You are on page 1of 41

Research Project Proposal

UTILIZATION OF NATURAL POZZOLANS AS CEMENTITIOUS MATERIALS

Project Leader Dr. Theerawat Sinsiri


Project Consultant Prof. Dr. Prinya Chindaprasirt
School of Study Civil Engineering
Institute Engineering
Suranaree University of Technology

Abstract

The aims of this research are to investigate the utilization of natural pozzolans (diatomite, perlite
and zeolite) as cementitious materials on physical properties, microstructure of hardened blended
cement paste and durability of mortars. The mix proportions of paste and mortar used in this study
were designed in 2 series. In series 1, a constant water to binder ratio (w/b) of 0.35 was used.
Natural pozzolans were used to replace Portland cement at the rate of 0, 20, and 40 percent by
weight of binder. The compressive strength, pore structure, and microstructure (XRD, TGA, SEM,
MIP and BSE) of hardened pastes were tested at the ages of 3, 14, 28, 60 and 90 days. In series 2,
the flow of mortars in the rang of 105 to 115 were controlled by adjusting the quantity of mixing
water. Natural pozzolans were used to replace Portland cement at the rate of 0, 20, and 40 percent
by weight of binder. Air permeability and porosity by helium of mortars containing natural
pozzolans were determined at the ages of 28 and 90 days. The compressive strength and strength
activity index of mortars, weight loss of mortars due to sulfuric acid attack, expansion of mortars in
magnesium sulfate solution were also tested.
The results will verify the effect of natural pozzolans on air permeability, prosity, compressive
strength and durability of mortars. The microstructure development of cement paste containing
natural pozzolans will determine and this will lead to a better understanding on the development of
the pore structure, permeability and compressive strength. In addition, expected papers will be
published in the international journal as follow:
“Effect of Natural Pozzolans on Porosity and Air Permeability of Mortars” will be
published in Construction and Building Materials.
“Influence of Natural Pozzolans on Microstructure of Blended Cement Paste” will be published in
Cement and Concrete Composites.

Keywords : Natural Pozzolan / Compressive Strength / Porosity / Air Permeability/


Microstructure/Durability/ Blended Cement Paste/Mortar
-2-

แบบเสนอโครงการวิ จยั
ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิ จยั ของอาจารย์ร่นุ ใหม่
สำนักคณะกรรมการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิ จยั

1. ชื่อโครงการ
การใช้วสั ดุปอซโซลานธรรมชาติเพือ่ เป็ นวัสดุประสาน
(UTILIZATION OF NATURAL POZZOLANS AS CEMENTITIOUS MATERIALS)

2. คณะนักวิ จยั
หัวหน้าโครงการ ดร.ธีรวัฒน์ สินศิริ
Dr. Theerawat Sinsiri
คุณวุฒิ วศบ. โยธา, M.Eng. (Structural Engineering)
Ph.D. (Civil Engineering)
สถานทีทำ
่ งาน สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี
111 ถนนมหาวิทยาลัย
ตำบลสุรนารี อำเภอเมือง
จังหวัดนครราชสีมา 30000
โทร (044) 22-4465 โทรสาร (044) 22-4220
หน้าทีร่ บั ผิดชอบ วางแผนงาน ทำงานในห้องปฏิบตั กิ าร
ติดต่อประสานงาน สรุปและประเมินผล
เวลาทีใ่ ช้ สัปดาห์ละ 20 ชัวโมง

3. สาขาวิ ชาที่ทำการวิ จยั


เทคโนโลยีทางด้านคอนกรีต (คอนกรีตมวลเบา, คอนกรีตผสมสารปอซโซลาน, โครงสร้างระดับจุลภาค
(Microstructure and Nanostructure) ของวัสดุซเี มนต์ผสม)

4. ความสำคัญและที่มาของปัญหาที่ ทำการวิ จยั


การผลิตคอนกรีตในปจั จุบนั ได้มคี วามเจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว โดยมีทงั ้ การพัฒนาในด้านการ
ออกแบบ วิธกี ารก่อสร้าง รวมทัง้ วัสดุทจ่ี ะนำมาใช้ในการก่อสร้าง รวมไปถึงงานวิจยั และการพัฒนาวัสดุผสม
คอนกรีต เพือ่ ปรับปรุงในด้านของคุณสมบัตติ ่างๆของคอนกรีตให้ดขี น้ึ เพือ่ ให้ได้คอนกรีตทีม่ ปี ระสิทธิภาพใน
ทุกสภาพการใช้งาน ไม่วา่ จะเป็นคอนกรีตทีอ่ ยูใ่ นสภาพของคอนกรีตสดและคอนกรีตทีอ่ ยูใ่ นสภาพทีแ่ ข็งตัวแล้ว
จากเหตุผลดังกล่าวจึงมีความจำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีการศึกษาในเรื่องของวัสดุผสมเพิม่ ในงานคอนกรีต ซึง่
วัสดุทนำ
่ี มาใช้สว่ นใหญ่เป็นสารผสมแบบแร่ธาตุของกลุ่มสารปอซโซลาน เช่น ขีเ้ ถ้าลอย (fly ash), เถ้าแกลบ
(rice husk ash), ขีต้ ะกรันจากเตาถลุง (blast furnace slag), ซิลกิ าฟูม (silica fume) เป็ นต้น ความหมายของ
วัสดุปอซโซลาน คือ วัสดุทม่ี สี ารซิลกิ า และอลูมนิ าเป็ นองค์ประกอบหลัก โดยวัสดุดงั กล่าวไม่มคี ณ
ุ สมบัตเิ ชือ่ ม
ประสาน แต่เมือ่ ทำปฏิกริ ยิ ากับน้ำและแคลเซียมไฮดรอกไซด์ทอ่ี ุณหภูมหิ อ้ งแล้ว ผลของปฏิกริ ยิ าทีไ่ ด้จะมี
คุณสมบัตใิ นการเชือ่ มประสานเช่นเดียวกับซีเมนต์ และในปจั จุบนั มีการพัฒนาอนุ ภาคให้มขี นาดเล็กลงเพือ่ ใช้
-3-

ประโยชน์ในด้านวิทยาศาสตร์และด้านวิศวกรรม จึงเกิดทางเลือกใหม่ๆ ในการเลือกใช้วสั ดุเพือ่ ทีจ่ ะนำมาใช้ใน


การก่อสร้าง
เป็นทีท่ ราบกันดีว่าการผลิตปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ทำให้เกิดก๊าซทีม่ ผี ลต่อการทำให้เกิดภาวะเรือน
กระจก (greenhouse effect) ถึงปีละ 13,500 ล้านตัน หรือประมาณร้อยละ 7 ของก๊าซทีป่ ล่อยออกมาทัง้ หมด
ดังนัน้ จึงมีความพยายามทีจ่ ะลดการใช้ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ให้น้อยลง โดยมีการศึกษาพัฒนาสารซีเมนต์อ่นื
มาใช้ทดแทน ตัวอย่างเช่นการใช้ของเหลือจากธรรมชาติ มาผสมกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์เพือ่ ทำปูนซีเมนต์
ผสม (blended cememt) สารทีใ่ ช้ผสมดังกล่าวเป็ นสารปอซโซลาน (pozzolanic materials) ซึง่ ไม่ม ี
คุณสมบัตเิ ป็นวัสดุยดึ ประสานในตัวเอง แต่เมือ่ ทำปฏิกริ ยิ ากับคัลเซียมไฮดรอกไซด์ (calcium hydroxide) จะ
สามารถก่อตัว และแข็งตัวได้ โดยสารปอซโซลานทีน่ ิยมใช้มาก ได้แก่ เถ้าลอย (fly ash) เถ้าแกลบ (rice husk
ash), เถ้าภูเขาไฟ (volcanic ash) และวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ เป็ นต้น
ในงานวิจยั ครัง้ นี้ได้เลือก ไดอะตอมไมท์ (diatomite) เพอร์ไลต์ (perlite) และ ซีโอไลต์ ซึง่ จัดอยูใ่ นกลุ่ม
สารประกอบแร่ธาตุผสมเพิม่ ประเภทปอซโซลานธรรมชาติ (natural pozzolan) โดยจัดเป็ นสารประกอบอะลูม ิ
โนซิลเิ กต (alumino silicate) หรือสารอะลูมโิ นฟอสเฟต (alumino phosphate) จึงน่าจะเกิดปฏิกริ ยิ าปอซ
โซลานได้ดี งานวิจยั ในประเทศจีนได้มกี ารนำปอซโซลานจากธรรมชาติมาประยุกต์ใช้กบั งานคอนกรีตมากมาย
เช่น นำมาใช้ในงานคอนกรีตมวลเบา ทำเป็ นสารผสมเพิม่ เพือ่ ลดการเกิดปฏิกริ ยิ าอัลคาไลในคอนกรีต ลด
ปญั หาการเกิดการเยิม้ ลดการแยกตัว ลดการซึมผ่าน เพิม่ ความทนทาน และเพิม่ กำลัง เป็ นต้น โดยจะนำ
มาใช้แทนทีท่ ราย และแทนทีป่ นู ซีเมนต์ตามอัตราส่วน เนื่องจากคุณสมบัตขิ องวัสดุปอซโซลานธรรมชาติม ี
คุณสมบัตทิ ด่ี คี อื มีน้ำหนักเบา ความหนาแน่นต่ำ มีความพรุนสูง มีความแข็งแรง จึงมีความเป็ นไปได้ทจ่ี ะ
นำไปเป็ นส่วนประกอบในคอนกรีต และได้คอนกรีตทีม่ หี น่ วยน้ำหนักทีเ่ บาลง ดังนัน้ ถ้าสามารถลดหน่ วยน้ำ
หนักของคอนกรีตให้น้อยลงโดยทีส่ ามารถรับแรงอัดได้ในเกณฑ์ทส่ี ามารถนำไปใช้งานได้ จึงน่าจะสามารถลด
ค่าใช้จา่ ยลงไปได้มากทัง้ ทางด้านค่าใช้จา่ ยด้านฐานรากและตัวอาคารเอง
ในประเทศไทยมีแหล่งโปโซลานธรรมชาติอยูห่ ลายแหล่ง เช่น เพอร์ไลต์ บริเวณทีพ่ บในประเทศไทย
ได้แก่ จังหวัดลพบุรี และกาญจนบุรี ไดอะตอมไมท์ พบบริเวณ จังหวัดลำปาง จังหวัดปราจีนบุรี ส่วนซีโอไลต์
พบมากในจังหวัดลพบุรี แต่การใช้งานส่วนใหญ่มกั จะอยูใ่ นอุตสาหกรรมเซรามิค อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมสี อุตสาหกรรมผงซักฟอก เป็ นต้น ข้อมูลในการศึกษาเกีย่ วกับวานนำปอซโซลานธรรมชาติมาใช้
ในงานคอนกรีตยังมีอยูน่ ้อย ซึง่ แตกต่างจากกรณีเถ้าลอยและซิลกิ า้ ฟูมทีไ่ ด้มกี ารศึกษากันอย่างแพร่หลายและ
นำมาใช้ในการผสมคอนกรีตในก่อสร้างทัวไป ่ ดังนัน้ ในการวิจยั นี้จงึ มุง่ ศึกษาถึงผลกระทบของการผสม
ปอซโซลานธรรมชาติทม่ี ผี ลต่อคุณสมบัตเิ พสต์และมอร์ตา้ ร์ โดยเน้นการศึกษาโครงสร้างระดับจุลภาค
(Microstructure) ซึง่ มีการศึกษาน้อยมากในประเทศไทย เพือ่ ให้เข้าใจถึงพฤติกรรมผลกระทบของวัสดุ
ปอซโซลานธรรมชาติต่อเพสต์และมอร์ตา้ ร์มากขึน้ และเพือ่ นำผลทีไ่ ด้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในงาน
คอนกรีตต่อไป

5. วัตถุประสงค์ของโครงการ ให้ระบุมาให้ชดั เจน ถ้าเป็ นไปได้ให้บอกมาเป็ นข้อ ๆ ตามลำดับความสำคัญ


1. เพือ่ ให้มกี ารนำวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ ซึง่ เป็ นวัสดุทห่ี าได้ประเทศมาใช้เป็ นวัสดุประสาน เพือ่
ลดปริมาณการใช้ปนู ซีเมนต์ลง
2 . เพือ่ ศึกษาและเปรียบเทียบคุณสมบัตพิ น้ื ฐานต่างๆ ของซีเมนต์เพสต์ และ มอร์ตาทีนำ ่ วัสดุปอซโซ
ลานธรรมชาติมาแทนทีซ่ เี มนต์
-4-

3. เพือ่ ศึกษาและเปรียบเทียบการต้านทานการกัดกร่อนจากกรด และจากสารละลายซัลเฟตของม


อร์ตา้ ร์ เมือ่ ใช้วสั ดุปอซโซลานธรรมชาติแทนทีป่ นู ซีมนต์
4. เพือ่ ศึกษาและเปรียบเทียบโครงสร้างระดับจุลภาค(Micro Structure) ของซีเมนต์เพสต์ผสมวัสดุ
ปอซโซลานธรรมชาติ

6. ผลงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง (literature review) และเอกสารอ้างอิ ง ให้แสดงการทบทวนเอกสารทีต่ พี มิ พ์


แล้วอย่างครบถ้วนครอบคลุม ทำให้เชือ่ ได้ว่าโครงการวิจยั ทีเ่ สนอเป็ นการวิจยั เพือ่ หาองค์ความรูใ้ หม่อย่าง
แท้จริง ไม่เป็นการวิจยั ซ้ำกับองค์ความรูท้ ม่ี อี ยูแ่ ล้ว
6.1 ปอซโซลาน (pozzolan) เป็นวัสดุทน่ี ิยมใช้เป็ นส่วนผสมในปูนซีเมนต์หรือคอนกรีต โดยมีวตั ถุประสงค์ใน
การลดต้นทุนของคอนกรีตหรือเพือ่ ปรับปรุงคุณสมบัตบิ างประการของคอนกรีตให้ดขี น้ึ เช่น เพิม่ ความ
ทนทานของคอนกรีตต่อสภาพการกัดกร่อน ช่วยปรับคุณสมบัตขิ องคอนกรีต สดเพือ่ ให้ทำงานได้งา่ ยขึน้ เป็นต้น
วัสดุปอซโซลานทีจ่ ะกล่าวถึงในบทนี้ได้แก่ เถ้าถ่านหิน ซิลกิ าฟูม เถ้าแกลบ นอกจากนี้ยงั มีตะกรันเตาถลุง
เหล็ก ซึง่ เป็นวัสดุกง่ึ ปอซโซลานและกึง่ ซีเมนต์
มาตรฐาน ASTM C 618 ให้คำจำกัดความของวัสดุปอซโซลานไว้ว่า “วัสดุปอซโซลานเป็ นวัสดุทม่ี ี
ซิลกิ า หรือซิลกิ าและอลูมนิ าเป็นองค์ประกอบหลัก โดยทัวไปแล้ ่ ววัสดุปอซโซลานจะไม่มคี ณ ุ สมบัตใิ นการยึด
ประสาน แต่ถา้ วัสดุปอซโซลานมีความละเอียดมากและมีน้ำหรือความชืน้ ทีเ่ พียงพอ จะสามารถทำปฏิกริ ยิ ากับ
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ทอ่ี ุณหภูมปิ กติ ทำให้ได้สารประกอบทีม่ คี ณ ุ สมบัตใิ นการยึดประสาน”
ตาม ASTM C618 (1991) ได้จำแนกปอซโซลานออกเป็ น 3 ชัน้ คุณภาพ ได้แก่
1) ชัน้ คุณภาพ N (Class N) เป็ นปอซโซลานจากธรรมชาติหรือปอซโซลานจากธรรมชาติทผ่ี า่ น
ขบวนการเผาแล้วเพือ่ ให้ได้คณ ุ สมบัตติ ามต้องการ
2) ชัน้ คุณภาพ F (Class F) เป็ นเถ้าลอยทีไ่ ด้จากการเผาถ่านหินแอนทราไซต์ (anthracite) หรือบิทมู ิ
นัส (bituminous) โดยมีปริมาณผลรวมของซิลกิ าออกไซด์ (silica oxide, SiO2) อลูมนิ าออกไซด์ (alumina
oxide, Al2O3) และเฟอร์รคิ ออกไซด์ (ferric oxide, Fe2O3) มากกว่าร้อยละ 70 และมีคณ ุ สมบัตอิ ่นื ตามทีร่ ะบุใน
มาตรฐาน ASTM C618 (1991) ดังแสดง ในตารางที่ 6.1 ถึง 6.4 ซึง่ โดยทัวไปเถ้ ่ าลอย ชัน้ คุณภาพ F มี
ปริมาณแคลเซียมออกไซด์ (calcium oxide, CaO) ทีต่ ่ำ ดังนัน้ จึงมีชอ่ื เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเถ้าลอยแคลเซียมต่ำ
สำหรับ SiO2 มาจากแร่ดนิ เหนียวและควอรตซ์ เนื่องจากถ่านหินแอนทราไซต์และบิทมู นิ สั มีแร่ดนิ เหนียวสูงจึง
ให้เถ้าลอยทีม่ ี SiO2 สูง สำหรับวิธกี ารเก็บตัวอย่างและการทดสอบให้เป็ นไปตามมาตรฐาน ASTM C 311
3) ชัน้ คุณภาพ C (Class C) เป็ นเถ้าลอยทีไ่ ด้จากการเผาถ่านหินลิกไนต์ (lignite) หรือซับบิทมู นิ สั
(subbituminous) เป็นส่วนใหญ่ โดยมีปริมาณผลรวมของ SiO2, Al2O3 และ Fe2O3 มากว่าร้อยละ 50 มีปริมาณ
CaO สูง และมีคณ ุ สมบัตอิ ่นื ตามทีร่ ะบุในมาตรฐาน ASTM C 618, (1991) เถ้าลอยชนิดนี้เรียกชือ่ อีกอย่าง
หนึ่งว่าเถ้าลอยแคลเซียมสูง สำหรับ Al2O3 มาจากแร่ดนิ เหนียว โดยทีล่ กิ ไนต์ประกอบไปด้วยดินเหนียวทีท่ ี
Al2O3 ต่ำ ทำให้เถ้าลอย Class C นอกจากมี SiO2 ต่ำแล้ว ยังมี Al2O3 ต่ำด้วย (ACI 232.2R-96, 2000)
เถ้าลอย Class C นอกจากจะมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นปอซโซลานแล้ว ยังมีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นสารซีเมนต์ในตัวเอง
เนื่องจากมีปริมาณ CaO สูง เถ้าลอยแม่เมาะในระยะแรกส่วนใหญ่เป็ นเถ้าลอยแคลเซียมสูง โดยมีปริมาณ
CaO สูงถึงร้อยละ 40 และมีความเป็นสารซีเมนต์ในตัวเอง (ปริญญา จินดาประเสริฐ และอินทรชัย หอวิจติ ร,
2548) แต่ในปจั จุบนั เถ้าลอยแม่เมาะมีปริมาณ CaO ต่ำลง โดยมีสารนี้อยูป่ ระมาณร้อยละ 10 (Chindaprasirt
et al., 2001 and Jaturapitakkul et al., 2004)
-5-

ตารางที่ 6.1 ข้อกำหนดทางเคมีของปอซโซลาน ตามมาตรฐาน ASTM C618 (1991)


ชัน้ คุณภาพ
ข้อกำหนดทางเคมี
N F C
ผลรวมของซิลคิ อนไดออกไซด์(SiO2) อลูมเิ นียม 70.0 70.0 50.0
ออกไซด์(Al2O3) ไอร์ออนออกไซด์(Fe2O3), ไม่น้อยกว่าร้อย
ละ
ซัลเฟอร์ไตรออกไซด์ (SO3), ไม่เกินร้อยละ 4.0 5.0 5.0
ปริมาณความชืน้ , ไม่เกินร้อยละ 3.0 3.0 3.0
การสูญเสียน้ำหนักเนื่องจากการเผา (LOI), ไม่เกินร้อยละ 10.0 6.0 6.0
หมายเหตุ 1. สารปอซโซลานชัน้ คุณภาพ N เป็ นสารปอซโซลานธรรมชาติ
2. สามารถใช้เถ้าลอยชัน้ คุณภาพ F ทีม่ กี ารสูญเสียน้ำหนักเนื่องจากการเผาสูงถึงร้อยละ 12 ได้ ถ้ามีผลของการใช้
งานหรือผลของการทดสอบทีเ่ ชื่อถือได้

ตารางที่ 6.2 ข้อกำหนดทางเคมีของปอซโซลานเพิม่ เติม ตามมาตรฐาน ASTM C618 (1991)


ชัน้ คุณภาพ
ข้อกำหนดทางเคมีเพิม่ เติม
N F C
ปริมาณอัลคาไลสูงสุดเมือ่ เทียบเท่า Na2O , ไม่เกินร้อยละ 1.5 1.5 1.5
หมายเหตุ ปริมาณนี้จะใช้ระบุสำหรับคอนกรีตทีม่ มี วลรวมทำปฏิกริ ยิ าและต้องใช้ซเี มนต์ทม่ี ปี ฏิกริ ยิ าทีม่ อี ลั คาไลไม่เกิน
กำหนด
ตารางที่ 6.3 ข้อกำหนดทางกายภาพ ตามมาตรฐาน ASTM C618 (1991)
ชัน้ คุณภาพ
ข้อกำหนดทางกายภาพ
N F C
ความละเอียด :
- ปริมาณทีค่ า้ งแร่งเบอร์ 325A ร่อนโดยใช้น้ำ, ไม่เกินร้อยละ 34 34 34
ดัชนีกำลัง เมือ่ ผสมกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ :
- ทีอ่ ายุ 7 วัน อย่างต่ำร้อยละของส่วนผสมควบคุม 75B 75B 75B
- ทีอ่ ายุ 28 วัน อย่างต่ำร้อยละของส่วนผสมควบคุม 75B 75B 75B
- ความต้องการน้ำ, สูงสุดร้อยละของส่วนผสมควบคุม 115 105 105
ความคงตัว (soundness)C :
- การขยายตัวหรือหดตัวออโตเคลฟ, ไม่เกินร้อยละ 0.8 0.8 0.8
ข้อกำหนดด้านความสม่ำเสมอ D :
- ความหนาแน่น, ต่างจากค่าเฉลีย่ ไม่เกินร้อยละ 5 5 5
- ร้อยละทีค่ า้ งแร่งเบอร์ 325, ต่างจากค่าเฉลีย่ ไม่เกินร้อยละ 5 5 5
หมายเหตุ A ระวังไม่ให้มผี งละเอียดทีเ่ กาะตัวกันเป็ นก้อนค้างบนแร่ง
-6-

