You are on page 1of 4

Techno logy

การทดสอบและจําลองพฤติกรรม
ภายใตภาระแรงกระแทกของชิน้ สวนยานยนต
ดร.เพชร เจียรนัยศิลาวงศ

ปจ จุบนั พฤติกรรมของวัสดุภายใตภาระแรงกระแทกกําลังเปน


ที่สนใจของอุตสาหกรรมชิ้นสวนยานยนต เพราะมีความ
เกีย่ วของโดยตรงกับความปลอดภัยของผูใชงาน ตามหลักวิชาการ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ

แลว วัสดุภายใตภาระแรงกระแทกมีลักษณะเฉพาะ คือ พฤติกรรม


ของวัสดุจะขึ้นกับการกระจายพลังงานของคลื่นกระแทกที่เกิดขึ้นใน บทความนีจ้ งึ มีจดุ มุง หมายเพือ่ อธิบายลักษณะเฉพาะพฤติกรรม
ของวัสดุภายใตแรงกระแทก การทดสอบที่เกี่ยวของ และตัวอยางการ
ตัววัสดุ ทําใหพฤติกรรมขึ้นกับความเร็วในการเสียรูป การทดสอบ
คํานวณพฤติกรรมของชิ้นสวนยานยนตภายใตภาระแรงกระแทก โดย
พฤติกรรมของวัสดุ ภายใตภาระแรงกระแทก จึงจําเปนตองใชเครือ่ ง-
ขอมูลที่นํามาเสนอ สามารถใชอางอิงเพื่อหาขอมูลในเชิงลึกสําหรับการ
มือทีอ่ อกแบบมาโดยเฉพาะ เชน การทดสอบแบบสปลิตฮอปกินสันบาร ศึกษาพฤติกรรมของวัสดุในภาระแรงกระแทกตอไป
การทดสอบโดยใชปน แรงดันสูง โดยผลการทดสอบสามารถนําไปใช
ในโปรแกรมไฟไนเอลิเมนต เพื่อใชวิเคราะหพฤติกรรมของวัสดุ หรือ
ชวยในการออกแบบชิน้ งานไดตามตัวอยางกรณีศกึ ษาการสรางแบบ >> ลักษณะเฉพาะของพฤติกรรมของวัสดุภายใตแรงกระแทก
จําลองชิ้นสวนสําหรับยุบตัวในโครงรถ
ในทฤษฎีทางกลศาสตรของแข็ง พฤติกรรมของวัสดุสามารถ
อธิบายไดในรูปของความสัมพันธระหวางภาระแรง (force) ที่วัสดุถูก

