 x 10-2 g/100 cm3 ถ้า Ca(OH)2 เป็นเบสแก่ ความเข้มข้นของ
OH- ในสารละลายเป็นเท่าใด (Ent’31)

1. 0.138 2. 8.95 x 10-2 3. 1.38 x 10-2 4. 6.89 x 10-3

57. ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 1.0 mol/dm3 จานวน 2 cm3 ลงในน้า 200 cm3 สารละลายใหม่
ที่ได้จะมี pH เท่าใด (Ent’21)

1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

58. เมื่อนาสารละลาย HCl ที่มี pH = 4 ปริมาตร 400 cm3 ผสมกับสารละลาย HNO3 ที่มี pH = 2
ปริมาตร 100 cm3 สารละลายที่ได้มีค่า pH เท่าใด (กาหนด log2 = 0.301 , log3 = 0.477) (A-Net’50)

1. 2.3 2. 2.7 3. 3.0 4. 3.3

59. เมื่อนาสารละลายที่มี pH = 5 จานวน 10 cm3 มาผสมน้าให้ได้ 100 cm3 จะได้สารละลายที่มี pH


เท่าใด

1. 10 2. 6 3. 4 4. 1

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 43 | www.edu-deo.com

60. ข้อใดเป็นการเตรียมสารละลาย HCl pH เท่ากับ 3 จานวน 1 dm3 (Ent’28)

1. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 1 มา 10 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร


2. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 1 มา 100 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
3. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 2 มา 10 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร
4. นาสารละลาย HCl ที่มีค่า pH เท่ากับ 2 มา 50 cm3 เติมน้าจนได้สารละลาย 1 ลิตร

61. ในการเตรียมสารละลาย pH เท่ากับ 13 ข้อใด ถูกต้อง (Ent’39)

1. นาสารละลาย KOH เข้มข้น 0.01 mol/dm3 จานวน 10 cm3 แล้วเจือจางด้วยน้ากลั่นจนมี


ปริมาตร 100 cm3
2. นาสารละลาย KOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 จานวน 10 cm3 แล้วเจือจางด้วยน้ากลั่นจนมี
ปริมาตร 100 cm3
3. ชั่ง NaOH หนัก 4 กรัม ละลายน้ากลั่นจนมีปริมาตร 100 cm3
4. ชั่ง NaOH หนัก 4 กรัม ละลายน้ากลั่นจนมีปริมาตร 100 cm3

62. ค่า pH เป็นเท่าใด ในสารละลายที่มี HClO4 1.0 x 10-7 mol ในน้าบริสุทธิ์ 1 dm3 (Ent’23)

1. น้อยกว่า 6.0 2. ประมาณ 6.7 3. เท่ากับ 7.0 4. มากกว่า 7.0

63. สารละลายใดมีความเป็นกรดมากที่สุด (Ent’18)

1. สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 10-5 mol/dm3


2. สารละลายที่มีไฮโดรเนียมไอออน 10-2 mol/dm3
3. สารละลาย pH = 3
4. สารละลาย pH = 4

64. pH ของสารละลาย HNO3 เข้มข้น 1 x 10-4 mol/dm3 pH ของสารละลายในข้อใด (Ent’26)

1. สารละลาย CH3COOH เข้มข้น 1.0 x 10-4 mol/dm3 Ka เท่ากับ 1.6 x 10-8


2. สารละลาย H2SO4 เข้มข้น 1 x 10-4 mol/dm3 H2SO4 แตกตัว 100%
3. สารละลาย HNO3 เข้ทข้น 0.5 x 10-4 mol/250 cm3 HNO3 แตกตัว 100%
4. สารละลาย HCl 1เข้มข้น 0.5 x 10-4 mol/500 cm3 HCl แตกตัว 100%

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 44 | www.edu-deo.com

65. ถ้า X เป็นอะตอมของ S , Se และ Te ซึ่งเป็นธาตุในหมุ่เดียวกัน เมื่อสารประกอบ H2X ละลายน้าจะ


แตกตัวดังนี้

H2S + H2O H3O+ + HS- pKa = 7.04


H2Se + H2O H3O+ + HSe- pKa = 4.0
H0Te + H2O H3O+ + HTe- pKa = 3.0

พิจารณา X = S , Se และ Te ตามลาดับ ข้อสรุปใด ถูกต้อง (Ent’ต.ค.46)

1. ความเป็นกรดของ H2X ลดลงในขณะที่พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ของ X ลดลง


2. ความเป็นกรดของ H2X เพิ่มขึ้นในขณะที่พลังงานไอออไนเซชันลาดับที่ 1 ของ X ลดลง
3. ความเป็นกรดของ H2X เพิ่มขึ้นในขณะที่ความเป็นโลหะของ X ลดลง
4. ความเป็นกรดของ H2X ลดลงในขณะที่ความเป็นโลหะของ X เพิ่มขึ้น

66. สารละลาย HCN เข้มข้น 2.5 x 10-1 mol/dm3 มี pH เท่าใด (K = 4x10-10) (Ent’18)

1. 2 x 10-5 2. 2.0 3. 4.7 4. 5.0

67. นักเรียนคนหนึ่ง เตรียมสารละลายแอมโมเนียเข้มข้น 0.01 mol/dm3 จากการทดลองวัดการลดจุด


เยือกแข็งของแอมโมเนีย พบว่า แอมโมเนียมีเปอร์เซ็นต์การแตกตัวเป็นไอออน 4.2% จงคานวณ [H3O+]
ของสารละลายเป็น mol/dm3 (Ent’22)

1. 2.38 x 10-11 2. 2.38 x 10-10 3. 2.38 x 10-9 4. 4.2 x 10-4

68. จงหา pH ของสารละลายซึ่งประกอบด้วย Urea (NH2-CO-NH2) 36 เปอร์เซ็นต์ โดยน้าหนัก/


ปริมาตร กาหนดให้ kb = 1.5 x 10-14 (Ent’37)

69. กรด HA มีค่า ka = 10-8 ความเข้มข้นร้อยละ 30 โดยมวลต่อปริมาตร เมื่อนามา 20 cm3 ละลายน้า


ได้สารละลาย 100 cm3 สารละลายนี้มี pH = 4 จงหามวลโมเลกุลของกรดนี้ (Ent’40)

70. เมื่อนาสารละลายอิ่มตัวโซเดียมคลอไรด์ จานวน 4dm3 มาแยกด้วยไฟฟ้าเกิดแก๊สขึ้นที่แอโนด


0.448 dm3 ที่ STP จงหาค่า pH ของสารละลายขณะนั้น (Ent’37)

กาหนดให้ 2H2O (l) + 2e-  2OH- (aq)

2Cl- (aq)  Cl2 (g) + 2e-

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 45 | www.edu-deo.com

71. จากข้อมูลที่กาหนดให้

กรด Ka
HCN 5 x 10-10
CH3COOH 2 x 10-5
HNO2 5 x 10-4

ข้อใดถูกต้อง (Ent’มี.ค.48)

1. ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย HNO2 จะมี pH มากที่สุด


2. ที่ความเข้มข้นเท่ากัน สารละลาย NaCN จะมี pH มากกว่าสารละลาย CH3COONa
3. สารละลาย HNO2 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 10 cm3 มี pH 6.5
4. ร้อยละการแตกตัวของ HNO2 ความเข้มข้น 0.01 mol/dm3 น้อยกว่า CH3COOH ความ
เข้มข้น
0.1 mol/dm3

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบคาถามข้อ 72-73 (Ent’20)

กาหนดสารละลายของกรดให้ 4 ชนิด แต่ละชนิดมีความเข้มข้นเท่ากัน คือ 10-2 mol/dm3 และให้


สารละลายของเกลือ 4 ชนิด แต่ละชนิดมีความเข้มข้นเท่ากัน คือ 10-2 mol/dm3

กรด ค่า Ka ที่ 25 เกลือ


HClO2 1.1 x 10-2 NaClO2
HF 6.8 x 10-4 NaF
CH3COOH 1.8 x 10-5 CH3COONa
HCN 4.8 x 10-10 NaCN

72. สารละลายกรดใดมีความเป็นกรดน้อยที่สุด

1. HClO2 2. HF 3. CH3COONa 4. HCN

73. สารละลายกรด HF มีค่า pH ใกล้เคียงค่าใดมากที่สุด

1. 5.7 2. 4.7 3. 3.7 4. 2.7

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 46 | www.edu-deo.com

คาชี้แจง ตารางค่าคงที่ของสมดุลของกรดต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 74-75 (Ent’25)

กรด ค่า Ka ที่ 25


CH3COOH 1.8 x 10-5
HNO2 5.0 x 10-4
HF 6.8 x 10-4
H2CO3 4.4 x 10-7
74. การเรียงลาดับกรดที่มีค่า pH จากต่าไปสูงเป็นดังข้อใด

1. CH3COOH , HNO2 , HF , H2CO3 2. H2CO3 , HF , HNO2 , CH3COOH


3. HF , HNO2 , CH3COOH , H2CO3 4. HF , CH3COOH , H2CO3 , HNO2

75. สารละลาย HNO2 0.2 mol/dm3 20 cm3 จะมีค่า pH แตกต่างจากสารละลาย CH3COOH 0.056
mol/dm3 10 cm3 อยู่เท่าใด

1. 0.25 2. 0.56 3. 1.00 4. 2.00

76. สารละลายกรดอ่อน 2 ชนิด HA และ HB มีค่า Ka = 1 x 10-5 และ 1 x 10-8 ตามลาดับ ถ้านา
สารละลายกรด HA และ HB ที่มีความเข้มข้นเท่ากันและปริมาตรเท่ากันมาวัด pH สารละลายทั้งสองมี
pH ต่างกันเท่าใด (Ent’ต.ค.45)

77. กาหนดให้

สารละลาย องค์ประกอบ ความเข้มข้น (mol/dm3)


a HA 0.01
b HA 0.001
c XOH 0.001

สารละลาย a มี pH 4 สารละลาย a และ c มีร้อยละการแตกตัวเท่ากัน

พิจารณาข้อความต่อไปนี้

ก. สารละลาย c มี pH เท่ากับ 0 ข. สารละลาย a แตกตัวได้รอ้ ยละ 1


ค. Ka ของ HA เท่ากับ Kb ของ XOH ง. Ka ของ HA มีค่าประมาณ 10-6
จ. สารละลาย b แตกตัวได้ประมาณ 3.2% ฉ. สารละลาย b มี pH เท่ากับ 5

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 47 | www.edu-deo.com

ข้อใด ถูกต้อง (Ent’35)

1. ก , ข และ ค 2. ข , ง และ จ 3. ค , จ และ ฉ 4. ง , จ และ ฉ

78. สารละลายกรดชนิดหนึ่งมีความเข้มข้น 0.01 mol/dm3 pH ของสารละลายเท่ากับ 3 กรดนี้แตกตัว


ร้อยละเท่าใด (กรดนี้เป็นกรดโมโนโปรติก) (Ent’40)

1. 0.001 2. 0.1 3. 1 4. 10

79. สารละลายเบสชนิดหนึ่ง มีความเข้มข้น 0.05 mol/dm3 และมี pH = 12 เบสนี้แตกตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์


(Ent’29)

1. 10 2. 15 3. 20 4. 25

80. สารละลาย AOH เข้มข้น 0.01 mol/dm3 มี pH เท่ากับ 11 สารละลายนี้มีการแตกตัวร้อยละเท่าใด


(Ent’32)

1. 1 2. 2 3. 5 4. 10

81. จากการวัดค่าการนาไฟฟ้าของสารละลายกรด HA เข้มข้น 1.0 mol/dm3 ปริมาณ 5.0 cm3 พบว่า


กรดนี้แตกตัวได้ 0.1% ค่า pH และค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เป็นเท่าใด ตามลาดับ (Ent’30)

1. 1 , 1 x 10-6 2. 3 , 1 x 10-6 3. 1 , 2.5 x 10-6 4. 3 , 2.5 x 10-6

82. สารละลายเบสอ่อนเข้มข้น 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 250 cm3 แตกตัวร้อยละ 0.01 จะมี pH และ
ค่าคงที่สมดุลของเบสอ่อนเท่าใด (Ent’36)

1. 10 , 5x10-9 2. 10 , 2x10-8 3. 12 , 5x10-5 4. 12 , 2x10-6

83. สารละลายเบสอ่อนชนิดหนึ่งเข้มข้น 0.10 mol/dm3 มี pH เท่ากับ 9.0 ค่าคงที่สมดุลของเบสอ่อนนี้มี


ค่าเท่าใด

1. 10-9 2. 10-17 3. 10-10 4. 10-18

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 48 | www.edu-deo.com

84. สารละลายกรด HA ความเข้มข้น 1x10-3 mol/dm3 ปริมาตร 10 cm3 ร้อยละการแตกตัวของกรด


เท่ากับ 10 สารละลายนี้มี pH เท่าใด และมีค่า Ka โดยประมาณเท่าใด (Ent’ต.ค.43)

ตัวเลือก pH Ka (ประมาณ)
1. 3 1.0x10-3
2. 4 1.0x10-5
3. 5 1.0x10-4
4. 6 1.0x10-5

85. กรดอ่อน HA ปริมาตร 100 cm3 วัดค่า pH ได้เท่ากับ 4 ค่าคงที่สมดุลของกรดนี้เท่ากับ 1.0 x 10-7
ความเข้มข้นของกรดและร้อยละการแตกตัวเป็นไปตามข้อใด (Ent’38)

ตัวเลือก ความเข้มข้น mol/dm3 ร้อยละการแตกตัว


1. 0.1 0.1
2. 1.0 1.0
3. 1.0 0.1
4. 0.1 1.0

86. สารละลายอิ่มตัวของฟีนอล (C6H6O) มีค่า pH เท่ากับ 5 ความสามารถของการละลายของฟีนอล


เท่ากับ เท่าใด (ตอบเป็น g/100 cm3) : (กาหนดค่า Ka ของฟีนอลเท่ากับ 2x10-10) (Ent’ต.ค.41)

87. HA และ HB เป็นกรดแก่มีมวลโมเลกุล 150 และ 80 ตามลาดับ ถ้าละลาย HA 12 กรัม ในน้า 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร สารละลายที่ได้จะมี pH เป็นอย่างไรเมื่อเทียบกับการละลาย HB 4 กรัม ในน้า 25
ลูกบาศก์เซนติเมตร (Ent’35)

1. สารละลาย HA มี pH สูงกว่า 2. สารละลาย HA มี pH ต่ากว่า


3. สารละลายทั้งสองมี pH เท่ากัน 4. ยังสรุปไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ

88. AOH และ BOH เป็นเบสแก่ มีมวลโมเลกุล 90 และ 180 ตามลาดับ ถ้านา AOH 7.2 กรัม มาละลาย
น้า 100 cm3 และนา BOH 3.6 กรัม มาละลายน้า 50 cm3 จงเปรียบเทียบ pH ของสารละลายทั้งสอง
(Ent’มี.ค.42)

1. สารละลาย AOH มี pH สูงกว่า BOH 2. สารละลาย BOH มี pH สูงกว่า AOH


3. สารละลายทั้งสองมี pH เท่ากัน 4. สรุปไม่ได้เนื่องจากข้อมูลไม่เพียงพอ
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 49 | www.edu-deo.com

89. สารละลายในข้อใดมี pH สูงสุด

1. HCl 0.1 mol/dm3


2. NaOH 0.4g/100 cm3
3. HCl 0.1 mol/dm3 50 cm3 + NaCl 0.4 g/100 cm3
4. NH3 1 mol/dm3 , Kb = 1.8 x 10-5

90. 1. สารละลายเบสอ่อน XOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 แตกตัวได้ 0.020%