B เป็ นไปตามข้อกำหนดเมือ่ ดัชนีกำลังทีอ่ ายุ 7 วัน หรือ 28 วัน เป็ นไปตามข้อกำหนด


C ถ้ามีสารปอซโซลานผสมเกินร้อยละ 20 โดยน้ำหนักของสารซีเมนต์ในคอนกรีต ชิน้ ส่วนทดสอบของการขยายตัว
ออโตเคลฟควรมีสารปอซโซลานอยูร่ อ้ ยละของสารซีเมนต์ตามนัน้
D ความหนาแน่น (density) และความละเอียดของตัวอย่างแต่ละอันต้องไม่แตกต่างจากค่าเฉลีย่ ของสิบตัวอย่างที่
ทดสอบ
ก่อนหน้าหรือค่าเฉลีย่ ของตัวอย่างก่อนหน้าทัง้ หมด ถ้าทดสอบไม่ถงึ สิบตัวอย่าง

วัสดุจำพวกปอซโซลานทีนำ ่ มาใช้ประโยชน์มที ม่ี าจาก 2 แหล่ง ได้แก่ ปอซโซลานทีไ่ ด้จากขบวนการ


ผลิต (artificial pozzolan) และปอซโซลานจากธรรมชาติ (natural pozzolan) ปอซโซลานทีม่ าจากธรรมชาติ
ได้แก่ ไดอะตอมมาเซียสเอิรธ์ (diatomaceous earth) เถ้าภูเขาไฟ เปลือกหอย หินภูเขาไฟ วัสดุเหล่านี้เมือ่
จะนำไปใช้งานจะต้องนำไปผ่านขบวนการต่างๆ ก่อนจึงจะนำไปใช้งานได้ เช่น การเผา การบด และการทำให้
แห้ง เป็ นต้น ปจจุั บนั ได้มกี ารนำเอา ปอซโซลานจากธรรมชาติไปใช้ประโยชน์ในการสร้างเขือ่ นและสะพาน
เพือ่ ช่วยลดความร้อนทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างปฏิกริ ยิ าของปูนซีเมนต์กบั น้ำ ช่วยเพิม่ ความสามารถในการทนต่อการ
กัดกร่อนอันเนื่องมาจากซัลเฟต และช่วยในการควบคุมปฏิกริ ยิ าระหว่างด่างกับซิลกิ า นอกจากนี้ยงั มี
ผลพลอยได้ในการลดค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้างอีกทางหนึ่งด้วย

ตารางที่ 6.4 ข้อกำหนดทางกายภาพของเพิม่ เติม ตามมาตรฐาน ASTM C618 (1991)


ชัน้ คุณภาพ
ข้อกำหนดทางกายภาพเพิม่ เติม
N F C
แฟคเตอร์ผลคูณ (multiple factor) ของ LOI กับปริมาณที่ 255
ค้างแร่งเบอร์ 325 เมือ่ ร่อนโดยใช้น้ำ, ไม่เกินร้อยละ
การหดตัวแห้งที่ 28 วัน ทีเ่ พิม่ ขึน้ ของแท่งตัวอย่างมอร์ตาร์ 0.3 0.3 0.3
เมือ่ เปรียบเทียบกับตัวอย่างมอร์ตาร์ควบคุม, ไม่เกินร้อยละ
ข้อกำหนดด้านความสม่ำเสมอ :
เมือ่ ใช้สารกักกระจายฟองอากาศ ปริมาณสารกักกระจาย 20 20 20
ฟอง อากาศทีทำ ่ ให้มปี ริมาตรอากาศร้อยละ 18 จะต้องไม่
แตกต่างจากค่าจากค่าเฉลีย่ ของสิบตัวอย่างทีท่ ดสอบก่อน
หน้าหรือค่าเฉลีย่ ของตัวอย่างก่อนหน้าทัง้ หมด ถ้าทดสอบ
ไม่ถงึ สิบตัวอย่าง, ไม่เกินร้อยละ
ประสิทธิภาพในการควบคุมปฏิกริ ยิ าอัลคาไลของมวลรวม :
การขยายตัวที่ 14 วัน เมือ่ เปรียบเทียบกับส่วนผสมควบคุม 100 100 100
ทีทำ
่ ด้วยปูนซีเมนต์อลั คาไลต่ำ, ไม่เกินร้อยละ
ประสิทธิภาพในการช่วยต้านทานสารซัลเฟต* :
-7-

วิธที ่ี 1 การขยายตัวของส่วนผสมทดสอบ
- สภาวะซัลเฟตปานกลาง 6 เดือน, ไม่เกินร้อยละ 0.10 0.10 0.10
- สภาวะซัลเฟตสูง 6 เดือน, ไม่เกินร้อยละ 0.05 0.05 0.05
วิธที ่ี 2 การขยายตัวของส่วนผสมทดสอบ
- เมือ่ เปรียบเทียบกับส่วนผสมควบคุมทีทำ
่ จากปูนซีเมนต์ 100 100 100
ทนซัลเฟตในสภาวะซัลเฟต 6 เดือน, ไม่เกินร้อยละ
หมายเหตุ * ปริมาณมาณปอซโซลานทีถ่ อื ว่ามีประสิทธิภาพในการช่วยต้านซัลเฟตจะต้องอยูภ่ ายในร้อยละ  2 ของ
การทดสอบหรือระหว่างสองค่าของการทดสอบทีอ่ ยูใ่ นเกณฑ์

6.1.1 ปอซโซลานที่ได้จากขบวนการผลิ ต (artificial pozzolan) ได้แก่ เถ้าลอยทีเ่ ป็ นผลพลอยได้


จากการเผาไหม้ถ่านหินทีถ่ กู บดในการผลิตกระแสไฟฟ้า เถ้าลอยประกอบด้วยอนุ ภาคทรงกลม ซึง่ มีซลิ กิ าเป็ น
ส่วนประกอบทีสำ ่ คัญประมาณ 66-68% เถ้าลอยบางชนิดสามารถทำปฏิกริ ยิ าได้อย่างรวดเร็วกับปูนขาวและ
ด่าง เกิดเป็นสารประกอบทีม่ แี รงยึดประสาน แต่เถ้าลอยบางชนิดก็สามารถทำปฏิกริ ยิ ากับน้ำและแข็งตัวได้เช่น
เดียวกัน เถ้าถ่านหินโดยทัวไปแล้ ่ วจะมีความละเอียดใกล้เคียงหรือสูงกว่าปูนซีเมนต์เพียงเล็กน้อยโดยลักษณะ
ทัวไปจะเป็
่ นรูปทรงกลมมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตัง้ แต่เล็กกว่า 1 ไมโครเมตร จนถึง 0.15 mm ดังแสดงในรูป
ที่ 6.1 เถ้าถ่านหินทีก่ ลวงมีน้ำหนักเบาและอาจลอยน้ำได้เรียกว่าเถ้าถ่านหินกลวง (cenospheres) และในบาง
ครัง้ ภายในเถ้าถ่านหินทีม่ รี พู รุนอาจมีเถ้าถ่านหินขนาดเล็กๆ อยูภ่ ายในก็ได้เรียกว่า plerospheres ดังรูปที่ 6.2
ความละเอียดของเถ้าถ่านหินทีไ่ ด้จากการเผาถ่านหินจะขึน้ อยูก่ บั การบดถ่านหิน ชนิดของเครือ่ งบด และ
ชนิดของเตาเผา ถ้าถ่านหินละเอียดมากขึน้ และเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ในเตาเผา จะได้เถ้าถ่านหินทีม่ คี วาม
ละเอียดสูงและมีทรงกลม แต่ในกรณีทเ่ี ผาไหม้ไม่สมบูรณ์ รูปร่างของเถ้าถ่านหินจะไม่แน่นอน สำหรับเถ้า
ถ่านหินในประเทศไทยพบว่าความละเอียดของเถ้าถ่านหินจากโรงไฟฟ้าทีแ่ ม่เมาะซึง่ ทดสอบโดยวิธขี องเบลนมี
ความละเอียดอยูใ่ นช่วง 2,500 ถึง 3,500 cm2/g (สุรพล พฤกษานุ กุล, 2546; ชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2543;
Chindaprasirt, 2001 อ้างถึงใน ปริญญา จินดาประเสริฐ และชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2547)

รูปที่ 6.1 ภาพถ่ายขยายของเถ้าถ่านหินจากโรงไฟฟ้าทีอำ


่ เภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
(ธีรวัฒน์ สินศิร,ิ 2548)
-8-

รูปที่ 6.2 Plerospheres เป็นเถ้าถ่านหินทีม่ รี พู รุนและมีเถ้าถ่านหินเม็ดเล็ก ๆ อยูภ่ ายใน


(ธีรวัฒน์ สินศิร,ิ 2548)

การวัดความละเอียดของเถ้าถ่านหินมี 2 วิธที น่ี ิยมใช้กนั คือวิธกี ารร่อนผ่านแร่งเบอร์ 325 (ช่องเปิ ด 45


ไมโครเมตร) กับวิธวี ดั พืน้ ทีผ่ วิ ต่อหน่วยน้ำหนักโดยวิธขี องเบลน ในสหรัฐอเมริกาใช้วธิ รี อ่ นผ่านแร่งเป็ นวิธี
มาตรฐานวิธเี ดียวในการกำหนดความละเอียดของเถ้าถ่านหิน กล่าวคือ เถ้าถ่านหินต้องมีขนาดของอนุ ภาคที่
ร่อนผ่านแร่งเบอร์ 325 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 66 โดยน้ำหนัก เถ้าถ่านหินทีล่ ะเอียดขึน้ จะมีความว่องไวในการทำ
ปฏิกริ ยิ าได้เร็วขึน้ และทำให้กำลังอัดคอนกรีตสูงกว่าคอนกรีตทีใ่ ช้เถ้าถ่านหินทีห่ ยาบกว่า ความว่องไวในการ
ทำปฏิกริ ยิ าปอซโซลานสามารถวัดได้โดยใช้คา่ ดัชนีกำลัง (strength activity index) ดังสมการ

ดัชนีกำลังของมอร์ตาร์ = [A/B] x 100

โดย A = กำลังอัดของมอร์ตาร์ทแ่ี ทนทีป่ นู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ดว้ ยเถ้าถ่านหินร้อยละ 20


B = กำลังอัดของมอร์ตาร์มาตรฐานซึง่ ไม่มเี ถ้าถ่านหินในส่วนผสม

มาตรฐาน ASTM C 618 ได้กำหนดค่าดัชนีกำลังของเถ้าถ่านหินทัง้ Class F และ Class C ต้องไม่ต่ำ


กว่าร้อยละ 75 ของมอร์ตาร์มาตรฐานทีอ่ ายุ 7 หรือ 28 วัน
ปฏิกริ ยิ าปอซโซลานจะเกิดขึน้ ภายหลังปฏิกริ ยิ าไฮเดรชันของปูนซีเมนต์ หลังจากปฏิกริ ยิ าไฮเดรชัน ซิ
ลิกาและอลูมนิ าออกไซด์ทอ่ี ยูใ่ นเถ้าถ่านหินจะทำปฏิกริ ยิ ากับ Ca(OH)2 ทีไ่ ด้จากปฏิกริ ยิ าไฮเดรชันได้เป็ น
แคลเซียมซิลเิ กรตไฮเดรตและแคลเซียมอลูมเิ นตไฮเดรต ซึง่ สารประกอบทัง้ สองมีคณ ุ สมบัตใิ นการยึดประสาน
ทำให้ซเี มนต์เพสต์มคี วามสามารถในการยึดประสานดีขน้ึ และเพิม่ ความสามารถในการรับกำลังอัดของคอนกรีต
โดยปกติแล้วปฏิกริ ยิ าปอซโซลานจะเกิดขึน้ อย่างช้าๆ และต่อเนื่องเป็ นเวลานาน โดยเริม่ เกิดขึน้ เมือ่ มีอายุ
ระหว่าง 7 ถึง 14 วัน และมีปฏิกริ ยิ าไปเรือ่ ยๆ นอกจากนี้ปฏิกริ ยิ าปอซโซลานจะเกิดได้เร็วขึน้ เมือ่ เถ้าถ่านหินมี
ความละเอียดมากขึน้ (ปริญญา จินดาประเสริฐ และชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, 2547)
การใช้ปอซโซลานในงานคอนกรีตมีขอ้ ดีหลายประการ ได้แก่ เพิม่ ความสามารถในการเทได้ เพิม่
ความต้านทานต่อการกัดกร่อนของคอนกรีต ลดผลกระทบจากการแยกตัว ลดความร้อนทีเ่ กิดขึน้ ในคอนกรีต
ลดการหดตัว ลดอัตราการซึมของน้ำผ่านคอนกรีต และทีสำ ่ คัญคือเพิม่ กำลังอัดและกำลังดึงประลัยของ
คอนกรีตเมือ่ คอนกรีตมีอายุมากขึน้ แต่ทงั ้ นี้การใช้ปอซโซลานจะมีขอ้ เสียด้วย คือ ทำให้อตั ราการพัฒนากำลัง
-9-

อัดของคอนกรีตต่ำลงในช่วงอายุตน้ ลดความต้านทานต่อสภาวะการแข็งตัวและละลายน้ำสลับกันไป และ


ทำให้ตอ้ งใช้สารเพิม่ ฟองอากาศมากขึน้ เพือ่ ให้ได้คอนกรีตทีม่ ปี ริมาณฟองอากาศตามต้องการในระดับเดียวกับ
คอนกรีตทีไ่ ม่มเี ถ้าถ่านหินผสมอยู่ (Lane and Best, 1982 อ้างถึงใน ปริญญา จินดาประเสริฐ, ชัย จาตุรพิทกั ษ์
กุล, 2547)
6.1.2 ปอซโซลานธรรมชาติ (natural pozzolan)
วัสดุปอซโซลานธรรมชาติได้ถกู นำมาใช้หลายร้อยปี ทแ่ี ล้ว คำว่า “ปอซโซลาน” มาจากเถ้าภูเขาไฟของ
หมูบ่ า้ นปอซซูลิ (pozzuoli) ใกล้กบั เมืองเนเปิ ล ประเทศอิตาลี โดยในปี คริสตศักราช 79 เกิดการระเบิดของ
ภูเขาไฟวิซูเวียส (viesuvius) แต่อย่างไรก็ตามก่อนคริสตศักราช 2000 ได้มกี ารนำเถ้าภูเขาไฟและดินเผา
(calcined clay) มาใช้ในงานก่อสร้างมากมายทีโ่ รม กรีก อินเดียและอียปิ ต์ โดยโครงสร้างคอนกรีตผสมวัสดุ
ปอซโซลานยังคงสามารถยืนหยัดให้เห็นได้จนถึงปจั จุบนั นี้เป็ นหลักฐานด้วยความทนทานของการใช้วสั ดุ
ปอซโซลาน
ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 มีการนำวัสดุปอซโซลานธรรมชาติมาใช้ในอเมริกาเหนือในโครงการก่อสร้าง
สาธารณูปโภค เช่น การสร้างเขือ่ น ซึง่ การใช้วสั ดุปอซโซลานนี้มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ควบคุมอุณหภูมทิ เ่ี พิม่ ขึน้ ใน
คอนกรีตขนาดใหญ่ และเป็นการเพิม่ ปริมาณวัสดุซเี มนต์ นอกจากการใช้วสั ดุปอซโซลานเพือ่ ควบคุมความ
ร้อนทีเ่ พิม่ สูงขึน้ แล้ว วัสดุปอซโซลานยังช่วยเพิม่ ความต้านทานต่อซัลเฟตอีกด้วย วัสดุปอซโซลานเป็ นวัสดุ
ชนิดแรกทีพ่ บว่าช่วยลดการเกิดปฏิกริ ยิ าอัลคาไล-ซิลกิ าในคอนกรีต
ปจั จุบนั วัสดุปอซโซลานธรรมชาติสว่ นใหญ่จะผ่านการปรับปรุง เช่น กระบวนการให้ความร้อนในเตา
เผาและบดเป็นผงละเอียด ซึง่ อาจเป็นดินเผา (calcined clay) ดินดานเผา (calcined shale) และดินขาว
(metakaolin)
วัสดุปอซโซลานจากธรรมชาติถกู จำแนกโดยมาตรฐาน ASTM C 618 โดยจำแนกเป็ นวัสดุปอซโซลาน
Class N ดังตารางที่ 6.5 ซึง่ ได้กำหนดเกณฑ์ในการพิจารณาวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ ส่วนตารางที่ 6.6
แสดงผลการวิเคราะห์ทางเคมีและคุณสมบัตขิ องวัสดุปอซโซลาน และวัสดุปอซโซลานอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง (จันทนา
สุขมุ านนท์, 2550)

ตารางที่ 6.5 คุณสมบัตขิ องเถ้าลอย และปอซโซลานธรรมชาติ (ASTM C 618, 1991)


Class F
เถ้าลอย ซึง่ มีคณ
ุ สมบัตเิ ป็ นปอซโซลานิค
Class C
เถ้าลอย ซึง่ มีคณุ สมบัตเิ ป็ นปอซโซลานิค และวัสดุประสานใน
ซีเมนต์
Class N
ปอซโซลานธรรมชาติทถ่ี กู เผาหรือมีลกั ษณะหยาบ
ประกอบด้วย :
Diatomaceous Earths (diatomite)
Opaline Cherts และ ดินดาน
Tuffs และ เถ้าภูเขาไฟ หรือพิมไิ ซท์
ดินเผา รวมทัง้ ดินขาว และดินดาน
-10-

ตารางที่ 6.6 การวิเคราะห์ทางเคมีและคุณสมบัตทิ วไปวั


ั ่ สดุปอซโซลาน
ปริมาณสารประกอบ (%)
สารประกอบ เถ้า เถ้า ตะกรัน ซิลกิ า ดินดาน
ดินขาว
ลอย ลอย บด ฟูม เผา
SiO2 52 35 35 90 50 53
Al2O3 23 18 12 0.4 20 43
Fe2O3 11 6 1 0.4 8 0.5
CaO 5 21 40 1.6 8 0.1
SO3 0.8 4.1 9 0.4 0.4 0.1
Na2O3 1.0 5.8 0.3 0.5 - 0.05
K2O 2.0 0.7 0.4 2.2 - 0.4
Total Na (eq. Alk) 2.2 6.3 0.6 1.9 - 0.3
Loss On Ignition (LOI) 2.8 0.5 1.0 3.0 3.0 0.7
Blaine Fineness, 4,200 4,200 4,000 200,000 7,300 190,000
cm2/g
Relative Density 2.38 2.65 2.94 2.40 2.63 2.50

ดินเผาได้ถกู ใช้ในการก่อสร้างทัวไปมากเหมื
่ อนกับการใช้วสั ดุปอซโซลานประเภทอื่น ดินเผาสามารถ
เอามาใช้แทนทีป่ นู ซีเมนต์บางส่วน โดยทัวไปจะใช้
่ แทนทีใ่ นช่วงประมาณระหว่างร้อยละ 15 ถึง 35 เพือ่ ช่วย
เพิม่ ความต้านทานต่อสารละลายซัลเฟต ควบคุมปฏิกริ ยิ าระหว่างอัลคาไลกับมวลรวม และลดค่าการซึมผ่าน
ของน้ำ ดินเผามีความถ่วงจำเพาะประมาณ 2.40 ถึง 2.61 และมีความละเอียดด้วยวิธเี บลนประมาณ 6,500-
13,500 cm2/g ส่วนดินดานเผามีปริมาณแคลเซียมร้อยละ 5 ถึง 10 ซึง่ ค่าแคลเซียมทีม่ อี ยู่ทำให้วสั ดุนนั ้ มี
คุณสมบัตเิ ป็นวัสดุประสานหรือเป็นไฮดรอลิคซีเมนต์ (hydraulic cement) ในตัวเอง เนื่องจากปริมาณของกาก
แคลเซียมคาร์บอเนตนัน้ เผาไม่สมบูรณ์ และดินดานเผามีปริมาณโมเลกุลน้ำในเม็ดดินสะสมอยูจ่ งึ ทำให้มคี า่ สูญ
เสียน้ำหนักเนื่องจากการเผา (Loss On Ignition, LOI) ค่อนข้างมาก คือ (LOI) ประมาณ ร้อยละ 1 ถึง 5 โดย
ค่า LOI สำหรับดินดานเผาไม่ได้แสดงปริมาณคาร์บอนเหมือนกับกรณีของเถ้าลอย
ดินขาว (metakaolin) เป็นดินเผาพิเศษ ผลิตโดยเอาดินเหนียวขาวล้วนมาเผาทีอ่ ุณหภูมติ ่ำ หลังจาก
นัน้ จึงบดจนมีขนาดอนุภาคเฉลีย่ ประมาณ 1 ถึง 2 ไมโครเมตร ดินขาวนำมาใช้ในงานทีต่ อ้ งการความซึมผ่านที่
ต่ำ หรือต้องการกำลังทีส่ งู ดินขาวได้ถกู นำมาใช้เป็ นวัสดุผสมเพิม่ ในคอนกรีตมากกว่านำมาแทนทีป่ นู ซีเมนต์
โดยทัวไปจะใส่
่ เพิม่ ในปริมาณร้อยละ 10 ของน้ำหนักปูนซีเมนต์ (จันทนา สุขมุ านนท์, 2550)
-11-