การ กระแทกเปนภาระแรงที่มีการสงแรงในชวงระยะเวลาสั้น
ทําใหเกิดการเสียรูปของชิ้นสวนจนถึงแตกหักเสียหายได
ภาระแรงประเภทนี้ เปนสวนสําคัญที่ผูออกแบบชิ้นสวนยานยนตจําเปน
กระทําอยูก บั ผลการเสียรูป (deformation) ของวัสดุทถี่ กู แรงกระทํา ความ
สัมพันธของภาระแรงและการเสียรูปของวัสดุขึ้นอยูกับปจจัยหลักสอง
ประการ คือ
ตองพิจารณา เพราะสามารถเกิดขึ้นไดกับทุกชิ้นสวนของยานยนตในทุก 1. ลักษณะรูปรางของวัสดุ ตัวอยางเชน กันชนรถทีม่ รี ปู ลักษณ
สภาวะการใชงาน อาทิ การรับแรงกระแทกที่เกิดขึ้นจากการชนของสวน ภายนอกเหมือนกัน และทําจากวัสดุชนิดเดียวกันสองชิน้ ชิน้ ทีห่ นึง่ มีความ
กันชน ลอยาง โครงรถ การรับแรงดีดของหินบนกระจกรถ การเสียดสีของ หนามากกวาชิน้ ทีส่ อง ดังนัน้ ถาใสภาระแรงทีเ่ ทากันบนทัง้ สองชิน้ ชิน้ ทีม่ ี
กระทะลอกับไหลทางทีค่ วามเร็วสูง เปนตน พฤติกรรมภาระแรงกระแทกยัง ความหนามากกวาจะยุบตัวนอยกวาชิ้นบาง
มีความสัมพันธโดยตรงกับความปลอดภัยของรถยนต ดังนัน้ ความเขาใจ 2. ประเภทของวัสดุที่ใชทําชิ้นสวน ตัวอยางเชน กันชนรถที่
ในพฤติกรรมของวัสดุทเี่ ปนโครงสรางของชิน้ สวนภายใตภาระแรงกระแทก มีขนาดเทากันสองชิ้น ชิ้นที่หนึ่งทําจากโลหะ ชิ้นที่สองทําจากยาง ถาใส
ตลอดจนความสัมพันธของชิน้ สวนตาง ๆ ในรถ เมือ่ มีการกระแทกเกิดขึน้ ภาระแรงที่เทากันบนทั้งสองชิ้น ชิ้นที่ทําจากโลหะจะยุบตัวนอยกวาชิ้นที่
จึงเปนจุดสนใจของทั้งฝายอุตสาหกรรม และฝายวิชาการที่รวมทําการ ทําจากยาง
สนับสนุน โดยฝายอุตสาหกรรมตองการความมั่นใจในความแข็งแรงของ ดังนัน้ การศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมของภาระแรง และการเสีย
ผลิตภัณฑทไี่ ดออกแบบมา สวนฝายวิชาการ คือ สามารถพิสจู นไดดว ยวิธี รูปของวัสดุตา ง ๆ โดยตรง จึงตองอธิบายทัง้ ประเภทของวัสดุและลักษณะ
การคํานวณทางทฤษฎีวามีความแข็งแรงเหมาะสม รูปรางของวัสดุที่ทําการศึกษาควบคูไปดวย เพื่อใหอธิบายพฤติกรรมของ
พฤติกรรมของวัสดุภายใตภาระแรงกระแทกมีความแตกตาง วัสดุ โดยไมขนึ้ อยูก บั รูปรางของวัสดุทพี่ จิ ารณา จึงไดมกี ารอธิบายผลของ
จากพฤติกรรมทางกลของวัสดุมาตรฐานที่พิจารณาการเสียรูปที่เกิดจาก ภาระแรงในเทอมของอัตราสวนของขนาดของแรงกับพืน้ ทีผ่ วิ ทีแ่ รงกระทํา
ภาระแรงที่มีความตอเนื่องเปนระยะเวลานาน ที่เรียกวา ภาระแบบกึ่ง อยู โดยใหชอื่ ของคาทางกลดังกลาววา คาความเคน (stress - σ) ในขณะ
สถิตยศาสตร (quasi-static) เนือ่ งจากผลของแรงกระแทกอยูใ นลักษณะ ที่ผลของการเสียรูป ถูกอธิบายในเทอมของอัตราสวนระหวางระยะความ
พลั ง งานการกระแทกที่ ก ระจายตั ว ออกในเนื้ อ วั ส ดุ ทํ า ให วั ส ดุ มี ก าร ยาวทีเ่ ปลีย่ นไปจากการเสียรูปกับความยาวทัง้ หมดกอนการเสียรูป คาทาง
เปลีย่ นแปลงรูปรางอยางรวดเร็ว และสงผลตอพฤติกรรมของวัสดุโดยรวม กลนีเ้ รียกวา คาความเครียด (Strain - ε) ตัวอยางความสัมพันธความเคน
ได ดังนัน้ การศึกษาพฤติกรรมของวัสดุภายใตภาระแรงกระแทก จึงจําเปน และความเครียดของโลหะจากการทดสอบพฤติกรรมของวัสดุภายใตการ
ตองใชเครื่องมือทดสอบชนิดพิเศษ ดึงในชวงภาระแบบกึ่งสถิตยศาสตรแสดงอยูในภาพที่ 1

>>> 78 August-September 2011, Vol.38 No.218

078-081 A_M4.indd 78 18/7/2554 20:56


Production Techno
logy

ภายใตภาระแรงกระแทกจึงตองมีการทดสอบวัสดุอยางเหมาะสมเพือ่ วัด
คาสมบัติวัสดุไดอยางถูกตอง