2. เบสแก่ YOH 0.0029 กรัม ในสารละลาย 5.0 dm3 (มวลโมเลกุลของ YOH = 58)
3. สารละลายเบสอ่อน ZOH เข้มข้น 0.25 mol/dm3 มีค่า Kb = 1.6 x 10-7

การเปรียบเทียบค่า pH ข้อใด ถูกต้อง (Ent’ต.ค.47)

1. 3 > 1 > 2 2. 1 > 3 > 2 3. 2 > 1 > 3 4. 2 > 3 > 1

91. pH ของสารละลายในข้อใดมีค่าต่าที่สุด (Ent’39)

1. HCl เข้มข้น 1x10-3 mol/dm3


2. CH3COOH เข้มข้น 0.18 mol/dm3 , Ka ของ CH3COOH = 1.8 x 10-5
3. HCOOH เข้มข้น 5 mol/dm3 , Ka ของ HCOOH = 1.8 x 10-4
4. C6H5COOH เข้มข้น 0.65 mol/dm3 , Ka ของ C6H5COOH = 6.5 x 10-5

92. กรดอ่อนชนิดหนึ่งเข้มข้น 1.0 mol/dm3 แตกตัวได้ 10 เปอร์เซ็นต์ กรดเดียวกันนี้ เมื่อเข้มข้น 0.10


mol/dm3 จะแตกตัวได้กี่เปอร์เซ็นต์ (Ent’20)

1. มากกว่า 10% 2. น้อยกว่า 10% 3. เท่ากับ 10% 4. เท่ากับ100%

93. สารละลายกรด HA เข้มข้น 0.1 mol.dm-3 แตกตัว 17 เปอร์เซ็นต์ ถ้า HA แตกตัว 12 เปอร์เซ็นต์ จง
หาความเข้มข้นของ HA ในหน่วยโมเลกุลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (Ent’ต.ค.45)

1. 0.07 2. 0.14 3. 0.21 4. 0.50

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 50 | www.edu-deo.com

94. ที่อุณหภูมิ 25 กรด H2B มีค่าคงที่ของกรดสองค่าคือ Ka1 = 6.7x10-5 และ Ka2 = 4.8x10-26 และ
สารละลายกรด HA 0.1 mol/dm3 มีค่า pH = 3 จากข้อมูลที่กาหนดให้ ข้อใดเป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
(Ent’28)

1. H2B มีความแรงของกรดมากกว่า HA
2. H2B มีความแรงของกรดเท่ากับ HA
3. H2B มีความแรงของกรดน้อยกว่า HA
4. ข้อมูลที่กาหนดให้ไม่เพียงพอที่จะเปรียบเทียบความแรงของกรดทั้งสอง

การคานวณค่า pH , pOH , [H+] , [OH-] , H+ , OH – เมื่อผสมกรด – เบส

95. ถ้านาสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ A และ B


ใบละ 40 cm3 แล้วเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเข้มข้น 1.0 mol/dm3 จานวน 10 cm3 ลงในบีกเกอร์
A ส่วนในบีกเกอร์ B นาไปเคี่ยวให้สารละลายมีปริมาตรลดลงเหลือ 30 cm3 ข้อความใดถูกต้อง (Ent’26)

1. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ A มากกว่าบีกเกอร์ B
2. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ A น้อยกว่าบีกเกอร์ B
3. ความเข้มข้นของเบสในบีกเกอร์ A มากกว่าบีกเกอร์ B
4. ความเข้มข้นของเบสในบีกเกอร์ A และบีกเกอร์ B เท่ากัน

96. ถ้ารินสารละลายกรดแก่ HA 1.0 mol/dm3 ลงในบีกเกอร์ 2 ใบ M และ N ใบละ 40 cm3 และเติม


สารละลายเบสแก่ BOH เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จานวน 10 cm3 ลงในบีกเกอร์ M ส่วนในบีกเกอร์ N
นาไปเคี่ยวให้สารละลายมีปริมาตรลดลงเหลือ 20 cm3 ข้อความใดถูกต้อง (Ent’30)

1. ความเข้มข้นของกรดในบีกเกอร์ M และ N เท่ากัน


2. ความเข้มข้นของกรดในบีกเกอร์ M มากกว่าในบีกเกอร์ N
3. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ M มากกว่าในบีกเกอร์ N
4. pH ของสารละลายในบีกเกอร์ M น้อยกว่าในบีกเกอร์ N

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 51 | www.edu-deo.com

97. การเติมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.50 mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 ลงในสารละลายใดต่อไปนี้ แล้ว
ทาให้สาระลายมี pH เพิ่มขึ้น (Ent’มี.ค.46)

1. NH4Cl 1 mol/dm3 10 cm3


2. NaOH 0.1 mol/dm3 100 cm3
3. CH3COOH 1 mol/dm3 50 cm3
4. น้า 1,000 cm3

1. สารละลาย 1 และ 2 2. สารละลาย 2 และ 3


3. สารละลาย 3 และ 4 4. สารละลาย 2 และ 4

98. ใส่ NaOH 320 มิลลิกรัม ลงในสารละลาย 0.2 mol/dm3 H2SO4 50 cm3 สารละลายที่ได้มีสมบัติ
อย่างไร

1. เป็นสารละลายสะเทิน 2. เป็นสารละลายกรด
3. เป็นสารละลายเบส 4. นาไปเคี่ยวจนแห้งเหลือผงเกลือโซเดียมซัลเฟต

99. เมื่อนาสารละลาย H2SO4 0.5 mol/dm3 30 cm3 กับสารละลาย NaOH 1.0 mol/dm3 20 cm3 เข้า
ด้วยกัน หลังจากคนให้เข้ากันอย่างทั่วถึงแล้ว จะมีสารใดเหลือคิดเป็นความเข้มข้นกี่ mol/dm3 (Ent’26)

1. H2SO4 เหลือ เข้มข้น 0.01 mol/dm3 2. NaOH เหลือ เข้มข้น 0.01 mol/dm3
3. H2SO4 เหลือ เข้มข้น 0.05 mol/dm3 4. NaOH เหลือ เข้มข้น 0.05 mol/dm3

100. เมื่อผสมสารละลาย HCl 0.2 mol/dm3 จานวน 30 cm3 กับสารละลาย NaOH 0.05 mol/dm3
จานวน 20 cm3 เข้าด้วยกัน สารละลายที่ได้มี pH เท่าใด (Ent’24)

1. 5 2. 3 3. 2 4. 1

101. เมื่อนาสารละลาย KOH 0.01 mol/dm3 จานวน 50 cm3 มาผสมกับสารละลาย HCl 0.02 mol/dm3
จานวน 100 cm3 จะได้สารละลายที่มีค่า pH เท่าใด (Ent’28)

1. 1 2. 5 3. 2 4. 3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 52 | www.edu-deo.com

102. ถ้าผสมสารละลาย NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 25 cm3 กับสารละลาย HCl เข้มข้น 0.15
mol/dm3 ปริมาตร 100 cm3 ค่า pH ของสารละลายเป็นเท่าใด

103. ผสม NaOH 0.1 mol/dm3 200 cm3 กับ HCl 0.2 mol/dm3 300 cm3 pH ของสารละลายนี้เป็น
เท่าใด (Ent’33)

104. เมื่อผสม NaOH เข้มข้น 1.0 mol/dm3 จานวน 30.00 cm3 กับสารละลาย H2SO4 เข้มข้น 2.0
mol/dm3จานวน 100 cm3 จะได้สารละลายที่มี H3O+ เข้มข้นกี่โมลต่อลิตร (Ent’34)

105. จงหา pH ของสารละลายที่เกิดจากการผสมสารละลาย 2.00 mol/dm3 NaOH จานวน 25.00 cm3


ด้วยสารละลาย 0.30 mol/dm3 HCl จานวน 175 cm3 [กาหนด log(1.25) = 0.10] (Ent’39)

106. สารละลาย HCl เข้มข้น 0.25 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 ทาปฏิกิริยากับสารละลาย NaOH เข้มข้น
0.200 mol/dm3 ปริมาตร 30 cm3 เมื่อเกิดปฏิกิริยาอย่างสมบูรณ์แล้วสารละลายที่ได้จะมีค่า pH อยู่
ในช่วงใด (Ent’ค.ต.46)

1. 3 – 4 2. 7 3. 9 – 10 4. 11 – 12

107. นาสารละลายกรดแก่ pH = 3 ปริมาตร 10 cm3 มาผสมน้าจนกระทั่งมีปริมาตรเป็น 890 cm3 แล้ว


เติมเบสแก่ที่มี pH = 10 จานวน 10 cm3 ลงไปจะได้สารละลายที่มีค่าเท่าใด (Ent’27)

1. 4 2. 5 3. 6 4. 7

108. สมมติว่าหลอดหยดอันหนึ่งมีจานวนหยด 20 หยดต่อ 1 cm3 ถ้าหยดสารละลาย HCl เข้มข้น 0.4


mol/dm3 สองหยดในน้า 200 cm3 ในภาชนะ A แล้วหยดสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.2 mol/dm3 สอง
หยดลงในภาชนะ A คนให้เข้ากัน ความเข้มข้น H+ ไอออนในภาชนะ A มีค่าเท่าใด (Ent’21)

1. 2x10-5 mol/dm3 2. 1x10-4 mol/dm3 3. 2x10-4 mol/dm3 4. 1x10-3 mol/dm3

109. นา Ca(OH)2 หนัก 1.48 กรัม ผสมกับสารละลาย HCl 0.02 mol/dm3 ปริมาตร 1 dm3
เกิดปฏิกิริยาดังสมการต่อไปนี้

Ca(OH)2 + HCl  CaCl2 + H2O (สมการยังไม่ได้ดุล)

เมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุด สารละลายมี pH เท่าใด (Ent’40) ; (กาหนดให้ log2 = 0. 3010)

1. 1.7 2. 7.0 3. 12.3 4. 13.7

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 53 | www.edu-deo.com

110. จะเติมสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ลงไปเท่าใดในสารละลาย HNO3 เข้มข้น 0.1
mol/dm3 จานวน 25 cm3 เพื่อให้สารละลายมี pH 3 พอดี (Ent’29)

1. 24.00 cm3 2. 24.25 cm3 3. 24.50 cm3 4. 24.75 cm3

111. เมื่อนาสารละลาย HCl เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 45 cm3 มาผสมกับสารละลาย NaOH
เข้มข้น 1 mol/dm3 ปริมาตร x cm3 จะได้สารละลายที่มี pH 12 จงคานวณหาค่า x (Ent’มี.ค.44)

112. เมื่อเติมสารละลายจานวนหนึ่งโดยการผสม 500.00 cm3 ของ 2.0 mol/dm3 NaOH กับ 500.0 cm3
ของ 2.0 mol/dm3 HCl หลังจากนั้นเติม NaOH 1.0 มิลลิโมล ลงไป สารละลายจะมี pH เปลี่ยนแปลง
อย่างไร (Ent’30)

1. pH ของสารละลายจะเพิ่มขึ้นประมาณ 1 หน่วย
2. pH ของสารละลายจะลดลงประมาณ 1 หน่วย
3. pH ของสารละลายจะลดลงประมาณ 4 หน่วย
4. pH ของสารละลายจะเพิ่มขึ้นประมาณ 4 หน่วย

113. พิจารณาสารละลายต่อไปนี้

A. CH3COOH 0.001 mol/dm3 Ka = 2x10-5


B. HNO3 0.001 mol/dm3 55.00 cm3 ผสมกับ KOH 0.001 mol/dm3 45.0 cm3
C. H2SO4 0.001 mol/dm3 10.00 cm3 10.00 cm3

การเรียงลาดับ pH ในข้อใด ถูกต้อง (Ent’37)

1. A < B < C 2. B < A < C 3. C < A < B 4. A < C < B

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 54 | www.edu-deo.com

114. จากข้อมูล (Ent’38)

1. NaOH 10.00 cm3 เข้มข้น 1x10-2 mol/dm3 ผสมกับ HCl 10.00 cm3 เข้มข้น 3x10-2
mol/dm3
2. HNO3 10.00 cm3 เข้มข้น 0.5 mol/dm3 ผสมกับน้า 90 cm3
3. HCl 10.00 cm3 เข้มข้น 1x10-2 mol/dm3
4. H2SO4 10.00 cm3 เข้มข้น 1x10-2 mol/dm3

สารละลายในข้อใดมี pH เท่ากับ 2

1. 1 และ 2 2. 2 และ 3 3. 1 และ 3 4. 3 และ 4

115. เมื่อผสมสารละลาย HCl 1.60 mol/dm3 40.00 cm3 กับสารละลาย NaOH 1.00 mol/dm3 60.00
cm3 พิจารณาข้อความต่อไปนี้

1. สารละลายผสมที่ได้มีสมบัติเป็นกลาง
2. ความเข้มข้นของ Na+ ในสารผสมที่ได้เท่ากับ 1.20 mol/dm3
3. ความเข้มข้นของ H+ ในสารผสมที่ได้เท่ากับ 0.04 mol/dm3
4. ความเข้มข้นของ Cl- ในสารผสมที่ได้เท่ากับ 0.64 mol/dm3

ข้อสรุปใด ผิด (Ent’36)

1. 1 และ2 2. 1 และ 4 3. 2 และ 3 4. 3 และ 4

116. สารละลายปริมาตร 500 cm3 ประกอบด้วย แมกนีเซียมโบรไมด์ 0.025 โมล และกรดไฮโดรโบรมิก


0.05 โมล จะมีความเข้มข้นของแมกนีเซียมไอออน โบรไมด์ไอออน และไฮโดรเนียมไอออน อย่างละกี่
mol/dm3 ตามลาดับ (Ent’33)

1. 0.025 , 0.025 , 0.05 2. 0.05 , 0.10 , 0.10


3. 0.025 , 0.05 , 0.05 4. 0.05 , 0.20 , 0.10

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 55 | www.edu-deo.com

อินดิเคเตอร์
117. กรดอินทรีย์อย่างอ่อนชนิดหนึ่งมีสมบัติเป็นสารอินดิเคเตอร์ในการไทเทรตกรด – เบส และมีสมดุล
กรดกับเบสของมันในสารละลาย ดังสมการ (Ent’23)

HIn + H2O H3O+ + In-

สีแดง สีเหลือง

ถ้าขณะไทเทรต สารละลายที่มีอินดิเคเตอร์จะมีสีอะไร เมื่อสภาพของสารละลายเป็นกรดอย่างแรง

1. แดงเข้ม 2. ส้ม 3. เหลือง 4. เหลืองเข้ม

118. จงพิจารณาสมดุลเคมีและข้อมูลที่กาหนดให้ (Ent’23)

2CrO42- + 2H+ Cr2O72- + H2O

สีเหลือง สีส้ม

ถ้าต้องการทาให้สารละลายซึ่งมีสีเหลืองปนส้มเป็นสีเหลือง ควรจะต้องทาให้สารละลายให้มี pH เท่าใด

1. 10 2. 7 3. 4 4. 1

119. ถ้าหยดฟีนอล์ฟทาลีนลงในสารละลาย A จะได้สีแดง แต่ถ้าหยดลงในสารละลาย B จะไม่มีสี แสดง


ว่าอย่างไร (Ent’24)