M.J.Shannag, H.A.Shania (2003) ทำการวิจยั เรือ่ ง Sulfates Resistant of High-Performance


Concrete (HPC) โดยการออกแบบส่วนผสมของ HPC จำนวน 5 ส่วนผสม โดยแช่ตวั อย่างมอร์ตาร์ในสภาวะ
รุนแรงต่างๆ ได้แก่ ในสารละลาย MgSO4 20% สารละลาย NaSO4 20% น้ำจากทะเลแดง (Red Sea) น้ำ
จากทะเลเดดซี (Dead Sea) และน้ำธรรมดา โดยในแต่ละสภาวะได้ทำการทดลองกับส่วนผสมของ HPC 5
ส่วนผสม และทำการทดสอบกำลังอัด จากการวิจยั พบว่า หลังจากแช่ตวั อย่างมอร์ตาร์ในสารละลายซัลเฟต
และในน้ำทะเลทีส่ ภาวะต่างๆ พบว่า คอนกรีตทีผ่ สมซิลกิ าฟูม 15% และสารปอซโซลานธรรมชาติ 15% มีความ
สามารถในการต้านทานซัลเฟตได้สงู สุด สำหรับ HPC ทีผ่ สมซิลกิ าฟูมและสารปอซโซลานธรรมชาติ มีความ
เหมาะสมทัง้ ในด้านกำลังอัดและความทนทาน โดยแนะนำให้ใช้กบั คอนกรีตในงานอุตสาหกรรมทีต่ อ้ งการกำลัง
และความทนทานสูง ส่วน HSC ทีม่ เี ฉพาะปูนปอร์ตแลนด์ซเี มนต์ธรรมดาประเภทที่ 1 นัน้ มีความทนทานต่อ
ซัลเฟตและน้ำทะเลต่ำ
B. Y. Pekmezci and S. Akyz (2004) ได้ทำการศึกษาถึงผลกระทบของปริมาณปอซโซลานธรรมชาติ
ทีม่ ตี ่อคอนกรีต ศึกษาโดยการทดสอบคอนกรีตทัง้ หมด 15 ส่วนผสม โดยใช้ตวั อย่างคอนกรีตควบคุมทีม่ ี
ปริมาณซีเมนต์ 300, 350 และ 400 kg/m3 และได้ดดั แปลงส่วนผสมเพือ่ ศึกษาเปรียบเทียบโดยลดปริมาณ
ซีเมนต์ลงเป็น 250, 300 และ 350 kg/m3 ของคอนกรีตควบคุม และได้เพิม่ ปริมาณปอซโซลานธรรมชาติ
เข้าไปแทนทีป่ นู ซีเมนต์ 40, 50, 75 และ 100 kg/m3 และได้พบว่าการเพิม่ ปริมาณสารปอซโซลานธรรมชาติท่ี
มากเกินไปจะส่งผลทำให้คา่ กำลังอัดของคอนกรีตลดต่ำลง จึงควรใช้ในปริมาณทีเ่ หมาะสมทีส่ ดุ เพือ่ ให้ได้กำลัง
อัดของคอนกรีตทีส่ งู ทีส่ ดุ และยังพบอีกว่า ในกรณีทล่ี ดปริมาณปูนซีเมนต์ในส่วนผสม แล้วแทนทีด่ ว้ ยปอซโซ
ลานธรรมชาตินนั ้ ส่งผลทำให้กำลังอัดของคอนกรีตมีคา่ ลดลง เนื่องจากปอซโซลานธรรมชาติไม่มคี ณ ุ สมบัตใิ น
การเป็ นสารซีเมนต์ (cementitious material) และเป็ นทีท่ ราบกันดีอยูแ่ ล้วว่าปอซโซลานธรรมชาติจะทำ
ปฏิกริ ยิ ากับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ซึง่ เกิดจากผลิตผลของปฏิกริ ยิ าไฮเดรชัน เมือ่ ใช้ปริมาณซีเมนต์ทใ่ี ช้ในส่วน
ผสมคอนกรีตเพิม่ ขึน้ จะส่งผลให้มปี ริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์เพิม่ ขึน้ เช่นกัน ในกรณีน้ถี า้ ต้องการเพิม่ ปริ
มาณปอซโซลานในส่วนผสมก็จะส่งผลทำให้การใช้ปริมาณปอซโซลานในปริมาณทีม่ ากมีประสิทธิภาพได้
โดยทีอ่ ตั ราส่วนระหว่าง Pozzolan/Cement,(P/C) ratio ที่ 0.28 เหมาะสมทีส่ ดุ ทีทำ
่ ให้ได้คอนกรีตทีม่ คี า่ กำลัง
อัดทีส่ งู ทีส่ ดุ
6.2 ไดอะตอมไมท์ (diatomite)
ไดอะตอมไมท์ (diatomite) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ดินเบา (diatomaceous earth) เพราะมีลกั ษณะ
เป็ นดิน เกิดจากซากไดอะตอมในแหล่งอะตอม เป็ นดินซุย เบา เนื้อพรุน มีลกั ษณะคล้ายชอล์ก มีปฏิกริ ยิ า
เชือ่ งช้า และเป็นตัวนำความร้อนทีเ่ ลว

รูปที่ 6.3 ลักษณะของไดอะตอมไมท์


-12-

(มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล, ออนไลน์ , 2543)

ไดอะตอมเป็นพืชเซลล์เดียวขนาดเล็กมาก มีผนังเป็ นฝาซิลกิ าประกบกัน บางชนิดว่ายน้ำได้ บางชนิด


อาศัยกระแสน้ำพัดพาไป มีขนาดตัง้ แต่ 2-2,000 ไมครอน ขนาดใหญ่มนี ้อย พบในแหล่งน้ำทัวโลกทั ่ ง้ ในน้ำ
จืดและน้ำเค็ม เมือ่ ไดอะตอมตายลงเปลือกทีเ่ ป็ นซิลกิ าจะตกเป็ นตะกอนสะสมกันจำนวนมหาศาลบนพืน้ ทะเล
หรือพืน้ ทะเลสาบ แล้วในทีส่ ดุ จะกลายเป็ นไดอะตอมไมท์ ซึง่ มีลกั ษณะต่างๆ กัน ตามแต่ชนิดของไดอะตอม
ดังแสดงในรูปที่ 6.3
ไดอะตอมไมท์บางทีอาจใช้คำว่า เรดิโอลาเรียนเอิรธ์ (Radiolarian Earth) ซึง่ มีโครงร่างประกอบไป
ด้วยโอปอของไดอะตอมและเรดิโอลาเรียน มีสขี าวหรือสีครีมเป็ นส่วนใหญ่ แต่กอ็ าจพบสีเหลืองอ่อน สีแดง
ั น์ สมินทร์ปญั ญา, 2538)
หรือสีน้ำตาลบ้าง (เสรีวฒ
ไดอะตอมไมท์ เป็นซากดึกดำบรรพ์ขนาดเล็ก ซึง่ ซากขนาดเล็กทีเ่ ป็ นสัตว์น้ี ส่วนมากจะเป็ นสิง่ มีชวี ติ
เซลล์เดียว มีเปลือกแข็งห่อหุม้ จึงสามารถคงสภาพของซากอยูใ่ นชัน้ หินได้ เช่น พวกเรดิโอราเรีย พวกได
อะตอมทีเ่ ป็นสาหร่ายเซลล์เดียว และมีเปลือกหุม้ ทีเ่ ป็ นซิลกิ า เปลือกเหล่านี้เมือ่ ทับถมกันมากๆ เป็ นเวลานานก็
แข็งตัวอัดกันแน่นมากเป็นหิน ชัน้ ของไดอะตอมไมท์ทท่ี บั ถมยึดกันแน่นอยูใ่ ต้ชนั ้ กรวดทราย บริเวณเหมือง
บ้านฟอ่ น จังหวัดลำปาง ดังแสดงในรูปที่ 6.4 (ก) เมือ่ นำไดอะตอมไปถ่ายภาพขยาย 350 เท่า ผ่าน
กล้องจุลทรรศน์อเิ ล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) ดังแสดงในรูปที่ 6.4 (ข)
แล้วทำการตรวจสอบ พบว่าไดอะตอมมีอายุตงั ้ แต่ 25 ล้านปี ทผ่ี า่ นมาจนถึงปจั จุบนั พบอยูใ่ นชัน้ ตะกอนบริเวณ
ทีล่ ุ่ม อำเภอศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี ไดอะตอมไมท์มปี ระโยชน์ในการใช้เป็ นตัวกรองในอุตสาหกรรมต้ม
กลัน่ ทำปูนขาว และเซรามิก เป็นต้น (สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.], ออนไลน์,
2550)

ชัน้ กรวดทราย

ชัน้ ไดอะตอมไมท์

(ก) (ข)
รูปที่ 6.4 (ก) ภาพถ่ายขยายผ่านกล้อง Scanning Electron Microscope
(ข) แสดงชัน้ ของไดอะตอมไมท์

หินดินเบา เป็นพวกเปลือกทีเ่ ป็นสารซิลกิ าของพืชเซลล์เดียวทีเ่ รียกว่า ไดอะตอม (diatom) พืชชนิดนี้


พบมากทัง้ ในทะเลและในทะเลสาบน้ำจืด เปลือกพืชสะสมเป็ นชัน้ สีเทา สีขาว พบร่วมกับหินดินดาน หรือ
-13-

เถ้าธุลภี เู ขาไฟ หลังจากแข็งตัวจะกลายเป็ นหินไดอะตอมไมท์ ในประเทศไทยพบแหล่งหินชนิดนี้ท่อำ


ี เภอ
เกาะคา และอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง (ธงชัย พึง่ รัศมี, 2531)
แหล่งดินเบาในประเทศไทยเท่าทีพ่ บจะจำกัดอยูใ่ นจังหวัดลำปางเท่านัน้ โดยจะพบเป็ นแหล่งเล็กใหญ่
กระจัดกระจายอยูเ่ ป็นบริเวณกว้างในแอ่งลำปาง และแอ่งเล็กๆ ใกล้เคียง ซึง่ ส่วนใหญ่จะอยูใ่ นเขตอำเภอเมือง
ลำปาง อำเภอแม่ทะ และอำเภอเกาะคา นอกจากนัน้ ยังสามารถพบได้บา้ งในบริเวณบ้านแม่กวั ๊ อำเภอสบปราบ
และบ้านทุง่ ตุ่น ตำบลวอแก้ว อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง จากการสำรวจของกองเศรษฐธรณีวทิ ยา กรม
ทรัพยากรธรณี บริเวณแอ่งลำปาง สามารถประเมินปริมาณสำรองของดินเบาได้ทงั ้ หมดประมาณ 245 ล้านตัน (
กรมทรัพยากรธรณี, ออนไลน์, 2548)
ไดอะตอมไมท์มปี ระโยชน์คอื ใช้เป็ นส่วนผสมในการทำกระดาษ เพือ่ ให้เนื้อกระดาษแน่นเนียน ทำ
ฉนวนและเป็นสารทีใ่ ช้ในการกรองได้ดี เช่น กรองน้ำตาลและสารอื่นๆ ดินชนิดรีใ้ ช้ขดั ภาชนะโลหะได้ดเี พราะมี
ั น์ สมินทร์ปญั ญา, 2538)
ซิลกิ าเม็ดขนาดเล็กละเอียดอยูใ่ นเนื้อดิน (เสรีวฒ
สุมติ ร ห่วงนาค (2547) ได้ทำการศึกษาปจั จัยทีม่ ผี ลต่อการลดรูพรุนของอิฐมวลเบาแบบไม่เผาจากดิน
เบาลำปาง โดยก่อนหน้านัน้ ได้ศกึ ษาและพบว่าดินเบาลำปางสามารถนำมาทำอิฐมวลเบาได้ เนื่องจากการทีด่ นิ
เบาลำปางมี SiO2 อยูใ่ นองค์ประกอบประมาณ 77.05% ซึง่ อยูใ่ นรูปของไดอะตอมและแร่ดนิ โดยมีลกั ษณะ
โครงสร้างทางแร่เป็นกึง่ สัณฐานซึง่ เป็นลักษณะที่สำคัญของ “วัสดุปอซโซลาน” โดยดินเบาจะถูกนำมาผสมด้วย
วัสดุซเี มนต์ชนิดแคลเซียมไฮดรอกไซด์ แล้วนำมาทำให้อฐิ ให้เกิดความแข็งแรงด้วยปฏิกริ ยิ าปอซโซลานภายใต้
กระบวนการไฮโดรเทอร์มอล (hydro thermal) อิฐทีไ่ ด้มนี ้ำหนักเบาและมีรพู รุนมาก จึงต้องการศึกษาเรือ่ งการ
ลดรูพรุนของอิฐมวลเบาโดยทำการศึกษาอิทธิผลของอุณหภูมทิ ใ่ี ช้เผาดินเบาลำปาง การกระจายขนาดอนุ ภาค
ของดินเบาลำปาง และอิทธิพลของระยะเวลาในการบ่มอิฐภายใต้ความดัน จากการทดลองพบว่า ปริมาณรูพรุน
ของอิฐมวลเบาลดลง โดยใช้คา่ การดูดซึมน้ำเป็ นตัวชีว้ ดั มีคา่ 39% เมือ่ ใช้อุณหภูมทิ ใ่ี ช้ในการเผาดินเบาลำปาง
ทีอ่ ุณหภูมสิ งู ขึน้ และการกระจายขนาดอนุ ภาคของดินเบาลำปางทีม่ ขี นาดเล็ก จะมีปริมาณรูพรุนน้อยกว่าโดยมี
ค่าการดูดซึมน้ำ 45% การกระจายขนาดอนุ ภาคของดินเบาลำปางทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า และจากการศึกษาอิทธิพล
ของระยะเวลาในการบ่มอิฐภายใต้ความดัน พบว่าปริมาณรูพรุนของอิฐมวลเบาที่ทำการบ่มอิฐภายใต้ความดัน
เป็ นเวลา 3 ชัวโมง่ จะได้อฐิ มวลเบาทีม่ ปี ริมาณรูพรุนมากกว่า โดยมีคา่ การดูดซึมน้ำ 57% การบ่มอิฐภายใต้
ความดันเป็นเวลา 8 ชัวโมง ่ โดยให้คา่ การดูดซึมน้ำ 42 % ตามลำดับ
ธนิตา นันทสว่าง (2547) ได้ทำการศึกษาการลดรูพรุนในอิฐมวลเบาแบบไม่เผาจากดินเบาลำปางโดย
ให้เหตุผลว่า จากการศึกษาทีผ่ า่ นมา อิฐมวลเบาแบบไม่เผาจากดินเบาลำปางทีผ่ ลิตได้มคี วามพรุนตัวสูง ซึง่ จะ
ส่งผลต่อการดูดซึมน้ำของอิฐจึงส่งผลเสียต่อความทนทานของอิฐในระยะยาวและทำให้น้ำหนักของอิฐเพิม่ ขึน้
ดังนัน้ จึงต้องมีการปรับปรุงสมบัตขิ องอิฐโดยนำดินเบาจากแหล่งลำปาง ทีม่ อี งค์ประกอบหลัก คือ ซิลกิ า
77.05% ทำการศึกษาอิทธิพลของปริมาณการเติมแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ปริมาณการเติมยิปซัม เวลาในการ
บดของวัตถุดบิ เวลาในการผสมวัตถุดบิ และอัตราการเย็นตัว จากการทดลองส่วนผสมดินเบา 60%
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ 40% น้ำ 50% เวลาในการผสม 1 ชัวโมง ่ และเย็นตัวแบบเร็ว พบว่าอิฐมีความหนา
แน่น 1,290 kg/cm ความพรุนตัวของอิฐลดลง ค่าการดูดซึมน้ำ 41.2% ซึง่ ลดลงจากการศึกษาทีผ่ า่ นมา
3

35.80%
D. Fragoulisa et al. (2004) ได้ทำการศึกษาคุณสมบัตขิ องวัสดุผสมคอนกรีตมวลเบาซึง่ ใช้ ไดอะตอม
ไมท์จากประเทศกรีซเป็นส่วนผสมในการผลิตมวลรวมเบา (production of lightweight aggregates, LWAs)
ทดสอบโดยการนำไดอะตอมไมท์แทนทีข่ เ้ี ลื่อยดิบในการผลิตมวลรวมเบาทีป่ ริมาณร้อยละ 2 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์
-14-

ั ้ นก้อนกลมขนาด 5 ถึง 20 mm ดังแสดงในรูปที่ 6.5 และ 6.6 แล้วอบแห้งทีอ่ ุณหภูม ิ 100C เป็ น
จากนัน้ ปนเป็
เวลา 24 ชัวโมง
่ แล้วนำไปเผาทีอ่ ุณหภูม ิ 1,100C เป็ นเวลา 12 ถึง 15 นาที

รูปที่ 6.5 ผลิตภัณฑ์มวลรวมเบา (production of lightweight aggregates, LWAs)


ของ D. Fragoulisa et al. (2004)

รูปที่ 6.6 ภาพถ่าย SEM ของส่วนผสมระหว่างไดอะตอมไมท์กบั ขีเ้ ลื่อยดิบก่อนเผา

จากผลการทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารได้มวลรวมเบาทีม่ คี ณ
ุ สมบัตดิ า้ นกำลังอัดและความหนาแน่นที่
คล้ายคลึงกับ LWAs ของประเทศเดนมาร์กและเยอรมัน แต่คา่ ความพรุนลดต่ำลงและมีการกระจายตัวทีด่ ี
ลักษณะของโพรงมีทงั ้ ขนาดเล็กแบบเหลีย่ มคมและกลมมน ซึง่ มีขนาดตัง้ แต่ 2 ไมครอน ไปจนถึง 500 ไมครอน
ส่วนความหนาแน่นมีค่าต่ำลง อยูใ่ นช่วงประมาณ 550 ถึง 790 kg/m3 และมีโครงสร้างทีเ่ ป็ นแบบอสัณฐาน
K. Pimraksa and P. Chindaprasirt (2008) ได้ทำการศึกษาคุณสมบัตขิ องอิฐมวลเบาทีทำ ่ จากได
อะตอมไมท์ลำปาง (ดินเบาลำปาง) ปูนขาว และยิปซัม เป็ นส่วนผสม และได้พบว่าไดอะตอมไมท์จากแหล่ง
ลำปางมีคณ ุ สมบัตใิ นการเป็นสารปอซโซลานและสามารถนำมาทำอิฐมวลเบาได้เนื่องจากมีสารประกอบอลูมโิ น
ซิลเิ กต และมีความพรุนสูง เช่นเดียวกับสารปอซโซลานธรรมชาติทวไป ั ่ ดังแสดงในรูปที่ 6.7
-15-

รูปที่ 6.7 ภาพถ่าย SEM ของไดอะตอมไมท์จากแหล่งลำปาง

ในการศึกษาได้นำเอาไดอะตอมไมท์มาผสมกับปูนขาวร้อยละ 15 และยิปซัมร้อยละ 5 ตามลำดับ จาก


การทดสอบได้อฐิ มวลเบาทีม่ คี า่ กำลังอัดประมาณ 145 kg/cm2 และมีคา่ ความหนาแน่ น 880 kg/m3 แต่เมือ่ ใช้
ไดอะตอมไมท์ทผ่ี า่ นการเผาทีอ่ ุณหภูมิ 500 C ให้คา่ กำลังอัดทีส่ งู ทีส่ ดุ ประมาณ 175 kg/cm2 และมีคา่ ความ
หนาแน่ น 730 kg/m3 ซึง่ แสดงให้เห็นว่าในการใช้ไดอะตอมไมท์ทผ่ี า่ นการเผาทำให้กำลังอัดมีค่าเพิม่ ขึน้ และ
ทำให้คา่ ความหนาแน่นลดลง แต่กส็ ามารถใช้ไดอะตอมไมท์ทย่ี งั ไม่ได้ผา่ นการเผาในการผลิตอิฐมวลเบาได้เช่น
กัน
A.C. Aydin and R. Gul (2006) ได้ทำการศึกษาผลกระทบของไดอะตอมไมท์ ทีใ่ ช้เป็ นสารปอซโซลาน
ในคอนกรีต ศึกษาโดยการใช้ไดอะตอมไมท์แทนทีป่ นู ซีเมนต์รอ้ ยละ 1, 2 และ 4 ของน้ำหนักวัสดุประสาน โดย
ควบคุมปริมาณซีเมนต์ท่ี 300 kg/m3 จากการศึกษาพบว่าเมือ่ ใช้ไดอะตอมไมท์แทนทีซ่ เี มนต์ในปริมาณมากขึน้
จะส่งผลให้ระยะเวลาการก่อตัวขัน้ ต้นและระยะเวลาการก่อตัวขัน้ ปลายนานขึน้ และส่งผลต่อการพัฒนากำลังอัด
ให้ชา้ ลงเช่นกัน กล่าวคือเมือ่ ใช้ไดอะตอมไมท์ในปริมาณทีเ่ พิม่ มากขึน้ การพัฒนากำลังอัดในช่วงต้นจะลดลง
อย่างมาก แต่จะค่อยๆเพิม่ สูงขึน้ ในภายหลัง ซึง่ เป็ นการแสดงให้เห็นว่าการใช้สารปอซโซลานชนิดนี้ในส่วนผสม
คอนกรีตจะทำให้ประหยัดค่าใช้จา่ ยในการก่อสร้างได้ สำหรับงานก่อสร้างทีไ่ ม่ตอ้ งการกำลังอัดของคอนกรีตใน
ช่วงต้นทีส่ งู
6.3 เพอร์ไลต์ (perlite)
เพอร์ไลต์ หมายถึงหินภูเขาไฟเนื้อแก้วทุกชนิด เมือ่ นำไปเผาทีอ่ ุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมในเวลาทีร่ วดเร็วจะ
ขยายตัว มีน้ำหนักเบา และมีความพรุนสูง   หินเพอร์ไลต์ ดังรูปที่ 6.8 ได้แก่ หินภูเขาไฟเนื้อแก้ว ทีม่ ี
ลักษณะรอยแตกเป็นวงๆ ซ้อนกันคล้ายกลีบหัวหอม และเมือ่ ถูกเผาทีอ่ ุณหภูมทิ เ่ี หมาะสมในเวลาทีร่ วดเร็วจะ
ขยายตัวออกไปได้ ตัง้ แต่ 4 - 20 เท่าของปริมาตรเดิม ทำให้เปลีย่ นสภาพเป็ นสารทีม่ นี ้ำหนักเบา มีความพรุน
สูง และมีลกั ษณะคล้ายหินพัมมิส สารทีไ่ ด้จากการขยายตัวของหินเพอร์ไลต์น้ี เรียกว่า “เพอร์ไลต์” (สำนัก
เหมืองแร่และสัมปทาน, ออนไลน์ , 2546)
-16-

