You are on page 1of 2

Font 

Size
Language A  A  A

       
   หนาแรก 
้   นใครในสมาคม 
 ใครเป็   าวสาร 
 ข่   ดต่
 ติ อ เรา    โหลดใบสมั คร 
  ดาวน์

นพลัก ษณ์

บทความ
นพลัก ษณ์
บทความ คนหาตั
้ วเอง
คนหาตั
้ วเอง
บทไต่
สวน
บทไต่ สวน
สัม ภาษณ์ สัม ภาษณ์
 Next >>
หนั งสื
อ น่
าอ่
าน
"นพล ักษณ์ " เครื
องมื
￱ อแก้ไขปัญ หาความข ัดแย้

09 ตุ
ลาคม 2013 | 09:51:41 ภาพงานกิ
จกรรมต่
างๆ
view 431 | comments 0
วี
ดโี
อเกี
ยวกั
￱ บนพลัก ษณ์

"นพล ักษณ์
”" เครื
องมื
￱ อแก้
ไขปัญหาความข ัดแย้
ง บทความ และ กิ
จกรรม

นพลักษณ์ เนนให
้ เราสั
้ งเกตการทํ างานของ  “กิ เลส” ที อยู
￱ ่ประจํ าตัวเรา บางคนอาจมองไม่ ออกว่ า กิเลสเหล่ านีจะทํ
￱ าใหเกิ ้ดความขัด
แย งขึ
้นได
￱ อย่้ างไร ถ าเข้ าข ้างตั
้ วเองก็ ไม่ย อมรั บ แต่ ถ าจริ
้ งจังกับการศึ กษาและเฝ้ าสังเกตตัวเอง ก็ จะมองเห็ นว่ ากิ
เลสเกิ ดขึ นอย่
￱ างไร
มันก่ อปั ญหาทํ าใหเกิ
้ดความขัดแย งอย่ ้ างไร นั￱ นคื ้ กษณ์
อ เราใช “นพลั ” เป็นเครื ￱
องมื อในการวิ เคราะห์ สาเหตุ แห่งทุกข์  (ทีเกิ
￱ดจาก
ความขัดแย งนั ้￱นเอง)
นอกจากกิ เลสของเรา คนอื นรอบตั
￱ วเขาก็ มกีเิ
ลสของเขา บ่ อยครงที ั￱ ความข
￱ ัดแย้ งเกิ ดจากกิ เลสในต ัวเราไปข ัดแย้ งก ับกิ เลสใน
ต ัวคนอื น ๆ ถ้
￱ าเป็ นปุ ถช ุนเต็ มที  กิ
￱เลสทง 2 ฝ
ั￱ ่ ายก็ ทาํ สงครามก ันตามล ักษณะของกิ เลสแต่ ละล ักษณ์  จนกว่ าจะระง ับปัญหา
ได้  ในการทํ าความเขาใจกระบวนการความขั
้ ดแย งที
้เกิ
￱ดขึ นในตั
￱ วเรา เพื อการมี
￱ สติรูเท่
้าทันแทนที จะปล่
￱ อยไปตามกลไกการจัดการที ￱
ทํ าอยู ่
โดยอัตโนมัต ิ เราอาจเริ มต
￱ นด
้ วยการหั
้ ดสังเกต “ความรู สึ
้ ก” ทางจิ ตใจ, ร่ างกาย, และทางความคิ ด ของเราเองเช่ น 
ความรู สึ
้กทางใจ ไดแก่ ้  ความโกรธ เกลี ย ด กลัว แคน กั ้ งวล เสี ย ใจ อึ ดอัด ต่ อตาน หงุ
้ ดหงิ ด เบื อ ดี
￱ ใจ ซาบซึ ￱
ง สะใจ เสี ย ศักดิศรี
￱
ประทับใจ ไม่ ด ี เศร า รั
้ ก รู สึ
้กผิ ด สบายใจ ผ่ อนคลาย สงบ ตื นเต
￱ น เหนื
้ อยใจ เหงา เก็
￱ บกด วาเหว่
้  ทอแท ้  หมดกํ
้ าลังใจ นอยใจ