1. A เป็นเบส B เป็นกรด 2. pH ของสารละลาย A และ B ไม่เท่ากัน


3. A และ B ทาปฏิกิริยาสะเทินกันได้ 4. A เป็นกรด B เป็นเบส

120. โบรโมไทมอลบลูเป็นอินดิเคเตอร์ ซึ่งเปลี่ยนสีจากเหลืองเป็นน้าเงินในสารละลายที่มีช่วง pH


เปลี่ยนจาก 6.0 เป็น 7.6 เมื่อเติมโบรโมไทมอลบลูลงไปในสารละลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมี pH เท่ากับ 6.8 จะ
ปรากฏเป็นสีอะไร (Ent’20)

1. สีเหลือง 2. สีน้าเงิน 3. สีเขียว 4. ไม่มีสี

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 56 | www.edu-deo.com

121. ถ้าการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ A  B ในช่วง pH ต่างๆ เป็นดังนี้

อินดิเคเตอร์ สีในกรด ช่วง pH สีในเบส


A แดง 3.1 - 4.4 (ส้ม) เหลือง
B แดง 4.4 – 6.0 (ส้ม) เหลือง
C เหลือง 6.0 – 7.6 (เขียว) น้าเงิน
D เหลือง 6.7 – 8.3 (ส้ม) แดง
E ไม่มีสี 8.1 – 10.4 (ชมพู) แดง

ถ้าหยดอินดิเคเตอร์เหล่านี้ลงในสารละลาย 4 ชนิด ผลการทดลองข้อใด ไม่ถูกต้อง (Ent’33)

ตัวเลือก สารละลาย อินดิเคเตอร์ (1) อินดิเคเตอร์ (2)


1. น้าลาย C , เขียว D , ส้ม
2. CH3COONa 0.1 mol/dm3 A , เหลือง E , ชมพู
3. K2CO3 + HCl (จานวนโมล E , ชมพูแก่ A , เหลือง
เท่ากัน)
4. NaCl 1.0 mol/dm3 B , ส้ม C , เขียว

122. อินดิเคเตอร์ตัวไหนที่เหมาะสมที่สุดสาหรับการไทเทรตระหว่างกรดไนตรัส (Ka = 5.1x10-4) กับ


สารละลาย NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 (Ent’20)

1. เมทิลออเรนจ์ซึ่งเปลี่ยนสีในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 3.1 – 4.4


2. เมทิลเรดซึ่งเปลี่ยนสีในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 4.4 – 6.2
3. โบรโมไทมอลบลูซึ่งเปลี่ยนสีในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 6.0 – 7.6
4. ไทมอลบลูซึ่งเปลี่ยนสีในสารละลายที่มี pH ระหว่าง 8.0 – 9.6

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 57 | www.edu-deo.com

123. อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน


X 8.3 – 10.0 ไม่มีสี – แดง
Y 3.0 – 4.6 เหลือง – น้าเงิน
Z 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
ผสมสารละลาย CH3COOH เข้มข้น 0.2 mol/dm3 ปริมาตร 5 cm3 กับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.2
mol/dm3 ปริมาตร 15 cm3 นาสารละลายที่ได้ไปทดสอบด้วยอินดิเคเตอร์ตามตาราง ข้อใด ถูกต้อง
(Ent’ต.ค.47)

ก. หยด X 1 หยด สารละลายไม่มีสี ข. หยด Y 1 หยด สารละลายมีสีน้าเงิน


ค. หยด Z 1 หยด สารละลายมีสีเหลือง ง. pH ของสารละลายเท่ากับ 13

1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ข และ ง

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 124

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สีที่เปลี่ยน


เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง
เมทิลเรด 4.4 – 6.3 แดง – เหลือง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
ฟีนอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0 ไม่มีสี – ชมพู

124. ในการไทเทรตสารละลายไฮโดรฟลูออริก (Ka = 6.4x10-4) กับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์


เข้มข้น 1.0 mol/dm3 อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดสาหรับใช้เป็นตัวบอกจุดยุติของการไทเทรต คือ
(Ent’26)

1. เมทิลออเรนจ์ 2. เมทิลเรด 3. โบรโมไทมอลบลู 4. ฟีนอล์ฟทาลีน

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 125 – 126 (Ent’19)

อินดิเคเตอร์ เปลี่ยนสีเมื่อ
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4
โบรโมครีซอลกรีน 3.8 – 5.4
เมทิลเรด 4.4 – 6.3
ฟีนอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 58 | www.edu-deo.com

125. ในการไทเทรตระหว่างสารละลายกรแอซีติกและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ ควรเลือกใช้อินดิ


เคเตอร์ใด

1. เมทิลออเรนจ์ 2. โบรโมครีซอลกรีน 3. เมทิลเรด 4. ฟีนอล์ฟทาลีน

126. เมื่อเติมฟีนอล์ฟทาลีนลงในสารละลายชนิดหนึ่ง ซึ่งมี pH เท่ากับ 7.8 ปรากฏว่าเป็นสีอะไร

1. ไม่มีสี 2. สีน้าเงิน 3. สีแดง 4. สีบานเย็น

127. จงพิจารณาเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรตสารละลาย NaHCO3 เข้มข้น 0.10


mol/dm3 ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3
(H2CO3 มี Ka = 4.4x10-7 , Ka2 = 5.0x10-11)(Ent’41)

1. ไทมอลบลู (เบส) ซึ่งเปลี่ยนสีใน ช่วง pH 8.0 – 9.6 (เหลือง – น้าเงิน)


2. ฟีนอลเรด ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 6.8 - 8.4 (เหลือง – แดง)
3. ไทมอลบลู (กรด) ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 1.2 - 2.8 (แดง – เหลือง)
4. โบรโมครีซอลกรีน ซึ่งเปลี่ยนสีในช่วง pH 3.8 – 5.4 (เหลือง – น้าเงิน)

128. จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สีที่เปลี่ยน


1 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง
2 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง
3 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
4 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 59 | www.edu-deo.com

129. อินดิเคเตอร์ตัวหนึ่งเป็นกรดอ่อนมีค่า KInd = 1.0x10-4 เมื่อความเข้มข้นของ HIn เท่ากับความ


เข้มข้นของ In- อินดิเคเตอร์ตัวนี้จะเริ่มเปลี่ยนสี pH ขณะนั้นเป็นเท่าใด และอินดิเคเตอร์นี้จะเหมาะสม
กับการไทเทรตระหว่างกรดและเบสคู่ใดบ้าง (Ent’33)

1. HCN + NaOH 2. HCl + NH3


3. HBr + KOH 4. HNO3 + Ba(OH)2

ตัวเลือก pH กรดและเบส
1. 8 1,3
2. 4 2,4
3. 8 2,3
4. 4 1,4

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 130 – 132

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH และสีของ ช่วง pH และสีของ ช่วง pH และสีของ


สารละลาย สารละลาย สารละลาย
เมทิลออเรนจ์ 1 – 3 สีแดง 3 – 4 สีส้ม มากกว่า 5 สีเหลือง
เมทิลเรด น้อยกว่า 4.4 สีแดง 4.4 – 6.2 สีส้ม มากกว่า 6.3 สีเหลือง
ฟีนอล์ฟทาลีน 1 – 7 ไม่มีสี 8.3 – 10 สีชมพู มากกว่า 10 สีชมพูแก่
โบรโมไทมอลบลู น้อยกว่า 6 สีเหลือง 6.0 – 7.6 สีเขียว มากกว่า 7.6 สีน้าเงิน

ในการทดลองสารละลายชนิดหนึ่ง แบ่งสารละลายออกเป็น 4 หลอด แล้วเติมสารละลายอินดิเค


เตอร์ลงไปในแต่ละหลอด ผลการทดลองเป็นดังนี้

หลอดที่ 1 เติมเมทิลออเรนจ์ 1 หยด สารละลายมีสีเหลือง


หลอดที่ 2 เติมเมทิลเรด 1 หยด สารละลายมีสีส้ม
หลอดที่ 3 เติมฟีนอล์ฟทาลีน 1 หยด สารละลายไม่มีสี
หลอดที่ 4 เติมโบรโมไทมอลบลู 1 หยด สารละลายมีสีเขียว

130. การแปลความหมายของข้อมูลที่ ถูกต้อง คือ

1. สารละลายมี pH ประมาณ 5.2 – 6.0 2. สารละลายมี pH ประมาณ 8.5 – 9.5


3. สารละลายมี pH ประมาณ 4.0 – 4.5 4. สารละลายมี pH ประมาณ 2.0 – 3.0
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 60 | www.edu-deo.com

131. เมื่อนาสารละลายกรดชนิดหนึ่งมาไทเทรตด้วยเบส ที่จุดยุติของสารละลายมีไฮโดรเนียมไอออน


ประมาณ 1.0x10-7 mol/dm3 อินดิเคเตอร์ที่ควรเลือกใช้ คือ

1. เมทิลออเรนจ์ 2. เมทิลเรด 3. โบรโมไทมอลบลู 4. ฟีนอล์ฟทาลีน

132. ข้อความใด ถูกต้องที่สุด

1. ในการไทเทรตสารละลาย NH3 กับกรด HCl ควรเลือกใช้เมทิลเรดเป็นอินดิเคเตอร์


2. ในการไทเทรตสารละลายกรดแก่กับเบสอ่อน ควรเลือกใช้เมทิลเรดเป็นอินดิเคเตอร์
3. ในการไทเทรตสารละลาย CH3COOH กับ NaOH ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็นอินดิเคเตอร์
4. ในการไทเทรตสารละลาย NH3 กับ HCl ควรเลือกใช้ฟีนอล์ฟทาลีนเป็นอินดิเคเตอร์

133. สารละลาย X ไม่มีสีเมื่อหยดโบรโมไทมอลบลูลงในสารละลายนี้ จะได้สารละลายสีเหลือง และเมื่อ


หยดเมทิลออเรนจ์ลงไป ได้สารละลายสีส้มแดง จงประมาณค่า pH ของสารละลาย X ให้ใกล้เคียงที่สุด
(Ent’30) กาหนดให้

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ของการเปลี่ยนสี


โบรโมไทมอลบลู เหลือง 6.0 – 7.6 น้าเงิน
เมทิลออเรนจ์ แดง 3.1 – 4.4 เหลือง

1. 3 – 6 2. 3 – 4 3. 6 – 7 4. ต่ากว่า 3

134. เมื่อนาสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ ได้ผลดังนี้ (Ent’27)

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH การเปลี่ยนสี สีของสารละลาย X


ในอินดิเคเตอร์
ฟีนอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.4 ไม่มีสี – แดง ไม่มีสี
เมทิลเรด 4.4 – 6.0 แดง – เหลือง เหลือง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน เขียว
ฟีนอลเรด 6.7 – 8.3 เหลือง – แดง ส้ม
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง ?

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 61 | www.edu-deo.com

สารละลาย X จะมีค่า pH ประมาณเท่าใด และถ้าหยดเมทิลออเรนจ์ 2 หยด ลงในสารละลาย X 10 cm3


จะได้สีอะไร

1. 7.6 – 8.3 สีแดง 2. 6.0 – 7.6 สีส้ม 3. 6.7 – 7.6 สีเหลือง 4. 6.7 – 8.3 สีเหลือง

135. เมื่อนาน้าทิ้งจากโรงงานแห่งหนึ่งมากรอง ได้สารละลายใสไม่มีสี แบ่งสารละลายมาเติมอินดิเคเตอร์


ต่างๆลงไปได้ผลดังนี้ (Ent’33)

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่อินดิเคเตอร์เปลี่ยน สีของสารละลายหลังจากเติม


ตามปกติ ตามปกติ อินดิเคเตอร์ลงไป 3 หยด
เมทิลเรด 3.8 – 6.3 แดง – เหลือง ส้ม
ลิตมัส 5.8 – 8.1 แดง – น้าเงิน ม่วง
ฟีนอลเรด 6.6 – 8.3 เหลือง – แดง เหลือง
เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง เหลือง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.1 เหลือง – น้าเงิน เขียวอมเหลือง

pH ที่ ถูกต้อง ของสารละลาย ควรอยู่ในช่วงใด

1. 5.8 – 6.0 2. 6.3 – 6.6 3. 6.0 – 6.3 4. 6.6 – 7.1

136. พิจารณาสีของสารละลาย X เมื่อเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ ต่อไปนี้

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน สีของสารละลาย


โบรโมฟีนอลบลูไทมอลบลู 3.0 – 4.6 เหลือง – น้าเงิน เขียวอมน้าเงิน
เมทิลออเรนจ์ 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง ส้มเหลือง
เมทิลเรด 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง ส้มแดง

สารละลาย X ควรมี pH อยู่ในช่วงใด (Ent’มี.ค.46)

1. 3.0 – 6.3 2. 3.2 – 4.6 3. 4.2 – 4.4 4. 4.2 – 4.6

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 62 | www.edu-deo.com

137. นาสารละลาย HCl ความเข้มข้น X mol/dm3 ใส่ในหลอดทดลอง 3 หลอด หลอดละ 2 cm3 แต่ละ
หลอดหยดอินดิเคเตอร์ 2-3 หยด ได้ผลดังแสดง

หลอดที่ อินดิเคเตอร์ สีที่ปรากฏใน


ชนิด ช่วง pH สีที่เปลี่ยน สารละลาย HCl
1 คองโกเรด 3.0 – 5.0 น้าเงิน – แดง แดง
2 โบรโมครีซอลเพอร์เพิล 5.2 – 6.8 เหลือง – ม่วง เหลือง
3 ฟีนอลเรด 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง เหลือง

X ควรมีค่าเท่าใด (Ent’ต.ค.41)

1. 10-3 2. 10-4 3. 10-5 4. 10-6

138. จากข้อมูลอินดิเคเตอร์และช่วง pH ของการเปลี่ยนสี ดังตาราง

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH สีที่เปลี่ยน


A 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง
B 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง
C 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
D 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง

สารละลาย X เมื่อหยดอินดิเคเตอร์ให้สีดังนี้

หลอดที่ อินดิเคเตอร์ สีของสารละลาย


1 A เหลือง
2 B เหลือง
3 C น้าเงิน
4 D ส้ม

สารละลาย X มี pH ประมาณเท่าใด (Ent’มี.ค.43)

1. 6 2. 7 3. 8 4. 9

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 63 | www.edu-deo.com

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 139

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน


A 3.0 – 5.0 น้าเงิน – แดง
B 3.5 – 4.5 แดง – เหลือง
C 4.0 – 5.5 เหลือง – น้าเงิน
D 4.0 – 6.5 แดง – เหลือง
E 7.0 – 8.5 เหลือง – แดง

139. เมื่อแบ่งสารละลายตัวอย่างใส่หลอดทดลอง 5 หลอด หลอดละ 3 cm3 แล้วเติมอินดิเคเตอร์ลงไปใน


หลอดละชนิดจะได้ผลดังนี้

หลอดที่ อินดิเคเตอร์ที่ใช้ สีของสารละลาย


1 A แดง
2 B เหลือง
3 C น้าเงิน
4 D ส้ม
5 E เหลือง

จากผลการทดลอง pH ของสารละลายตัวอย่าง คือข้อใด (Ent’37)

1. ประมาณ 7 2. อยู่ระหว่าง 6.5 – 7.0 3. ประมาณ 5.5 4. ประมาณ


4.5

140. กาหนดอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ ให้ดังนี้

อินดิเคเตอร์ การเปลี่ยนสี ช่วง pH


เมทิลออเรนจ์ แดง – เหลือง 3.1 – 4.4
เมทิลเรด แดง – เหลือง 4.4 – 6.2
ลิตมัส แดง – น้าเงิน 5.0 – 8.0
โบรโมไทมอลบลู เหลือง – น้าเงิน 6.0 – 7.6
ฟีนอลเรด เหลือง – แดง 6.8 – 8.4