▲ ภาพที่ 1 ความสัมพันธความเคนความเครยดของโลหะ ชวง AB คือ ชวงคืนรูป ชวง


B ถึงจดขาด (rupture) คือ ชวงคงรูป ความเคนที่จด B คือ จดคราก [1] ▲ ภาพที่ 2 ความสัมพันธความเคนความเครยดของไทเทเนียมอัลลอยด (ซาย) และ
อะลูมิเนียมอัลลอยด (ขวา) ที่อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครยดตางคา
(Error! Reference source not found.)
คาความสัมพันธของความเคนและความเครียดของวัสดุชนิด
เดียวกันที่มีรูปรางตางกัน จะเปนความสัมพันธประเภทเดียวกัน ในขณะ >> การทดสอบวัสดุภายใตแรงกระแทก
ทีค่ า ความสัมพันธของความเคนและความเครียดของวัสดุทมี่ ขี นาดเทากัน
แตทาํ จากวัสดุตา งชนิดกัน จะมีความแตกตางกัน นอกจากนี้ คาความเคน การทดสอบวัสดุตามมาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา (ASM
และคาความเครียดเปนคาทางกลที่ไมขึ้นอยูกับรูปรางของวัสดุ ในขณะ – American Standard Measurement) [3] แบงการทดสอบวัสดุ เพื่อ
ที่ความสัมพันธระหวางคาความเคนและคาความเครียดเปนตัวที่บงบอก ศึกษาพฤติกรรมความเคนและความเครียดตามอัตราการเปลี่ยนแปลง
ประเภทของวัสดุ ความเครียดในสามชวง คือ
ความสัมพันธของความเคนความเครียดในภาพที่ 1 ยังสามารถ 1. ช ว งการเสี ย รู ป แบบกึ่ ง สถิ ต ยศาสตร คือ มีอัตราการ
จําแนกพฤติกรรมของวัสดุออกเปนสองสวน คือ สวนที่เปนเชิงเสนที่เกิด เปลีย่ นแปลงความเครียดนอยกวาหนึง่ รอยหนวยตอวินาที เชน การรับแรง
ขึ้นในชวงตนของการเสียรูป ตามดวยสวนที่ไมเปนเชิงเสน สวนที่เปนเชิง ของลอยางในขณะทีร่ ถจอดนิง่ การเสียรูปในลักษณะนี้ ใชเครือ่ งมือทดสอบ
เสน แสดงถึงพฤติกรรมของวัสดุทสี่ ามารถคืนรูปได (elastic regime) มีคา เอนกประสงค Universal Testing Machine (UTM) ตามภาพที่ 3
สัมประสิทธิค์ วามชันเรียกวา มอดูลสั ของยัง (young’s modulus) ในสวน
ทีไ่ มเปนเชิงเสนแสดงถึงพฤติกรรมการเสียรูปแบบคงรูป (plastic regime)
ซึ่งจะเปนรูปแบบของการเสียรูป จนกระทั่งวัสดุเกิดการฉีกขาด ณ สวนที่
คาความเคนสูงสุดของชวงคืนรูปกอนที่วัสดุจะแสดงพฤติกรรมแบบคง
รูป เรียกวา คาความเคนคราก หรือจุดคราก (yield stress หรือ yield)
ในการออกแบบทางวิศวกรรมทั่วไป มักออกแบบใหวัสดุมีภาระแรงที่ให
ความเคนตํา่ กวาจุดครากตลอดการใชงาน เพือ่ ปองกันการเสียรูปแบบคง
รูป ในขณะทีก่ ารออกแบบวัสดุบางประเภท เชน เหล็กแผนสําหรับการขึน้
รูปดวยวิธีการกดหรือการรีด จําเปนตองออกแบบการใชงานใหอยูในชวง