เป็ นตน้
ความรู สึ
้กทางกาย ไดแก่ ้  ความหิ ว เหนื อยล
￱ า ปั
้ ￱
นป่ วน ความรู สึ
้ กทางความคิ ด ไดแก่ ้  สับสน ตองจั้ ดการ สงสัย  มึ นงง ไม่ เขาใจ จาก

ตัวอย่ างขางต
้ น สํ
้ าหรั บคนส่ วนใหญ่ แลวความรู
้ สึ
้ กที เกี
￱ยวข
￱ องกั
้ บความขัดแย ง มั ้ กอยู ่
ในกลุ ม
่ของ ความโกรธ เกลี ย ด กลัว แคน กั้ งวล
เสี ย ใจ หงุ ดหงิ ด เบื อ สะใจ น
￱ อยเนื
้ อตํ ￱ าใจ หดหู
￱ ่
 ต่อตาน ไม่
้ ด ี เศร า รู
้ สึ้กผิ ด หมดกํ าลังใจ ตื นเต
￱ น เหนื
้ อยใจ เหงา ว
￱ าเหว่
้  ทอแท ้ ้
นอยใจ

อี กเรื￱
องหนึ งที
￱ จะมี
￱ บทบาทในเรื ￱
องความขัดแย งคื ้อ กลไกทางจิ ต ที เรี
￱ย กว่า projection  หรื อ การโทษผู อื
้ น ด
￱ วยการโยน(สาเหตุ
้ ของ
ความขัดแย ง)ใส่้ คนอื น เมื
￱ อเราเกิ
￱ ดความรู สึ
้ กต่ าง ๆ ที กล่
￱ าวมาแลว อั ้ นเกิ ดขึ นภายในจิ
￱ ตใจตัวเรา ถ าความรู
้ จํ
้ากัดอยู ่
เพีย งภายในตัวเรา
เรื￱
องก็ คงจบแค่ นัน ถ
￱ าเราสามารถอยู
้ ่
กับมันอย่ างสงบ แต่ เพราะมี อารมณ์ ตา่ง ๆ จนเป็ นสาเหตุ แห่ งความขัดแย ง มากกว่
้ าจะเป็ นผลที ￱
เกิ ดขึนจากความขั
￱ ดแย ง ถ้ าอึ
้ดอัดไม่ สงบในตัวเรา จะทํ าใหความขั
้ ดแย งเกิ
้ ดต่ อเนืองกั
￱ นไป หรื อทวี ความรุ นแรงมากขึ น ตั
￱ วที ก่
￱อ
ปั ญหาคื อ projection ทังสองฝ่
￱ ายต่ างโยนโทษใส่ กัน
ล ักษณ์ กิเลส กิเลสม ักแสดงต ัวเมื อ
￱ สิ￱ เพื
งที￱อนร่
￱ วมงานม ักจะเห็ นว่ าเป็นพฤติ กรรมที สร้
￱ าง
ประจํ า ความข ัดแย้ ง
ล ักษณ์
1 โกรธ เมือตนเองและผู
￱ อื
้น หรื
￱ อสิ ￱างๆรอบตัว ไม่โมโหง่
งต่ าย หงุ ดหงิ ดง่
าย
เป็นไปตามมาตรฐาน หรื อ สิ ￱ ถู
งที ￱ก ที ควร จะ
￱ วิ
พากษ์ วจิารณ์ คนอื น และสถานการณ์
￱ ตา่งๆ ไดตลอดเวลา