เมื่อนาสารละลาย X มาเติมอินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ ให้ผลดังนี้


© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 64 | www.edu-deo.com

อินดิเคเตอร์ สีของสารละลาย
เมทิลออเรนจ์ เหลือง
เมทิลเรด ส้ม
ลิตมัส แดง
โบรโมไทมอลบลู เหลือง
ฟีนอลเรด เหลือง

สารละลาย X มี pH อยู่ในช่วงใด (A-Net’50)

1. 4.4 – 6.2 2. 4.4 – 5.0 3. 5.0 – 6.0 4. 6.8 – 7.6

141. พิจารณาข้อมูลช่วง pH และการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ ... ทดสอบอินดิเคเตอร์กับสารละลาย


ตัวอย่าง

ตาราง 1

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่สีเปลี่ยน สีที่เปลี่ยน


เมทิลออเรนจ์ 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง
เมทิลเรด 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง
โบรโมไทมอลบลู 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
ฟีนอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.0 ไม่มีสี – ชมพู
ตาราง 2

อินดิเค
เตอร์ เมทิลออเรนจ์ เมทิลเรด โบรโมไทมอลบลู ฟีนอล์ฟทาลีน
สารละลาย
A เหลือง เหลือง น้าเงิน ไม่มีสี
B เหลือง ส้ม เหลือง ไม่มีสี
C เหลือง เหลือง น้าเงิน ชมพู
D แดง แดง เหลือง ไม่มีสี

จงเรียงลาดับค่า pH ของสารละลายจากมากไปน้อย (A-Net’49)

1. A > B > D > C 2. C > A > B > D 3. B > D > A > C 4. C > B > D > A

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 65 | www.edu-deo.com

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 142 – 146 (Ent’25)

Phenol red Methyl red Bromothymolblue Azolimin


ช่วง pH 6.8 – 8.4 4.2 – 6.3 6.0 – 7.6 5.0 – 8.0
สารละลาย
ช่วงสี เหลือง – แดง – เหลือง เหลือง – น้าเงิน แดง – น้าเงิน
แดง
X+Y ส้ม เหลือง เขียว ม่วง
X+Z เหลือง ส้ม เหลือง ม่วง
W+Y แดง เหลือง น้าเงิน น้าเงิน
W+Z เหลืองหรือส้ม ส้มหรือเหลือง เหลือง,เขียว,น้าเงิน ม่วงหรือน้าเงิน

142. ความเป็นกรดของสารต่างๆ เรียงตามลาดับดังข้อใด

1. X > W > Z > Y 2. X < W < Z < Y


3. X > W ~ Z > Y 4. X ~ W > Z ~ Y

143. pH ของสารละลายผสมระหว่าง X กับ Z มีค่าประมาณเท่าใด

1. 5.0 – 8.0 2. 4.2 – 8.0 3. 5.0 – 6.0 4. 4.2 – 6.8

144. ถ้าทาการไทเทรตระหว่าง W กับ Y อินดิเคเตอร์ที่ให้ผลดีที่สุด คือ

1. Phenol red 2. Methyl red 3. Bromothymolblue 4. Azolimin

145. ถ้าสมมติว่า Methyl red มีสูตรเป็น HA และเกิดการแตกตัวได้ 10% ที่ pH เท่ากับ 4 ค่าคงที่การ
แตกตัวของ Methyl red เป็นเท่าใด

1. 1.1x10-6 2. 1.1x10-5 3. 1.0x10-6 4. 1.0x10-5

146. สารละลาย W เมื่อนามาเติม Azolimin ได้สีม่วง แต่ถ้าเติม Methyl red ได้สีเหลือง สารละลาย W
ควรมีสมบัติอย่างไร

1. กรด 2. เบส 3. กลาง 4. สรุปไม่ได้

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 66 | www.edu-deo.com

เกลือ
147. ปฏิกิริยา NaOH + CH3COOH CH3COONa + H2O เป็นปฏิกิริยาชนิดใด (Ent’19)

1. ออกซิเดชัน – รีดักชัน 2. ปฏิกิริยาสะเทิน


3. ปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส 4. ปฏิกิริยาไอออไนเซชัน

148. ข้อใดที่สารละลายทุกชนิดเกิดปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส (Ent’40)

1. CH3COONa , Ca(OH)2 , NH4NO3 2. KHSO4 , Na3PO4 , NaClO4


3. Na2CO3 , Ba(OH)2 , NaClO4 4. K2S , NaCN , (NH4)3PO4

149. ปฏิกิริยาข้อใด ไม่ใช่ ปฏิกิริยากรด – เบส (Ent’ต.ค.43)

1. (พิมพ์ทีหลัง)

150. ถ้านาแอมโมเนียมคลอไรด์ซึ่งเป็นของแข็งสีขาวมาละลายน้า สารละลายที่ได้มีสมบัติเป็นกรดหรือ


เบส เพราะเหตุใด (Ent’ต.ค.41)

1. เป็นเบส เพราะแอมโมเนียมคลอไรด์แตกตัวให้แอมโมเนียมไอออน
2. เป็นเบส เพราะแอมโมเนียมไอออนทาปฏิกิริยากับน้า ให้แอมโมเนียมซึ่งเป็นเป็นเบส
3. เป็นกรด เพราะแอมโมเนียมซึ่งเป็นเบส เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะระเหยไปบางส่วน
4. เป็นกรด เพราะแอมโมเนียมไอออนให้โปรตอนแก่น้า

151. สารละลายของเกลือในน้า ข้อใดมีฤทธิ์เป็นด่างทุกชนิด (Ent’18)

1. HCOONa , KBr , NH4NO3 2. NH4Cl , NaOH , NaCl


3. CH3COONa , NH4Cl , CH3COONH4 4. KCN , CH3COONa , HCOONa

152. เกลือทุกตัวในข้อใดเมื่อละลายน้าแล้ว สารมารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากน้าเงินเป็นแดง


(Ent’26)

1. NH4NO3 , NaHSO4 2. NH4Cl , HCOONa


3. NaHS , CH3COONa 4. KNO2 , NaHCO3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 67 | www.edu-deo.com

153. กลุ่มเกลือที่ละลายน้าแล้ว จะให้สารละลายที่มีสมบัติเป็นเบส

1. HCOONa , KBr , NH4NO3 2. KCN , CH3COONa , HCOONa


3. CH3COONa , NH4Cl , CH3COONH4 4. NH4Cl , NaOH , NaCl

154. กลุ่มเกลือ 4 ชนิด ต่อไปนี้มาละลายน้า

ก. NH4NO3 ข. CH3COONa ค. Na2CO3 ง. K2SO4

สารละลายของเกลือชนิดใดบ้างที่สามารถเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน (Ent’35)

1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ข และ ค

155. ข้อใด ถูกต้อง (Ent’37)

1. สารละลายของเกลือ NaCl เป็นกลาง แต่สารละลายของเกลือ KCN และ HCl เป็นเบส


2. สารละลายของเกลือ NaCl และ KCN เป็นกลาง แต่สารละลายของ NH4Cl เป็นกรด
3. สารละลายของเกลือ NaCl เป็นกลาง แต่สารละลายของ KCN เป็นกรด และสารละลายของ
NH4Cl เป็นเบส
4. สารละลายของเกลือ NaCl เป็นกลาง แต่สารละลาย KCN เป็นเบส และสารละลายของ
NH4Cl
เป็นกรด

156. เมื่อนาสารต่อไปนี้มาละลายน้า

1. KI 2. Al2(SO4)3 3. Na2CO3 4. NH4NO2

กาหนด Kb ของสารละลาย NH3 = 1.8x10-5 Ka ของ HNO2 = 4.6x10-4

สมบัติต่อไปนี้ของสาร 1 – 4 ข้อใด ถูกต้อง (Ent’มี.ค.44)

สมบัติของสารละลาย
ตัวเลือก
กรด กลาง เบส
1. 1 และ 4 2 3
2. 1 2 3 และ 4
3. 2 และ 4 1 3
4. 3 1 2 และ 4

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 68 | www.edu-deo.com

157. สารละลาย X สามารถเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้าเงิน เมื่อนาสาร X เข้มข้น 0.10


mol/dm3 มา 3 cm3 เติมสารละลาย Ca(OH)2 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ลงไป 1 cm3 พบว่า มีตะกอนขาว
เกิดขึ้นและกระดาษลิตมัสยังคงเปลี่ยนสีจากแดงเป็นน้าเงิน ถ้านาสารละลาย X อีกส่วนหนึ่งมาอีก 3
cm3 เติม HCl 0.10 mol/dm3 ลงไป 4 cm3 ปรากฏว่ากระดาษลิตมัสเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นแดง จากการ
ทดลองนี้สาร X ควรเป็นสารในข้อใดมากที่สุด (Ent’31)

1. CH3COONa 2. NaHCO3 3. KNO3 4. NH4Cl

158. สารละลาย A เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสแดงเป็นน้าเงิน ถ้าเติมสารละลาย HCl เข้มข้น 1 mol/dm3


จานวน 1 cm3 ลงในสารละลาย A เข้มข้น 1 mol/dm3 จานวน 3 cm3 จะเกิดฟองแก๊สและสารละลายที่ได้
ตะกอนขาว สารละลาย A ควรเป็นสารใด (Ent’33)

1. NaHSO4 2. NaHCO3 3. NH4Cl 4. NaNO3

159. พิจารณาสมบัติของอินดิเคเตอร์ ต่อไปนี้

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน


A 4.2 – 6.3 แดง – เหลือง
B 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
C 9.4 – 10.6 ไม่มีสี – น้าเงิน

เมื่อนาสารละลายที่ได้จากการทาปฏิกิริยาพอดีระหว่างกรดกับเบสคู่หนึ่ง มาหาค่า pH พบว่าเมื่อหยด


อินดิเคเตอร์ A ได้สารละลายมีสีเหลือง หยดอินดิเคเตอร์ B สารละลายมีสีน้าเงิน และหยดอินดิเคเตอร์ C
ได้สารละลายไม่มีสี สารละลายกรด – เบสที่ใช้ในข้อใดเป็นไปได้ (Ent’ต.ค.44)

1. HCl , NaOH 2. H2SO4 , Ba(OH)2


3. CH3COOH , NaOH 4. HNO3 , NH4OH

160. นาเกลือชนิดต่างๆมาละลายน้าแล้วนาไปวัด pH ด้วย pH meter การเรียงลาดับการเพิ่มขึ้นของ


pH ของสารละลาย ข้อใด ถูกต้อง (Ent’มี.ค.47)

1. NaNO3 , KI , NH4NO3 2. KI , NH4NO3 , Ca(ClO)2


3. NaHSO4 , Ca(ClO)2 , KI 4. NH4NO3 , KI , Ca(ClO)2

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 69 | www.edu-deo.com

คาชี้แจง กาหนดค่า Ka ของกรดที่ 25

HClO2 = 1.1x10-2 CH3COOH = 1.8x10-5


HF = 6.8x10-2 HCN = 4.8x10-11

161. สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากันของเกลือต่อไปนี้ ข้อใดมีความเป็นเบสมากที่สุด (Ent’34)

1. NaClO2 2. CH3COONa 3. NaF 4. NaCN

162. นาสารละลายของเกลือโซเดียม 3 ชนิดคือ NaX , NaY และ NaZ ซึ่งมีความเข้มข้น 0.20 mol/dm3
เท่ากัน มาหาค่า pH พบว่า pH เท่ากับ 7 8 และ 9 ตามลาดับ ความเป็นกรดของ HX , HY และ HZ จะ
เป็นอย่างไร (Ent’มี.ค.43)

1. HX > HY > HZ 2. HY > HZ > HX 3. HZ > HX > HY 4. HZ > HY > HX

163. เมื่อนา CO2 , N2O5 , SO2 หรือ Na2O มาละลายน้า สารละลายที่ได้จะมีค่า pH ต่างกัน การ
เรียงลาดับ pH ของสารละลายของสารประกอบออกไซด์จากมากไปน้อยข้อใด ถูกต้อง (Ent’มี.ค.45)

1. N2O5 , SO2 , CO2 , Na2O 2. N2O5 , CO2 , SO2 , Na2O


3. Na2O , CO2 , SO2 , N2O5 4. Na2O , SO2 , CO2 , N2O5

164. สาร A B C D มีสมบัติดังนี้

สาร การเปลี่ยนสีของ การนาไฟฟ้า ความสว่างของ ปฏิกิริยากับลวด


กระดาษลิตมัส หลอดไฟ Mg
A น้าเงิน  แดง นา สว่างมาก เกิดแก๊สไม่มีสี
B ไม่เปลี่ยนสี นา สว่างปานกลาง ไม่เกิดแก๊ส
C แดง  น้าเงิน นา สว่างน้อย ไม่เกิดแก๊ส
D น้าเงิน  แดง นา สว่างน้อย เกิดแก๊สไม่มีสี

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 70 | www.edu-deo.com

สาร A B C D น่าจะเป็นสารใด (Ent’มี.ค.43)

ข้อ A B C D
1. กรดอ่อน เกลือ เบสแก่ กรดแก่
2. กรดอ่อน เกลือ เบสแก่ กรดอ่อน
3. กรดแก่ เกลือ เบสอ่อน กรดอ่อน
4. กรดแก่ เกลือ เบสอ่อน กรดแก่

165. เมื่อนาสารละลาย A B C D ความเข้มข้นเท่ากันไปทดสอบการเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสและ


ความสามารถในการนาไฟฟ้าได้ข้อมูลดังนี้

สารละลาย สีกระดาษลิตมัส ความสว่างของหลอดไฟ


A ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
B แดง – น้าเงิน สว่างเล็กน้อย
C น้าเงิน – แดง สว่างมาก
D ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่างเลย

สารละลาย A B C D ในข้อใดเป็นไปได้ (Ent’ต.ค.42)

ตัวเลือก A B C D
1. MgCl2 NH4OH H2SO4 C12H22O11
2. NaCl NaOH C2H5OH H 2O
3. KNO3 CH3COOH KOH NH4CN
4. Na2CO3 NH4Cl H 2S CH3OH

166.