ความเคนสูงกวาจุดคราก เพือ่ ใหคงรูปทีต่ อ งการอยูไ ด ดังนัน้ การออกแบบ ▲ ภาพที่ 3 เคร่องมือทดสอบเอนกประสงคสําหรับวัสดุชวงเสียรูปแบบกึ่งสถิตยศาสตร
วัสดุควรคํานึงอยูบนรากฐานพฤติกรรมการใชงานของวัสดุที่สนใจ
สําหรับพฤติกรรมของวัสดุภายใตภาระแรงกระแทก กอใหเกิด การทดสอบวัสดุโดยใชเครื่องมือนี้ ทําไดโดยการเตรียมชิ้นเนื้อ
การเสียรูปอยางรวดเร็วภายในเวลาอันสัน้ เรียกตามทฤษฎีวา พฤติกรรม วัสดุรูปลักษณตามมาตรฐาน ASTM และใสภาระแรงโดยการเคลื่อนที่
ที่อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียดสูง เกิดจากการที่พลังงานที่เกิด ขึ้นลงของสวนชวงบนของเครื่องซึ่งสวนใหญจํากัดความเร็วที่หนึ่งเมตร
จากการเสียรูปของวัสดุมกี ารถายเทออกอยางรวดเร็วในลักษณะของคลืน่ ตอวินาที ลักษณะการใสภาระแรงจะเปลี่ยนแปลงไปขึ้นอยูกับหัวจับชิ้น
กระแทก ความสามารถของวัสดุในการกระจายพลังงานเปนตัวบงบอก ทดสอบ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของหัวจับ เนื่องจากการเสียรูปเกิดที่
วา วัสดุสามารถรับแรงกระแทกไดดหี รือไม ปจจัยทีส่ ง ผลตอแรงกระแทก ความเร็วตํ่า ทําใหผลของแรงเฉื่อย ไมมีผลตอพฤติกรรมของวัสดุ
คือ มวลของวัสดุที่กระแทก และมวลของวัสดุที่ถูกกระแทก ความเร็วเขา 2. ชวงเสียรูปที่การเปลี่ยนแปลงความเครียดปานกลาง คือ
กระแทก เงื่อนไขขอบของการกระแทก และสมบัติของวัสดุภายใตแรง มีอตั ราการเปลีย่ นแปลงความเครียดตัง้ แตหนึง่ รอยถึงหนึง่ หมืน่ หนวยตอ
กระแทก สําหรับวัสดุบางชนิด เชน ไทเทเนียมอัลลอยค เหล็ก พลาสติก วินาที พฤติกรรมการเสียรูปในชวงนี้ มีผลของแรงเฉื่อยจากการเคลื่อนที่
และยาง ความสัมพันธความเคนความเครียดของวัสดุมกี ารเปลีย่ นแปลง ของมวลที่สงผลตอพฤติกรรมของวัสดุและเกิดการเสียรูปเกิดขึ้นอยาง
ไปขึน้ อยูก บั ความเร็วในการเสียรูป ดังแสดงในภาพที่ 2 โดยทัว่ ไปจุดคราก รวดเร็ว ตัวอยางการเสียรูปในชวงนี้ คือ พฤติกรรมของกันชนเมื่อรถวิ่งชน
ของวัสดุจะเพิ่มขึ้น เมื่อความเร็วในการเสียรูปสูงขึ้น ในขณะที่วัสดุบาง สิง่ กีดขวาง ในบางครัง้ การเสียรูปทีเ่ กิดจากการกระแทกสามารถพิจารณา
ชนิดมีพฤติกรรมที่ไมขึ้นอยูกับอัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียด เชน ใหเปนการเคลื่อนที่ของคลื่นในตัววัสดุคลายกับการเคลื่อนที่ของคลื่นใน
อะลูมิเนียมอัลลอยด ดังนั้นการออกแบบผลิตภัณฑสําหรับการใชงาน ของเหลว การทดสอบวัสดุในชวงเสียรูปนี้ ใชเครื่องมือทดสอบเรียกวา
August-September 2011, Vol.38 No.218 79 <<<

