You are on page 1of 471

รายงาน

ศึกษาวิจยั ทิศทางการจ้างงานของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0


กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา กองเศรษฐกิจการแรงงาน
ส�านักงานปลัดกระทรวงแรงงาน

สำานักงานศูนย์วิจัยและให้คำาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงาน
ศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย
ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา กองเศรษฐกิจการแรงงาน
ส�ำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

คณะผูวิจัย

ผศ.ดร.ศุภชัย ศรีสุชาติ
ผศ.ดร.แกวขวัญ ตั้งติพงศกูล
ผศ.ดร.อนิณ อรุณเรืองสวัสดิ์
คุณธันยบูรณ ดีสมสุข

สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
โดย สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บทสรุปสําหรับผูบริหาร

มติ ค ณะรั ฐ มนตรี เ มื่ อ วั น ที่ 30 มิ ถุ น ายน 2558 เห็ น ชอบให มี ก ารจั ด ทํ า ยุ ท ธศาสตร ช าติ ระยะ 20 ป
เพื่อใชขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดวยการสรางความเขมแข็งจากภายใน ตามแนวคิด
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกลไกประชารัฐ โดยมีเปาหมายเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน สรางการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืนเพื่อใหประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่มีรายไดสูง ประชาชนอยูดีมีสุข ไดรับผลประโยชน
จากการพัฒนาอยางเทาเทียม ลดความเหลื่อมล้ําของการพัฒนา
การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ของไทยเริ่ ม ตั้ ง แต ยุ ค อุ ต สาหกรรม 1.0 ที่ เ น น ภาคเกษตร ยุ ค อุ ต สาหกรรม 2.0
ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเบาและปจจุบันคือ ยุคอุตสาหกรรม 3.0 ที่เนนอุตสาหกรรมหนัก อยางไรก็ดี ประเทศ
ยั ง ติ ด กั บ ดัก ประเทศรายได ป านกลางและความเหลื่ อ มล้ํ า ไม ส ามารถก า วไปสู ก ารพั ฒ นาอย า งก า วกระโดดได
รัฐบาลจึงมีนโยบายปฏิรูปโครงสรางเศรษฐกิจของประเทศไปสูยุคอุตสาหกรรม 4.0 หรือยุคที่เศรษฐกิจถูกขับเคลื่อน
ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยมุงเนนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางนอย 3 มิติที่สําคัญ คือ (1) เปลี่ยนจากการผลิต
สินคาโภคภัณฑไปสูสินคานวัตกรรม (2) เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศดวยภาคอุตสาหกรรมไปสูการขับเคลื่อนดวย
เทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค และนวัตกรรม (3) เนนภาคการผลิตภาคบริการมากขึ้น อุตสาหกรรม 4.0 จึงเปน
การปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มีผลกระทบหลายประการ รวมถึงแรงงานที่จะตองเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ําไปสูแรงงาน
ที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ ซึ่งแรงงานตองเตรียมความพรอมใหมีความสามารถดานเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีทักษะฝมือ
ตามความตองการของตลาดแรงงาน และมีองคความรูใหมเพื่อรองรับการผลิตรูปแบบใหม ๆ ที่เนนการประยุกตใช
เทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหมมากกวาการผลิตโดยใชแรงงานคน
การศึ ก ษานี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ สํ า คั ญ คื อ 1) เพื่ อ ศึ ก ษา วิ เ คราะห ระบบอุ ต สาหกรรมและการจ า งงาน
ของประเทศไทย ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสัง คมแหงชาติ ฉบับ ที่ 1 ถึง ฉบับที่ 11 2) เพื่อศึกษา วิเคราะห
แนวทางการพั ฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ในประเทศไทย ภายใตกรอบยุท ธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579)
3) เพื่อศึกษา วิเคราะหทิศทางและแนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือ
แรงงานให ส อดคลอ งกั บ ความตอ งการของตลาดแรงงาน ในยุ ค อุ ต สาหกรรม 4.0 และ 4) จั ด ทํ า ข อ เสนอแนะ
เชิ ง นโยบายในการวางแผนการผลิ ต และพั ฒ นากํ า ลั ง แรงงาน ให ส อดคล อ งกั บ ทิ ศ ทาง แนวโน ม การจ า งงาน
และความตองการของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0
การศึกษาเปนวิธีผสมผสาน โดยศึกษาเอกสารเกี่ยวกับระบบอุตสาหกรรมและการจางงานของประเทศไทย
ตั้ ง แตแ ผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คมแหง ชาติ ฉบั บ ที่ 1 ถึ ง ฉบั บ ที่ 12 ศึก ษาแนวทางการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม
และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ของตางประเทศ 5 ประเทศ มีการสัมภาษณเชิงลึก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-1
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