สารละลาย การนาไฟฟ้า กระดาษลิตมัส ทดสอบกับ NaHCO3 ทดสอบกับ Mg


A นา ไม่เปลี่ยนสี ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
B นา น้าเงิน – แดง เกิดแก๊ส เกิดแก๊ส
C นา แดง – น้าเงิน เกิดตะกอนขาว ไม่เกิดแก๊ส
D ไม่นา ไม่เปลี่ยนสี ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 71 | www.edu-deo.com

จากข้อมูลดังกล่าว สารละลาย A B C D ควรเป็นสารละลายในข้อใด ตามลาดับ (Ent’27)

1. น้าเกลือ น้าส้มสายชู น้าปูนใส น้าเชื่อม


2. น้าเชื่อม น้าเกลือ น้าปูนใส น้าส้มสายชู
3. น้าเชื่อม น้าส้มสายชู น้าเกลือ น้าปูนใส
4. น้าเกลือ น้าปูนใส น้าส้มสายชู น้าเชื่อม

167. การทดสอบสมบัติของสารละลายเข้มข้น 0.1 mol/dm3 ได้ผลดังนี้ (Ent’31)

ความสว่างของ ปฏิกิริยากับ การเปลี่นสี


สารละลาย ปฏิกิริยากับ NaHCO3
หลอดไฟ Mg ลิตมัส
A มากที่สุด เกิดแก๊ส H2 เกิดแก๊ส น้าเงิน – แดง
B มากที่สุด ไม่เกิด ตะกอนขาว แดง – น้าเงิน
C สว่างปานกลาง ไม่เกิด ไม่เกิดแก๊สและตะกอน แดง – น้าเงิน
D มากที่สุด ไม่เกิด ไม่เกิดแก๊สและตะกอน ไม่เปลี่ยนสี

สาร A B C และ D คืออะไร ตามลาดับ

1. กรดไนตริก โซเดียมคลอไรด์ น้าปูนใส โซเดียมแอซีเตต


2. กรดไฮโดรคลอริก น้าปูนใส โซเดียมแอซีเตต โซเดียมคลอไรด์
3. กรดซัลฟูริก โซเดียมแอซีเตต น้าปูนใส โซเดียมคลอไรด์
4. กรดไฮโดรคลอริก น้าปูนใส โซเดียมแอซีเตต แอลกอฮอร์

168. พิจารณาผลการทดลอง

สารละลาย การเปลี่ยนสีของลิตมัส การนาไฟฟ้า ปฏิกิริยากับ Mg ปฏิกิริยากับ Mg


A น้าเงิน – แดง นา เกิดแก๊ส เกิดแก๊ส
B ไม่เปลีย่ นสี นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
C ไม่เปลีย่ นสี ไม่นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส
D แดง – น้าเงิน นา ไม่เกิดแก๊ส ไม่เกิดแก๊ส

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 72 | www.edu-deo.com

สาร A B C D น่าจะเป็นสารใด ตามลาดับ (Ent’38)

1. HCl เอทานอล น้าตาลทราย KOH


2. CH3COOH น้าตาลทราย เอทานอล NaOH
3. CH3COOH KNO3 เอทานอล CH3COONa
4. HCl น้าตาลทราย เอทานอล CH3COONa

169.

การเปลี่ยนสีที่สังเกตได้
สารละลาย การเปลี่ยนสีของกระดาษ การนาไฟฟ้า กับลวด Mg
ลิตมัส
A น้าเงิน – แดง นา เกิดฟองแก๊สมาก
B แดง – น้าเงิน นา เกิดฟองแก๊ส
A+B ไม่เปลี่ยนสี ไม่นา เกิดฟองแก๊สน้อย

สารละลาย A B และ A+B ควรเป็นข้อใด

1. HNO3 KOH KNO3 2. HCl Ba(OH)2 BaCl2


3. HI NaOH NaI 4. H2CO3 Ca(OH)2 CaCO3

170. นาสารละลาย A , B , C , D ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน ทดสอบความสามารถในการนาไฟฟ้าจาก


ความสว่างของหลอดไฟและสมบัติกรด – เบสของสารจากสีของกระดาษลิตมัส ได้ผลการทดลองดังนี้
(Ent’40)

สารละลาย การเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส ความสว่างของหลอดไฟ


A น้าเงิน  แดง สว่าง
B ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
C แดง  น้าเงิน สว่างเล็กน้อย
D ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่าง

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 73 | www.edu-deo.com

สารละลาย A , B , C , D อาจเป็นสารละลายในข้อใด ตามลาดับ

1. CH3COOH NaCl NaOH CH3COCH3


2. HCl KMnO4 CH3COONa I2
3. NH4Cl Na2SO4 NH4OH C12H22O11
4. H2SO4 KNO3 NH4Cl NH2CONH2

171. จากการทดลอง เมื่อนาสารละลาย A B C และ D ที่มีความเข้มข้นเท่ากันมาทดสอบด้วยกระดาษ


ลิตมัสและการนาไฟฟ้า ได้ผลดังตาราง

สารละลาย การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส ความสว่างของหลอดไฟ


A ไม่เปลี่ยนสี สว่างมาก
B แดง  น้าเงิน สว่างมาก
C ไม่เปลี่ยนสี ไม่สว่าง
D น้าเงิน  แดง สว่างเล็กน้อย

สารละลาย A B C และ D ในข้อใดเป็นไปไม่ได้ (A-Net’49)

ตัวเลือก A B C D
1. KHSO4 Ca(OH)2 C2H5OH HI
2. CaCl2 Ba(OH)2 HCN HCOOH
3. NH4NO3 NaOH H 2O HF
4. KBr Sr(OH)2 CH3OH HNO2

172. เกลือ X 1 mol ทาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลายของกรด Z 1 mol ได้สารละลายใส ซึ่งถ้านาไป


ระเหยจนแห้งจนได้เกลือ Y เหลืออยู่ เมื่อนาสารละลายใสของเกลือ Y ไปผสมกับสารละลายใสของ
BaCl2 พบว่าเกิดตะกอนสีขาว เกลือ X , Y และกรด Z อาจะเป็นสารในข้อใด (Ent’34)

ตัวเลือก X Y Z
1. KCl K2SO4 H2SO4
2. NaBr NaCl HCl
3. Ag2SO4 AgNO3 HNO3
4. Na2CO3 Na2SO4 H2SO4

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 74 | www.edu-deo.com

173. เมื่อนา A1 , A2 , A3 และ A4 มาทาการทดลองได้ผลดังตาราง (Ent’32)

อุณหภูมิของ
อุณหภูมิน้า การทดสอบ
สารละลาย สารละลายเมื่อ Zn NaOH
บริสุทธิ์ ลิตมัส
เตรียมใหม่
A1 25 35 เกิดแก๊ส เกิดความร้อน น้าเงิน  แดง
A2 25 22 ไม่เห็นการ ไม่เห็นการ ไม่เห็นการ
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
A3 25 35 สารละลายมีสี เกิดตะกอน ไม่เห็นการ
จางลง เปลี่ยนแปลง
A4 25 22 ไม่เห็นการ เกิดแก๊ส น้าเงิน แดง
เปลี่ยนแปลง

สารทั้ง 4 อาจเป็นสารใดตามลาดับ

1. HCl NH4Cl CuSO4 KNO3 2. HCl KNO3 CuSO4 NH4Cl


3. NH4Cl CuSO4 KNO3 HCl 4. NH4Cl KNO3 CuSO4 HCl

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ตอบคาถามข้อ 174 – 175

ผสมสารละลายที่มีสาร A และ B จนปฏิกิริยาสมบูรณ์ (ไม่มีสาร A และสาร B เหลืออยู่) เกิด


ตะกอนสีขาวของเกลือ C กรองแยกเกลือ C ออกจากสารละลายของเกลือ D เติมกรด HNO3 ลงบน
ตะกอน C จะเกิดแก๊ส X เมื่อเติมสารละลาย AgNO3 ลงในสารละลายของเกลือ D จะเกิดตะกอนขาวของ
เกลือเงิน Y

174. สาร A B C และ D คือสารในข้อใด (Ent’35)

ตัวเลือก สาร A สาร B สาร C สาร D


1. Na2HPO4 CaCl2 CaHPO4 KCl
2. CaSO4 KBr K2SO4 CaBr2
3. K2SO4 CaCl2 CaSO4 KCl
4. CaCl2 Na2CO3 CaCO3 NaCl

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 75 | www.edu-deo.com

175. ถ้าแก๊ส X ที่ได้มีสมบัติละลายน้าได้สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรดอ่อนและตะกอน Y ละลายได้ใน


สารละลายแอมโมเนีย แก๊ส X และตะกอน Y คือสารในข้อใด (Ent’35)

ตัวเลือก X Y
1. P2 O 3 AgCl
2. CO AgBr
3. CO2 AgCl
4. SO2 AgBr

176. นักเรียนคนหนึ่งทาการทดลองและได้ผลการทดลองดังนี้

1. หยดฟีนอล์ฟทาลีนลงในสารละลาย X มีสีแดงเกิดขึ้น
2. หยดสารละลาย Y จากกระบอกฉีดยาลงในสารละลายข้อ 1 ทีละหยด เขย่าให้เข้ากัน
สีแดงจางลงเมื่อเปลี่ยนเป็นไม่มีสี หยุดหยดสารละลาย
3. นาสารละลายในข้อ 2 ไประเหยจนแห้งในถ้วยกระเบื้องได้ของแข็งสีขาว
4. หยดคองโกเรดลงในสารละลาย Y ได้สีน้าเงิน

กาหนด

อินดิเคเตอร์ สีที่เปลี่ยน ช่วง pH ของการเปลี่ยนสี


โบรโมครีซอลเพอร์เพิล เหลือง – ม่วง 5.2 – 6.8
ฟีนอล์ฟทาลีน ไม่มีสี – แดง 8.3 – 10.0
คองโกเรด น้าเงิน – แดง 3.0 – 5.0

ข้อใดต่อไปนี้สอดคล้องกับข้อมูลข้างบน (Ent’มี.ค.44)

A. สารละลายในข้อ 2 มี pH = 9
B. สารละลาย Y มี [H3O+] = 10-3 mol/dm3
C. ปฏิกิริยาในข้อ 2 เป็นปฏิกิริยาสะเทิน
D. ถ้าหยดโบรโมครีซอลเพอร์เพิลลงในสารละลายที่มี pH เท่ากับ pH ของสารละลายในข้อ 2 จะ
ได้สีม่วง

1. A B และ C 2. B C และ E 3. A C และ D 4. B C D และ E

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 76 | www.edu-deo.com

บัฟเฟอร์
177. สารละลายผสมในข้อใดจัดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’40)

ตัวเลือก สารละลายชนิดที่ 1 สารละลายชนิดที่ 2


1. HCN กับ KCN HNO3 กับ KNO3
2. NaH2PO4 กับ Na2HPO4 NH4Cl กับ NH3
3. HI กับ BaI2 NaH2PO4 กับ NaHPO4
4. HBr กับ KBr NaHCO3 กับ Na2CO3

178. สารละลาย 5 ชนิด มีองค์ประกอบคู่หนึ่งละลายอยู่ คือ

I. CH3COONa และ CH3COOCH3 II. CH3COONa และ CH3COOH


III. NaOH และ NaCl IV. NH3 และ (NH4)2SO4
V. NH3 และ NaCN

สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงค่า pH น้อยมาก เมื่อเติมกรดหรือเบสลงไป (Ent’24)

1. I และ II 2. II และ IV 3. I และ III 4. III และ V

179. สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ จัดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’27)

1. HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กับ NaCl 5.85 กรัม


2. HCN เข้มข้น 0.05 mol/dm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตรเท่ากัน
3. HCl เข้มข้น 0.05 mol/dm3 กับ NH3 เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตรเท่ากัน
4. CH3COOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตรเท่ากัน

180. สารละลายในข้อใดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’33)

1. 10 cm3 1.0 mol/dm3 NH3 + 10 cm3 1.0 mol/dm3 NH4OH


2. 10 cm3 1.0 mol/dm3 H2S + 10 cm3 1.0 mol/dm3 Na2S
3. 10 cm3 1.0 mol/dm3 NaOH + 20 cm3 1.0 mol/dm3 CH3COOH
4. 10 cm3 1.0 mol/dm3 CH3COOH + 20 cm3 1.0 mol/dm3 NaCN

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 77 | www.edu-deo.com

181. สารละลายผสมในข้อใดไม่เป็นบัฟเฟอร์ (Ent’37)

1. NH3 0.01 mol/dm3 20 cm3 กับ HNO3 1.0 mol/dm3 NH4OH


2. NH3 0.02 mol/dm3 20 cm3 กับ HCl 0.04 mol/dm3 10 cm3
3. CH3COOH 0.03 mol/dm3 NaOH กับ KOH 0.02 mol/dm3 20 cm3
4. HF 0.04 mol/dm3 20 cm3 กับ NaOH 0.04 mol/dm3 10 cm3

182. การเตรียมสารละลายในข้อใดได้สารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’ต.ค.42)

1. เติม NaOH 0.1 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงในHCl 0.1 mol/dm3 จานวน 150 cm3
2. เติม NaOH 0.01 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน CH3COOH 0.05 mol/dm3
3. เติม HCl 0.2 mol/dm3 จานวน 100 cm3 ลงใน NH3 0.02 mol/dm3 จานวน 200 cm3
4. เติม HCl 0.05 mol/dm3 จานวน 25 cm3 ลงใน NH3 0.02 mol/dm3 จานวน 100 cm3

183. สารละลายผสมในข้อใดมีค่า pH เปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด เมื่อเติมสารละลาย HCl 0.1 mol/dm3


จานวน0.5 cm3 (Ent’มี.ค.44)

1. สารละลาย HCOOH 0.1 mol/dm3 20 cm3 และ NaOH 0.2 mol/dm3 10 cm3
2. สารละลาย HI 0.1 mol/dm3 10 cm3 และ KI 0.2 mol/dm3 10 cm3
3. สารละลาย CH3COOK 0.1 mol/dm3 20 cm3 และ HCl 0.1 mol/dm3 10 cm3
4. สารละลาย NH4Cl 0.2 mol/dm3 10 cm3 และ HCl 0.1 mol/dm3 10 cm3

184. สาร A และ B คู่ใดเมื่อผสมกันได้สารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’ต.ค.42)

ตัวเลือก สาร A สาร B


1. CaCO3 หนัก 40 g HNO3 0.1 mol
2. NH4OH 1 mol/dm3 100 cm3 HCl 0.1 mol
3. CH3COOH 0.1 mol NH4Cl 0.2 mol
4. H3PO4 1 mol/dm3 50 cm3 NaOH 1 mol/dm3 50 cm3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 78 | www.edu-deo.com

185. จากข้อมูล

สารละลาย ปริมาตร (cm3) ความเข้มข้น (mol/dm3)


1. CH3COOH 50 2
2. NaOH 50 1
3. HNO3 50 2
4. NaNO3 50 2

สารละลายผสมในข้อใดเมื่อเติม HCl 1x10-5 mol/dm3 0.5 cm3 ลงไปผสมแล้ว pH ของสารละลายไม่


เปลี่ยน

1. สารละลายผสมจากข้อ 1 และ 2 2. สารละลายผสมจากข้อ 2 และ 3


3. ผสมสารละลายจากข้อ 2 และ 4 4. สารละลายผสมจากข้อ 3 และ 4

186. สารละลายในข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ สารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’39)

1. สารละลาย KNO2 0.05 mol/dm3 จานวน 5 cm3 ผสมกับ HNO2 0.05 mol/dm3 จานวน 10
cm3
2. สารละลาย HClO4 0.15 mol/dm3 จานวน 10 cm3 ผสมกับ NaClO4
3. สารละลาย C5H5N (Kb = 1.7x10-9) 0.05 mol/dm3 จานวน 10 cm3 ผสมกับ C5H5NHCl 0.10
mol/dm3 จานวน 5 cm3
4. สารละลาย NH3 0.10 mol/dm3 จานวน 5 cm3 ผสมกับ NH4Cl เข้มข้น 0.05 mol/dm3
จานวน10 cm3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 79 | www.edu-deo.com

187. สารละลายผสมในข้อใดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’38)

1. กรดฟอสฟอริก 0.07 mol/dm3 จานวน 5 cm3 ผสมกับไดโซเดียมไฮโดรเจนฟอสเฟต


0.06 mol/dm3 จานวน 7 cm3
2. โซเดียมไดไฮโดรเจนฟอสเฟต เข้มข้น 0.02 mol/dm3 จานวน 6 cm3 ผสมกับกรดไฮโดรคลอ
ริก
0.03 mol/dm3 จานวน 9 cm3
3. กรดซัลฟูริก 0.04 mol/dm3 7 cm3 ผสมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.03 mol/dm3 จานวน 8
cm3
4. โซเดียมไฮโดรเจนซัลเฟต 0.06 mol/dm3 จานวน 6 cm3 ผสมกับโซเดียมไฮดรอกไซด์
0.06 mol/dm3 จานวน 6 cm3