เกิดอารมณ์ ขน ่มัว หงุ
ุ ดหงิ ดง่าย
2 ถือตัว เมือตนเองมี
￱ ความตองการ แต่
้ ไม่ สามารถ การเอาใจใส่ ของคนสอง ทํ าใหคนอื
้ นสงสั
￱ ย  ระแวงถึ งเบือง
￱
บอกความตองการของตนเองให
้ คนรู
้ ได ้ และ
้ หลังของพฤติ กรรม
โยนใส่ วา่
ทํ าไมไม่ รู หรื
้ อไม่ ทาํ ในสิ ￱ ฉั
งที ￱น บางคนรู สึ
้ กถูกกาวก่
้ ายเรื ￱
องส่ วนตัวเกินไป วุ น
่วาย
ตองการให
้ ฉั้
นบาง้ ไม่ ￱

สอสารอย่ างตรงไปตรงมา
3 หลอกลวง เมื อมุ
￱ ่งเป้าไปที ความสํ
￱ าเร็จ เป้าหมาย จึ งสร าง้รู สึ
้กเหมื อนถู กหลอกใช ้
อัตลักษณ์ ใหตนเองทํ
้ าทุ กอย่ างเพื ￱ เ่
อไปสู ป้ า สนใจแต่ งานไม่ สนใจสัมพันธภาพกับเพื อนร่
￱ วมงาน
หมายนันๆ โดยลื
￱ มความเป็ นจริ งทังเรื
￱ ￱
องของ
ศักยภาพของตนเอง และของผู อื
้น จึ
￱ งลื มที จะ
￱
ใส่ใจสุ ขภาพของตนเอง และความรู สึ
้ กของ
เพือนร่
￱ วมงาน
4 อิจฉา เมือมี
￱ การเปรี ย บเทีย บกับคนอื น หรื
￱ อ เปรี ย บ อารมณ์ ขนๆ ลงๆ เข
￱
ึ าใจยาก (อารมณ์
้ ศลิปิน)
เทีย บกับสิ ￱ เป็
งที ￱นอุ ดมคติ ทตนเองสร
￱
ี างขึ
้ น จึ
￱ ง ไม่ สามารถสื ￱
อสารให เพื
้อนร่
￱ วมงานเขาใจได ้ ในสิ ￱ ต
้ งที ￱องการ

พบว่ าตนเองขาด ไม่ สมบู ร ณ์ บอกเล่ า
ทําตัวแปลกๆ ไม่ เหมือนคนอื น
￱
5 โลภ เมือรู
￱ สึ
้ กว่
าขอมู
้ ลที มี
￱อยู ่
ไม่เพีย งพอต่ อการ สงวนท่ าที  หรื อ เก็ บตัวมากเกิ นไป ทํ าใหเพื
้อนร่
￱ วมงาน
ตัดสิ นใจ  เมื อรู
￱ สึ
้กว่ าพลังงานของตนเองไม่อึ ดอัด
เพีย งพอ จึ งสงวนสิ ￱ านันไว
งเหล่ ￱  ไม่
้ แบ่ งปั นให ้
บางเรื￱
องตัดสิ ้
นใจชาเพราะมั วแต่ ร อขอมู
้ล
กับคนใกลตั้ ว หรือเพื อนร่
￱ วมงาน ไม่คอ่ยมี มนุ ษย์ สมั พันธ์
6 กลัว เมือมี
￱ ความรู สึ
้ กไม่ มั￱
นคง ระแวง สงสัย ใน เป็นมนุษย์ เจาปั
้ญหา ขี สงสั
￱ ย  หลายครั งทํ ￱ าใหเพื้อนร่
￱ วมงาน
เจตนาที ซ่
￱อนเร นของคนอื
้ น ของสถานการณ์
￱ รู
สึ
้กเหมื อนถู กไม่ ไววางใจ