และการประชุมระดมสมองกับองคกรภาครัฐ นักวิชาการ ผูประกอบการของสถานประกอบการในกลุมอุตสาหกรรม


เป า หมาย 10 อุ ต สาหกรรม เพื่ อ ให ทราบข อ มู ล เกี่ ย วกั บ แนวทางการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม ทิ ศ ทางและแนวโน ม
การจ างงาน ความตอ งการแรงงาน และแนวทางการพัฒ นาทั ก ษะฝ มือ แรงงาน ให สอดคล องกั บ ความต อ งการ
ของตลาดแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป


อุตสาหกรรมไทย 4.0 แบงออกไดเปน 3 กลุม ไดแก
First S - Cure คือ การตอยอด 5 อุตสาหกรรมที่มีอยูแลวดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมในระดับที่สูงขึ้น ไดแก
ยานยนตสมัยใหม อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ อาหารแปรรูป การทองเที่ยวที่มีเปาหมายเฉพาะกลุมรายไดดี การเกษตร
และเทคโนโลยีชีวภาพ
New S - Curve คือ การเพิ่ม 5 อุตสาหกรรมที่มีศักยภาพในอนาคต ไดแก หุนยนต การบิน การแพทยครบ
วงจร ดิจิทั ล เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบผลิตภัณฑและเทคโนโลยี เพื่อเปนกลไก
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และตองมีการพัฒนาทักษะของทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรมนี้ใหมีทักษะชั้นสูง
Second Wave S - Curve คือ กลุมอุตสาหกรรมที่ตองมีการปฏิรูปใหมเพื่อใหสามารถเติบโตและอยูร อด
ในยุคของเทคโนโลยีในอนาคต ไดแก เครื่องหนัง ไมแปรรูป ปูนซีเมนต ปโตรเคมีและพลาสติก สิ่งทอและเครื่องนุงหม
อัญมณีและเครื่องประดับ แกวและกระจก โลหะ เซรามิก เปนตน
การพั ฒนาอุ ตสาหกรรม 4.0 จํ า เป นต องเตรี ย มแรงงานให มี ความสามารถและทั ก ษะที่ สู งขึ้ นร ว มไปด ว ย
โดยต อ งบู ร ณาการร ว มกั น ระหว า งภาคเอกชนและภาคการศึ ก ษาเพื่ อ ผลิ ต แรงงานใหม ใ ห ตรงกั บ ความตอ งการ
ของตลาดแรงงานในอนาคต ต อ งมี ก ารปรั บ ตั ว ในเชิ ง โครงสร า งและนโยบายภาครั ฐ ในการส ง เสริ ม การลงทุ น
จากผูประกอบการตางประเทศและกระบวนการสรางแรงจูงใจเพื่อสงเสริมการถายทอดเทคโนโลยีและการจั ดการ
องคความรู โดยภาครัฐตองทําหนาที่สรางสภาพแวดลอมใหเกิดการเขาสูการเปนอุตสาหกรรม 4.0 อยางเปนระบบ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-2
บทสรุป-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การจัดกลุมอุตสาหกรรมแหงอนาคตตามยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)

ที่มา: ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)

การศึกษาจากตางประเทศ
อุ ต สาหกรรม 4.0 (Industry 4.0 Platform) มี ก ารกล า วถึ ง โดยประเทศเยอรมนี เ ป น ประเทศแรก
ในป พ.ศ.2553 เปนแนวคิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมโดยใชนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 3 ประเภท ไดแก ระบบอัตโนมัติ
(Automation) อินเตอรเน็ตในทุกสิ่ง (internet of things) และ ปญ ญาประดิษฐ (Artificial intelligence) โดยมี
วัตถุประสงคที่แตกตางกันไปในแตละประเทศ เชน ประเทศสหรัฐอเมริกามีรูปแบบของการผลิตขั้นสูง มุงหมายที่จะ
เพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ ในขณะที่ประเทศสหราชอาณาจักรมีรูปแบบของการเปนกลไกดีดตัว
(Catapult centers) โดยเพิ่ ม สั ด ส ว นของภาคการผลิ ต อุ ต สาหกรรมใน GDP เป น สองเท า สํ า หรั บ ประเทศจี น
มีการดําเนินนโยบาย Made in China 2025 เพื่อพลิกประเทศใหเปนประเทศที่มีความเขมแข็งในการผลิต โดยใช
เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล และอุ ต สาหกรรมสมั ย ใหม 10 อุ ต สาหกรรม ประเทศญี่ ปุ น มี รู ป แบบของการเพิ่ ม ผลิ ต ภาพ
ของอุตสาหกรรมบริการ และการใชหุนยนตอยางมีนัยสําคัญในป ค.ศ.2020 ในขณะที่ประเทศเกาหลีใตมีการผลิต
ดวยนวัตกรรม 3.0 (Manufacturing Innovation 3.0) มีการสรางสภาพแวดลอมในการผลิตที่มีฐานของเทคโนโลยี
ใหม และกระตุนใหเ กิด การพัฒ นาโรงงานอัจ ฉริย ะ สํา หรับ ประเทศฝรั่งเศสมีน โยบายอุ ตสาหกรรมแหง อนาคต