188. พิจาณาสารละลายต่อไปนี้

1. ละลาย KCl 1 mol และ HCl 1 mol ในน้าปริมาตร 1 dm3


2. ละลาย NaOH 0.5 mol และ CH3COOH 1 mol ในน้าปริมาตร 1 dm3
3.ผสม HCl 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 40 cm3 กับ KOH 2.00 mol/dm3 ปริมาตร 20.05 mol/dm3
4. ผสม HCl 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 50 cm3 กับ CH3COONa 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 25 cm3

สารละลายในข้อใดเป็นกรด แต่ไม่ใช่ สารละลายบัฟเฟอร์ (Ent’มี.ค.45)

1. 1 และ 2 เท่านั้น 2. 1 และ 4 เท่านั้น


3. 1 , 2 และ 4 4. 2 , 3 และ 4

189. สารละลายบัฟเฟอร์สามารถควบคุมการเปลี่ยนแปลงความเป็นกรด-เบส ได้ ปฏิกิริยาข้อใดไม่แสดง


ว่าเป็นปฏิกิริยาบัฟเฟอร์ (Ent’29)

1. CO32- + 2H3O+ CO2 + 3H2O


2. NO3- + H3O+ HNO3 + H2O
3. H2PO4- + H3O+ H3PO4 + H2O
4. NH3 + H3O+ NH4+ + H2O

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 80 | www.edu-deo.com

190. พิจารณาข้อมูลการเปลี่ยนแปลง pH เมื่อเติม HCl และ NaOH ปริมาณเล็กน้อยลงไปในสารละลาย


A , B และ C

สารที่นามาทดสอบ pH
1. สารละลาย A (100 cm3) 7
2. สารละลาย A (100 cm3) + 0.001 mol HCl 2
3. สารละลาย A (100 cm3) + 0.001 mol NaOH 12
4. สารละลาย B (100 cm3) 4.76
5. สารละลาย B (100 cm3) + 0.001 mol HCl 4.67
6. สารละลาย B (100 cm3) + 0.001 mol NaOH 4.85
7. สารละลาย C (100 cm3) 9.20
8. สารละลาย C (100 cm3) + 0.001 mol HCl 9.12
9. สารละลาย C (100 cm3) + 0.001 mol NaOH 9.29

สารละลาย A , B และ C น่าจะเป็นสารใด ตามลาดับ (Ent’ต.ค.44)

1. H2O , CH3COOH/CH3COONa , NaOH


2. KCl , H3PO4 / NaH2PO4 , NH3
3. H2O , CH3COOH/CH3COONa , NH3 / NH4Cl
4. NaCl , NH3 / NH4Cl , CH3COOH/CH3COONa

191. เมื่อผสมสารละลาย CH3COOH 0.3 mol/dm3 กับสารละลาย CH3COONa 0.3 mol/dm3 5 cm3 ใส่
ในหลอดที่ 1 ส่วนหลอดที่ 2 ใส่น้ากลั่น 10 cm3 เมื่อเติม NaOH 0.1 mol/dm3 จานวน 2 หยดลงใน
หลอดทดลองทั้งสอง pH ของสารละลายในหลอดทั้งสองเปลี่ยนแปลงอย่างไร (Ent’26)

1. หลอดที่ 1 ลดลง หลอดที่ 2 ลดลง 2. หลอดที่ 1 คงที่ หลอดที่ 2 เพิ่มขึ้น


3. หลอดที่ 1 คงที่ หลอดที่ 2 ลดลง 4. หลอดที่ 1 เพิ่มขึ้น หลอดที่ 2 เพิ่มขึ้น

192. เมื่อหยดอินดิเคเตอร์ลงในน้ากลั่นและในสารละลายบัฟเฟอร์ชนิดหนึ่งได้ผลดังนี้

อินดิเคเตอร์ A B C
ช่วง pH ที่อินดิเคเตอร์เปลี่นสี 3.1 – 4.4 4.2 – 6.3 6.0 – 7.6
สีที่เปลี่ยน แดง – เหลือง แดง – เหลือง เหลือง – น้าเงิน
น้ากลั่น เหลือ เหลือง เขียว
บัฟเฟอร์ แดงอมส้ม แดง เหลือง
© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 81 | www.edu-deo.com

ถ้าหยดสารละลาย HCl 0.1 mol/dm3 2 หยด (20 หยด = 1 cm3) ลงในน้ากลั่น 1 dm3 และสารละลาย
บัฟเฟอร์ 1 dm3 แล้วบางสารละลายที่ได้แต่ละชนิดใส่ในหลอดทดลองชนิดละ 3 หลอด นามาทดสอบกับ
อินดิเคเตอร์ทั้ง 3 ชนิด จะเห็นสีของอินดิเคเตอร์เป็นอย่างไร (Ent’36)

น้ากลั่น + HCl 2 หยด บัฟเฟอร์ + HCl 2 หยด


ตัวเลือก
A B C A B C
1. เหลือง ส้ม เหลือง แดงอมส้ม แดง เหลือง
2. เหลือง เหลือง เขียว แดงอมส้ม แดง เหลือง
3. เหลือง ส้ม เหลือง เหลือง เหลือง เขียว
4. เหลือง เหลือง เขียว เหลือง เหลือง เขียว

193. ไอออนที่ช่วยรักษาดุลของกรดและเบสในร่างกายคือไอออนในข้อใด (Ent’27)

1. Cl- 2. HCO3- 3. NH4+ 4. Fe2+

194. สารละลายบัฟเฟอร์ปริมาตร 1 dm3 ได้จากการผสมสารละลาย 0.1 mol/dm3 HCOOH กับ


สารละลาย 0.1 mol/dm3 ของ HCOONa สามารถควบคุม pH ของสารละลายให้ค่อนข้างคงที่ได้ เมื่อเติม
สารละลาย 0.1 mol/dm3 ของ KOH ลงไป 1.0 cm3 เพราะ (Ent’23)

1. OH- ไอออนถูกสะเทินด้วย H+ ไอออนในสารละลายบัฟเฟอร์


2. OH- ไอออนไปรวมกับ Na+ ไอออน
3. OH- ถูกทาให้เจือจาง
4. KOH ที่เติมลงไปน้อยมาก

195. กรดเบนโซอิก (C6H5COOH) มีค่า Ka ต่า ถ้าเติมสารละลายกรดไฮโดรคลอริกเพียงเล็กน้อยลงใน


ของผสมระหว่างกรดเบนโซอิกกับโซเดียมเบนโซเอต ข้อใด ถูกต้อง (Ent’31)

1. ปริมาณของเบนโซเอตไอออนลลดลง และค่า pH เปลี่ยนแปลงมาก


2. ปริมาณของเบนโซเอตไอออนเพิ่มขึ้น และค่า pH คงที่
3. ปริมาณของเบนโซเอตไอออนเพิ่มขึ้น และ pH เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย
4. ปริมาณของเบนโซเอตไอออนลดลง และ pH เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 82 | www.edu-deo.com

196. กาหนดปฏิกิริยา

1. HPO42- + H3O+ H2PO4- + H2O


2. H2PO4- + OH- HPO42- + H2O
3. HPO42- + OH- PO43- + H2O
4. H2PO4- + H3O+ H3PO4 + H2O

เมื่อเติมสารละลายกรดเจือจางหรือเบสเจือจาง 2 หยด ลงในสารละลายผสมที่มี Na2HPO4 และ


NaH2PO4 ละลายอยู่ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นที่ทาให้ pH ของสารละลายไม่เปลี่ยนแปลงคือข้อใด (Ent’37)

1. 1 และ 2 2. 1 และ 3 3. 2 และ 4 4. 3 และ 4

197. กาหนดสารละลายบัฟเฟอร์ A และ B ดังแสดงในตาราง

สารละลายบัฟเฟอร์ องค์ประกอบ
A H3PO4 / NaH2PO4
B NaH2PO4 / Na2HPO4

1. เมื่อเติม HCl ปริมาณเล็กน้อยลงใน A H+ จาก HCl จะทาปฏิกิริยากับ H2PO4-


2. เมื่อเติม NaOH ปริมาณเล็กน้อยลงใน B OH- จาก NaOH จะทาปฏิกิริยากับ H2PO4-
3. คู่เบสของสารละลายบัฟเฟอร์ A และ B คือ H2PO4- และ HPO42- ตามลาดับ
4. คู่เบสของสารละลายบัฟเฟอร์ A และ B คือ H3PO4 และ H2PO4- ตามลาดับ

198. เมื่อผสมสารละลาย CH3COOH 0.2 mol/dm3 จานวน 10 cm3 และสารละลาย NaOH 0.1
mol/dm3 จานวน 10 cm3 เข้าด้วยกัน สารละลายที่ได้จะเป็นสารละลายที่มีสมบัติอย่างไร (Ent’24)

1. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH ต่ากว่า 7


2. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH สูงกว่า 7
3. สารละลายบัฟเฟอร์ ที่มี pH เท่ากับ 7
4. สารละลายที่ประกอบด้วยเกลือ CH3COONa เพียงอย่างเดียว

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 83 | www.edu-deo.com

199. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ที่มี pH ประมาณ 9 ควรใช้สารผสมคู่ใด (Ent’29)

1. NH4NO3 + NH3 2. NaOAc + HOAc


3. NaHCO3 + Na2CO3 4. NH4OH + NaOH

200. ถ้าใช้สารละลายต่อไปนี้ ความเข้มข้นและปริมาตรที่เท่ากัน เมื่อผสมกันคู่ใดได้สารละลายบัฟเฟอร์


ที่มี pH > 7 (Ent’ต.ค.46)

1. NaOH และ HCOOH 2. NH3 และ NH4Cl


3. Mg(OH)2 และ HNO3 4. CH3COONa และ CH3COOH

201. เมื่อผสมสารละลาย HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 จานวน 10 cm3 เข้ากับสารละลาย NH4OH เข้มข้น
0.05 mol/dm3 จานวน 40 cm3 สารละลายที่ได้มีสมบัติอย่างไร (Ent’38)
(NH4OH มี Kb = 1.8x10-5 , log 1.8 = 0.2553 , โบรโมไทมอลบลูมีช่วง pH 3 – 4.6 สีเหลือง – น้าเงิน)

1. สารละลายเป็นเบส pH > 7
2. สารละลายเป็นบัฟเฟอร์ pH < 7
3. เปลี่ยนสีเมื่อใช้โบรโมไทมอลบลูทดสอบเปลี่ยนจากสีน้าเงินเป็นสีเหลือง
4. ไม่เปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสสีแดง

202. สารละลายคู่กรดเบนโซอิกกับโซเดียมเบนโซเอต 10 cm3 มี pH เท่าไร ถ้าความเข้มข้นของเบนโซ


อิกเป็น 2 เท่า ของโซเดียมเบนโซเอตเมื่อปริมาตรเท่ากัน (Ka ของกรดเบนโซอิก = 5.0x10-5)

1. 1 2. 4 3. 5 4.6

203. สารละลายบัฟเฟอร์ที่ประกอบด้วยกรดฟอร์มิกและโพแทสเซียมฟอร์เมตมี pH เท่ากับ 4 อัตราส่วน


ระหว่างความเข้มข้นของเกลือ : กรด ควรมีค่าประมาณเท่าใด (Ka = 1.8x10-4) (Ent’35)

1. 0.36x10-4 2. 0.55 3. 1.1 4. 1.8

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 84 | www.edu-deo.com

204. ในการเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ CH3COOH 100 cm3 และ CH3COONa 100 cm3 โดยใช้
สารละลาย CH3COOH และ CH3COONa ที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน ดังแสดงในตาราง

สารละลายบัฟเฟอร์ [CH3COOH] , mol/dm3 [CH3COONa] , mol/dm3


A 0.01 0.01
B 0.1 0.01
C 0.1 0.1
D 0.1 1

กาหนดให้ Ka ของ CH3COOH = 1.8x10-5


pKa ของ CH3COOH = 4.77

การเปรียบเทียบค่า pH ของสารละลายบัฟเฟอร์ที่เตรียมได้ ข้อใด ถูกต้อง (Ent’ต.ค.45)

1. สารละลายบัฟเฟอร์ที่มีค่า pH สูงสุดคือ B
2. สารละลายบัฟเฟอร์ที่มีค่า pH ต่าสุดคือ A
3. pH ของสารละลาย C สูงกว่า pH ของสารละลาย D
4. pH ของสารละลาย C เท่ากับ pH ของสารละลาย A

205. ถ้าผสมกรดและเกลือที่มีความเข้มข้นและปริมาตรเท่ากันต่อไปนี้ สารละลายคู่ใดมี pH สูงสุด


(Ent’ต.ค.42) กาหนดให้ Ka ของ HF = 6.8x10-4
C6H5COOH = 6.6x10-5
CH3COOH = 1.8x10-5
HNO2 = 5.1x10-4

1. HF , NaF 2. CH3COOH , CH3COONa


3. C6H5COOH , C6H5COONa 4. HNO2 , NaNO2

206. ถ้าต้องการเตรียมสารละลายบัฟเฟอร์ pH 8 ปริมาตร 40 cm3 จากเบสอ่อน 0.05 mol/dm3


ปริมาตร 20 cm3 ผสมกับเกลือของเบสนั้น 5.0 กรัม ในสารละลาย 20 cm3 มวลโมเลกุลของเกลือของ
เบสที่ใช้ต้องมีค่าเท่าใด (กาหนดให้ Kb = 1.0x10-6)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 85 | www.edu-deo.com

207. นาสารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ปริมาตร 25.00 cm3 มาเติมสารละลาย KOH
เข้มข้น 0.15 mol/dm3 ปริมาตร 10.00 cm3 พบว่าสารละลายที่ได้มี pH = 4.0 ค่า Ka มีค่าเท่าใด (A-
Net’50)
1. 6.42x10-5 2. 6.53x10-5 3. 6.67x10-5 4. 6.74x10-5

208. นักวิ่งมาราธอนตรวจวัด pH ในเลือดก่อนวิ่งได้เป็น 7.4 เมื่อวิ่งแข่งขันเสร็จได้ค่า pH เป็น 7.1 ถ้า


pH ของเลือดถูกควบคุมด้วยความเข้มข้นของ H2CO3 / HCO3- และ H2PO4- / HPO42- อัตราส่วนที่
เปลี่ยนแปลงข้อใด ถูก (Ent’มี.ค.42)
[ ] [ ]
1. ลดลง 2. เพิ่มขึ้น
[ ] [ ]

[ ] [ ]
3. ลดลง 4. เพิ่มขึ้น
[ ] [ ]

1. 1 และ 3 2. 1 และ 4 3. 2 และ 3 4. 2 และ 4

209. pH ของสารละลาย HCl เข้มข้น 1.8x10-5 mol/dm3 จะเท่ากับ pH ของสารละลายในข้อใด (Ent’34)

1. H2SO4 เข้มข้น 1.8x10-5 mol/dm3 , H2SO4 แตกตัว 100%


2. HNO3 เข้มข้น 0.9x10-5 mol/dm3 , HNO3 แตกตัว 100%
3. H2CO3 เข้มข้น 1.8x10-5 mol/dm3 , Ka = 4.4x10-7
4. CH3COOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ผสมอยู่ CH3COONa เข้มข้น 0.1 mol/dm3 , Ka =1.8x10-5