078-081 A_M4.indd 79 18/7/2554 20:56


Techno Production
logy

สปลิตตฮอปกินสันบาร Split Hopkinson Pressure Bar (SHPB) มี เคลือ่ นทีใ่ นแนวแกนเดียวของคลืน่ (one-dimensional wave theory) อนึง่
ลักษณะตามภาพที่ 4 ซึง่ ประกอบไปดวย ชุดสงแรงกระแทก (bar launch- เครือ่ งมือทดสอบชนิดนีย้ งั ไมเปนทีแ่ พรหลายในประเทศไทย และจํากัดอยู
er) ซึง่ สวนใหญอยูใ นรูปของกระบอกอัดแกส (gas gun) บารทดสอบสาม ในกลุมวิจัยตามมหาวิทยาลัยเทานั้น [4] - [6]
ชนิด ไดแก บารกระแทก (striker bar) บารตกกระทบ (incident bar) 3. ชวงเสียรูปแบบการเปลี่ยนแปลงความเครียดสูง คือ การ
และ บารถายทอด (transmission bar) วัสดุที่ตองการทดสอบ หรือชิ้น เสียรูปที่อัตราการเปลี่ยนแปลงความเครียดสูงกวาหนึ่งหมื่นหนวยตอ
ทดสอบ (specimen) อุปกรณวัดสัญญาณคลื่น (signal measurement วินาที ลักษณะการเสียรูปในชวงนี้เกิดอยูในพื้นที่จํากัดตรงสวนรับภาระ
system) และเครือ่ งประมวลผล (signal processing system) ในสปลิตต- แรงเทานั้น เนื่องจากไมมีเวลาเพียงพอใหพลังงานที่เกิดขึ้นจากการเสีย
ฮอปกินสันบารสําหรับการกด การทดสอบจะกระทําโดยการนําชิ้นวัสดุ รูปแพรกระจายไปตามสวนอื่นของวัสดุได ตัวอยางเชน รอยกระสุนปน
ทดสอบทีม่ รี ปู รางเปนทรงกระบอกตันมาสอดระหวางบารตกกระทบ และ เปนตน การทดสอบพฤติกรรมวัสดุในชวงนี้ ใชปน แรงดันสูง (gas gun) ยิง
บารถายทอด แลวใชกระบอกอัดแกสยิงบารกระแทกมาที่บารตกกระทบ กระสุน (projectile) เขาหาเปาหมายวัสดุที่ตองการวัด และใชอุปกรณวัด
โดยมีการจัดเรียงตัวกันของอุปกรณทดสอบดังภาพที่ 5 ทัง้ กลองความเร็วสูงในระดับหนึง่ พันถึงหนึง่ ลานภาพตอวินาที หรือการวัด
สัญญาณการเสียรูปดวยแสงเลเซอร การทดสอบนี้ยังไมเปนที่แพรหลาย
ในประเทศไทย เนื่องจากอุปกรณและเครื่องมือวัดมีราคาสูงมาก และยัง
ไมมีผูศึกษาอยางแทจริง
นอกจากนี้ยังมีการทดสอบการกระแทกประเภทอื่น เชน การ
ทดสอบความเหนียวของวัสดุจากการกระแทกดวยวิธี Charpy Impact
Test และ Izod Impact Test วิธีการคือ นําชิ้นสวนที่มีรอยบากมารับ
แรงเหวี่ยงจากลูกตุมที่รูขนาดและนํ้าหนัก จากนั้นจึงวัดระยะที่ลูกตุม
เคลื่อนที่ และนํามาคํานวณกลับดวยวิธีพลังงาน เพื่อหาคาความเหนียว
(modulus of toughness) ของวัสดุได วิธีทดสอบการกระแทกดวยลูกตุม
นี้ ทําไดสะดวก แตไมสามารถใชหาความสัมพันธความเคนความเครียด
ของวัสดุได
อนึ่ง การทดสอบวัสดุที่กลาวมาขางตน มิใชเปนการทดสอบ
▲ ภาพที่ 4 เคร่องมือทดสอบสปลิตตฮอปกินสันบาร เพื่อตรวจสอบความแข็งแรงของรูปรางผลิตภัณฑ หากแตวา ผลของการ
ทดสอบสมบัตขิ องวัสดุ สามารถนํามาใชในการวิเคราะหความแข็งแรงของ
ผลิตภัณฑอีกตอหนึ่งผานแบบจําลองวัสดุของผลิตภัณฑดวยโปรแกรม
ไฟไนเอลิเมนต