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-3
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

(Industry of the future) โดยเป น การสนั บ สนุ น การพั ฒ นาผลผลิ ต ที่ มี ค วามเฉพาะเจาะจง เช น รถยนต ที่ มี
ประสิทธิภาพ อากาศยานไฟฟา เปนตน

แนวคิดของการเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ของแตละประเทศ

สําหรับประเทศไทย หากประเมินจากวัตถุประสงคของการเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ทั้ง 7 ขอจะพบวาการเกิด


อุตสาหกรรม 4.0 ของประเทศไทยนาจะมีวัตถุประสงคที่สําคัญ คือ การสรางมูลคาเพิ่มและการสรางความสามารถ
ในการแขงขั นของประเทศ ดังนั้นรูปแบบของการพัฒนาควรใชรูป แบบของประเทศเยอรมนี ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา
และจีน มาเปนตนแบบของการพัฒนา ในขณะที่วัตถุประสงครอง ไดแก การพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อการบริหาร
จัดการภายในและการบริหารความเสี่ยง เปนการใชเทคโนโลยีเพื่อการจัดการบริหารความเสี่ยงขององคกร โดยมี
ตัวอยางจากประเทศเยอรมนี ญี่ปุน เกาหลีใต และจีน เปนตนแบบ อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยังสงเสริมใหเ กิด

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-4
บทสรุป-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การพั ฒ นานวั ต กรรมเพื่ อ เป น ธุ ร กิ จ Start-Ups และสร า งสภาพแวดล อ มให เ กิ ด นวั ต กรรม รวมทั้ ง การต อ ยอด
อุตสาหกรรมเดิมและการเตรียมการเพื่อสรางอุตสาหกรรมใหม ๆ

ผลการศึกษาแนวโนมการจางงาน
จากการประมวลขอมูลการสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป
พ.ศ.2555 – 2560 โดยจํ า แนกกลุม อุ ต สาหกรรมเป า หมาย 10 อุ ต สาหกรรมจากรหั ส มาตรฐานอุ ต สาหกรรม
(Thailand Standard Industrial Classification; TSIC) ในป จ จุ บั น (ในอนาคตอาจมี ก ารจํ า แนกรหั ส มาตรฐาน
อุ ต สาหกรรมให ส อดคล อ งกั บ อุ ต สาหกรรมที่ จ ะเกิ ด ใหม ที่ มี ค วามเฉพาะเจาะจงมากขึ้ น ) พบว า ณ ไตรมาส 3
ป พ.ศ.2560 มีผูมีงานทําประมาณ 39,578,344 คน โดยอยูใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย จํานวน 20,525,160 คน
คิดเปนรอยละ 51.86 ของจํานวนผูมีงานทํา เมื่อพิจารณา 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย พบวา อุตสาหกรรมปโตรเคมี
และเคมีภัณฑ เชื้อเพลิง ชีวภาพ เปนอุตสาหกรรมที่มีการเพิ่มขึ้นของการจางงานมากที่สุด คือ โดยเฉลี่ยประมาณ
รอยละ 25 ตอป รองลงมา คือ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร โดยเฉลี่ยรอยละ 5.71 ตอป และ อุตสาหกรรมการบิน
และโลจิสติกส โดยเฉลี่ยประมาณรอยละ 4.28 ตอป สําหรับอุตสาหกรรมเปาหมายที่มีอัตราการลดลงของผูทํางานมาก
ที่สุดสามลําดับแรก คือ เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 4.86 ตอป รองลงมาคือ อุตสาหกรรม
ดิจิทัล ลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 1.53 ตอป และ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ ลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 0.78 ตอป
ตามลําดับ จากขอมูลบงชี้วา เงินเดือนเฉลี่ยของผูมีงานทําโดยรวมอยูที่ประมาณ 13,878 บาทตอเดือน อุตสาหกรรม
เป า หมายที่ มีเงินเดือนเฉลี่ยสูงสุดสามลําดับ แรกประกอบดวย อุต สาหกรรมดิจิทัล (เฉลี่ย 29,224 บาทตอเดือน)
รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (เฉลี่ย 25,393 บาทตอเดือน) และอุตสาหกรรมการแพทย
ครบวงจร (เฉลี่ย 19,014 บาทตอเดือน) ตามลําดับ อุตสาหกรรมที่มีคาเฉลี่ยของเงินเดือนต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศ
คือ อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (เฉลี่ย 11,570 บาทตอเดือน) อุตสาหกรรม
การแปรรูปอาหาร (เฉลี่ย 10,581 บาทตอเดือน) และ อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ (เฉลี่ย 6,186
บาทตอเดือน) อุตสาหกรรมทั้ง 3 กลุมนี้เปนกลุมอุตสาหกรรมที่เปนฐานเดิมของการผลิตของประเทศที่พึ่งทรัพยากร
ทางธรรมชาติและการเกษตรของประเทศ และยังเปนอุตสาหกรรมที่มีสัดสว นจํานวนผูมีงานทําที่สูงเมื่อเทีย บกับ
อุตสาหกรรมอื่น ๆ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-5
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-5
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 555,528 คน