และหลายครั ง￱ รอบคอบเกิ นไปในบางเรื ￱
อง ทํ าใหเหมื
้ อนเป็ นคนเรื ￱
องมาก
ลังเล ตัดสิ นใจไม่ คอ่ยเด็ดขาด เปลี ยนแปลงไปมาขึ
￱ นอยู
￱ ่กับ
ขอมู
้ ลที มาใหม่
￱ อยู ่
ตลอด
7 ตะกละ เมื อรู
￱ สึ
้ กว่
ามี ขอจํ
้ากัดกับชี วติ หรือการทํ างาน สนุ กไปวันๆ เลยหย่ อนยานเรื ￱
องความรั บผิ ดชอบ
จึงตองแสวงหาความสุ
้ ข ความสนุ กในรู ปแบบ ใหเหตุ้ ผลไดกั้ บทุ กเรื￱
องทีเข
￱าข้างตั
้ วเอง
ต่างๆ อยู ่
ตลอดเวลา ไม่คอ่ยอดทนกับเรื ￱
องของตนเองและคนอื น ขี
￱ เบื
￱อเกิ
￱ นไป
8 กําหนัด เมื อรู
￱ สึ
้ กว่
าตองควบคุ
้ ม ตองจั
้ ดการ จึ ง ภาษาท่ าทาง และนํ ￱
าเสี
ย ง มี
ลก ั ษณะคุ กคาม กาวร ้ าว

กําหนัด(แสดงออกอย่ างมากมาย­ สนุ กใน ไม่ คอ่ยคํ านึงถึ งความรู สึ
้ กของคนอื น
￱
การแสดงพลัง) ในพลัง อํ านาจของตนเอง
9 เฉือยชา
￱ สําหรั บความตองการของตนเองแล
้ ว คนเก
้ า้ สื￱
อสารวกวน คลุ มเครื อ ไม่ชดั เจน
จะเฉื อยชาที
￱ จะกระทํ
￱ าสิ￱างๆ เพื
งต่ อนตนเอง
￱ ดือเงี
￱ ย บ
ตัวอย่าง เช่
น คนลักษณ์  1 เกิดขัดแย ง โมโห ตอนแรกก็
้ คมุไว โดยการใช
้ ้
กลไก Reaction formation พอจั ดการไม่ ได ข
้างในก็

โมโห แทนที จะยอมรั
￱ บว่
า “ฉันโมโห” ก็ เลยโยนใส่ เขาว่า ฉันโมโหเพราะคุ ณเป็นอย่ างนี  คุ
￱ณทํ าไม่ด ี ไม่ถู
กตอง” นี
้ คื ￱อผลของการที ￱
กลไกจัดการกับกิ เลสไม่ได ก็
้เลยอาศัย การโทษผู อื
้น จะโทษอย่
￱ างไรก็แลวแต่
้ วธิ ค
ีดิของลักษณ์ ของเรา การโทษคนอื น ทํ
￱ าใหเรา

มองเห็ นเขาในมุ มมองที ไม่
￱ เป็นจริง กลายเป็ นอคติ  เป็นเป้าหมายของการโจมตี ของกิ เลสของเรา เมื อมองไม่
￱ เห็
นตัวจริ งของเขา ก็ขาด
นํ
￱
าใจ ขาดความเขาใจ ง่
้ ายที จะเกิ
￱ ดความขัดแย งใหญ่ ้ โต
เพือหลี
￱ กเลี ยงความขั
￱ ดแย งเหล่
้ านี  เราต
￱ องมองเห็
้ นความสํ าคัญของการรู เท่
้าทันกลไกการโทษคนอื น ซึ ￱
￱ งอาจมี ลกั ษณะแตกต่ างกันไป
แบบเฉพาะตัว และเป็ นไปเองโดยอัตโนมัต ิ ไม่ ตองสอนไม่
้ ตองฝึ
้ ก ถ าเราสามารถจั
้ บลักษณะของมันได และเริ ้ มเท่
￱ าทันมัน แทนที จะ
￱
ปล่อยใหมั้ นเกิดอัตโนมัต ิ
เราก็ อาจพอรู ตั้
วและสามารถจับมันและคลี คลายปั
￱ ญหาไปได ้

Username

••••••••

สถิ
ตผ
ิชมเว็

้ บไซต์

Copyright 2015 © enneagramthailand.org All rights   

You might also like