▲ ภาพที่ 5 การเรยงอุปกรณในการทดสอบสปลิตตฮอปกินสันบารแบบกด
>> การจําลองพฤติกรรมของวัสดุดว ยโปรแกรมไฟไนเอลิเมนต
เมื่อเกิดการชนระหวางบารกระแทกและบารตกกระทบ คลื่น
ความเคนในลักษณะของการกด (compressive stress wave) จะกอ วิ ธี ไ ฟไนต เ อลิ เ มนต เป น ระเบี ย บวิ ธี เ ชิ ง ตั ว เลขที่ ใ ช ใ นการ
ตัวขึ้นที่หนาตัดระหวางบารทั้งสอง และเคลื่อนที่ตามแนวแกนของบาร ประมาณผลของสมการอนุพันธที่อธิบายพฤติกรรมเชิงกลของระบบที่
ที่กระแทกและบารที่ถูกกระแทกในทิศทางตรงขามกัน คลื่นที่เคลื่อนที่ สนใจ สามารถใชวิเคราะหปญหาระบบที่ซับซอน โดยทําการแบงปญหา
ผานบารตกกระทบนี้ เรียกวา คลื่นตกกระทบ (incident wave) ซึ่งจะ ทั้งหมดออกเปนชิ้นสวนขนาดเล็กเรียกวา เอลิเมนต จากนั้นจึงทําการ
เคลื่อนที่เขาหาตัวชิ้นทดสอบ เมื่อคลื่นความเคนเคลื่อนที่ผานจุดเชื่อม วิเคราะหพฤติกรรมในแตละเอลิเมนต และนํามาประกอบเขาดวยกัน เพือ่
ของบารตกกระทบ และวัสดุที่จะทดสอบ คลื่นบางสวนจะเคลื่อนที่ผาน แสดงพฤติกรรมของปญหาโดยรวม วิธีไฟไนตเอลิเมนตมีประโยชนอยาง
ตัววัสดุและสงตอเขาไปในบารถายทอด โดยคลื่นที่สงผาน และสามารถ มาก สําหรับการประยุกตในวงการอุตสาหกรรม เพื่อชวยในการวิเคราะห
วัดไดจากบารถายทอดนี้ เรียกอีกอยางหนึ่งวา คลื่นถายทอด (transmit- ปญหาและออกแบบผลิตภัณฑ เพราะแกปญหาทางวิศวกรรม เชน การ
ted wave) ในขณะเดียวกันก็จะมีคลื่นบางสวนที่สะทอนกลับไปในบาร เสียรูป การถายเทความรอน การสัน่ ของวัสดุ มักอยูใ นรูปแบบของสมการ
ตกกระทบ เรียกวา คลื่นสะทอน (reflected wave) คลื่นตกกระทบและ เชิงอนุพนั ธ การวิเคราะหดว ยวิธไี ฟไนตเอลิเมนตสามารถลดคาใชจา ยใน
คลื่นสะทอนนี้ เกิดจากการที่ความเร็วคลื่นในบารและชิ้นทดสอบมีคา การสรางชิน้ งานทดสอบ ลดเวลาในการลองผิดลองถูก และทําใหสามารถ
แตกตางกัน ผลของการกระแทกของสวนประกอบแตละชิ้น ทําใหขนาด ออกแบบผลิตภัณฑใหเกิดประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ (optimal design) และ
และความถี่ของตัวคลื่นเปลี่ยนแปลงไป พฤติกรรมของวัสดุที่สนใจ โดย ยังสามารถสรางความนาเชือ่ ถือใหแกผลิตภัณฑอกี ดวย สําหรับโปรแกรม
เฉพาะความเคนความเครียดและอัตราการเปลีย่ นแปลงความเครียดของ ไฟไนตเอลิเมนตที่มีใชทั่วไปตามอุตสาหกรรม ไดแก ABAQUS และ
ชิน้ ทดสอบ สามารถคํานวณไดจากขนาดและความถีข่ องคลืน่ ทีว่ ดั ไดจาก ANSYS เปนตน
จุดทดสอบบนบารตกกระทบ และบารถา ยทอดตามหลักการวิเคราะหการ การใชงานโปรแกรมไฟไนเอลิเมนต ในการวิเคราะหพฤติกรรม
>>> 80 August-September 2011, Vol.38 No.218