กระจายตัวตามชวงอายุในกลุมอายุ 25 – 40 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 14,788 บาทตอเดือนขึ้นไป โดยมี
คามัธยฐานของรายไดประมาณ 12,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน และมีอาชีพ
ผูปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร รองลงมาเปนกลุมชางฝมือและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ ผูมีงาน
ทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา อนุปริญญา (สายอาชีวศึกษา) การจางงานกระจุกตัวในเขตกรุงเทพและ
ปริมณฑล และภาคตะวันออก โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบมากกวานอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอจั ฉริยะ ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 401,477 คน


กระจายตัวตามชวงอายุในกลุมอายุ 23 – 35 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 14,408 บาทตอเดือนขึ้นไป โดยมี
คามัธยฐานของรายไดประมาณ 12,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน และมีอาชีพ
ผูปฏิบั ติการเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร รองลงมาเปนกลุมเจาหนาที่เทคนิค ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษา
ในระดับมัธยมศึกษา ปริญญาตรี (สายวิชาการ) อนุปริญญา (สายอาชีวศึกษา) การจางงานกระจุกตัวในเขตกรุงเทพ
และปริ มณฑล จั ง หวั ด นครราชสี มา และจั ง หวั ด ที่ มี นิ ค มอุ ต สาหกรรม เช น ลํ า พู น ปราจี น บุ รี โดยการจ า งงาน
เปนรูปแบบของการจางงานในระบบมากกวานอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560


มีการจ างงานทั้งสิ้ น 3,253,426 คน กระจายตัวตลอดทุกชวงอายุ และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 11,570 บาท
ตอเดือนขึ้นไป โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ 9,100 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของธุรกิจ
สวนตัว (ไมมีลูกจาง) รองลงมาคือ ลูกจางเอกชน และมีอาชีพหลัก คือ พนักงานบริการ รองลงมาเปนผูประกอบอาชีพ
งานพื้ น ฐาน ผู มี ง านทํา ส ว นใหญ มีก ารศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาลงมา การจ า งงานกระจายตั ว ทั่ ว ทั้ ง ประเทศ
โดยเฉพาะในจั งหวัดใหญ โดยการจา งงานเปนรูป แบบของการจางงานนอกระบบมากกวา ในระบบ โดยชว งอายุ
15 – 25 ป มีจํานวนผูมีงานทําในระบบมากกวานอกระบบ และเมื่ออายุ หลัง 25 มีจํานวนผูมีงานทํานอกระบบมากกวา
ในระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น


12,673,907 คน กระจายตัวสวนใหญอายุมากกวา 40 ขั้นไป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 6,186 บาทตอเดือน
โดยมี ค า มั ธ ยฐานของรายได ป ระมาณ 5,500 บาทตอ เดื อ น การจ า งงานสว นใหญเ ปน รูป แบบของธุ รกิจ สว นตัว
(ไม มี ลู ก จ า ง) รองลงมาคื อ ธุ ร กิ จ ครั ว เรื อ น (โดยไม ไ ด รั บ ค า จ า ง) และมี อ าชี พ หลั ก คื อ ผู ป ฏิ บั ติ ง านที่ มี ฝ มื อ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-6
บทสรุป-6 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในด า นการเกษตร ปาไม และประมง รองลงมาเปนผูป ระกอบอาชีพงานพื้น ฐาน ผูมีงานทํา สวนใหญมีการศึกษา


ในระดับประถมศึกษา การจางงานกระจายตัวทั่วทั้งประเทศ โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานนอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 1,509,545 คน


กระจายตัวสวนใหญอยูชวงอายุมากกวา 23 – 40 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 10,581 บาทตอเดือน โดยมี
คามัธยฐานของรายไดประมาณ 8,370 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน รองลงมาคือ
ธุ ร กิ จ ครั ว เรื อ น (โดยไมไดรับ คาจ าง) และมีอาชีพ หลัก คือ ชา งฝมือและผูป ฏิบัติงานที่เกี่ย วของ รองลงมาเปนผู
ปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร ผูมงี านทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับประถมศึกษา การจางงานกระจาย
ทั่วทั้งประเทศ โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบมากกวานอกระบบ และเริ่มเปนนอกระบบมากกวา
ในชวงอายุที่มากกขึ้นใกลกับชวงการเปนผูสูงอายุ