รูปที่ 6.8 แสดงลักษณะของหินเพอร์ไลต์ (ณรงค์ศกั ดิ ์ นันทคำภิรา และคณะ, ออนไลน์, 2547)

เพอร์ไลต์ทพ่ี บในประเทศไทยมี 3 ชนิด คือ


1) สีเขียวแถบแดง (banded perlite) เพอร์ไลต์สเี ขียวเนื้อประสานอัดแน่น จุดสีขาวทัวไป
่ คือ
Feldspar เนื้อเดิมเป็น Glass แล้วแปรสภาพมาเป็ นแถบแดงๆ ทีเ่ รียกว่า Red Devitrification Product ดังรูป
ที่ 6.9

รูปที่ 6.9 เพอร์ไลต์สเี ขียวแถบแดง

2) เพอร์ไลต์สเี ขียว (classical perlite) เป็ นเพอร์ไลต์เนื้ออัดแน่นมีผลึกสีเขียว ถ้าดูดว้ ยกล้องขยาย


จะพบรอยแตกร้าวโค้งไปโค้งมา คือ Perlite Crack และยังมีจุดขาว Feldspar รวมอยูด่ ว้ ย ดังแสดงในรูปที่
6.10 แร่เพอร์ไลต์ชนิดนี้ถอื ว่ามีคณ
ุ ภาพดี ขยายตัวได้สงู แต่อุณหภูมกิ ารขยายตัวอาจแตกต่างกัน

รูปที่ 6.10 เพอร์ไลต์สเี ขียว


-17-

3) เพอร์ไลต์สขี าว (pumicious perlite) ประกอบไปด้วยเส้นใยของแก้ว (glass fiber) สีคอ่ นข้างขาว


มีรพู รุนสูง อาจมี Feldspar ปะปนอยูด่ ว้ ยเล็กน้อย และมีการขยายตัวอยูบ่ า้ งเล็กน้อย ดังแสดงในรูปที่ 6.11

รูปที่ 6.11 เพอร์ไลต์สขี าว


6.3.1 ลักษณะการเกิ ดของหิ นเพอร์ไลต์
เพอร์ไลต์จดั อยูใ่ นประเภทหินอัคนีพุ มีเนื้อละเอียดเป็ นแก้ว เนื่องจากเกิดจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว
ของหินหนืด เป็นแร่องค์ประกอบร่วมกับหินไรโอไลต์ ทีเ่ กิดในระดับตื้น และมีการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว บริเวณ
ทีพ่ บในประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดลพบุรี และกาญจนบุรี ประโยชน์ใช้เป็ นส่วนผสมวัสดุก่อสร้างน้ำหนักเบา
และเป็ นส่วนเติมเต็มในอุตสาหกรรมปุ๋ยและอุตสาหกรรมสี (ณรงค์ศกั ดิ ์ นันทคำภิรา และคณะ, ออนไลน์ , 2547)
หินเพอร์ไลต์เกิดเป็น Effusive rock แทรกเข้ามาในชัน้ Pumicious tuffs ซึง่ เข้าใจว่าจะมีน้ำอยูใ่ นรูพรุน
ค่อนข้างมาก ภายหลังจากที่ magma แทรกเข้ามาและเย็นตัวเป็ นแก้วภูเขาไฟแล้ว น้ำทีอ่ ยูใ่ นชัน้ tuff จะค่อยๆ
แทรกซึมลงไปรวมกับแก้วภูเขาไฟ ซึง่ แต่เดิมมีน้ำอยูเ่ พียง 1-2 % กลับเพิม่ มากขึน้ เป็ น 3-5 % พร้อมๆ กับเกิด
การขยายตัวเกิดการขยายตัวและแตกเป็ นรูปเปลือกของหัวหอม (peritic crack) ขึน้ สำหรับ Pumicious Perlite
มีลกั ษณะการเกิดทีแ่ สดงให้เห็นถึงการถูกความกดดันและการระเหยหนีไปของ volatile ทีล่ ะลายปนอยูใ่ น
magma ขณะเคลื่อนตัวขึน้ มาใกล้ผวิ โลก ด้วยขณะทีเ่ กิดยังเป็ นของเหลวอยู่ แรงดัน และแรงระเหยหนีของ
volatile ผ่านช่องว่างทีม่ อี ยูอ่ ย่างจำกัดจึงเกิดการรีดเป็ นเส้นใยแก้วมีรพู รุนสูง แล้วจึงดูดซับน้ำเข้าไปในเนื้อ ซึง่
เชือ่ ว่าเป็ นปริมาณเพียงเล็กน้อย การขยายตัวของเพอร์ไลต์ชนิดนี้จงึ ค่อนข้างต่ำ แก้วภูเขาไฟมีลกั ษณะใสไม่
สามารถคงตัวอยูไ่ ด้นานๆ อาจจะเป็นเพราะแรงกดเนื่องจากมีน้ำหนักหินปิ ดทับและมีน้ำเป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าบาง
ส่วนของแก้วจึงเปลีย่ นเป็น Feldspar กับ Quartz ขนาดเล็กๆ อยูด่ ว้ ยกันและมักจะมีสแี ดง เรียกว่า Devitrified
glass หรือ Spherulite (กรมทรัพยากรธรณี, ออนไลน์ , 2548)
6.3.2 คุณสมบัติทางฟิ สิ กส์ของหิ นเพอร์ไลต์
หินเพอร์ไลต์สว่ นใหญ่เนื้อหินมีลกั ษณะเป็ นแก้ว มักจะมีรอยแตกเป็ นวงๆ ซ้อนกันคล้ายกลีบหัวหอม
รอยแตกนี้อาจจะมองเห็นด้วยตา หรืออาจจะต้องอาศัยดูดว้ ยแว่นขยายหรือใช้กล้องจุลทรรศน์ โดยทัวไปจะมี ่ สี
เทาอ่อนแต่อาจจะพบสีดำ สีน้ำตาล หรือสีเขียวได้ และในเนื้อหินมักจะมีผลึกแร่ควอตซ์ แร่เฟลด์สปาร์ แร่
ไบโอไทต์ แร่ฮอร์นเบลนด์ และมีชน้ิ ส่วนของเศษหินชนิดอื่นฝงั ตัวอยู่
ความแข็งตามมาตรฐานของโมห์ (moh’s scale) ระหว่าง 5.5 - 7.0, ความถ่วงจำเพาะ 2.3 - 2.8
จุดหลอมตัว 760 - 1,300 องศาเซลเซียส, ค่าดัชนีหกั เหแสง 1.490 - 1.610
-18-

6.3.3 คุณสมบัติทางเคมีของหิ นเพอร์ไลต์


หินเพอร์ไลต์เป็นหินภูเขาไฟเนื้อแก้ว ทีม่ สี ว่ นประกอบของออกไซด์ของธาตุซลิ กิ าค่อนข้างสูง ประมาณ
ร้อยละ 70 หรือมากกว่า มีน้ำเป็นส่วนประกอบประมาณร้อยละ 2 - 5 ไม่ทำปฏิกริ ยิ าทางเคมีกบั สารเคมีอ่นื ๆ
ได้งา่ ยนัก จัดอยูใ่ นจำพวกสารเฉื่อยต่อปฏิกริ ยิ าทางเคมี เนื้อแก้วของหินเพอร์ไลต์จะมีการเปลีย่ นสภาพแก้ว
เป็ นผลึก (diversification) เมือ่ ระยะเวลา (อายุ)ของหินเพอร์ไลต์มากขึน้ ดังนัน้ หินเพอร์ไลต์ทจ่ี ะมีคณ
ุ ภาพดี
และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้นนั ้ เนื้อแก้วจะต้องไม่เปลีย่ นสภาพแก้วเป็ นผลึก ซึง่ จะพบได้ในหินภูเขาไฟยุค
ใหม่ประมาณยุคเทอร์เชียรรีขน้ึ มา หรือน้อยกว่า 65 ล้านปี ส่วนประกอบทางเคมีของหินเพอร์ไลต์ในรูปของ
ออกไซด์ของธาตุต่างๆ ดูได้จากตารางที่ 6.7 ซึง่ แสดงการเปรียบเทียบระหว่างค่าเฉลีย่ ของหินเพอร์ไลต์ทวโลก ั่
กับของประเทศไทย 
ตารางที่ 6.7 ส่วนประกอบทางเคมีของแร่หนิ เพอร์ไลต์
องค์ประกอบเคมี ค่าเฉลีย่ หินเพอร์ไลต์ ประเทศไทย
(ทัวโลก)

SiO2 71.0 - 75.0 71.02
Al2O3 12.5 - 18.0 16.09
Fe2O3 0.50 - 1.50 0.71
FeO 0.00 - 0.10 0.73
MgO 0.10 - 0.50 0.41
CaO 0.50 - 2.00 0.58
Na2O 2.90 - 4.00 0.90
K2O 4.00 - 5.00 5.59
H2O (comb) 3.00 - 5.00 3.57
6.3.4 การใช้ประโยชน์
การนำเพอร์ไลต์ไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้หลายอย่าง ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั คุณสมบัตทิ างฟิสกิ ส์และทางเคมีของ
เพอร์ไลต์ ส่วนใหญ่ถกู นำไปใช้ในงานด้านก่อสร้าง เพือ่ ประโยชน์ในการลดน้ำหนักของสิง่ ก่อสร้าง ช่วยเป็ น
ฉนวนป้องกันความร้อนและความเย็น และยังสามารถเป็ นผนังป้องกันเสียงได้ นอกจากนี้ได้มกี ารนำไปใช้ใน
งานด้านต่างๆ ตลอดจนงานทางด้านเกษตร และงานด้านอุตสาหกรรมอื่นๆ เช่น 
ด้านอุตสาหกรรมการก่อสร้าง 
มีการนำเพอร์ไลต์มาใช้ในด้านอุตสาหกรรมก่อสร้างประมาณ 70% ของปริมาณทีผ่ ลิตได้ทงั ้ โลก
เนื่องจากมีคณุ สมบัติ คือ มีน้ำหนักเบา ความหนาแน่นต่ำ มีความพรุนสูง ทนไฟ และมีความแข็งแรง ด้วย
คุณสมบัตเิ ด่นดังกล่าว เพอร์ไลต์จงึ นำไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น ฝ้าเพดาน เนื่องจากเพอร์ไลต์เป็ นส่วน
ประกอบของฝ้าเพดาน และผลิตภัณฑ์ยปิ ซัมแผ่นเรียบบางชนิด เพอร์ไลต์เป็ นส่วนผสมที่ทำให้กระเบือ้ งไม่
เป็ นตัวนำความร้อน คลื่นเสียงผ่านทะลุไม่ได้ มีความหนาแน่ นต่ำ และเป็ นวัสดุทนไฟ เมือ่ นำไปผสมกับ
ปูนซีเมนต์ จะทำให้ได้คณ ุ ภาพทีด่ กี ว่าปูนซีเมนต์ธรรมดา เมือ่ นำไปฉาบผนังตึกหรือเพดานจะทำให้ปนู
สามารถยึดติดผนังได้ดี แห้งเร็ว และไม่เกิดรอยร้าว เนื่องจากมีความยืดหยุน่ ได้ดี และยังเป็ นฉนวนป้ องกัน
ความร้อนอีกด้วย
-19-

นอกจากนี้เมือ่ นำเพอร์ไลต์ไปผสมกับปอร์ตแลนด์ซเี มนต์ในการทำคอนกรีตใช้ในงานก่อสร้างต่างๆ จะ


ทำให้ลดน้ำหนักของสิง่ ก่อสร้างนัน้ ลงได้ และยังทำหน้าทีเ่ ป็ นฉนวนป้องกันความร้อน และป้องกันการสะท้อน
ของเสียงได้เป็นอย่างดี คอนกรีตทีใ่ ช้เพอร์ไลต์ผสมจะมีความหนาแน่นต่ำถึง 320 kg/m3 และถ้ามีความหนา
ประมาณ 2 inch จะมีประสิทธิภาพในการเป็ นฉนวนได้เท่ากับแผ่นฉนวนมาตรฐาน แต่มคี วามแข็งแรงและ
คงทนกว่าแผ่นฉนวนมาตรฐานมาก ซึง่ ได้มกี ารทดลองและเปรียบเทียบคุณสมบัตขิ องคอนกรีตทีผ่ สมด้วยเพ
อร์ไลต์กบั ปูนซีเมนต์ผสมแบบธรรมดา โดยบริษทั ผลิตเพอร์ไลต์ของประเทศญีป่ ุน่ ดังแสดงในตารางที่ 6.8
(สำนักเหมืองแร่และสัมปทาน, ออนไลน์, 2546)
ตารางที่ 6.8 ตารางการเปรียบเทียบคุณสมบัตขิ องคอนกรีตทีผ่ สมด้วยเพอร์ไลต์กบั ปูนซีเมนต์ผสม
แบบธรรมดา (สำนักเหมืองแร่และสัมปทาน, ออนไลน์, 2546)
Air Dry Unit Volume Thermal Conductivity
Weight (kg/l) (Kcal/mh C)
คอนกรีตผสมเพอร์ไลต์ 1.20 - 1.60 0.27 - 0.36
ปูนผสมทราย 2.01 1.24

จิตรกร ตังอนุสรณ์สขุ และคณะ (2548) ได้ทำการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของเพอร์ไลต์ทม่ี อี ยูใ่ น


ประเทศไทย โดยใช้วธิ ี X-ray fluorescence ในการวิเคราะห์ แล้วนำองค์ประกอบดังกล่าวไปเปรียบเทียบกับ
องค์ประกอบทางเคมีของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ โดยใช้วธิ ดี งั กล่าวในการวิจยั เช่นกัน ดังตารางที่ 4.9 เพือ่ จะ
ทำการศึกษาคุณสมบัตทิ างเคมีเบือ้ งต้นของเพอร์ไลต์และของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ให้เป็ นข้อมูลคุณสมบัติ
เบือ้ งต้นของวัสดุทงั ้ 2 ชนิด ทีสำ
่ คัญ ให้สามารถใช้เป็ นวัตถุดบิ ทีส่ ามารถนำไปใช้ในงานอุตสาหกรรมก่อสร้าง
ได้ เช่น นำมาใช้ในการทำคอนกรีตมวลเบาทีทำ ่ เป็ นคอนกรีตฉนวน เป็ นต้น

ตารางที่ 6.9 ตารางการเปรียบเทียบคุณสมบัตทิ างเคมีของปูนซีเมนต์กบั เพอร์ไลต์ (จิตรกร, 2548)


ร้อยละโดยน้ำหนัก
ร้อยละโดยน้ำหนัก
องค์ประกอบเคมี สัญลักษณ์ ของเพอร์ไลต์
ของซีเมนต์
ในประเทศไทย
CaO C 60 – 67 0.57
SiO2 S 17 – 25 71.01
Al2O3 A 3–8 16.07
Fe2O3 F 0.5 - 6.0 0.71
MgO M 0.1 - 4.0 0.40
Na2O N 0.1 - 1.8 0.92
K2O K 0.1 - 1.8 5.57
SO3 S 0.5 - 3.0 -
FeO Fe - 0.71
H2O (comb) - - 3.57
-20-

(loss on ignition) LOI 0.1 - 3.0 -

เป็ นฉนวน
ห้องทีต่ อ้ งการรักษาอุณหภูมทิ งั ้ ความเย็นหรือความร้อนเป็ นพิเศษ ได้มกี ารใช้เพอร์ไลต์ อัดเข้าไปใน
ช่องว่างระหว่างผนังของห้อง ซึง่ มักจะใช้เพอร์ไลต์ทม่ี คี วามหนาแน่ นทีน่ ้อยกว่า 64 kg/m3 เช่น ห้องเก็บ
เครือ่ งมือทางวิทยาศาสตร์ทต่ี อ้ งการอุณหภูมภิ ายในห้องต่ำ 
เป็ นเครื่องกรอง
เนื่องจากเพอร์ไลต์มปี ริมาณออกไซด์ของธาตุซลิ กิ าสูง อาจมีมากกว่าร้อยละ 70 มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นตัวดูด
ซึมทีด่ ี และยังเป็นสารเฉื่อยต่อปฏิกริ ยิ าทางเคมีในสภาพแวดล้อมต่างๆ จากคุณสมบัตดิ งั กล่าวจึงสามารถนำ
เพอร์ไลต์ไปใช้เป็นตัวกรองและตัวดูดซึมทีด่ ี
ด้านอื่นๆ
นอกจากทีก่ ล่าวมาแล้ว เพอร์ไลต์ยงั สามารถนำไปใช้ผสมกับสีทาได้ทงั ้ ภายในและภายนอกของอาคาร
บ้านเรือน และมีการนำเพอร์ไลต์ไปใช้เป็ นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าทางเคมี ใช้เป็ นผงขัด และผสมซีเมนต์ใช้ในการฉาบ
ผนังบ่อน้ำมัน

6.3.5 แหล่งเพอร์ไลต์ของประเทศไทย
แหล่งเพอร์ไลต์พบอยูใ่ นบริเวณกลุ่มหินภูเขาไฟตอนกลางของประเทศ ซึง่ จัดอยูใ่ นหน่วยหินภูเขาไฟลำ
นารายณ์ คลุมพืน้ ทีป่ ระมาณ 1,200 ตารางกิโลเมตร อยูใ่ นเขตจังหวัดลพบุรี และจังหวัดเพชรบูรณ์ หน่วยหิน
ภูเขาไฟลำนารายณ์ประกอบด้วยหินภูเขาไฟชนิดต่างๆ ตัง้ แต่ บะซอลต์ แอนดีไซต์ ไปจนถึงไรโอไลต์ 
เพอร์ไลต์เกิดร่วมกับไรโอไลต์ และหินเถ้าถ่านภูเขาไฟ (ash-flow tuffs) โดยเกิดลักษณะแบบลาวา
และเกิดแบบพนัง โผล่ให้เห็นเป็นชัน้ หนาตามบริเวณของของภูเขาไฟลำนารายณ์โดยเฉพาะขอบต้านตะวันตก
เพอร์ไลต์ทพ่ี บมีสดำ ี น้ำตาล เขียวเข้ม-อ่อน มีลกั ษณะเนื้อเป็ นแก้ว และมีผลึกของเฟลด์สปาร์ประมาณ 2-10
เปอร์เซ็นต์ และผลึกของไบโอไทต์ประมาณ 1-2 เปอร์เซ็นต์ ชัน้ ของเพอร์ไลต์ทโ่ี ผล่มคี วามหนาตัง้ แต่ 1-20
เมตร วางตัวค่อนข้างราบ และส่วนมากจะวางตัวอยู่บนหินเถ้าถ่านภูเขาไฟ และถูกปิ ดทับด้วยไรโอไลต์
6.3.6 สถานการณ์เพอร์ไลต์ในประเทศ 
ั บนั เพอร์ไลต์มกี ารผลิตจากประทานบัตรของ หจก.คลองยาง จำนวน 1 แปลง เพียงแหล่งเดียว
ในปจจุ
ตัง้ อยูท่ ตำ
่ี บลมหาโพธิ ์ อำเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี มีอตั ราการผลิตประมาณ 2,400 ตันต่อปี สำหรับแร่เกรด
สูงเพือ่ เผาสำหรับทำวัสดุกรองคุณภาพสูงและถูกจำหน่ายให้กบั โรงงานน้ำผลไม้ การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดนิ
(hydroponic) ตัวเติมสำหรับปูนฉาบสำเร็จ และอิฐทนไฟ โดยจำหน่ายให้กบั โรงเผาทีจ่ งั หวัดราชบุรี ราคาของ
เพอร์ไลต์คณ ุ ภาพสูงก่อนการเผาที่ 650 บาทต่อตัน เมือ่ เผาแล้วราคาจะเพิม่ ขึน้ เป็ น 6,000 – 12,000 บาทต่อ
ตัน ขึน้ กับคุณสมบัตคิ วามขาว และความหนาแน่ น (สำนักเหมืองแร่และสัมปทาน, ออนไลน์, 2546)
ประพัตร์ กรังพานิชย์ (2540) ได้ศกึ ษาถึงการนำกากแร่สงั กะสีและวัสดุพรุนเบาเพอร์ไลต์มาผลิตเป็ น
คอนกรีตมวลเบา โดยการนำกากแร่สงั กะสีใช้เป็ นวัสดุผสมแทนทรายและผสมวัสดุพรุนเบาเพอร์ไลต์เพือ่ ลดน้ำ
หนักของคอนกรีต และยังได้มกี ารศึกษาถึงองค์ประกอบและคุณสมบัตขิ องเพอร์ไลต์ในด้านต่างๆ เช่น ศึกษา
องค์ประกอบหลักทางเคมีของเพอร์ไลต์ โดยใช้วธิ ี X – ray fluorescence ซึง่ พบว่ามีองค์ประกอบหลักของเพ
อร์ไลต์ทพ่ี บแล้วมีปริมาณสูง ได้แก่ SiO2 ซึง่ พบในปริมาณร้อยละ 70.29 Al2O3 และ K2O พบในปริมาณร้อย
ละ 13.64 และ 5.73 ตามลำดับ ส่วนองค์ประกอบรอง (trace element) พบในปริมาณไม่มากนัก ได้แก่ P2O2,
-21-