210. สารละลายใดต่อไปนี้มี pH เท่ากับสารละลายที่มี [H3O+] เข้มข้น 1.0x10-9 mol/dm3 (Ent’38)

1. สารละลายกรดอ่อน HA เข้มข้น 0.01 mol/dm3 (Ka = 1.0x10-6)


2. สารละลายเกลือของเบสอ่อน BX เข้มข้น 0.10 mol/dm3 (Kb = 1.0x10-5)
3. สารละลาย KOH เข้มข้น 1.0x10-4 mol/dm3
4. สารละลายผสมของเบสอ่อน BOH และเกลือของเบสนี้ BX เข้มข้นอย่างละ 0.10 mol/dm3
(Kb = 1.0x10-5)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 86 | www.edu-deo.com

211. จากข้อมูลต่อไปนี้

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน สีของสารละลายตัวอย่าง


เมทิลออเรนจ์ 3.2 – 4.4 แดง – เหลือง เหลือง
คองโกเรด 3.0 – 5.0 น้าเงิน – แดง แดง
ฟีนอลเรด 6.8 – 8.4 เหลือง – แดง เหลือง

พิจารณาสารละลายต่อไปนี้ (Ent’มี.ค.44)

1. สารละลาย H2SO4 2x10-6 mol/dm3


2. สารละลาย HA 0.1 mol/dm3 ผสมกับ NaA 0.1 mol/dm3 (Ka = 5x10-5)
3. สารละลายที่มีแก๊ส HCl ที่ 27 จานวน 0.001 โมล ละลายในน้า 50 dm3

สารละลายในข้อใดเปลี่ยนสีอินดิเคเตอร์เช่นเดียวกับสารละลายตัวอย่าง (ให้ log 2 = 0.3 , log 5 = 0.7)

1. 1 เท่านั้น 2. 2 เท่านั้น 3. 1 และ 2 เท่านั้น 4. 1 2 และ 3

212. สารละลายในข้อใดมี pH สูงที่สุด (Ent’มี.ค.45)

1. BOH 0.02 mol/dm3 , Kb = 5x10-7


2. NH3 0.1 mol/dm3 250 cm3 ผสมกับ HCl 0.1 mol/dm3 5 cm3 , Kb = 2x10-3
3. Na2SO4 2 กรัม ในน้า 100 cm3 , Kb = 9.8x10-13
4. NaCN 10-3 mol/dm3 , Kb = 2.5x10-5

การไทเทรต
คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 213

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH การเปลี่ยนสี


A 6.0 – 7.6 เหลือง – น้าเงิน
B 8.3 – 10.4 ไม่มีสี – แดง
C 6.7 – 8.3 เหลือง – แดง

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 87 | www.edu-deo.com

213. ในการหาปริมาณของกรดแอซีติกในน้าส้มสายชูแท้ โดยนามาติเตรตกับสารละลาย NaOH


0.1 mol/dm3 pH ที่จุดสะเทินเท่ากับ 8.7

การทดลอง สารละลายบรรจุใน สารละลายบรรจุในขวดรูปกรวย อินดิเคเตอร์


บิวเรตต์
1. น้าส้มสายชู NaOH A
2. น้าส้มสายชู NaOH B
3. NaOH น้าส้มสายชู C
4. NaOH น้าส้มสายชู D

การจะหาปริมาณของกรดแอซีติกได้ ถูกต้อง ควรทดลองตามข้อใด (Ent’34)

1. 1 และ 2 2. 3 และ 4 3. 2 4. 4

214. ข้อใดเป็นการทดลองที่เหมาะสมที่สุดในการหาเปอร์เซ็นต์ของกรดแอสคอร์บิกที่มีอยู่ในวิตามินซี
ซึ่งขยาตามท้องตลาด (Ent’27)

1. นาวิตามินซีมาละลายน้า ใส่ลงในขวดรูปกรวย หยดฟีนอล์ฟทาลีน 2 หยด ไขสารละลาย


มาตรฐาน NaOH จากบิวเรตต์ พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทั่งกลายเป็นสีชมพู อ่าน
ปริมาตร NaOH ที่ใช้ไป
2. ชั่งวิตามินซีมาละลายน้าใส่ลงในขวดรูปกรวย หยดฟีนอล์ฟทาลีน 2 หยด ไขสารละลาย
มาตรฐาน NaOH จากบิวเรตต์ พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทั่งกลายเป็นสีชมพู อ่าน
ปริมาตร NaOH ที่ใช้ไป
3. ชั่งวิตามินซีมาละลายน้าใส่ลงในขวดรูปกรวย หยดฟีนอล์ฟทาลีน 2 หยด สารละลาย
มาตรฐาน NaOH จากกระบอกฉีดยา พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทั่งกลายเป็นสีชมพู อ่าน
ปริมาตร NaOH ที่ใช้ไป
4. ชั่งวิตามินซีมาละลายน้าใส่ลงในขวดรูปกรวย หยดฟีนอล์ฟทาลีน 2 หยด ไขสารละลาย
มาตรฐาน NaOH จากบิวเรตต์ พร้อมเขย่าสารละลาย จนกระทั่งสารละลายไม่มีสี อ่าน
ปริมาตรNaOH ที่ใช้ไป

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 88 | www.edu-deo.com

215. จากข้อมูลต่อไปนี้

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน


A 8.1 – 9.7 เหลือง – น้าเงิน
B 4.4 – 6.0 แดง – เหลือง

ในการไทเทรตสารละลาย NH3 ที่ไม่ทราบความเข้มข้น 25.0 cm3 ด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น


0.10 mol/dm3 ที่จุดยุติใช้สารละลาย HCl 25.0 cm3 การเลือกอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสมที่สุดในการไทเทรต
และการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ที่จุดยุติ ข้อใด ถูกต้อง (กาหนดให้ log5 = 0.7 , log7 = 0.8 ,
Ka ของ NH4+ = 5.0x10-10 , Kb ของ NH3 = 2.0x10-5)

ตัวเลือก อินดิเคเตอร์ การเปลี่ยนสี


1. A เหลือง  น้าเงิน
2. A น้าเงิน  เหลือง
3. B แดง  เหลือง
4. B เหลือง  แดง

216.
ชนิดของพืชที่นามาสกัด ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี สีที่เปลี่ยน
อัญชัน 1–3 แดง – ม่วง
กระเจี๊ยบ 6–7 แดง – เขียว
ชบาซ้อน 7–8 แดง – เขียว
ดาวเรืองเหลือง 9 – 10 ไม่มีสี – เหลือง
กล้วยไม้ 10 – 11 ไม่มีสี – เหลือง
ทองกวาว 11 – 12 เหลืองเขียว – แดง

ในการไทเทรต NaOH ด้วย HCl ข้อใด ถูกต้อง (Ent’ต.ค.45)

1. ถ้าใช้สีที่สกัดจากดาวเรืองเหลือง หลังจากเกินจุดยุติแล้ว สารละลายจะมีสีเหลือง


2. ถ้าใช้ NaOH 1 mol/dm3 ปริมาตร 10 cm3 ไทเทรตกับ HCl เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ไม่ควรใช้
สีที่สกัดจากชบาซ้อนเป็นอินดิเคเตอร์

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 89 | www.edu-deo.com

3. ถ้าใช้ NaOH 0.01 mol/dm3 ปริมาตร 50 cm3 ไทเทรตกับ HCl 1 mol/dm3 ควรใช้สีที่สกัด
จาก
ดอกกระเจี๊ยบเป็นอินดิเคเตอร์
4. ถ้าใช้ NaOH 1 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 ไทเทรตกับ HCl 0.01 mol/dm3 ควรใช้สีที่สกัด
จาก
ดอกทองกวาวเป็นอินดิเคเตอร์

217. กาหนดตารางแสดงช่วง pH ของอินดิเคเตอร์ 4 ชนิด (Ent’32)

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่เปลี่ยนสี การเปลี่ยนสี


เมทิลออเรนจ์ 3.1 – 4.4 แดง – เหลือง
เมทิลเรด 4.4 – 6.0 แดง – เหลือง
ฟีนอลเรด 6.7 – 8.3 เหลือง – แดง
ฟีนอล์ฟทาลีน 8.3 – 10.4 ไม่มีสี – แดง

ในการไทเทรตสารละลาย NaOH 0.2 mol/dm3 จานวน 50 cm3 ด้วยสารละลาย HCl 0.1 mol/dm3 ถ้าใช้
อินดิเคเตอร์ชนิดต่างๆ สีของสารละลายจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เมื่อหยดสารละลาย HCl ปริมาตร
ต่างกัน

สีของสารละลายเมื่อหยดสารละลาย HCl 0.1 mol/dm3


ตัวเลือก อินดิเคเตอร์
50 cm3 100 cm3 150 cm3
1. เมทิลออเรนจ์ เหลือง ส้ม แดง
2. เมทิลเรด แดง ส้ม เหลือง
3. ฟีนอลเรด แดง ส้ม เหลือง
4. ฟีนอล์ฟทาลีน ไม่มีสี ชมพู แดง

218. ในการไทเทรตระหว่างสารละลายกรดแอซีติก และสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ เมื่อถึงจุดยุติจะ


ได้สารละลายซึ่งมี pH เท่ากับเท่าใด (Ent’19)

1. เท่ากับ 7 2. มากกว่า 7
3. น้อยกว่า 7 4. น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 90 | www.edu-deo.com

219. ที่จุดสะเทินของการไทเทรตระหว่างสารละลายแอมโมเนียกับกรดเปอร์คลอริก (HClO4) ได้


สารละลายที่มีสมบัติเป็น (Ent’20)

1. กลาง 2. กรดอ่อน 3. กรดแก่ 4. ด่างแก่

220. เมื่อกรดแอซีติกเป็นกรดอ่อนและกรดไฮโดรคลอริกเป็นกรดแก่ ข้อความใดต่อไปนี้ ไม่ถูกต้อง


(Ent’30)

1. ค่า pH ของ 0.1 mol/dm3 กรดไฮโดรคลอริกจะมีค่าน้อยกว่าค่า pH ของ 0.1 mol/dm3


กรดแอซีติก
2. ค่าคงที่ของการแตกตัวของกรดแอซีติกจะน้อยกว่าค่าคงที่การแตกตัวของกรดไฮโดรคลอริก
3. ต้องใช้ปริมาตรของ 0.1 mol/dm3 NaOH ในการสะเทิน 0.1 mol/dm3 HCl มีค่าน้อยกว่าใน
การสะเทิน 0.1 mol/dm3 ของกรดแอซีติก

221. เปรียบเทียบกรด 2 ชนิด คือ กรดเอทาโนอิก (Ka = 1.8x10-5) และกรดไฮโดรคลอริก ได้ข้อสรุป


ดังนี้

1. สารละลาย 0.1 M HCl มี pH ประมาณ 1


2. สารละลายที่ประกอบด้วย 0.1 โมล กรดเอทาโนอิก และ 0.1 โมล โซเดียมเอทาโนเอต
จัดเป็นสารละลายบัฟเฟอร์ที่ดี
3. สารละลาย 0.1 M HCl มี pH น้อยกว่าสารละลาย 0.1 M กรดเอทาโนอิก
4. สารละลายที่เตรียมจากโซเดียมไฮดรอกไซด์และกรดไฮโดรคลอริกที่มีจานวนโมลเท่ากัน จะมี
pH สูงกว่าสารละลายที่เตรียมจากโซเดียมไฮดรอกไซด์ และกรดเอทาโนอิกที่มีจานวนโมล
เท่ากัน

ข้อสรุปใด ถูกต้อง (Ent’ต.ค.41)

1. 4 เท่านั้น 2. 1 และ 3 3. 2 และ 4 4. 1 , 2 และ 3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 91 | www.edu-deo.com

222. ในการไทเทรตกรดอ่อน HA และ HB เข้มข้น 0.1 mol/dm3 เท่ากันด้วย NaOH เข้มข้น 0.1
mol/dm3

กรด Ka pH ที่จุดเริ่มต้น pH ที่จุดยุติ


HA 1x10-5 a x
HB 1x10-10 b y

การเปรียบเทียบ pH ของสารละลายในข้อใด ถูกต้อง (Ent’ต.ค.45 , Ent’มี.ค.47)

1. a < b x<y 2. a < b x>y


3. a > b x>y 4. a > b x<y

223. กราฟในข้อใดแสดงการเปลี่ยนแปลงค่า pH ของสารละลายที่ได้จากการไทเทรต สารละลายกรด


แอซีติกกับสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ โดยการเติมสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในสารละลาย
กรดแอซีติก (Ent’27)

224. กาหนดให้
เบสอ่อน Kb
B1 2.0x10-5
B2 2.2x10-7
B3 2.4x10-9
ถ้านาเบสอ่อนแต่ละชนิดที่ความเข้มข้นและปริมาตรเท่ากันมาไทเทรตกับสารละลายมาตรฐาน HCl
เข้มข้น 0.100 mol/dm3 จะให้กราฟการไทเทรตในข้อใด (Ent’39)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 92 | www.edu-deo.com

225. นาสารละลาย Na2CO3 เข้มข้น 0.1 mol/dm3 ปริมาตร 10 cm3 มาไทเทรตกับสารละลาย HCl
เข้มข้นเท่ากัน โดยใช้อินดิเคเตอร์ผสม A และ B ซึ่งมีการเปลี่ยนสีในช่วง pH ต่างๆดังนี้

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH ที่มีการเปลี่ยนสี


A 3.8 (เหลือง) – 5.4 (น้าเงิน)
B 8.3 (ไม่มีสี) – 10.4 (ชมพู)

กราฟการเปลี่ยน pH และการเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ ควรเป็นไปตามข้อใด

226. ลักษณะของกราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลาย NH4OH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ด้วยสารละลาย


HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 กราฟที่ได้จากการไทเทรตสารละลาย NaHCO3 เข้มข้น 0.01 mol/dm3 ด้วย
สารละลายกรด HCl เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ควรมีลักษณะอย่างไร (Ent’38)
(NH4OH มี Kb = 1.8x10-5 : H2CO3 มี Ka1 = 4.4x10-7 , Ka2 = 5.0x10-11)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 93 | www.edu-deo.com

คาชี้แจง ข้อมูลต่อไปนี้ ใช้ประกอบการตอบคาถามข้อ 227

อินดิเคเตอร์ ช่วง pH การเปลี่ยนสี


A 3.0 – 5.0 น้าเงิน – แดง
B 3.5 – 4.5 แดง – เหลือง
C 4.0 – 5.5 เหลือง – น้าเงิน
D 4.0 – 6.5 แดง – เหลือง
E 7.0 – 8.5 เหลือง – แดง

นาสารละลายกรด 3 ชนิด HX , HY และ HZ ที่เข้มข้นเท่ากันปริมาณ 2.5 cm3 มาไทเทรตทีละชนิดกับ


สารละลายมาตรฐาน NaOH 0.1 mol/dm3 จะได้กราฟไทเทรต ดังรูป

จากข้อมูล การสรุปข้อใด ผิด (Ent’37)


1. Ka ของกรด HX มีค่าต่าสุด และในการไทเทรตต้องใช้อินดิเคเตอร์ E เท่านั้น
2. HX เป็นกรดที่อ่อนกว่า HY และ pH ที่จุดสมมูลของการไทเทรตกรด HX มีค่าสูงสุด
3. การไทเทรต HZ สามารถใช้อินดิเคเตอร์ทั้ง A , B , C และ E
4. การไทเทรต HY อินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม คือ D และ E

228. การนาไฟฟ้าของสารละลายที่หยดสารละลาย H2SO4 ลงในสารละลาย Ba(OH)2 เรื่อยๆ จนมี


ปริมาตรมากเกินพอควรมีลักษณะเหมือนกราฟในรูปใด (Ent’28)

1. 1 2. 2

3. 3 4. 4

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 94 | www.edu-deo.com

229. ถ้าใช้สมบัติการนาไฟฟ้าของสารละลายอิเล็กโทรไลต์เพื่อหาจุดสมมูลในการไทเทรต หาความ


เข้มข้นของ Ba(OH)2 ด้วยสารละลายมาตรฐาน H2SO4 ปฏิกิริยาเกิดดังสมการ

Ba(OH)2 (aq) + H2SO4 (aq)  BaSO4 (s) + H2O (l)

กาหนดให้ แกน x แสดงปริมาตรของสารละลายมาตรฐาน H2SO4 ที่ใช้


แกน y แสดงการนาไฟฟ้าของสารละลาย
และ a แสดงจุดสมมูล

ควรได้กราฟของการไทเทรตในลักษณะใด (Ent’มี.ค.45)

230. เมื่อต้องการวิเคราะห์ปริมาณ Ba(OH)2 ในสารละลาย โดยนามาไทเทรตด้วยกรดซัลฟูริกเข้มข้น


0.05 mol/dm3 และวัดค่าการนาไฟฟ้าระหว่างการไทเทรต กราฟที่ได้ควรมีลักษณะเช่นไร (X คือ จุด
สมมูลของการสะเทิน) (Ent’38)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 95 | www.edu-deo.com

231.