สรุปการจางงานอุตสาหกรรมหุนยนต ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 5,199 คน การกระจายของ


ขอมูลไมเพียงพอตอการคํานวณ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 1,168,319


คน กระจายตัวตลอดทุกชวงอายุ และมี คาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 17,274 บาทตอเดือนขึ้นไป โดยมีคามัธยฐาน
ของรายไดประมาณ 13,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน รองลงมา คือ ธุรกิจ
ส ว นตั ว (ไม มีลูก จา ง) และมีอาชีพหลัก คือ ผูป ฏิบัติก ารเครื่องจั กรโรงงานและเครื่ องจั กร รองลงมาเปนเสมีย น
(งานเอกสาร) ผูมีงานทําสว นใหญมี การศึก ษาในระดับ มัธ ยมศึ กษาลงมา การจา งงานกระจายตัว ทั่ว ทั้ งประเทศ
โดยการจางงานเปนรูป แบบของการจางงานในระบบมากกวาในระบบ และหลังจากอายุ 55 ป มีจํานวนผูมีงานทํา
นอกระบบมากกวาในระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ มีในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น


55,140 คน กระจายตัวตามชวงอายุ 25 – 40 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 25,393 บาทตอเดือนขึ้นไป โดยมี
คามัธยฐานของรายไดประมาณ 18,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน และมีอาชีพ
ผูประกอบอาชีพวิชาชีพ รองลงมาเปนผูปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงงานและเครื่องจักร ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษา
ในระดับมัธยมศึกษา ปริญญาตรี (สายวิชาการ) การจางงานกระจุกตัวในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และภาคตะวันออก
โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบเกือบทั้งหมด

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-7
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-7
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมดิจิทัล ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 180,283 คน กระจายตัวตาม


ชวงอายุ 25 – 35 ป มีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 29,224 บาทตอเดือนขึ้นไป โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ
23,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน และมีอาชีพผูประกอบอาชีพวิชาชีพตาง ๆ
รองลงมาเป น จ า หน า ที่ เ ทคนิค ผู มีง านทํา ส ว นใหญ มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ปริ ญ ญาตรี (สายวิ ช าการ)
และปริญญาโท การจางงานกระจุกตัว ในเขตกรุง เทพ และสวนใหญเปนการจางงานเปนรูป แบบของการจา งงาน
ในระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีการจางงานทั้งสิ้น 722,336 คน


กระจายตัวตามกลุมอายุ 25 – 40 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 19,014 บาทตอเดือนขึ้นไป โดยมีคามัธยฐาน
ของรายไดประมาณ 10,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางรัฐบาล รองลงมาเปนลูกจาง
เอกชน และมี อาชีพผูประกอบอาชีพวิ ชาชีพตาง ๆ รองลงมาเปนจาหนาที่เทคนิค ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษา
ในระดับ มัธยมศึกษา ปริญญาตรีขึ้นไป การจางงานกระจายตัวทั่วประเทศ แตมีจํานวนมากในพื้นที่จังหวัดใหญ ๆ
ที่เปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบเกือบทั้งหมด

คณะผูวิจัยไดประเมินการจางงานโดยใชขอมูลผูมีงานทํารายจังหวัดแบบ Panel เพื่อสรางตัวแบบเศรษฐมิติ


เพื่อหาปจ จั ยกํ าหนดจํานวนผูมีงานทําในแตละอุตสาหกรรม และมีการประเมิน ไปขางหนาดว ยการตั้งสมมติฐ าน
รูปแบบ 1) ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัด (Gross Provincial Product; GPP) เพิ่มขึ้นรอยละ 5 จะสงผลอยางไรตอจํานวน
ผูมีงานทํา และหากมีการเพิ่มขึ้นปละรอยละ 5 เปนเวลา 5 ป จะสงผลกระทบตอผูมีงานทําอยางไร แนวโนมของ
การจางงานในอุตสาหกรรมเปาหมายที่ประเมินไดอาจมีขอจํากัดบางประการโดยขึ้นกับขอมูลเริ่มตนซึ่งคือการจําแนก
กิจ กรรมทางเศรษฐกิจ ที่ยัง คงมีการรวมอุตสาหกรรมดั้ง เดิม ไวอ ยูดว ย จากการประเมินโดยใชฐานการประมาณ
จากการสํารวจ LFS ผลเปนตามตาราง ในสดมภที่ 2 ซึ่งจะสอดคลองกับการประมาณผูมีงานทําในแตละอุตสาหกรรม
ในบทที่ 4 และการประมาณดว ยตัว แบบเชิงพื้น ที่จ ะแสดงในสดมภ ที่ 3 กรณีของการเติมโตของ GPP รอ ยละ 5
แสดงในสดมภที่ 4 กรณีของการเติมโตของ GPP รอยละ 5 ตอเนื่องเปนเวลา 5 ป แสดงในสดมภที่ 5 และสดมภที่ 6
และ 7 เป น จํ านวนผูมีงานทํา ที่ตองเพิ่ มขึ้น (หรือ ลดลง) จากกรณีที่เ พิ่มรอ ยละ 5 และรอยละ 5 เปน เวลา 5 ป
โดยผลการประมาณนี้ยังคงมีขอจํากัดและอาจไมสอดคลองกับขอมูลเชิงคุณภาพในดานการปรับโครงสรางอุตสาหกรรม
แบบกาวกระโดด เพราะจํานวนการจางงานที่คํานวณไดจะขึ้นกับตัวแปรตนที่กําหนดไวในตัวแบบ และจํานวนผูมีงาน
ทําที่เปนฐานเริ่มตน และ GPP ของแตละจังหวัด
จากผลการประมาณการ พบวา การเพิ่มขึ้นของ GPP จะสงผลกระทบในระดับสูงตออุตสาหกรรมยานยนต
สมัยใหม อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร และอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-8
บทสรุป-8 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