MgO, CaO และได้ศกึ ษาถึงความหนาแน่นรวม (bulk density) โดยการนำเพอร์ไลต์มาบดแล้วคัดขนาดด้วย


ตะแกรงมาตรฐาน เพือ่ หาขนาดของเพอร์ไลต์ทเ่ี หมาะสมต่อการนำมาใช้เป็ นมวลผสมคอนกรีต ซึง่ จากการ
ทดสอบพบว่า ขนาด 0.850 มิลลิเมตร มีความเหมาะสมในการใช้งาน และค่าความหนาแน่นมีค่าใกล้เคียงกับ
ค่าทีม่ กี ารใช้โดยทัวไป
่ คือ 40 – 300 kg/m3
คม บัวคลี่ และรังสรรค์ รังสิมาวงศ์ (2540) ได้ทำการศึกษาเพือ่ หาสัดส่วนการผสมมอร์ตาร์มวลเบาโดย
การใช้เพอร์ไลต์มาแทนทีท่ รายบางส่วน เพือ่ ให้ได้คณ ุ สมบัตติ ามต้องการและสามารถนำมอร์ตาร์มวลเบานี้ไปใช้
งานได้จริงในการผลิตผนังมวลเบา โดยในการทดลองได้ใช้ทงั ้ ขนาดหยาบและขนาดละเอียดปนกัน เพอร์ไลต์
ในการทดสอบมีหน่วยน้ำหนักประมาณ 252 kg/m3 การทดสอบคุณสมบัตขิ องมอร์ตาร์นนั ้ แบ่งเป็ น 3 ส่วน
คือ การทดสอบหน่วยน้ำหนัก การทดสอบความสามารถเทได้โดยใช้โต๊ะการไหล และการทดสอบกำลังอัด
โดยกำหนดเป้าหมายดังนี้ ด้านหน่วยน้ำหนักไม่เกิน 800 kg/m3 ค่าการไหลแผ่ควรมากกว่า 70% และ
กำลังอัดควรจะมีมากกว่า 35 kg/cm2 ทีอ่ ายุ 7 วัน ผลการวิจยั พบว่าหน่ วยน้ำหนักจะขึน้ อยู่กบั ปริมาณของเพ
อร์ไลต์ทใ่ี ช้แทนทีท่ รายและปริมาณช่องว่างอากาศทีแ่ ทรกในเนื้อมอร์ตาร์ โดยปริมาณเพอร์ไลต์ทเ่ี หมาะสม
ทีส่ ดุ คือ แทนทีท่ ราย 90% โดยปริมาตร ด้านการไหลขึน้ อยูก่ บั ปริมาณความชืน้ ในเพอร์ไลต์เป็ นหลัก กล่าว
คือการไหลจะดีเมือ่ ปริมาณความชืน้ ในเพอร์ไลต์อยูร่ ะหว่าง 90-100% ส่วนด้านกำลังอัด พบว่ามอร์ตาร์ทใ่ี ส่ทงั ้
สารกระจายกักฟองอากาศและสารลดน้ำอย่างมากมีคณ ุ สมบัตติ รงตามเป้าหมายคือ ค่ากำลังอัด 37 kg/cm2 ที่
อายุ 7 วัน คุณสมบัตดิ า้ นหน่วยน้ำหนักและความสามารถเทได้นนั ้ ขึน้ กับปจั จัยหลายประการ แต่ทค่ี วร
ระมัดระวังเป็นพิเศษคือปริมาณความชืน้ ในเพอร์ไลต์และขนาดของเพอร์ไลต์ทใ่ี ช้ในการผสม
R. Demirboga, I. Orung and R. Gul (2001) ได้ทำการศึกษาผลกระทบของ Expanded Perlite ใน
คอนกรีตมวลเบากำลังสูง ในการศึกษาได้ใช้ Expanded Perlite และหินพัมมิช เป็ นมวลรวม โดยศึกษาถึงผลก
ระทบด้านกำลังอัดทีเ่ กิดขึน้ กับคอนกรีตมวลเบาทีใ่ ช้ซลิ กิ าฟูมและเถ้าลอย Class C แทนทีป่ นู ซีเมนต์รอ้ ยละ
10, 20 และ 30 โดยน้ำหนัก และควบคุมปริมาณของมวลรวมให้อยูท่ ่ี 200 kg/m3 และใช้สารลดน้ำจำนวนมาก
ร้อยละ 1.5 โดยน้ำหนักของวัสดุประสาน จากการทดสอบพบว่า เมือ่ เพิม่ ปริมาณ Expanded Perlite ความ
หนาแน่ นของตัวอย่างทัง้ หมดลดลงจาก 1,150 เหลือ 753 kg/m3 ทัง้ ส่วนผสมทีใ่ ช้ซลิ กิ าฟูม และเถ้าลอย ค่า
กำลังอัดทีอ่ ายุ 7 วัน มีคา่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 52, 85 และ 55 และทีอ่ ายุ 28 วัน มีคา่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 80, 84 และ
108 เมือ่ ใช้ Expanded Perlite แทนทีห่ นิ พัมมิช 20, 40 และ 60% ตามลำดับ ส่วนการพัฒนาด้านกำลังอัดจะ
คล้ายการใช้ปอซโซลานโดยทัวไปคื ่ อ เมือ่ เพิม่ ปริมาณเถ้าลอยในส่วนผสมคอนกรีต จะส่งผลให้คา่ กำลังอัดของ
คอนกรีตในช่วงอายุ 7 และ 28 วัน มีคา่ ลดลง แต่มคี า่ เพิม่ สูงขึน้ เมือ่ อายุการบ่มมากขึน้
I.B.Topcu and B.Isikdag (2007) ได้ตระหนักถึงประโยชน์ของ Expand Perlite Aggregate (EPA) ว่า
เป็ นได้ทงั ้ ฉนวนกันความร้อนและเสียง และยังเป็ นวัสดุทม่ี นี ้ำหนักเบา ซึง่ เป็ นทีแ่ น่นอนว่าจะสามารถทำให้
ประหยัดค่าก่อสร้างได้ จึงได้ทำการศึกษาคุณสมบัตขิ องคอนกรีตเบาทีใ่ ช้ Expanded Perlite เป็ นมวลรวมใน
ส่วนผสมคอนกรีต ควบคุมปริมาณซีเมนต์ท่ี 300, 350 และ 400 kg/m3 และแทนทีซ่ เี มนต์ดว้ ย EPA ร้อยละ 0,
15, 30, 45 และ 60 ทำการทดสอบพฤติกรรมทัง้ คอนกรีตทีอ่ ยูใ่ นสภาพคอนกรีตสดและคอนกรีตทีแ่ ข็งตัวแล้ว
โดยหล่อแท่งตัวอย่างลูกบาศก์ขนาด 150 x 150 x150 mm และทรงกระบอกขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 150 mm
สูง 300 mm ทดสอบตัวอย่างทีอ่ ายุการบ่ม 28 วัน จากการทดสอบพบว่าค่าความหนาแน่นทีน่ ้อยทีส่ ดุ คือ
1,800 kg/m3 ทีป่ ริมาณซีเมนต์ 300 kg/m3 และค่ากำลังอัดของ EPAC (expanded perlite aggregate
concrete) ทีไ่ ด้ประมาณ 200 และ 300 kg/cm2 ทีป่ ริมาณการแทนทีซ่ เี มนต์รอ้ ยละ 30 ซึง่ สามารถกล่าวสรุป
ได้วา่ EPAC มีคณ ุ สมบัตใิ นการเป็นคอนกรีตมวลเบา
-22-

R. Demirboga and R. Gul (2003) ได้ทำการศึกษาถึงผลกระทบของสารผสมเพิม่ ต่อคุณสมบัตดิ า้ น


การนำความร้อนของคอนกรีตทีใ่ ช้ Perlite เป็ นมวลรวม โดยในการศึกษาจะใช้ซลิ กิ าฟูม และเถ้าลอย แทนที่
ปูนซีเมนต์รอ้ ยละ 10, 20 และ 30 และควบคุมปริมาณของมวลรวมให้อยูท่ ่ี 200 kg/m3 และใช้สารลดน้ำจำนวน
มากร้อยละ 1.5 โดยน้ำหนักของวัสดุประสาน จากการทดสอบได้แสดงให้เห็นว่าคุณสมบัตดิ า้ นการนำความร้อน
ลดลงเมือ่ เพิม่ ปริมาณการแทนทีซ่ เี มนต์ดว้ ยซิลกิ าฟูมและเถ้าลอย ทีป่ ริมาณร้อยละ 14 และ 18 ตามลำดับ และ
เมือ่ ทำการเพิม่ ปริมาณสารผสมเพิม่ ส่งผลให้ความหนาแน่นของคอนกรีตลดลงจาก 522 kg/m3 เหลือ 483
kg/m3 กำลังอัดมีคา่ ลดลงร้อยละ 12, 19 และ 29 ทีอ่ ายุการบ่ม 7 วัน แต่คา่ กำลังอัดจะเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 9, 13
และ 4 ทีอ่ ายุการบ่ม 28 วัน ทีก่ ารแทนทีป่ นู ซีเมนต์ดว้ ยซิลกิ าฟูมร้อยละ 10, 20 และ 30 ตามลำดับ แต่
สำหรับเถ้าลอยนัน้ จะส่งผลทำให้คา่ กำลังอัดเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 36 และ 27 ทีอ่ ายุการบ่ม 28 วัน
6.4 ซีโอไลต์
ซีโอไลต์ (zeolite) คือสารประกอบอะลูมโิ นซิลเิ กต (crystalline aluminosilicates) หน่วยย่อยของ
ซีโอไลต์ประกอบด้วยอะตอมของซิลคิ อน(หรืออะลูมเิ นียม) หนึ่งอะตอม และออกซิเจนสีอ่ ะตอม (SiO4 หรือ
AlO4) สร้างพันธะกันเป็นรูปสามเหลีย่ มสีห่ น้า (tetrahedron) โดยอะตอมของซิลคิ อน (หรืออะลูมเิ นียม) อยู่
ตรงกลาง ล้อมรอบด้วยอะตอมของออกซิเจนทีม่ มุ ทัง้ สี่ ซึง่ โครงสร้างสามเหลีย่ มสีห่ น้านี้จะเชือ่ มต่อกันทีม่ มุ (ใช้
ออกซิเจนร่วมกัน) ก่อให้เกิดเป็นโครงสร้างทีใ่ หญ่ขน้ึ และเกิดเป็ นช่องว่างระหว่างโมเลกุล ทำให้ซโี อไลต์เป็ น
ผลึกแข็ง เป็นรูพรุนและช่องว่างหรือโพรงทีต่ ่อเชือ่ มกันอย่างเป็ นระเบียบในสามมิติ ขนาดตัง้ แต่ 2-10 อังสตรอม
(1 อังสตรอมเท่ากับ 1x10-10 เมตร) นอกจากซิลคิ อน(หรืออะลูมเิ นียม) และออกซิเจนแล้ว ในโครงสร้างโมเลกุล
ของซีโอไลต์ยงั มีประจุบวกของโลหะ เช่น โซเดียม โพแทสเซียม แคลเซียม เกาะอยูอ่ ย่างหลวมๆ และยังมี
โมเลกุลของน้ำเป็นองค์ประกอบอยูใ่ นช่องว่างในโครงผลึก สามารถต้มให้เดือดระเหยออกไปได้

รูปที่ 6.12 แสดงโครงสร้างของซีโอไลต์ [26]

ซีโอไลต์อาจเกิดขึน้ ตามธรรมชาติในรูปของแร่ธาตุ มีการทำเป็ นเหมืองซีโอไลต์ในพืน้ ทีห่ ลายแห่งของ


โลก หรืออาจสังเคราะห์ขน้ึ ได้โดยกระบวนการทางเคมี เพือ่ ประโยชน์ทางการค้า ซึง่ จะทำให้ได้ซโี อไลต์ทม่ี ี
สมบัตเิ ฉพาะเจาะจง รวมทัง้ อาจมีการสังเคราะห์ซโี อไลต์ในห้องปฏิบตั กิ ารเพือ่ ประโยชน์ในการศึกษาลักษณะ
ทางเคมีของซีโอไลต์ ซีโอไลต์มมี ากกว่า 600 ชนิด แต่สามารถแบ่งกลุ่มตามชนิดของโครงสร้างได้ประมาณ
40 ชนิด ซึง่ ความแตกต่างในโครงสร้างนี่มผี ลต่อสมบัตติ ่างๆ ของซีโอไลต์ เช่น โครงสร้างผลึก ความหนาแน่น
ขนาดของโพรง ความแข็งแรงของพันธะ เป็ นต้น การจำแนกชนิดของซีโอไลต์นนั ้ อาศัยขนาดและรูปร่างของ
โพรงซีโอไลต์เป็นหลัก ซึง่ จะทำให้นำซีโอไลต์ไปใช้ประโยชน์ในงานทีแ่ ตกต่างกันไป ลักษณะเด่นของซีโอไลต์
คือ โครงสร้างทีเ่ ป็นรูพรุนอย่างเป็นระเบียบของซีโอไลต์ ซึง่ อาจใช้เป็ นตัวกรองสารทีต่ อ้ งการ โดยโมเลกุลที่
-23-

เล็กกว่าขนาดโพรงซีโอไลต์กจ็ ะสามารถผ่านไปได้ ในขณะทีโ่ มเลกุลทีม่ ขี นาดใหญ่จะไม่สามารถผ่านออกมา


และโมเลกุลทีต่ อ้ งการซึง่ มีขนาดพอดีกบั โพรงซีโอไลต์กจ็ ะถูกกักไว้ภายในโพรง

6.4.1 ชนิ ดของซีโอไลต์


ซีโอไลต์สามารถเกิดขึน้ ได้ 2 วิธี คือ ซีโอไลต์ทพ่ี บตามธรรมชาติ (natural or mineral zeolite) และที่
สังเคราะห์ขน้ึ (synthetic zeolite) ซีโอไลต์แต่ละชนิดมีโครงสร้างทีแ่ ตกต่างกัน ทีพ่ บตามธรรมชาติมมี ากกว่า
35 ชนิด ส่วนซีโอไลต์สงั เคราะห์ขน้ึ มีถงึ ประมาณ 100 ชนิด ซีโอไลต์ม ี 2 ชนิด ดังนี้
1) ซีโอไลต์ทเ่ี กิดตามธรรมชาติ (natural or mineral zeolite) ประกอบด้วย Hydrated Alumino
Silicates ของ Alkaline และ Alkaline-Earth Metals ซึง่ ซีโอไลต์ธรรมชาติจะมีน้ำหนักเบา เป็ นแร่ทม่ี คี วามนุ่ ม
มีสนี ้ำตาล น้ำตาลเหลืองหรือสีเขียวจาง มีลกั ษณะคล้ายชอล์ก ซีโอไลต์ธรรมชาติทน่ี ิยมใช้ในอุตสาหกรรมมี 3
ชนิด คือ Clinoptilolite , Chabazite และ Mordenite บางอุตสาหกรรม อาจจะใช้ Phillipsite ชนิดของซีโอไลต์ท่ี
สำคัญคือ
Group 1 : Single 4 - ring
Analcime Na16 [(AlO2)16 (SiO2)32] . 16H2O
Phillipsite (K, Na)10 [(AlO2)10 (SiO2)22] . 20H2O
Laimonte Ca4 [(AlO2)8 (SiO2)46] . 16H2O
Group 2 : Single 6 – ring
Erionite (Ca, Mg, K2, Na2)4 [(AlO2)9 (SiO2)27] . 27H2O
Group 3 : Double 4 – ring
A(Linde) Na12 [(AlO2)12 (SiO2)12] . 27H2O
Group 4 : Double 6 – ring
Chabazite Ca2 [(AlO2)4 (SiO2)8] . 13H2O
Group 5 : Complex 4 – 1
Natrolite Na16 [(AlO2)16 (SiO2)24] . 16H2O
Group 6 : Complex 5 – 1
Mordenite Na8 [(AlO2)8 (SiO2)40] . 24H2O
Group 7 : Complex 4 – 4 – 1
Clinoptilolite Na16 [(AlO2)6 (SiO2)30] . 24H2O
ในสภาพธรรมชาติพบแร่ซโี อไลต์ประมาณ 50 ชนิด แต่ทพ่ี บบ่อยและมีปริมาณค่อนข้างสูงในดินมี
เพียง 9 ชนิดเท่านัน้ ได้แก่ Clinoptilolite , Analcime , Chabazite , Heulandite , Mordenite , Phillipsite ,
Natrolite , Stilpite และ Gesmondine แร่ทงั ้ 9 ชนิด ในกลุ่มนี้ Clinoptilolite และ Mordenite เท่านัน้ ทีพ่ บมาก
ในดินทัวไป

2) ซีโอไลต์ทเ่ี กิดจากการสังเคราะห์ทางเคมี (synthetic zeolite) เกิดจากการทำปฏิกริ ยิ าเบสิกออก
ไซด์ต่างๆ เช่น Al3O2 SiO2 Na2O และ K2O ในระบบทีม่ นี ้ำเพือ่ ให้ได้ผลิตภัณฑ์ของ ซีโอไลต์ทม่ี นี ้ำผลึก
-24-

และการสังเคราะห์สามารถทำให้เกิดได้ตงั ้ แต่เป็ นเจล (gelatin) จนถึงรูปทีเ่ ป็ นรูพรุน (porous) และลักษณะที่


คล้ายเม็ดทราย (sandlike) ได้แก่ Zeolite A, Zeolite Y, Zeolite F, Zeolite M เป็ นต้น

6.4.2 ประโยชน์ ของซีโอไลต์


ซีโอไลต์สงั เคราะห์มปี ระโยชน์และถูกนำมาใช้มากกว่าซีโอไลต์ธรรมชาติ เนื่องจากมีองค์ประกอบที่
สม่ำเสมอ มีโครงสร้างทีแ่ น่นนอนและค่อนข้างบริสทุ ธิ ์ มีสารปนเปื้อนน้อย ปจั จุบนั ซีโอไลต์มปี ระโยชน์และมี
บทบาทในอุตสาหกรรมหลายด้านดังนี้
1) ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกริ ยิ าเช่น Hydrogenation, lkylation, Aromatization และ Isomerization เป็ นต้น
2) ใช้เป็น Sorption agent เนื่องจากโครงสร้างทีเ่ ป็ นรูพรุนของซีโอไลต์ทำให้สามารถดูดซับสารต่างๆ
ได้ตามขนาดและโครงสร้างของซีโอไลต์แต่ละชนิด เช่น ใช้ในขบวนการ defying ของ natural gas แยก CO2
และสารประกอบซัลเฟอร์จากแก๊สธรรมชาติแยกสารทีทำ ่ ให้เกิดสารมลภาวะ เช่น SO2 NO2 และ O2 จาก
อากาศ เป็นต้น
3) water softeners ซีโอไลต์สามารถแลกเปลีย่ นไอออนบวกในโครงร่างผลึกกับแคลเซียมไอออนหรือ
แมกนีเซียมไอออนได้จงึ ช่วยลดความกระด้างของน้ำ
4) ใช้เป็น ion exchange resins จากคุณสมบัตกิ ารแลกเปลีย่ นไอออนบวกของซีโอไลต์ทำให้สามารถ
นำไปใช้เป็นเรซิน เพือ่ แลกเปลีย่ นกับไอออนบวก Univalent หรือ Divalent Selectivity ของซีโอไลต์ของไอออน
บวกทีเ่ ป็ น Univalent จากมากไปหาน้อย ดังนี้
5) ใช้เป็น Detergent builder ซีโอไลต์เป็ นทีน่ ิยมในต่างประเทศทีเ่ จริญแล้ว โดยใช้เป็ นส่วนผสมของ
ผงซักฟอกเนื่องจากซีโอไลต์มคี ณ ุ สมบัตทิ เ่ี หมาะสมสำหรับทำผงซักฟอก คือมีคา่ Capacity และ Kinetics ซึง่
ทำให้การแลกเปลีย่ นไอออนบวกเป็นไปได้มากและเร็ว นอกจากนี้ ซีโอไลต์ยงั ใช้แทนฟอสเฟตได้อกี ด้วย
ซึง่ ฟอสเฟตทำให้พชื น้ำหรือพวกสิง่ มีชวี ติ ขนาดเล็กๆ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้มปี ญั หาในการกำจัดและ
เมือ่ มีการตายแล้วทับถมกันเข้าจึงทำให้น้ำเน่าเสียและสัตว์น้ำทีจำ ่ เป็ นลดจำนวนลงได้เนื่องจากขาดออกซิเจน
ในการย่อยสลาย