สารละลาย Na2CO3 บรรจุในภาชนะต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้า ดังรูป


เมื่อหยดสารละลาย CaCl2 0.1 mol/dm3 จากบิวเรตต์ลงมาในสารละลาย Na2CO3 ดังกล่าว ในปริมาตร
ต่างๆกัน เสียงจากกระดิ่งไฟฟ้าจะเป็นอย่างไร (Ent’32)

ตัวเลือก ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3


ก่อนหยด CaCl2 เมื่อหยด CaCl2 50 cm3 เมื่อหยด CaCl2 มากเกินพอ
1. เสียงดัง เสียงค่อยลง เสียงดังมากกว่าขั้นที่ 1
2. ไม่มีเสียง เสียงค่อยลง เสียงดังกว่าขั้นที่ 2
3. เสียงดัง ไม่มีเสียง เสียงดังเท่าขั้นที่ 1
4. เสียงดัง เสียงค่อยลง ไม่มีเสียง

232. ในการไทเทรตสารละลาย Ba(OH)2 จานวน 20 cm3 กับสารละลายกรดซัลฟูริกเข้มข้น 0.10


mol/dm3 การนาไฟฟ้าของสารละลายผสมเปลี่ยนแปลงตามกราฟข้อใด (Ent’มี.ค.43)

233. กาหนดให้

สารละลาย ความเข้มข้น (mol/dm3) ปริมาตร (cm3) ร้อยละการแตกตัวของกรด


A 1x10-3 20 80
B 1x10-2 50 50
C 1x10-1 100 40
D 1 250 30

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 96 | www.edu-deo.com

ข้อใดถูก (Ent’มี.ค.46)

1. NaOH 0.04 โมล ทาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย HC


2. สารละลาย HB มีปริมาณ H+ น้อยกว่าใน HC
3. สารละลาย HA มี pH เท่ากับ 3
4. กรด HD เป็นกรดอ่อนที่สุด

234. ในการไทเทรตสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 กับ NaOH เข้มข้น
0.1 mol/dm3 ข้อใดผิด

1. จุดสมมูลอยู่ที่ pH เท่ากับ 7
2. อินดิเคเตอร์ที่เปลี่ยนสีในช่วง pH 5 – 6 ใช้ในการไทเทรตนี้ได้
3. จานวนโมลของ HCl ที่ใช้ เท่ากับ 0.004
4. เมื่อเติม NaOH ลงไป 40 cm3 จะมี [OH-] เหลืออยู่ 0.004 โมล

235. การแตกตัวของสารละลาย NH3 เข้มข้น 0.1 mol/dm3 (Kb = 1.0x10-5) ข้อใดถูกต้อง (Ent’40)

1. มี [NH4+] = 0.1 mol/dm3


2. แตกตัวได้ร้อยละ 10
3. มีค่า pH = 10
4. สารละลาย NH3 ปริมาตร 20 cm3 จาทาปฏิกิริยาพอดีกับ HCl 0.2 mol/dm3 , 10 cm3

236. เมื่อนาสารแต่ละคู่มาผสมกัน สารละลายในข้อใดมี pH สูงสุด (Ent’41)

1. HCl 0.1 M ผสมกับ NH3 0.2 M ปริมาตรเท่ากัน


2. Ba(OH)2 0.05 M ผสมกับ H2SO4 0.05 M ปริมาตรเท่ากัน
3. CH3COOH 0.1 M ผสมกับ KOH 0.2 M ปริมาตรเท่ากัน
4. HNO3 0.05 M จานวน 50 cm3 ผสมกับ KOH 0.10 M จานวน 30 cm3

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 97 | www.edu-deo.com

237. ในการไทเทรตสารละลายกรดซัลฟูริก เข้มข้น 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 10.0 cm3 กับสารละลาย


แอมโมเนียเข้มข้น 0.12 mol/dm3 จนถึงจุดยุติข้อใดให้ผลใกล้เคียงความจริงมากที่สุด (Ent’34)

ตัวเลือก ปริมาณ NH3 ที่อ่านได้ (cm3) อินดิเคเตอร์ การเปลี่ยนสีของอินดิเคเตอร์ (ช่วง pH)


1. 4 เมทิลออเรนจ์ แดง + ส้ม (3.1 – 4.4)
2. 4.2 โบรโมไทมอลบลู เหลือง + เขียว (6.0 – 7.6)
3. 8.3 เมทิลเรด แดง + ส้ม (4.4 – 6.0)
4. 8.3 ฟีนอล์ฟทาลีน ไม่มีสี + ชมพู (8.3 – 10.4)
238. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.05 M ปริมาตร 30 cm3 จะต้องใช้กรดฟอสฟอริก
เข้มข้น 0.25 M กี่ cm3 (Ent’35)

1. 0.4 2. 4 3. 8 4. 12

239. ถ้าต้องการสะเทินสารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.45 mol/dm3 ปริมาตร 40.0 cm3 อย่างสมบูรณ์
ต้องใช้สารละลายกรด H3PO4 20.0 cm3 กรด H3PO4 ที่ใช้มีความเข้มข้นกี่ mol/dm3 (Ent’มี.ค.46)

1. 0.60 2. 0.90 3. 1.20 4. 1.35

240. ในการเตรียม Na2SO4 จะต้องใช้ NaOH 0.300 mol/dm3 กี่ cm3 ในการทาปฏิกิริยาพอดีกับ H2SO4
0.170 mol/dm3 ปริมาตร 0.500 mol/dm3 (Ent’มี.ค.42)

1. 85 2. 142 3. 283 4. 567

241. แบเรียมไฮดรอกไซด์ทาปฏิกิริยากับกรดไฮโดรคลอริกดังสมการ

Ba(OH)2 (aq) + 2HCl (aq)  BaCl2 (aq) + 2H2O (l)

ถ้าสารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์ 20 cm3 ทาปฏิกิริยาสะเทินด้วยกรดไฮโดรคลอริก เข้มข้น 0.1 M


ปริมาตร 30 cm3 สารละลายแบเรียมไฮดรอกไซด์มีความเข้มข้นกี่โมลาร์ (Ent’41)

1. 0.300 2. 0.150 3. 0.100 4. 0.075

242. นักเรียนคนหนึ่งนาสารละลาย NH3 (Kb = 1.8x10-5) เข้มข้น 0.12 mol/dm3 มาไทเทรตกับ


สารละลายตัวอย่าง HCl 3 ครั้ง พบว่าสารละลาย NH3 จานวน 10 cm3 ทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl
13.18 cm3 โดยเฉลี่ยสารละลาย HCl ที่ใช้มีความเข้มข้นกี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (Ent’ต.ค.42)

1. 0.1x10-5 2. 1.12x10-5 3. 9.1x10-2 4. 1.6x10-1

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 98 | www.edu-deo.com

243. น้าส้มสายชูตัวอย่างมีกรดอะซีติกอยู่ร้อยละ 4.8 โดยมวล/ปริมาตร ในการไทเทรตน้าส้มสายชูกับ


สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ พบว่าน้าส้มสายชู 10 cm3 ทาปฏิกิริยาพอดีกับสารละลาย NaOH 20
cm3 จงหาความเข้มข้นของสารละลาย NaOH ในหน่วยร้อยละโดยมวล/ปริมาตร (Ent’ ต.ค.43)

1. 1.0 2. 1.6 3. 2.0 4. 2.4

244. ยาแก้ปวดมีองค์ประกอบสาคัญ คือ แอสไพริน ซึ่งเป็นมอนอโปรติก มีสูตร HC9H7O4 ถ้านา


ตัวอย่างยาแก้ปวดนี้มา 0.5 กรัม มาวิเคราะห์ โดยการไทเทรตด้วย NaOH เข้มข้น 0.1 mol/dm3 พบว่า
ต้องใช้ NaOH 20.0 cm3 จงหาร้อยละของแอสไพรินในยานี้ (Ent’31)

245. การทดลองหาปริมาณกรดแอซีติกในน้าส้มสายชู ดังนี้


1. ปิเปตต์น้าส้มสายชูตัวอย่าง 10.00 cm3 ใส่ขวดปริมาตรขนาด 100 cm3 แล้วเติมน้ากลั่น
จนถึงขีดปริมาตร เขย่า

2. ปิเปตต์สารละลายในข้อ 1. ปริมาตร 10.00 cm3 ใส่ขวดรูปกรวย หยดฟีนอล์ฟทาลีน 3 หยด


นาไปไทเทรตกับสารละลายมาตรฐาน NaOH เข้มข้น 0.105 mol/dm3 อ่านสเกลบนบิวเรตต์ ก่อนการ
ไทเทรตได้ 10.50 cm3 เมื่อไทเทรตถึงจุดยุติได้สารละลายสีชมพูอ่อน อ่านสเกลบนบิวเรตต์ได้ 20.50
cm3 จงหาร้อยละโดยมวลของกรดแอซีติกในน้าส้มสายชู (กาหนดความหนาแน่นของกรดแอซีติกใน
น้าส้มสายชู 1.005 g/cm3) (Ent’39)

246. หินชนิดหนึ่งมี CaCO3 เป็นองค์ประกอบ เมื่อนาไปเผาจะได้ CaO ซึ่งไม่ละลายน้า และให้


Ca(OH)2 ในการวิเคราะห์ครั้งหนึ่ง เมื่อนาหินตัวอย่าง 0.25 กรัม มาทาตามวิธีการข้างต้น แล้วนา
สารละลาย Ca(OH)2 ที่ได้มาไทเทรตกับสารละลาย HCl 0.10 mol/dm3 จานวน 36.0 cm3 จงหามวลเป็น
ร้อยละของ CaCO3 ในหินตัวอย่างนั้น (Ent’39)

247. สารละลาย NH3 ที่ต้องการหาความเข้มข้น ปริมาตร 25.0 cm3 เมื่อทาปฏิกิริยากับสารละลาย HCl


เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ที่มากเกินพอ ปริมาตร 40.0 cm3 พบว่า ปริมาณ HCl ที่เหลือทาปฏิกิริยาพอดี
กับสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.05 mol/dm3 ปริมาตร 20.0 cm3 ความเข้มข้นของสารละลาย NH3 มีค่า
กี่โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (A-Net’50)

1. 0.08 2. 0.12 3. 0.26 4. 0.35


© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com
สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ
อดิลักษณ์ พิสุทธิ์ปัญญา (พี่ต๊ะ) | 99 | www.edu-deo.com

248. ยาลดกรดชนิดหนึ่งมี MgCO3 และ Mg(OH)2 เป็นองค์ประกอบ โดยมี MgCO3 ร้อยละ 21 โดยมวล
ถ้านายาลดกรดชนิดนี้ 0.2 กรัม มาไทเทรตจนถึงจุดยุติด้วยสารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 mol/dm3
ปรากฏว่า ต้องใช้สารละลาย HCl ปริมาตร 25 cm3 จงหาร้อยละโดยมวลของ Mg(OH)2 ในยาลดกรด
(Ent’ ต.ค. 47)

1. 13 2. 29 3. 58 4. 70.5

249. ยาลดกรดชนิดหนึ่งบดละเอียด หนัก 1.00 กรัม ค่อยๆเติม HCl เข้มข้น 1.0 mol/dm3 ลงไปจนครบ
15.0 cm3 เขย่าจนไม่เกิดฟองแก๊สอีก อุ่นให้ร้อนแล้วกรองส่วนที่ไม่ละลายออก ถ่ายของเหลวลงในขวด
วัดปริมาตรขนาด 100 cm3 ไทเทรตกับ NaOH เข้มข้น 0.10 mol/dm3 ที่จุดยุติใช้ 12.50 cm3 จง
คานวณหาปริมาณ CaCO3 ในยาลดกรดตัวอย่างเป็นร้อยละโดยมวล (Ent’มี.ค.48)

250. นักเรียนคนหนึ่งทาการทดลองหาร้อยละโดยมวลของแป้งในยาลดกรด ซึ่งมีส่วนผสมของ MgCO3


และแป้งดังนี้
1. ชั่งยาลดกรด 1.00 กรัม บดให้ละเอียดละลายในน้ากลั่น 20 cm3
2. เติมสารละลาย HCl เข้มข้น 1.00 mol/dm3 ปริมาตร 20 cm3 ลงในสารละลายข้อ 1 นาไปอุ่น
3. กรอง ล้างภาชนะด้วยน้ากลั่นปริมาณเล็กน้อย แล้วเทชะบนกระดาษกรอง 2-3 ครั้ง
4. ทาสิ่งที่กรองได้ให้มีปริมาตร 100 cm3 ไทเทรตด้วยสารละลาย NaOH เข้มข้น 0.20 mol/dm3
ที่จุดยุติใช้สารละลาย NaOH 5.0 cm3
จงคานวณหาร้อยละโดยมวลของแป้งในยาลดกรด (Ent’ต.ค.43)

251. ถ้าระดับแอลกอฮอร์ในเลือดสามารถหาได้จากการไทเทรตกับสารละลายโพแทสเซียมไดโครเมต
ดังสมการนี้

C2H5OH + 2Cr2O72- + 16H+  2CO2 + 4Cr3+ + 11H2O


ถ้าใช้ตัวอย่างเลือด 10.0 กรัม จะทาปฏิกิริยาพอดีกับ K2Cr2O7 เข้มข้น 0.0500 mol/dm3 ปริมาตร
8.10 cm3 จงคานวณหาระดับแอลกอฮอร์ในเลือดเป็นร้อยละโดยมวล (Ent’ต.ค.47)

© 2011 All Rights Reserved. www.Edu-deo.com


สงวนลิขสิทธิ์โดย www.Edu-deo.com ห้ามผูใ้ ดท้าซ้าหรือลอกเลียนแบบ หรือคัดลอกบทความไปใช้โดยมิได้รับอนุญาต
สิ่งที่เราต้องการมากที่สุด มักต้องแลกด้วยสิ่งที่มีค่ามากที่สุดเสมอ

You might also like