มากที่สุดเปน 3 ลําดับแรก สําหรับอุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบนอยที่สุดจากการเปลี่ยนแปลงนี้ คือ อุตสาหกรรม


หุนยนต (เปลี่ยนในทิศทางที่จํานวนผูมีงานทําลดลง) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส และอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
ชีวภาพและเคมีชีวภาพ อยางไรก็ตามในทางปฏิบัติเมื่อมีอุตสาหกรรมใหมเกิดขึ้นจะมีผูมีงานทําจากอุตสาหกรรมเดิม
ที่ถูกทดแทนโดยอุตสาหกรรมใหม สงผลตอการจางงานทางตรง ซึ่งจะมีการเคลื่อนยายระหวางกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
เชน การยายภายในหวงโซการผลิต หรือมีการยายออกจากอุตสาหกรรมไปสูอุตสาหกรรมใหม หรือมีการออกจาก
การจ า งงานโดยนายจ า งไปสู ง านอิ ส ระ ในขณะที่ แ รงงานที่ ส ามารถพั ฒ นาทั ก ษะความสามารถก็ อ าจจะอยู ใ น
อุ ตสาหกรรมเดิม และมีการตอยอดไปสูอุตสาหกรรมใหมได ทั้งนี้การเคลื่อนยายแรงงานจะยังมีภาพไมปรากฎชัด
จากการมี น โยบายประเทศไทย 4.0 แตส ถานการณ ก ารทดแทนแรงงานด ว ยหุ น ยนต และเครื่ อ งจั ก รอั ต โนมั ติ
เปนสถานการณที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีซึ่งเปนปจจัยภายนอกที่เปนกระแสของโลก และมีการนําระบบ
ปญญาประดิษฐเขามาทํางานวิเคราะหทดแทนคน ซึ่งทําใหรูปแบบของอาชีพมีการเปลี่ยนแปลงไป

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-9
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-9
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การประมาณความตองการแรงงานจากตัวแบบเชิงพื้นที่
GPP ตองการ ตองการ
ประมาณ ตัวแบบเชิง GPP เติบโต 5% แรงงานเพิ่ม แรงงานเพิ่ม
อุตสาหกรรม จาก LFS พื้นที่ เติบโต 5% ระยะ 5 ป (กรณี 5%) (กรณี 5% 5 ป)
27,870 153,998
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 555,528 573,658 583,398 709,526 (5.02) (5.54)
9,593 53,010
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 401,477 410,291 411,070 454,487 (2.39) (2.64)
อุตสาหกรรมการท่องเที�ยวกลุม่ รายได้ ดี 128,260 708,714
และการท่องเที�ยวเชิงสุขภาพ 3,253,426 3,322,803 3,381,686 3,962,140 (3.94) (4.36)
อุตสาหกรรมการเกษตรและ 262,193 1,448,802
เทคโนโลยีชีวภาพ 12,673,907 12,934,776 12,936,100 14,122,709 (2.07) (2.29)
43,627 241,072
อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 1,509,545 1,583,012 1,553,172 1,750,617 (2.89) (3.19)
- 53 - 291
อุตสาหกรรมหุนยนต 5,199 5,550 5,146 4,908 (-1.02) (-1.12)
225 1,243
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 1,168,319 1,204,029 1,168,544 1,169,562 (0.02) (0.02)
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมี 225 1,243
ชีวภาพ 55,140 53,067 55,365 56,383 (0.41) (0.45)
629 3,477
อุตสาหกรรมดิจิทัล 180,283 168,227 180,912 183,760 (0.35) (0.39)
34,846 192,547
อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 722,336 747,806 757,182 914,883 (4.82) (5.33)
507,415 2,803,815
รวม 10 อุตสาหกรรม 20,525,160 21,003,219 21,032,575 23,328,975 (2.47) (2.73)