ตารางที่ 6.10 คุณสมบัตขิ องซีโอไลต์ชนิดต่าง ๆ


-25-

ช่องว่างโมเลกุ ล
ซีโอไลต์ ส่วนประกอบทางเคมี อั ตราส่วน Si : Al
(นาโนเมตร)
Analcime Na.AlO2.2SiO2.H2O 1.7 - 2.9 0.26
Chabazite 2Ca.4AlO2.8SiO2.13H2O 1.4 - 3.0 0.31 x 0.44
Clinoptilotite Na/K.AlO2.5SiO2.H2O 4.0 - 5.1 0.31 x 0.79
Erionite Ca/Mg/2Na/2K.2AlO2.6SiO2.6H2O 2.2 0.76
Laumkotite Ca.2AlO2.4SiO4.4H2O 1.8 - 2.6 0.46 x 0.63
Mordentite Na.AlO2.5SiO2.3H2O 4.4 - 5.3 0.67 x 0.70
Phiplippisite K/Na.AlO2.2SiO4.H2O 1.3 - 3.0 0.28 x 0.48
Stellerite Ca.2AlO2.7SiO2.7H2O 2.8 - 4.4 0.45 x 0.59

ซีโอไลต์ ได้ชอ่ื ว่าเป็น Molecular sieve เนื่องจากโมเลกุลมีชอ่ งว่างทีส่ ม่ำเสมอจำนวนมากซึง่


สามารถแสดงคุณสมบัตคิ ล้าย sieve บนโมเลกุลทีม่ ชี อ่ งว่างทีส่ ม่ำเสมอ เนื่องจากซีโอไลต์มมี ากมายหลายชนิด
และมีโครงสร้างทีแ่ ตกต่างกัน ซีโอไลต์แต่ละชนิดจึงมีคณ ุ สมบัตเิ หมาะในการใช้งานแตกต่างกัน ดังนัน้ เมือ่ จะนำ
ไปใช้งานในด้านใดจึงควรศึกษาคุณสมบัตใิ ห้เหมาะสมก่อนเพือ่ ให้สามารถใช้งานได้ถกู ต้องและมีประสิทธิภาพ
สูงสุด
ปจั จุบนั ในต่างประเทศมีการศึกษาวิจยั และนำซีโอไลต์มาใช้ในงานคอนกรีตอย่างมาก โดยเฉพาะ
ประเทศจีนทีม่ ภี มู ศิ าสตร์เป็นภูเขา มีแหล่งซีโอไลต์จากธรรมชาติมากมายและมีการนำ ซีโอไลต์มาประยุกต์ใช้
กับงานคอนกรีตอย่างแพร่หลาย
N.-Q., Feng และ J.-Z., Yan (1998) ได้ศกึ ษาผลของซีโอไลต์ในการยับยัง้ การยายตัวของอัลคาไลน์
ถ้าวัสดุทผ่ี สมในคอนกรีตมีปริมาณของอัลคาไลน์ มากกว่า 3 % คอนกรีตจะมีแนวโน้มทีจ่ ะเกิด alkali-
aggregate rxn.(ARR) ซึง่ ในสภาพแวดล้อมทีเ่ ปี ยก ARR อาจจะทำให้เนื้อคอนกรีตขยายตัวจนเกิดการแตกหัก
หรือการวิบตั ขิ องคอนกรีตขึน้ ได้ การใส่ผงซีโอไลต์ทแนซีเมนต์บางส่วนสามารถยับยัง้ การขยายตัวทีเ่ กิดจาก
ARR ได้ ตัวอย่างเช่น การใช้ซโี อไลต์แทนปูนซีเมนต์รอ้ ยละ 20 สามารถลดการขยายตัวทีเ่ กิดจาก ARR ได้
0.04 % ทีอ่ ายุของตัวอย่าง 180 วัน
C.S., Poon และ คณะ (1999) ได้ศกึ ษาถึงความสามารถของซีโอไลต์ในการเป็ นวัสดุผสม จากผล
การทดลองสามารถสรุปได้วา่ ซีโอไลต์ทใ่ี ช้ในการทดลองเป็ นวัสดุปอซโซลานทีม่ คี วามสามารถในการเกิด
ปฏิกริ ยิ าอยูร่ ะหว่างซิลกิ า้ ฟูมกับเถ้าถ่านหิน โดยทัวไปซี
่ โอไลต์ทผ่ี สมในซีเมนต์ดว้ ย W/C ratio ต่ำกว่าจะทำให้
มอร์ตาร์แข็งแรงมากกว่า แต่การผสมซีโอไลต์ในซีเมนต์ท่ี W/C ratio สูงกว่าจะทำให้อตั ราการเกิดการปฏิกริ ยิ า
มากกว่า ดังนัน้ ถ้าผสม ซีโอไลต์ 15 % จะช่วยลดช่องว่างในเพสต์ได้ แต่การผสมซีโอไลต์ 25 % จะทำให้
เกิดช่องว่างมากขึน้ ทีอ่ ายุของตัวอย่างตัง้ แต่ 3 – 180 วัน
N.-Q., Feng และ G. -F. Peng (2005) ได้ศกึ ษาถึงการใช้ซโี อไลต์ผสมซีเมนต์ทม่ี สี าร อัลคาไลน์ต ่ำ
จากกระบวนการผลิตและส่วนประกอบทางเคมีของวัตถุดบิ หลักในการผลิตซีเมนต์ในจีนพบว่า มีองค์ประกอบ
ของอัลคาไลน์ในซีเมนต์มากกว่า 0.6 % ซึง่ มีผลทำให้กำลังทีไ่ ด้ไม่เป็ นไปตามต้องการเมือ่ W/C ratio เพิม่ สูง
-26-

ขึน้ ดังนัน้ จึงมีการใช้ซโี อไลต์และคาร์บอเนตแทนทีปนู ซีเมนต์ปอซโซลาน ในปริมาณตัง้ แต่ 20 – 25 % ผลจาก


การทดลองพบว่ากำลังทีไ่ ด้เป็นไปตามทีต่ อ้ งการและสูงขึน้
N.-Q., Feng และ G.-Z., Li (1991) ได้ศกึ ษาถึงการนำซีโอไลต์มาใช้กบั วัสดุทม่ี เี งือ่ นไขของความชืน้
เข้ามาเกีย่ วข้อง ผลการทดลองพบว่าถ้าอุณภูมมิ กี ารเปลีย่ นแปลง ความชืน้ ของภาชนะทีเ่ ก็บตัวอย่างมอร์ตา้
ปกติจะเปลีย่ นแปลงอย่างมาก ขณะทีค่ วามชืน้ ของภาชนะทีเ่ ก็บตัวอย่าง มอร์ตาร์ทม่ี คี วามชืน้ เข้ามา
เกีย่ วข้องจะเปลีย่ นแปลงเพียงเล็กน้อย ซึง่ จะเป็ นประโยชน์ สำหรับอาคารทีต่ อ้ งการรักษาความชืน้ ทีเ่ หมาะ
สมในการใช้งาน
ธีรวัฒน์ สินศิริ และคณะ (2550) ได้ศกึ ษาถึงผลกระทบของซีโอไลต์ต่อโครงสร้างขนาดเล็กของซีเมน
ต์เพสต์ผสม พบว่าการสลายตัวของแคลเซียมไฮรดรอกไซด์ลดลง เมือ่ มีการแทนทีป่ นู ซีเมนต์ดว้ ยซีโอไลต์ใน
ปริมาณทีเ่ พิม่ ขึน้ และปริมาตรโพรงทัง้ หมดในซีเมนต์เพสต์สงู ขึน้ แต่ขนาดเฉลีย่ ของโพรงลดลงส่งผลให้เพสต์
มีโครงสร้างทีแ่ น่นขึน้ อาจเป็นผลของสารประกอบเนื่องจากปฏิกริ ยิ าไฮเดรชันและปฏิกริ ยิ าปอซโซลานบาง
ส่วน
จากการวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง พบว่าวัสดุปอซโซลานธรรมชาติสามารถนำไปเป็ นวัสดุปอซโซลานได้ แต่การ
ศึกษาในวิจยั เกีย่ วกับการใชประโยชน์วสั ดุปอซโวลานธรรมชาติในประเทศไทยในงานคอนกรีตมีคอ่ นข้างน้อย
มาก ดังนัน้ ในงานวิจยั นี้จงึ มุง่ ศึกษาการนำปอซโซลานธรรมชาติทม่ี ใี นประเทศไทยไปใช้เป็ นวัสดุประสานใน
งานคอนกรีต เพือ่ ให้เข้าใจคุณสมบัตขิ องสารปอซโซลานธรรมชาติ ตลอดจนเห็นถึงประโยชน์การีนำไปใช้ใน
งานคอนกรีต
6.5 เอกสารอ้างอิ ง
กรมทรัพยากรธรณี. (2548). เพอร์ไลต์. [ออนไลน์ ]. ได้จาก: http://www.dmr.go.th/Interest/Data
/TI2dataD.htm.
คม บัวคลี่ และรังสรรค์ รังสิมาวงศ์ (2540). การพัฒนามอร์ตาร์มวลเบาโดยการใช้เพอร์ไลต์. เอกสารงาน
วิจยั . ภาควิชาวิศวกรรมโยธา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทนา สุขมุ านนท์. (2550). INSEE Concrete Handbook. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: บริษทั เซอร์ตสั เพรส
จำกัด.
จิตรกร ตังอนุสรณ์สขุ และคณะ (2548). ผลกระทบของเพอร์ไลต์ต่อการซึมผ่านอากาศ และปริ มาณช่อง
ว่างอากาศภายในซีเมนต์มอร์ตาร์. ปริญญานิพนธ์. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา. มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีสรุ นารี.
ณรงค์ศกั ดิ ์ นันทคำภิรา และคณะ. (2547). หิ นอัคนี .[ออนไลน์ ]. ได้จาก: http://www.soil.civil .rmut.ac.th
/rock/index1.html.
ธงชัย พึง่ รัศมี. (2531). ธรณี วิทยาทัวไป.่ พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ โอเดียนสโตร์.
ธนิตา นันทสว่าง. (2547). การศึกษาการลดรูพรุนในอิ ฐมวลเบาแบบไม่เผาจากดิ นเบาลำปาง. ปริญญา
นิพนธ์. สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธีรวัฒน์ สินศิร,ิ ชัย จาตุรพิทกั ษ์กุล, และปริญญา จินดาประเสริฐ. (2548). ผลกระทบของขนาดอนุภาคและ
รูปร่างเถ้าถ่านหิ นต่อความพรุนและการซึมผ่านอากาศของเพสต์. การประชุมวิชาการคอนกรีต
ประจำปี ครัง้ ที่ 1. (หน้า CON22-CON29). กรุงเทพฯ. สมาคมคอนกรีตไทย.
-27-

ธีรวัฒน์ สินศิร,ิ ชูวทิ ย์ นาเพีย และ ศักดิ ์สิทธิ ์ พันทวี (2550). ผลกระทบของซีโอไลต์ต่อโครงสร้างขนาดเล็กของ
ซีเมนต์เพสต์ผสม. การประชุมวิ ชาการวิ ศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครังที ้ ่ 12 จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 2-
4 พฤษภาคม.
ประพัตร์ กรังพานิชย์. (2540). การนำกากแร่สงั กะสีและวัสดุพรุนเบาเพอร์ไลต์มาผลิ ตเป็ นคอนกรีตเบา.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปริญญา จินดาประเสริฐ และชัยจาตุรพิทกั ษ์กุล. (2547). ปูนซีเมนต์ ปอซโซลาน และคอนกรีต.กรุงเทพฯ:
สมาคมคอนกรีตไทย.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (2543). ฟิ สิ กส์ราชมงคล ศัพท์ชีวะ. [ออนไลน์]. ได้จาก:
http://www.electron.rmutphysics.com/bio-glossary.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [สสวท.]. (2550). ซากดึกดำบรรพ์. [ออนไลน์ ]. ได้จาก:
http://www.ipst.ac.th/science/index.shtml.
สำนักเหมืองแร่และสัมปทาน กลุ่มวิศวกรรมและความปลอดภัย. (2546). เพอร์ไลต์.[ออนไลน์ ]. ได้จาก:
http://www.dpim.go.th/ppr/title.php?tid=000001074149948.
สุมติ ร ห่วงนาค. (2547). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการลดรูพรุนของอิ ฐมวลเบาแบบไม่เผาจากดิ นเบา
ลำปาง. ปริญญาตรี. สาขาวิชาเคมีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่.
เสรีวฒั น์ สมินทร์ปญั ญา. (2538). โลกและหิ น. พิมพ์ครัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ สุรวี ทิ ยาสาส์น.
A.C. Aydin and R. Gul. (2006). Influence of Volcanic Originated Natural Materials as Additives on
The Setting Time and Some Mechanical Properties of Concrete. Construction and Building
Materials. 21. p.1277-1281.
American Society for Testing and Materials. (1991). Standard Specification for Fly Ash and Raw or
Calcined Natural Pozzolan for Use as a Mineral Admixture in Portland Cement Concrete.
Annual Book of ASTM Standards Vol.04.02. (ASTM C618-91).
B.Y. Pekmezci and S. Akyu¨z. (2004). Optimum Usage of A Natural Pozzolan for The Maximum
Compressive Strength of Concrete. Cement and Concrete Research. 34. p.2175-2179.
C. Jaturapitakkul, K. Kaittikomol, V. Sata and T. Leekeeratikul. (2004). Use of Ground Coarse Fly
Ash as a Replacement of Condensed Silica Fume in Producing High-Strength Concrete.
Cement and Concrete Research. 34. p.549-555.
C. S. Poon, L. Lam, S.C. Kou and Z.S. Lin (1999). A Study on the Hydration Rate of Natural Zeolite
Blended Cement Paste. Construction and Building Materials. Vol. 13, pp 427-432.
D. Fragoulisa, M.G. Stamatakisb, E. Chaniotakisa and G. Columbusb. (2004) . Characterization of
Lightweight Aggregates Produced with Diatomite Rocks Originating From Greece.
Materials Characterization. 53. p.307-316.
I.B.Topcu and B.Isikdag. (2007). Effect of Expanded Perlite Aggregate on The Properties of
Lightweight Concrete. Journal of Materials Processing Technology PROTEC-11355; No. of
Pages 5.
K. Pimraksa and P. Chindaprasirt. (2008). Lightweight Bricks Made of Diatomaceous Earth, Lime
and Gypsum. Ceramics International. CERI-2954; No of Pages 8.
-28-

M.J.Shannag. H.A.Shania. (2003). Sulfates Resistant of High-performance Concrete. Cement and


Concrete Composites 25:363-369.
N.-Q., Feng and G.-F., Peng. (2005). Applications of Natural Zeolite to Construction and Building
Materials in China. Construction and Building Matyerials, 19: 579-584.
N.-Q., Feng and J.-H., Yan, 1998. Prevention of ARR in cement concrete with natural Zeolite. Concrete Cement
Products, Vol. 2.
N.-Q., Feng and G.-Z., Li. (1991). Humidity-conditioning Materials. Proceedings of the 24th
academic conference of the Production Engineering.
P. Chindaprasirt, S. Ruangsiriyakul. HT. Cao and L. Bucea. 2001. Influence of Mae Moh Fly Ash
Fineness on Characteristics, Strength and Drying Shrinkage Development of Blended
Cement Mortars. The Eighth East Asia-Pacific Conference on Structural Engineering and
Construction. Singapore. 5-7 December 2001. Paper No.1191. p.6.
R. Demirboga and R. Gul. (2003). Thermal conductivity and compressive strength of expanded
perlite aggregate concrete with mineral admixtures. Energy and Buildings. 35. p.1155-
1159.
R. Demirboga, I. Orung and R. Gul. (2001). Effects of Expanded Perlite Aggregate and Mineral
Admixtures on The Compressive Strength of Low-Density Concretes. Cement and
Concrete Research. 31. p.1627-1632.

7. การเชื่อมโยงกับนักวิ จยั ที่เป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญในสาขาวิ ชาที่ทำการวิ จยั ให้ระบุวา่ ปจั จุบนั ท่านมีความร่วม
มือในการทำวิจยั กับนักวิจยั ทีเ่ ป็นผูเ้ ชีย่ วชาญในสาขาวิชาทีท่ า่ นทำวิจยั อยู่อย่างไร ทัง้ ในและต่างประเทศ
ผูว้ จิ ยั ในเป็นนักวิจยั ร่วมในโครงการของ ศ.ดร. ชัย จารตุรพิทกั ษ์กุล ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ในหัวข้อเรือ่ ง “การใช้เถ้าจากโรงงานอุตสาหกรรมเพือ่ เป็ นวัสดุประสาน”
จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ตังแต่ ่ 31 สิงหาคม 2550- 30 สิงหาคม 2553
นอกจากนี้ผวู้ จิ ยั ยังทำวิจยั ร่วมกับ ศ.ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาโครงสร้างมูลฐาน
อย่างยังยื ่ น ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ม.ขอนแก่น

8. ระเบียบวิ ธีวิจยั ให้ระบุขนั ้ ตอน วิธกี าร และระยะเวลาทีท่ า่ นจะใช้ในการวิจยั อย่างชัดเจน และสอดคล้องกับ


วัตถุประสงค์
8.1 การรวบรวมข้อมูลและเตรียมวัสดุที่ใช้ในการทดสอบ
ก่อนจะมีการทดสอบในห้องปฏิบตั กิ ารจำเป็ นต้องมีการรวบรวมข้อมูลและผลงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับ
วัสดุปอซโซลานธรรมชาติ และวิธที ดสอบโครงสร้างจุลภาคของซีเมนต์เพสต์ โดยรวบรวมประวัตคิ วามเป็ นมา
รวมถึงการนำไปใช้งานทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ การจำแนกประเภทและคุณสมบัตติ ่างๆของซีเมนต์ผสม
วัสดุปอซโซลานธรรมชาติ กลไกการปรับปรุงคุณสมบัตขิ องซีเมนต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ กำลังอัด
ซีเมนต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ การพัฒนากำลังของซีเมนต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติตามระยะ
เวลา ข้อมูลผลการศึกษาการปริมาตรของโพรง การกระจายขนาดของโพรง (Porosity) และการซึม ผ่าน
ของ(Permeability)
-29-

8.2 วัสดุที่ใช้ในการทดสอบ
1. ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1
2. ปอซโซลานธรรมชาติได้แก่ เพอร์ไลต์ ไดอะตอมไมต์ และ ซีโอไลต์
3. มวลรวมละเอียด ใช้ทรายแม่น้ำผ่านตะแกรงเบอร์ 4
4. ซีเมนต์ทใ่ี ช้เป็นซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 (Ordinary Portland Cement, OPC)
5. น้ำใช้น้ำประปา
8.3 ขัน้ ตอนในห้องปฏิ บตั ิ การ
8.3.1 การศึกษาคุณสมบัติทวไปของวัั่ สดุ
นำวัสปุ อซโซลานธรรมชาติ 3 ชนิดทำการวิเคราะห์ ดังต่อไปนี้
1. การทดสอบหาความหนาแน่นและความถ่วงจำเพาะของวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ โดยใช้ขวด
ทดลองมาตรฐานเลอชาเตอลิแ อร์ (Le Chatelier Flask) ตาม ASTM C 188 ซึง่ ค่า ความถ่ว งจำเพาะเป็ น
อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักของวัสดุต่อน้ำหนักของน้ำ ทีม่ ปี ริมาตรเท่าวัสดุนนั ้ โดยปริมาตรของวัสดุปอซโซลาน
ธรรมชาติหาได้จากการแทนทีใ่ นน้ำมันก๊าด
2. การทดสอบหาปริมาณทีค่ า้ งบนตะแกรงมาตรฐานขนาดช่องเปิด 45 ไมโครเมตร (เบอร์ 325) ของวัส
ดุปอซโซลานธรรมชาติ โดยใช้การร่อนแบบเปี ยก (Wet Sieve Analysis) ตาม ASTM C 430 เป็ นการวัดความ
ละเอียดของวัสดุทม่ี อี นุภาคขนาดเล็กและไม่ละลายน้ำ ค่าทีไ่ ด้เป็ นร้อยละของอัตราส่วนของน้ำหนักทีค่ า้ งต่อน้ำ
หนักทีใ่ ช้ทดสอบ
3. การทดสอบความละเอียดของวัสดุปอซโซลานธรรมชาติโดยวิธแี อร์เพอร์มอี ะบิลติ ข้ี องเบลน ตาม
ASTM C 204 เป็นการวัดพืน้ ทีผ่ วิ จำเพาะ (Specific Surface Area) ด้วยการวัดระยะเวลาทีอ่ ากาศทีไ่ หลผ่าน
ตัวอย่าง ซึง่ ค่าทีท่ ดสอบได้มหี น่วยเป็นพืน้ ทีผ่ วิ ต่อหน่วยน้ำหนัก (ซม 2/ก)
4. การถ่า ยภาพขยายกำ ล งั สูง ว สั ดุป อซโซลานธรรมชาติด ว้ ยเคร อ่ื ง Scanning Electron
Microscope (SEM)
5. การวิเคราะห์การกระจายตัวของอนุภาค (Particle Size Distribution) ของวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ
โดยใช้เครือ่ งมือ Particle Size Analyzer ซึง่ สามารถหาขนาดเฉลีย่ ของอนุ ภาคได้
6. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีดว้ ยเครือ่ ง X-Ray Fluorescence (XRF) ของวัสดุปอซโซลาน
ธรรมชาติ
7. การวิเคราะห์ความเป็นผลึกด้วยเครือ่ ง X-Ray Diffraction (XRD) ของวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ
8. การวิเคราะห์เชิงความร้อนด้วยเครือ่ ง (Differential Thermal Analysis, DTA), วิเคราะห์สมบัต ิ
ทางความร้อนของสารตัวอย่าง วัดการเปลีย่ นแปลงมวลของสารตัวอย่าง ทีเ่ ป็ นฟงั ก์ชนั กับเวลาหรือกับ อุณหภูม ิ
ใน scanning mode (Thermo Gravimetric Analyzer, TGA)ของปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ และวัสดุปอซโซลาน
ธรรมชาติ
8.3.2 การทดสอบเพสต์, มอร์ต้าร์ ที่มีวสั ดุปอซโซลานธรรมชาติ เป็ นส่วนผสม
1. การทดสอบหาความข้นเหลวปกติของซีเมนต์เพสต์ และเพสต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ โดย
ใช้เครือ่ งมือไวแคต (Vicat Apparatus) โดยมีอตั ราส่วนการแทนทีว่ สั ดุปอซโซลานธรรมชาติในปูนซีเมนต์รอ้ ยละ
0, 20, และ 40 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน
2. การทดสอบระยะเวลาการก่อตัวทัง้ ระยะต้นและระยะปลายของซีเมนต์เพสต์ และเพสต์ผสมวัสดุ
ปอซโซลานธรรมชาติ ตาม ASTM C 191 ใช้ปริมาณน้ำทีพ่ อเหมาะจากการทดสอบความข้นเหลวปกติ ซึง่ การ
ก่อตัวระยะต้นคือระยะเวลาทีก่ ารจมของเข็มมาตรฐานขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 มม เป็ นระยะ 25 มม ภายใน
-30-