078-081 A_M4.indd 80 18/7/2554 20:56


Production Techno
logy

เชิงกลของวัสดุภายใตแรงกระแทก มีปจจัยหลักที่ตองคํานึงถึง คือ


ลักษณะรูปรางของชิ้นงานที่ตองการวิเคราะห ภาระแรง และขอจํากัดใน
การเคลื่อนที่ของชิ้นงาน ในกรณีที่มีการสัมผัสกันระหวางชิ้นงาน ยังตอง
กําหนดความสัมพันธระหวางชิน้ งาน และทีส่ าํ คัญคือ พฤติกรรมของวัสดุ
ทีเ่ ลือกใช ซึง่ ควรใชขอ มูลทีว่ ดั ไดจากการทดสอบแรงกระแทกทีเ่ หมาะสม
ทัง้ นีก้ ารสรางแบบจําลองดวยวิธไี ฟไนเอลิเมนตตอ งมีจดุ ประสงค
และเปาหมายที่ชัดเจน เนื่องจากการสรางแบบจําลองที่ไรเปาหมาย อาจ
ทําใหเลือกใชภาระแรงที่ผิดกําหนดความสัมพันธของชิ้นงาน หรือชนิด
ของเอลิเมนตที่ไมเหมาะสม ทําใหเสียเวลาคํานวณ และไดผลที่ไมถูก
▲ ภาพที่ 7 การเสียรูปของทอรับแรงกระแทก [7]
ตอง ในขณะเดียวกัน การใชผลการคํานวณอยางผิดพลาด หรือปราศจาก
การพิจารณาความเปนไปไดตามหลักทฤษฎีไปออกแบบผลิตภัณฑ อาจ
ทําใหเกิดอันตรายตอผูใ ชได ทัง้ นีว้ ธิ วี เิ คราะหดว ยโปรแกรมไฟไนเอลิเมนต สรุป
เปนกระบวนการที่ซับซอน ตองการประสบการณของผูใช และตองมีการ พฤติกรรมแรงกระแทกของชิ้นสวนยานยนตเปนพฤติกรรมที่
พิสูจนผลการคํานวณดวยการเปรียบเทียบกับผลการทดสอบอีกตอหนึ่ง มีความสําคัญตอการใชงาน เพราะเกี่ยวเนื่องกับความปลอดภัยของ
จึงสามารถจะเชื่อในผลของแบบจําลองได ผลิตภัณฑ การออกแบบ และการวิเคราะหพฤติกรรมเชิงกลของชิ้นงาน
ตัวอยางแบบจําลองชิ้นสวนยานยนตภายใตแรงกระแทก จาก ภายใตภาระแรงดังกลาว สามารถทําไดดวยการพิจารณาลักษณะของ
กรณีศึกษาของ [7] เปนการศึกษาชิ้นสวนรับแรงกระแทกในโครงรถที่ใช การเสียรูปของตัววัสดุวา ขึ้นอยูกับอัตราความเร็วของการเสียรูปหรือ
ในการรับพลังงานที่เกิดจากการชนทําจากทออะลูมิเนียมผนังบางตาม ไม การทดสอบพฤติกรรมวัสดุภายใตภาระแรงกระแทกยังใชเครื่องมือ
ภาพที่ 6 เฉพาะสําหรับการเสียรูปที่ความเร็วตางกัน และเมื่อไดขอมูลการเสียรูป
autormobile structure train structure ของตัววัสดุแลว ก็สามารถนําไปใชในการคํานวณวิเคราะหพฤติกรรมของ
(Audi A8)
ชิน้ งานดวยวิธที างไฟไนเอลิเมนตไดอยางถูกตอง ซึง่ จะกอใหเกิดผลดีในแง
ของการประหยัดคาใชจา ยในการออกแบบผลิตภัณฑ และเปนการยืนยัน
ความสามารถของผลิตภัณฑอีกดวย Techno logy