ที่มา ประมาณโดยคณะผูวิจัย
หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บบันทัดที่สองในสองสดมภสุดทาย เปนอัตราการเพิ่มขึ้น (หรือลดลง กรณีติดลบ) ของจํานวน
ผูมีงานทํา (ตอป)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-10

บทสรุป-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บทสรุปและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
ก. การศึกษาและการพัฒนาฝมือแรงงานยุค 4.0
การปรั บ ตั ว แรงงานเข า สู ยุ ค การขั บ เคลื่ อ นด ว ยนวั ต กรรมและเทคโนโลยี หรื อ ที่ เ รี ย กว า “แรงงาน
ยุค 4.0” มีรากฐานที่สําคัญ คือ การพัฒนาระบบการศึกษา (Education system) ที่สามารถตอบสนองตลาดแรงงาน
ที่ เ น น การทํ า งานร ว มกั น ระหว า งแรงงานมนุ ษ ย กั บ เทคโนโลยี โดยการเรีย นการสอนตั้ ง แต ร ะดั บ สามั ญ ศึ ก ษา
อาชีวศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษานั้น ควรพัฒนาจากการเรียนการสอนที่ในอดีตเนนการศึกษาเฉพาะดานใดดานหนึ่ง
สู ก ารเรี ย นรู ในลัก ษณะของทัก ษะที่ห ลากหลาย อาทิ ทัก ษะในเรื่องของภาษา การบริห ารจัดการทํางานรว มกับ
เทคโนโลยี เพื่ อ ให เ กิ ด ความพร อ มจากการทํ า งานในลั ก ษณะของความชํ า นาญที่ เ ป น รู ป แบบการทํ า งานซ้ํ า เดิม
เพียงอยางเดียว สูการหมุนเวียนหนาที่การทํางาน (From Routine to Rotation Model) ที่ตองการความสามารถใน
การทํางานที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น (Multi-Tasking) หรือการปรับเปลี่ยนจากผูปฏิบัติการ (Operator) ในสายการผลิต
หนึ่ง สูการเปนผูควบคุม (Controller) การเดินเครื่องจักรแบบอัตโนมัติไดครั้งละหลายสายการผลิต หรือเครื่องจักร
แบบ PLC (Programmable Logic Controller) ที่ใชการควบคุมผานระบบ RFID (Radio frequency identification)
หรือ IOT (Internet of Thing) ก็ตาม
แนวทางที่ สํ า คัญ คือ การเน น การเรีย นการสอนที่ ป รับ จากในอดีต ที่ เ น น ภาคทฤษฎี เ ปน หลัก สู ลัก ษณะ
ภาคปฏิ บัติก ารทํางานรว มกับ สมองกล (AI) และเครื่องจักรที่ทัน สมัย มากขึ้น หรือที่เรียกวา “Hybrid Working”
โดยการเพิ่มความสําคัญของหลักสูตรสหกิจศึกษายังสถานประกอบการของผูประกอบการเอกชน และหนวยงานตาง ๆ
เพิ่ ม มากขึ้ น กว า ในอดี ต เพื่ อ ให เ ป น แรงงานที่ ผู ป ระกอบการพึ ง ประสงค พร อ มที่ จ ะทํ า งานร ว มกั บ เครื่ อ งจั ก ร
และเทคโนโลยี ท่ี เ ปลี่ ย นไปสู ยุ ค ดิ จิ ต อลได ทั น ที โดยหลั ก สู ต รและการฝ ก งานเป น การทํ า งานร ว มกั น ระหว า ง
สถาบันการศึกษาและภาคเอกชนเพื่อใหเกิดการถายทอดองคความรูและตอบสนองตอความตองการของภาคธุร กิจ
ไดอยางแทจริง
ตัวอยางชัดเจน ไดแก การทํางานของพนักงานประจํารานคาสะดวกซื้อสมัยใหม ซึ่งในอดีต พนักงานหนึ่งคน
จะเนนการทํางานเฉพาะดานใดดานหนึ่ง เชน พนักงานแคชเชียรที่สามารถทําไดเฉพาะงานดานการเงินเพียงอยางเดียว
เทานั้น แตในปจจุบัน พนักงานประจํารานคาสะดวกซื้อตองสามารถทําไดทั้งงานแคชเชียร การนับสต็อก การจัดเรียง
สิ นคา การจั ดเตรียมเครื่องดื่ม และอาหารรวมกับอุปกรณและเทคโนโลยีสมัยใหม หรือแมแตการสนทนากับ ลูกคา
ตางประเทศดวยภาษาจีนและภาษาอังกฤษเปนพื้นฐาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-11