เวลา 30 วินาที และการก่อตัวระยะปลายคือระยะเวลาทีเ่ พสต์แข็งตัวแล้วจนทำให้เข็มมาตรฐานไม่สามารถจม


ลงในเพสต์ดว้ ยน้ำหนักของตัวเองได้
3. การทดสอบหาความสามารถในการไหลตัวของซีเมนต์มอร์ตา้ ร์ และมอร์ตา้ ร์ทม่ี ี วสั ดุปอซโซลาน
ธรรมชาติเป็นส่วนผสมในอัตราร้อยละ 0, 20, และ 40 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน ควบคุมค่าการไหลตัว (Flow)
ของมอร์ตา้ ร์ทุกอัตราส่วนผสมให้มคี ่าอยูร่ ะหว่าง 105 ถึง 115 ตามมาตรฐาน ASTM C 230 เพือ่ ให้ตวั อย่าง
ทดสอบทุกตัวอย่างมีค่าความสามารถเทได้ (Workability) ใกล้เคียงกัน
4. การทดสอบกำลังอัดของมอร์ตา้ ร์ ใช้ตวั อย่างมอร์ตา้ ร์ขนาด 5x5x5 ซม ตาม ASTM C 109 และมี
วิธกี ารผสมมอร์ตา้ ร์เป็นไปตาม ASTM C 305 โดยใช้วสั ดุปอซโซลานธรรมชาติแทนทีป่ นู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์
ประเภทที่ 1 ร้อยละ 0, 20, และ 40 โดยน้ำหนัก และมีอตั ราส่วนผสมวัสดุประสาน (ปูนซีเมนต์หรือปูนซีเมนต์
ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ) ต่อทรายเท่ากับ 1:2.75 โดยน้ำหนัก ปริมาณน้ำทีใ่ ช้คอื ปริมาณน้ำทีทำ ่ ให้
มอร์ตา้ ร์มคี า่ การไหลแผ่ระหว่างร้อยละ 105 ถึง 115 ตามการทดสอบการไหลตัวของมอร์ตา้ ร์ และทดสอบกำลัง
อัดทีอ่ ายุ 3, 14, 28, 60 และ 90 วันตามลำดับ
5. การหาค่าดัชนีกำลัง (Strength Activity Index) ของมอร์ตา้ ร์ เป็ นการเปรียบเทียบกำลังอัดของม
อร์ตา้ ร์ทผ่ี สมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติในอัตราส่วนเท่ากับร้อยละ 20 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน กับมอร์ตา้ ร์ทไ่ี ม่
ใช้วสั ดุปอซโซลานธรรมชาติเป็นส่วนผสมหรือมอร์ตา้ ร์มาตรฐาน ซึง่ สามารถบอกถึงความเป็ นวัสดุปอซโซลานข
องวัสดุปอซโซลานธรรมชาติได้ โดย ASTM C 618 ได้กำหนดค่าดัชนีกำ ลังของวัสดุปอซโซลานไว้คอื มีคา่ ไม่
น้อยกว่าร้อยละ 75 ทีอ่ ายุ 7 และ 28 วัน
6. การทดสอบช่องว่างหรือความพรุน (Porosity) ของมอร์ตา้ ร์ทม่ี วี สั ดุปอซโซลานธรรมชาติเป็ นส่วน
ผสมในปริมาณต่างกัน โดยใช้เครือ่ งทดสอบการวัดความพรุนวัดทีใ่ ช้ Helium
7. การทดสอบค่า การซึม ผ่า นอากาศ (Air Permeability) ของมอร์ต า้ ร์ท ผ่ี สมวัส ดุป อซโซลาน
ธรรมชาติ เพือ่ ศึกษาถึงอัตราการซึมผ่านของอากาศ รวมถึงการซึมผ่านของสารละลาย และออกซิเจนทีอ่ าจเป็ น
อันตรายต่อคอนกรีต โดยเฉพาะโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
8. การทดสอบหาค่าร้อยละของน้ำหนักทีส่ ญ ู เสียเนื่องจากการกัดกร่อนของสารละลายกรด
ซัล ฟูร กิ ใช้รอ้ ยละการแทนทีป่ นู ซีเ มนต์ด ว้ ยวัส ดุป อซโซลานธรรมชาติค อื 0, 20 และ 40 โดยน้ำหนัก ของ
ปูนซีเ มนต์ อัตราส่ว นปูนซเมนต์ต ่อ ทราย คือ 1:2.75 โดยน้ำหนัก ปริม าณน้ำทีใ่ ช้ค อื ปริม าณน้ำทีทำ ่ ให้
มอร์ตา้ ร์มคี า่ การไหลแผ่ระหว่างร้อยละ 105 ถึง 115 ภายหลังหล่อตัวอย่างได้ 24 ชัวโมง ่ จึงถอดแบบ นำไป
บ่มในน้ำเป็นเวลา 28 วัน แล้วนำไปแช่สารละลายกรดซัลฟูรกิ ทีม่ คี า่ pH เท่ากับ 0.5, 1.5 และ 2.5 ซึง่ มีความ
เข้มข้นร้อยละ 3, 0.2 และ 0.02 ตามลำดับ จากนัน้ ทำการชังน้ำหนั ่ กทีห่ ายไปของมอร์ตา้ ร์ทแ่ี ช่ในกรดทีเ่ วลา
3, 14, 28, 60 และ 90 วัน เพือ่ ศึกษาสภาพการกัดกร่อนของมอร์ตา้ ร์ เนื่องจากสารละลายกรดซัลฟูรกิ ในรูป
ของน้ำหนักทีส่ ญ ู เสีย
9. การทดสอบการขยายตัวของแท่งมอร์ตา้ ร์
วัสดุทใ่ี ช้และอัตราส่วนผสมเป็ นแบบเดียวกับมอร์ตาร์ทรงลูกบาศก์ขนาด 5 ซม. ทีใ่ ช้ทดสอบกำลัง
อัดทุกประการ หล่อตัวอย่างแท่งมอร์ตา้ ร์ขนาด 2.5x2.5x30 ซม. (ส่วนผสมละ 2 แท่ง) ได้ 24 ชัวโมงจึ ่ งถอด
แบบทำการวัดค่าเริม่ ต้นโดยเครือ่ งมือวัดการขยายตัว นำตัวอย่างลงไปแช่ในสารละลายซัลเฟตทันที วัดการ
ขยายตัวของแท่งมอร์ตา้ ร์ทอ่ี ายุ 7, 14, 28, และ ทุกๆ 14 วัน จนถึงอายุ 180 วัน
8.3.3 การทดสอบโครงสร้า งขนาดเล็ก (Microstructure) ของเพสต์ที่ม ีว สั ดุป อซโซลาน
ธรรมชาติ เป็ นส่วนผสม
-31-

1. การทดสอบหาขนาดโพรง และการกระจายโพรงด้วยเครือ่ ง Mercury Intrusion Porosimeter


(MIP) ทุบก้อนลูกบาศก์ให้แตกเป็นชิน้ เล็กๆประมาณ 5-8 มิลลิเมตร เลือกชิน้ ตัวอย่างซึง่ อยูต่ รงกลางก้อน
ลูกบาศก์ประมาณ 8 กรัม นำชิน้ ตัวอย่างไปจุม่ ในไนโตรเจนเหลว ซึง่ มีอุณหภูมทิ ่ี –195 องศาเซลเซียส
ประมาณ 5 นาที นำชิน้ ตัวอย่างไปทำให้แห้งโดยใช้เครือ่ ง Freeze-Dryer ทีอ่ ุณหภูม ิ –40 ๐ C ความดัน 0.5
ปาสคาล เป็นเวลา 2 วันนำชิน้ ตัวอย่างประมาณ 1-1.5 กรัม ใส่ในแท่งใส่ตวั อย่าง (Penetrometer) แล้วติด
ตัง้ ในช่องความดันต่ำ เดินเครือ่ งเพือ่ ให้ระบบเป็ นสุญญากาศ หลังจากนัน้ เพิม่ ความดันจนถึง 30 ปอนด์
ต่อตารางนิ้ว และนำแท่งใส่ตวั อย่างไปชังน้ำหนั ่ กและติดตัง้ ทีช่ อ่ งความดันสูง เพือ่ อัดความดันจนกระทังถึ
่ ง
ความดันสูงสุดที่ 33,000 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
2. การถ่ายภาพขยายอนุภาคด้วยเครือ่ ง Scanning Electron Microscope (SEM)
ทุบ ก้อ นตัว อย่า งลูก บาศก์ใ ห้แ ตกเป็ น ชิน้ เล็ก ๆ ขนาดความกว้า ง 10 x 10 มิล ลิเ มตร หนา 5
มิลลิเมตร นำชิน้ ตัวอย่างไปทำให้แห้งโดยใช้เครื่อง Freeze-Dryer ทีอ่ ุณหภูม ิ -40 ๐ C ความดัน 0.5 ปาส
คาล เป็นเวลา 2 วัน หลังจากนัน้ นำชิน้ ตัวอย่างไปเคลือบด้วยทองและนำไปทดสอบถ่ายภาพขยายอนุ ภาค
ด้วยเครือ่ ง SEM ทดสอบหา Phase Composition ของเพสต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติโดยวิธ ี Back-
scattered Electron (BSE) ด้วยเครือ่ ง SEM
3. การทดสอบแคลเซียมไฮดรอกไซค์ โดย X-Ray Diffraction (XRD)
ทุบก้อนตัวอย่างลูกบาศก์ให้แตกเป็ นชิน้ เล็ก ๆ ประมาณ 5 – 10 มิลลิเมตร นำชิน้ ตัวอย่างไปจุม่ ใน
ไนโตรเจนเหลวทีอ่ ุณหภูม ิ -195 ๐ C ประมาณ 5 นาที นำชิน้ ตัวอย่างไปทำให้แห้งโดยใช้เครือ่ ง Freeze-
Dryer ทีอ่ ุณหภูม ิ -40 ๐ C ความดัน 0.5 ปาสคาล เป็ นเวลา 2 วัน หลังจากนัน้ นำชิน้ ตัวอย่างไปบดแล้วร่อน
ผ่านตะแกรงเบอร์ 100 นำชิน้ ตัวอย่างทีไ่ ด้ไปทดสอบ XRD เพือ่ วิเคราะห์แคลเซียมไฮดรอกไซค์
4. การทดสอบ Thermal Gravity Analysis (TGA)
ปริมาณของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ในซีเมนต์เพสต์ คือ ผลลัพธ์ของปฏิกริ ยิ าระหว่างซีเมนต์ปอรต์
แลนด์และน้ำ และปริมาณการเกิดของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ โดยปฏิกริ ยิ าปอซโซลานของเถ้าถ่านหินและซี
เมนต์เพสต์ สามารถสังเกตได้โดยดูผลของการลดลงของปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์ การทดสอบโดย
เครือ่ ง TGA เป็นทีย่ อมรับกันโดยทัวไปว่ ่ าเป็ นวิธที ถ่ี กู ต้องแน่นอน สำหรับการหาปริมาณผลึก แคลเซียมไฮดร
อกไซด์ และ ไฮเดรตอื่นๆ (การสูญเสียของน้ำ), รวมถึงแคลเซียมซิลเิ กตไฮเดรต, เอททริงไกต์ (ระยะสุดท้าย),
แร่ยปิ ซัม,และอื่นๆ การหาปริมาณแคลเซียมไฮดรอกไซด์ หาได้โดยอาศัยการสูญเสียของน้ำหนักระหว่าง
450o C และ 580o C ซึง่ จะสลายตัวในรูปแคลเซียมออกไซด์กบั น้ำ โดยแสดงเป็ นอัตราร้อยละโดยน้ำหนักของ
ตัวอย่างดังสมการที่ 1
Ca(OH)2 CaO + H2O (1)
การวิเคราะห์ตวั อย่างทดสอบ ถูกกำหนดโดยการใช้สภาวะความร้อนในบรรยากาศ N2
โดยมีอตั ราการไหล 120 ml / นาที ตัวอย่างสำหรับการวิเคราะห์ TGA ใช้ประมาณ 2 - 30 mg โดยให้
อัตราของความร้อนถูกรักษาให้ต่อเนื่องจาก 10oC/ต่ำสุดและความร้อนสูงสุดถึง 1,000 o C โดยมีอตั ราการ
เพิม่ อุณหภูมิ 10o C ต่อนาที
5. การวิเคราะห์ปฏิกริ ยิ าและการเปลีย่ นแปลงต่างๆของเพสต์ผสมวัสดุปอซโซลาน
ธรรมชาติเ มือ่ ได้ร บั ความร้อ น(Differential Thermal Analysis, DTA) DTA เป็ น เครือ่ งมือ ทีใ่ ช้ว เิ คราะห์
อุณหภูมทิ เ่ี กิดปฏิกริ ยิ าต่างๆเมือ่ เพสต์ได้รบั ความร้อน โดยปฏิกริ ยิ าทีส่ ามารถตรวจพบ (Detect) ได้โดยเทคนิค
นี้จะต้องมีการเปลีย่ นแปลง Enthalpy ระหว่างาเกิดปฏิกริ ยิ า กล่าวคือ Endothermic Reaction คือ ปฏิกริ ยิ าที่
ดูดพลังงานความร้อนจากภายนอก หรือ Exothermic Reaction คือ ปฏิกริ ยิ าทีค่ ายความร้อนออกมาภายนอก
-32-

ปฏิกริ ยิ าทัง้ สองแบบจะมีผลทำให้อุณหภูมขิ องสภาวะแวดล้อมเกิดการเปลีย่ นแปลง หลักการทำงานของเครือ่ ง


DTA จะใช้พน้ื ฐานการเปลีย่ นแปลงของอุณหภูมริ ะหว่างเกิดปฏิกริ ยิ านี้ในการวิเคราะห์ หลักการทำงานของ
เครือ่ งจะวัดความแตกต่างของอุณหภูมริ ะหว่างตัวอย่างและวัสดุเปรียบเทียบ (Inert Reference Materials, ผง
Alumina) โดยทีท่ งั ้ ตัวอย่าง และ Reference จะได้รบั ความร้อนในสภาวะแบบเดียวกัน และจะบันทึกผลอย่าง
ต่อเนื่องออกมา
8.4 ทำการวิ เคราะห์ผล อธิ บายผล และสรุปผล
นำข้อมูลทัง้ หมด อธิบายผล โดยใช้ผลการทดสอบโครงสร้างระดับจุลภาค (Microstructure) เช่น การกระ
จายขนาดโครงสร้างโพรงคะปิลลารี ปริมาณแคลเชียมไฮรดรอกไซด์ เป็ นต้น ส่งผลทางกายภาพต่อเพสต์และ
มอร์ตา้ ร์ เช่น กำลังอัด ความทนทาน อย่างไรบ้าง ผลของการใส่สารผสมเพิม่ คือ วัสดุปอซโซลานธรรมชาติทำให้
เพสต์หรือมอร์ตา้ ร์เปลีย่ นแปลงคุณสมบัตริ ะดับจุลภาคและกายภาพอย่างไรบ้าง

9. ขอบเขตของการวิ จยั ให้ระบุขอบเขตของการวิจยั ทีจ่ ะทำให้ชดั เจนว่าจะทำแค่ไหน ครอบคลุมถึง


อะไรบ้าง
ทดสอบคุณสมบัตขิ องวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ เช่น ความละเอียด, รูปถ่ายขยายกำลังสูง (SEM),
ความถ่วงจำเพาะ, องค์ประกอบทางเคมี, ปริมาณน้ำทีค่ วามข้นเหลวปกติ และระยะเวลาการก่อตัวของเพสต์
เมือ่ แทนทีด่ ว้ ยวัสดุปอซโซลานธรรมชาติในปูนซีเมนต์ทอ่ี ตั ราส่วนต่างๆ ทดสอบกำลังอัดของมอร์ตา้ ร์เมือ่
แทนทีป่ นู ซีเมนต์ดว้ ยวัสดุปอซโซลานทีม่ คี วามละเอียดและอัตราส่วนการแทนทีต่ ่างกัน
ทดสอบหาค่าร้อยละน้ำหนักทีส่ ญ ู เสียของมอร์ตา้ ร์แทนทีป่ นู ซีเมนต์ดว้ ยวัสดุปอซโซลานเนื่องจากการ
กัดกร่อนของสารละลายกรดซัลฟูรคิ เมือ่ แช่ในสารละลายกรดซัลฟูรคิ ความเข้มข้นร้อยละ 3, 0.2 และ 0.02 โดย
น้ำหนัก ทีอ่ ายุของการแช่สารละลายกรดทีร่ ะยะเวลา 3, 7, 14, 28, 60 และ 90 วัน
ทดสอบการขยายตัวของแท่งมอร์ตา้ ร์ขนาด 2.5x2.5x28.5 ซม. โดยใช้อตั ราส่วนวัสดุประสาน
(ปูนซีเมนต์หรือปูนซีเมนต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติ) ต่อทรายเท่ากับ 1 : 2.75 โดยน้ำหนัก ใช้วสั ดุปอซโซ
ลานธรรมชาติแทนทีป่ นู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ทีอ่ ตั ราส่วนร้อยละ 0, 20, และ 40 โดยน้ำหนักวัสดุ
ประสาน ส่วนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 5 นัน้ ไม่มกี ารใช้วสั ดุปอซโซลานธรรมชาติในส่วนผสม นำ
ตัวอย่างแท่งมอร์ตา้ ร์ไปแช่ในสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตความเข้มข้นร้อยละ 5 ทันทีหลังถอดแบบ ทำการ
ทดสอบการขยายตัวของแท่งมอร์ตา้ ร์ทแ่ี ช่ในสารละลายแมกนีเซียมซัลเฟตทีอ่ ายุ 7, 14, 28 และทุกๆ 14 วัน
จนถึงอายุ 180 วัน
ทดสอบความพรุนโดยใช้ Helium และ การซึมผ่านอากาศ (Air Permeability) ของเพสต์และมอร์ตา้ ร์
ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติในอัตราการแทนทีท่ แ่ี ตกต่างกัน
ทดสอบโครงสร้างระดับจุลภาค (Microstructure) ของเพสต์ เช่น การทดสอบหาขนาดโพรง และการก
ระจายโพรงด้วยเครื่อง Mercury Intrusion Porosimeter (MIP), การถ่ายภาพขยายอนุ ภาคด้วยเครือ่ ง
Scanning Electron Microscope (SEM), การทดสอบแคลเซียมไฮดรอกไซค์ โดย X-Ray Diffraction (XRD),
การทดสอบ Thermal Gravity Analysis (TGA),การวิเคราะห์ปฏิกริ ยิ าและการเปลีย่ นแปลงต่างๆของเพสต์ผสม
วัสดุปอซโซลานธรรมชาติเมือ่ ได้รบั ความร้อน (Differential Thermal Analysis, DTA) และทดสอบหา Phase
Composition ของเพสต์ผสมวัสดุปอซโซลานธรรมชาติโดยวิธี Back-scattered Electron (BSE) ด้วยเครือ่ ง
SEM
-33-

10. อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิ จยั ให้ระบุอุปกรณ์ทต่ี อ้ งใช้ในการทำวิจยั มาด้วย โดยแยกเป็ นอุปกรณ์ทม่ี อี ยูแ่ ล้ว
และอุปกรณ์ทต่ี อ้ งจัดหาเพิม่
10.1 อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ทดสอบในการศึกษาครังนี ้ ้ ประกอบด้วย (ที่มีอยู่แล้ว)
1. เครือ่ งบดวัสดุ (Grinding Machine)
2. เครือ่ งทดสอบกำลังอัดคอนกรีต (Compression Testing Machine)
3. ชุดทดลองหาความถ่วงจำเพาะของ ปูนซีเมนต์ ทราย หิน
4. ชุดทดลองหาพืน้ ทีผ่ วิ จำเพาะโดยวิธขี องเบลน (Blaine Air Permeability)
5. ตะแกรงร่อนมาตรฐาน
6. เครือ่ งผสมมอร์ตา้ ร์
7. ชุดทดสอบการไหลแผ่ของมอร์ตา้ ร์
8. แบบหล่อตัวอย่างมอร์ตา้ ร์มาตรฐานทรงลูกบาศก์ขนาด 5x5x5 ซม
่ ้า
9. เครือ่ งชังไฟฟ
10. เครือ่ งถ่ายภาพขยายกำลังสูง (Scanning Electron Microscope, SEM)
11. เครือ่ งวิเคราะห์การกระจายตัวและขนาดของอนุ ภาค (Particle Size Analyzer)
12. เครือ่ งวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีโดยวิธี X-Ray Fluorescence (XRF)
13. เครือ่ งวิเคราะห์ความเป็ นผลึกของวัสดุโดยวิธี X-Ray Diffraction (XRD)
14. เครือ่ งวัดการเปลีย่ นแปลงทางความร้อน ( TGA, DTA)
15. เครือ่ งวัดการส่องผ่าน (Transsmittion Electron Microscope)
16. เครือ่ งมือวัดช่องว่าง (Mercury Intrusion Porosimetry, MIP)
16. เครือ่ งวัดปริมาณความพรุนโดย Helium (Porosimetry Test)
17. การวัดการซึมผ่านอากาศ (Air Permeability Test)
10.2 อุปกรณ์ที่จำเป็ นต้องจัดหาเพิ่ มเติ มหรือสร้างขึน้
1. เครือ่ งวัดการขยายตัวของมอร์ตา้ ร์(Length Comparator)
2. แบบหล่อสำหรับทดสอบการขยายตัวของมอร์ตา้ ร์ (Mould for Expansion Test) 3 ชุด