เอกสารอางอิง
metalic cylindrical shells
as energy absorbers [1] Beer, F.P., Johnston, E.R., DeWolf, J.T., Mechanics of Materi-
th
als, 4 Edition, McGraw-Hill (2005).
▲ ภาพที่ 6 ทอรับแรงกระแทกในรถยนต [7] [2] Ashby, M.F., Materials Selection in Mechanical Design, 3rd
Edition, Butterworth-Heinemann (2005).
เมื่อเกิดการชนของรถ ทอดังกลาวจะเกิดการเสียรูปในลักษณะ [3] ASM International, ASM Handbook, Vol 8 Mechanical Testing
ของการโกงและหักพับเขาของผนังทอ กอใหเกิดการเสียรูปแบบคงตัว and Evaluation, ASM International, Materials Park, OH (2000).
เกิดขึ้น จากลักษณะการใชงาน ผูออกแบบจําเปนตองคํานวณแรงสูงสุด [4] Jearanaisilawong, P., Design of a Multi-Stage Split Hopkinson
ที่ทอ สามารถรับกอนที่จะกอใหเกิดความเสียหายกับตัวโครงสราง การ Pressure Bar, International Conference on Science, Technology, and In-
สรางแบบจําลองในกรณีนี้ ตองคํานึงถึงรูปรางของวัสดุที่รับแรงกระแทก novation for Sustainable Well-Being, Chiang Mai, Thailand (2009).
เปนทอทรงกระบอก ถาแรงกระทําอยูมีการกระจายตัวอยูบนขอบทอ [5] เพชร เจียรนัยศิลาวงศ, การออกแบบสปลิตตฮอปกินสันบาร
ที่สมํ่าเสมอ แบบจําลองดังกลาวสามารถสรางเปนแบบจําลองสองมิติ สําหรับวัสดุประเภทโพลีเมอร, ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและการบิน-อวกาศ,
ที่มีความสมมาตรในแนวแกน (axisymmetry) ซึ่งจะใชเวลาในการ คณะวิศวกรรมศาสตร, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (2553).
คํานวณนอยกวาแบบจําลองในสามมิติ นอกจากนี้จากลักษณะทอผนัง [6] ฐิตะพล หุยะนันท, เอกวัฒน นิลวิจติ ร, อุปกรณทดสอบคุณสมบัติ
บาง ทําใหโครงสรางของทอพิจารณาในลักษณะของเอลิเมนตแบบผนัง เชิงพลวัตของวัสดุดวยเทคนิค Split Hopkinson Pressure Bar, การประชุมเครือ
บาง (shell) ซึ่งเหมาะสมกับการคํานวณโครงสรางของทอ พฤติกรรมของ ขายวิศวกรรมเครื่องกลแหงประเทศไทย ครั้งที่ 23, 4-7 พฤศจิกายน (2552)
วัสดุของทอตองพิจารณาในลักษณะของวัสดุคืนรูปและคงรูป (elastic- [7] Gomez Garcia, J., Marsolek, J., Reimerdes, H.G., Determi-
plastic) เนือ่ งจากการยนแบบคงตัวของทอเปนพฤติกรรมทีต่ อ งการจําลอง nation of the energy absorption of cylindrical shells under axial loading by
ลักษณะการเสียรูปของชิ้นสวนนี้ analysis of the dynamic buckling and folding process, International Journal
ภาพที่ 7 แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการทํานายพฤติกรรม of Crashworthiness, 4(4) (1999).
ของวัสดุดว ยวิธที างไฟไนเอลิเมนตได อนึง่ ผลการคํานวณดังกลาวยังตอง [8] Marsolek, J., Reimerdes, H.G., Energy absorption of metallic
มีการทําไปเปรียบเทียบกับผลการทดสอบจริงตอไป เพือ่ สามารถนําไปใช cylindrical shells with induced non-axisymmetric folding patterns, International
งานไดอยางแทจริง Journal of Impact Engineering, 30:1209-1223 (2004).

August-September 2011, Vol.38 No.218 81 <<<

078-081 A_M4.indd 81 18/7/2554 20:56

You might also like