11. แผนการดำเนิ นงานตลอดโครงการ ให้ระบุแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน โดยระบุว่าในแต่ละปี จะ


ทำอะไร มีกจิ กรรมอะไรบ้าง และทีสำ ่ คัญจะต้องระบุผล (output) ทีจ่ ะได้ รวมทัง้ ให้ระบุผลงานทีค่ าดว่าจะ
ตีพมิ พ์ได้ หรือจดทะเบียนสิทธิบตั รได้มาด้วย
-34-

กิ จกรรม เดือน
ขัน้ ตอนการดำเนิ นการ 1-2 3-4 5-6 7-8 9- 11- 13- 15- 17- 19- 21- 22-
10 12 14 16 18 20 22 24
เก็บตัวอย่าง
เตรียมอุปกรณ์
ดัชนี ช ี้ว ดั
ทดสอบคุณสมบัตวิ สั ดุ
หล่อก้อนตัวอย่าง
ทดสอบกำลังรับแรงอัด
ทดสอบการต้านทานการกัดกร่อนจากกรด
ทดสอบการต้า นทานการก ดั กร่อ นจาก
ซัลเฟต
ทดทดสอบหาช่องว่าง
ทดสอบการซึมผ่าน
ทดสอบ DTA, TGA
ทดสอบ XRD
ทดสอบ SEM
วิเคราะห์ขอ้ มูล
รายงานความก้าวหน้า
สรุปรายงานการวิจยั
ความสำเร็จของโครงการ
ผลงานวิจยั ทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากการสนับสนุ นของโครงการนี้
1. เมือ่ งานวิจยั สิน้ สุดลง จะทำให้ทราบว่าวัสดุปอซโซลานแต่ละชนิด สามารถนำไปใช้ได้หรือไม่
หากนำไปใช้ได้ จะมีขอ้ จำกัดหรือข้อควรระมัดระวังอะไรบ้างในการนำไปใช้งาน โดยงานวิจยั จะได้นำเสนอ
หลักการทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะนำวัสดุปอซโซลานธรรชาติเหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ โดยไม่ก่อผลเสียต่อคอนกรีต
2. จำนวนนักศึกษาปริญญาโททีค่ าดว่าจะจบการศึกษาจากโครงการนี้จำนวน 1-2 คน และเป็ นส่วน
หนึ่งของงานวิจยั ในระดับปริญญาเอก
3. มีผลงานตีพมิ พ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ, วารสารวิชาการระดับชาติ, เอกสารประกอบ
การประชุมระดับนานาชาติ, เอกสารประกอบการประชุมระดับชาติ รวมอย่างน้อย 4 เรือ่ ง

12. ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั ให้แสดงความคาดหมายของประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากโครงการวิจยั นี้


และระบุชอ่ื ผลงานทีจ่ ะตีพมิ พ์ รวมทัง้ ชือ่ วารสารทีค่ าดว่าจะตีพมิ พ์ (เป็ นแผนต่อปี )
1. ส่งเสริมการประหยัดพลังงานในรูปของการใช้วสั ดุปอซโซลานธรรมชาติ (เพอร์ไลต์, ไดอะตอไมต์
และซีโอไลต์) ทดแทนปูนซีเมนต์ ซึง่ จะส่งผลให้ลดพลังงานทีต่ อ้ งเผาปูนซีเมนต์ลง ลดปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ทเ่ี ข้าสูบ่ รรยากาศให้น้อยลง นอกจากนี้ทำให้สภาพแวดล้อมต่าง ๆ ดีขน้ึ
2. เป็น การสร้า งฐานงานวิจ ยั ภายในประเทศ ผ่า นขบวนการศึก ษาในระดับ บัณ ฑิต ศึก ษาของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสรุ นารี เพราะงานวิจยั นี้ตอ้ งใช้นักศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญา
-35-

เอก ช่วยทำงานวิจยั ซึง่ นักศึกษาทีสำ


่ เร็จการศึกษา และองค์ความรูท้ ไ่ี ด้จากงานวิจยั ชิน้ นี้ จะมีสว่ น
สำคัญในการส่งเสริมการใช้วสั ดุปอซโซลานเพือ่ พัฒนาประเทศไทยต่อไป
3. ส่งเสริมและให้ความรูข้ องวัสดุปอซโซลานทีใ่ ช้ในงานคอนกรีตแก่วศิ วกร ผูร้ บั เหมาก่อสร้างตลอดจน
บริษทั ปูนซีเมนต์ต่าง ๆ ผ่านรายงานการวิจยั , บทความของงานวิจยั ซึง่ จะทำให้มคี นมีความรู้
เกีย่ วกับวัสดุปอซโซลานมากขึน้ และสามารถใช้วสั ดุปอซโซลานในงานคอนกรีตได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
วารสารที่คาดว่าจะตีพิมพ์
a. Journal of Materials in Civil Engineering, ASCE
b. ACI Materials Journal
c. Cement and Concrete Research
d. Cement and Concrete Composite
e. Construction and Building Materials

13. งบประมาณ งบประมาณรวมไม่เกิน 240,000 บาทต่อปี โดยขอให้แสดงรายละเอียดงบประมาณโดยแยก


เป็ นหมวด ๆ เช่น หมวดค่าตอบแทน หมวดค่าวัสดุ หมวดค่าใช้สอย (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
และ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั ไม่เน้นการซือ้ ครุภณ
ั ฑ์ และการเดินทางต่างประเทศในโครงการนี้ )

รายละเอียดค่าใช้จ่ายโครงการ
ปี ที่ 1
ต่อ %
รายการค่าใช้จ่าย รวม 1 ปี (12 เดือน)
เดือน
1. หมวดค่าตอบแทน      
- หัวหน้าโครงการ 5,000 60,000 12.50
- ผูช้ ว่ ยวิจยั 5,000 60,000 12.50
    120,000 25.00
2. หมวดค่าวัสดุ      
- ปูนซีเมนต์ ทราย - 1,000 0.21
- ภาชนะเก็บตัวอย่างและบ่มตัวอย่างมอร์ตา้ ร์ - 2,000 0.42
- ค่าเดินทางในการเก็บตัวอย่างวัสดุ - 3,000 0.63
    6,000 1.25
3. หมวดค่าใช้สอย      
3.1 ค่าทดสอบ      
- Particle Size Distribution ของวัสดุ - 5,000 1.04
-36-

- องค์ประกอบทางเคมีโดยวิธี X-Ray Fluorescence ของวัสดุ - 13,000 2.71


- ความเป็ นผลึกโดยวิธี X-Ray Diffraction ของวัสดุ - 20,000 4.17
- ภาพถ่ายขยายอนุภาคโดย SEM ของวัสดุ - 20,000 4.17
- การวิเคราะห์ทางของร้อน (TGA, DTA) ของวัสดุ - 20,000 4.17
- การวิเคราะห์โครงสร้างระดับนาโนโดย TEM ของวัสดุ - 20,000 4.17
    98,000 20.42
3. 2 หมวดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ      
- ค่าดำเนินการจัดทำบทความเพื่อสัมมนา, การประชุม, และวารสาร - 2,000 0.42
- ค่าใช้จา่ ยในการร่วมประชุมเพื่อเสนอผลงานประมาณ 1 ครัง้ - 8,000 1.67
- ค่าเดินทางของทีป่ รึกษาจากขอนแก่นมานครราชสีมา   6,000 1.25
(ศ.ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ)      
  16,000 3.33
รวมค่าดำเนิ นการวิ จยั ปี ที่ 1   240,000 50.00
ปี ที่ 2
ต่อ
รายการค่าใช้จ่าย รวม 1 ปี (12 เดือน) %
เดือน
1. หมวดค่าตอบแทน      
- หัวหน้าโครงการ 5,000 60,000 12.50
- ผูช้ ว่ ยวิจยั 5,000 60,000 12.50
    120,000 25.00
2. หมวดค่าวัสดุ - -  
- ปูนซีเมนต์ และ ทราย - 0 0.00
- ค่าวัสดุอ่นื ๆ - 0 0.00
    0 0.00
3. หมวดค่าใช้สอย      
3. 1 หมวดค่าทดสอบ      
- ความเป็ นผลึกโดยวิธี X-Ray Diffraction ของเพสต์ - 14,000 2.92
- ภาพถ่ายขยาย Frature Surface ของเพสต์โดย SEM - 15,000 3.13
- ช่องว่างในเพสต์ (Porosity of paste) โดย MIP และ Helium
Porosimetry - 15,000 3.13
-37-

- การวิเคราะห์ทางของร้อน (TGA, DTA) ของเพสต์ - 20,000 4.17


- การหาส่วนประกอบ (Phase Analysis) ของเพสต์ (BSE) โดย SEM - 20,000 4.17
- การวิเคราะห์โครงสร้างระดับนาโนโดย TEM ของเพสต์ - 20,000 4.17
    104,000 21.67
3.2 หมวดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ      
- ค่าดำเนินการจะดทำบทความเพือ่ สัมมนา, การประชุม, และวารสาร - 2,000 0.42
- ค่าใช้จา่ ยในการร่วมประชุมเพื่อเสนอผลงานประมาณ 1 ครัง้ - 8,000 1.67
- ค่าเดินทางของทีป่ รึกษาจากขอนแก่นมานครราชสีมา - 6,000 1.25
(ศ.ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ)      
    16,000 3.33
รวมค่าดำเนิ นการวิ จยั ปี ที่ 2   240,000 50.00

สรุปงบประมาณสำหรับดำเนิ นการวิ จยั


ปีท่ี 1 รวมค่าดำเนินการวิจยั ทัง้ สิน้ ในปี ท่ี 1 240,000 50.00
ปีท่ี 2 รวมค่าดำเนินการวิจยั ทัง้ สิน้ ในปี ท่ี 2 240,000 50.00
รวมงบประมาณสำหรับการวิ จยั ตลอด 2 ปี 480,000 100.00

14. ได้เสนอโครงการนี้ หรือโครงการที่มีส่วนเหมือนกับเรื่องนี้ บางส่วน เพื่อขอทุนต่อแหล่งทุนอื่นที่ใดบ้าง


 ไม่ได้เสนอต่อแหล่งทุนอื่น
 เสนอต่อ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ชือ่ โครงการทีเ่ สนอ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
..............................................................
กำหนดทราบผล (หรือสถานสภาพทีท่ ราบ) . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
สกว.ไม่มขี อ้ ห้ามในการส่งโครงการไปยังแหล่งทุนหลายๆ แห่งในเวลาเดียวกันและอาจเป็ นการดีทแ่ี หล่งทุน
มากกว่า 1 แหล่งจะร่วมกันให้ทุนอุดหนุ นการวิจยั สกว. สามารถทำหน้าทีเ่ ชือ่ มโยงและเสริมการให้ทุนได้แต่ขอให้
ระบุตามความจริง

15. จำนวนโครงการที่ผสู้ มัครกำลังดำเนิ นการอยู่ โดยขอให้ระบุระยะเวลาเริม่ ต้นและสิน้ สุดของแต่ละ


โครงการ แหล่งทุน และงบประมาณสนับสนุ นทีไ่ ด้รบั เวลาทีใ่ ช้ทำโครงการวิจยั ในแต่ละโครงการเป็ นกีช่ วโมงต่
ั่ อ
สัปดาห์ ทัง้ ในฐานะหัวหน้าโครงการ ผูร้ ว่ มโครงการของแต่ละโครงการที่กำลังดำเนินการอยู่
ชือ่ โครงการ : การใช้เถ้าจากโรงานอุตสาหกรรมเพือ่ เป็ นวัสดุประสาน
(Utilization of Industrial Ashes as Cementitious Materials)
ระยะเวลาโครงการ 3 ปี ตัง้ แต่ 31 สิงหาคม 2550 ถึง 30 สิงหาคม 2553
-38-

แหล่งทุนทีใ่ ห้การสนับสนุน สำนักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (The Thailand Research Fund)


งบประมาณทีไ่ ด้รบั 7,483,000 บาท (เจ็ดล้านสีแ่ สนแปดหมืน่ สามพันบาทถ้วน)
สถานะผูส้ มัคร  หัวหน้าโครงการ
 ผูร้ ว่ มโครงการ
เวลาทีใ่ ช้ทำวิจยั ในโครงการนี้กช่ี วโมงต่
ั่ อสัปดาห์ 7 ชัวโมงต่
่ อสัปดาห์

16. จดหมายรับรอง (recommendation) ในกรณี ที่นักวิ จยั ที่ปรึกษาอยู่ต่างประเทศ

ประวัตินักวิ จยั ที่ปรึกษา

ศาสตราจารย์ ดร. ปริ ญญา จิ นดาประเสริ ฐ

ตำแหน่ งปัจจุบนั ศาสตราจารย์ ระดับ 10


รองประธานสมาคมคอนกรีตไทย
ผูอำ
้ นวยการศูนย์วจิ ยั โครงสร้างมูลฐานอย่างยังยื
่ นมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประธานเครือข่ายจีโอโพลิเมอร์ไทย

สถานที่ทำงาน ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาโครงสร้างมูลฐานอย่างยังยื


่ น
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อ.เมือง จ. ขอนแก่น 40002
ประวัติส่วนตัว
เ ก ดิ เ ม อ่ื 30 ส งิ ห า ค ม 2494 จ งั ห ว ดั ก ร งุ เ ท พ ม ห า น ค ร

คุณวุฒิ ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ University of Tasmania พ.ศ. 2517


ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร์ University of New South Wales พ.ศ. 2520
ปริญญาเอก วิศวกรรมศาสตร์ University of New South Wales พ.ศ. 2523

ทุนการศึกษา/ รางวัลเกียรติ คณุ / เครื่องราชย์


Colombo Plan Scholarship พ.ศ. 2512 – 2523
เหรียญทองการพัฒนาแหล่งน้ำดีเด่น กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2534
เครือ่ งราชอิสริยาภรณ์มหาวชิรมงกุฎ
-39-

นักเทคโนโลยีดเี ด่น ปี 2545 เรือ่ งการพัฒนาการใช้เถ้าลอยลิกไนต์ไทย


จากมูลนิธสิ ง่ เสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูถมั ภ์
รางวัลข้าราชการดีเด่นศรีมอดินแดง รับพระราชทานจากสมเด็จพระเทพฯ พ.ศ.2546

ประสบการณ์ ทำงานและการดำรงตำแหน่ งบริ หารที่สำคัญ


สมาชิกวุฒสิ ภา พ.ศ.2539-43
เลขานุการคณะกรรมาธิการการวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและพลังงาน วุฒสิ ภา พ.ศ.2539-43
อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2538-41, 2542-46
รองอธิการบดีฝา่ ยวางแผนและพัฒนา พ.ศ. 2535-38
คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2528-32, 2532-35

ตำแหน่ งอื่นๆ ที่สำคัญ


คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (กพอ.) พ.ศ.2548 - ปจั จุบนั
ประธานกรรมการรถไฟ พ.ศ.2546-48
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย (กม.) พ.ศ.2545 - 2548
รองประธานสมาคมคอนกรีตไทย พ.ศ.2547- ปจจุ ั บนั
คณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) พ.ศ.2545-46
กรรมการสรรหาคณะกรรมการ ป.ป.ช. พ.ศ. 2544
กรรมการสรรหาผูต้ รวจการรัฐสภา พ.ศ. 2544
กรรมการสภาสถาบันราชภัฎมหาสารคาม พ.ศ. 2535-41, 44-47
ผูป้ ระเมิน ผศ. และ รศ. ของ มหาวิท ยาลัย เชีย งใหม่, ขอนแก่น , สงขลานครินทร์, ธรรมศาสตร์
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี และ ราชมงคล
ผูป้ ระเมินบทความสำหรับลงในวารสารทางวิชาการของ มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, สงขลานครินทร์,
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร,ี เทคโนโลยีสรุ นารี, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, Journal of
Computers and Concrete, Journal of Environmental Management และ Journal of Cement
and Concrete Composites
ผูป้ ระเมินบทความในการประชุมวิชาการด้านคอนกรีตและวัสดุ
กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาโทและเอก มหาวิทยาลัย ขอนแก่น , เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร ี
และ เชียงใหม่
ทีป่ รึกษาคณะกรรมการวิชาการ สาขาวิศวกรรมโยธา ว.ส.ท.
ทีป่ รึกษาวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
อาจารย์บณ ั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2549

สิ่ งตีพิมพ์
จำนวน 120 ชิน้ ด้านคอนกรีตและวัสดุ และการพัฒนาแหล่งน้ำ
จำนวน 7 ชิน้ ด้านคอนกรีต ลงใน International journals
จำนวน 1 ชิน้ บทความรับเชิญองค์ปาฐกในการประชุมวิชาการ
-40-

ตำรา
“เถ้าลอยในงานคอนกรีต” พิมพ์โดยสมาคมคอนกรีตไทย พ.ศ. 2547, 2548
“ปูนซีเมนต์ ปอซโซลาน และคอนกรีต” พิมพ์โดยสมาคมคอนกรีตไทย พ.ศ. 2547, 2548
“ปูนซีเมนต์ ปอซโซลาน และคอนกรีต” พิมพ์โดยปูนซีเมนต์ไทย พ.ศ. 2549

บทความวิ ชาการที่ได้รบั การตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ ระหว่าง ปี ค.ศ. 2004-2007


1. P Chindaprasirt, S Homwuttiwong, and V Sirivivatnanon, Influence of Fly Ash Fineness on
Strength, Drying Shrinkage and Sulfate Resistance of Blended Cement Mortar, Cement and
Concrete Research, 34, 2004, 1087-92.
2. P Chindaprasirt, C Jaturapitakkul, T Sinsiri, Effect of Fly Ash Fineness on Compressive Strength
and Pore Size of Blended Cement Paste, Cement and Concrete Composite, 27,2005, 425-428.
3. P. Chindaprasirt, N. Buapa, H. T. Cao, Mixed Cement Containing Fly Ash for Masonry and
Plastering Work, Construction and Building Materials, 19, 2005, 612-618
4. P. Chindaprasirt, C. Chotithanorm, H.T. Cao, V. Sirivivatnanon, Influence of fly ash fineness on
the chloride penetration of concrete, Construction and Building Materials, 21, 2007, 356-361.
5. P. Chindaprasirt, P. Kanchanda, A. Sathonsaowaphak and H.T. Cao, Sulfate Resistance of
Blended Cements Containing Fly Ash and Rice Husk Ash, 2006, accepted for publication in
Construction and Building Materials, Article in Press
6. P. Chindaprasirt, S. Homwuttiwong, and C. Jaturapitakkul, Strength and water permeability of
concrete containing palm oil fuel ash and rice husk-bark ash, 2006, accepted for publication in
Construction and Building Materials, Article in Press
7. P. Chindaprasirt, C Jaturapitakkul, T Sinsiri, Efffect of fly ash fineness on microstructure of
blended cement paste, 2006, accepted for publication in Construction and Building Materials,
Article in Press
8. P. Chindaprasirt, T. Chareerat and V. Sirivivananon, Workability and Strength of Coarse High
Calcium Fly Ash Geopolymer, accepted for publication in Journal of Cement and Concrete
Composites.
9. P. Chindaprasirt, S. Rukzon and V. Sirivivatnanon, Resistance to chloride penetration of blended
Portland cement mortar containing palm oil fuel ash, rice husk ash and fly ash, accepted for
publication in Journal of Construction and Building Materials.
10. P. Chindaprasirt, S. Hatanaka, T. Chareerat, N. Mishima and Y.Yuasa, Cement paste
characteristics and porous concrete properties, accepted for publication in Journal of Building and
Construction Materials.
-41-

บทความวิ ชาการที่ส่งไปตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ ค.ศ. 2007

1. Homwuttiwong, S. Chindaprasirt P. and P.Jaturapitakkul, C. Water permeability of concrete


containing high fineness pozzolans, send to Journal of Building and Environment.
2. P. Chindaprasirt, K. Pimraksa. A study of fly ash-lime granule unfired brick, send to Journal of
Powder Technology.
3. Prinya Chindaprasirt and Ubolluk Rattanasak, A study of leaching and mixing procedure for fly
ash based geopolymer, send to Journal of Cement and Concrete Composites.
4. K. Pimraksa and P. Chindaprasirt, Lightweight Bricks Made of Diatomaceous Earth, send to Journal
of cement and Concrete Research.
5. Puangrat Kajitvichyanukul, Eakchai Taweekitvanich, Prinya Chindaprasirt, Yung-Tse Hung. Effects
of Nickel on Compositions of Cement Mortar Derived from the Co-burning of Industrial Waste and
Its Leaching Behavior, send to Journal of Environmental Engineering.

You might also like