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-11


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

โครงสร า งในภาพด า นล า งเป น รู ป แบบของการพั ฒ นาฝ มื อ ของแรงงานในอนาคตโดยมี ร ากฐาน


มาจากสถานศึกษาที่ตองเนนสหกิจ ศึกษาและการเปลี่ย นรูป แบบการเรียนการสอนเชิง ทฤษฎีสู Hybrid Working
ตามที่เสนอมากอนหนา และการพัฒนาทักษะแรงงานที่มีการจําแนกตามประเภทการทํางาน ดังนี้
แรงงานในระดับปฏิบัติการเปนแรงงานที่อยูในสายงานการปฏิ บัติการโดยตรงหรือ กลุม “Blue Collar”
ซึ่งนอกเหนือจากความสามารถที่ตองทํางานไดหลายหนาที่ ในแตละหนาที่ยังตองมีความรูเชิงลึกที่จะปฏิบัติงานรวมกับ
เครื่องจักรผานระบบควบคุมอัตโนมัติ และทักษะที่สําคัญตอการทํางาน คือ ทักษะในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นหนางาน
หรือทักษะการแกไขปญหาเฉพาะหนา ในขณะที่แรงงานในสายบริหารจัดการ หรือ “White Collar” จําเปนตองมี
ทักษะของการมี ความยืดหยุน ทางความคิด (Cognitive flexibility) มีความรอบรูในหลากหลายดานเพื่อ นํา มาใช
ในการวิเคราะหสถานการณและวางแผนตาง ๆ ที่เฉียบคม สามารถทําการวิเคราะหและสั่งการรวมกับสมองกล (AI)
พัฒนาทักษะสูการบริหารเชิงวิจัยและพัฒนามากขึ้น และมีทักษะที่สําคัญ คือ ทักษะดานภาษามากกวาสองภาษาขึ้นไป
เพื่อเพิ่มความสามารถการสื่อสารทั้งกับบุคคลและอุปกรณเทคโนโลยีในยุคดิจิตอลไรพรมแดนมากขึ้น

แนวคิดของการพัฒนาฝมือแรงงาน 4.0

“ นวัตกรรมและเทคโนโลยีจะมีผลเขามาทดแทนตอแรงงาน
... ในอุตสาหกรรมใดเร็วชาแคไหน หลักสูตรพัฒนาผูบริหารยังมีความจําเปน
.... ขึ้นกับตนทุนของนวัตกรรมและเทคโนโลยีนั้นเปนสําคั ญ ”  ทักษะเฉพาะทาง ขั้นต่ําตามกฎหมายกําหนด
 เสริ ม สรางความเป น Leadership และ Decision Making
Executive Development ซึ่ง AI ไมสามารถทําไดในปจจุบัน
พัฒนาทักษะใหมีความหลากหลายมากขึ้น : ตองการผูบริหารที่ AI ไมสามารถทดแทนได
 cognitive flexibility มีความรูที่ใชในการ พัฒนาทักษะเชิงลึกมากขึ้น :
วิเคราะหหลายดาน  มีความรูในเชิงลึก สามารถแกไขปญหาหนางานไดดีขึ้น
White Collar Blue Collar
 Multi-Language Analytic Skill  จากพนักงานปฏิบัติ สูพนักงานควบคุม ทํางานรวมกั บ
 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห ทํางานรวมกับ ปริญญาจะไมเปนตัวกําหนดอีกตอไป ... ประสบการณและ Robot และระบบ Automation
AI ไดดี ความสามารถจะกําหนดผลตอบแทนมากขึ้น
 ปรับตัวสูการเปน R&D ปรับหลักสูตรการศึกษา :
 จากภาคทฤษฎี สูทักษะการทํางาน
เนนสหกิจ ศึกษามากขึ้น : จาก Education System แบบ Hybrid Workers ทํางาน
ตําราในหองเรียน สูการเรี ยนรูทํางาน รวมกับหุนยนตและสมองกลมากขึ้น
จริงในสถานประกอบการ ระบบการศึกษาที่สอดคลองกับตลาดแรงงาน  กา รเ รี ย นรู ใ น ลั ก ษณ ะ Multi-Skill
เพื่อใหสามารถทํางานในลักษณะ Multi
การปรับตัวแรงงานเขาสูยุค Labour 4.0 Tasking

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-12
บทสรุป-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในระดับผูบริหารระดับสูงขององคกรเปนอีกหนึ่งตําแหนงที่มีโอกาสถูกทดแทนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
โดยที่หลักสูตรการพัฒนาผูบริหารยังคงมีความจําเปน โดยเฉพาะการพัฒนาองคความรูเพื่อใหผูบริหารระดับสูงสามารถ
ผานการรับรองขั้นต่ําตามที่กฎหมายกําหนด ซึ่งขึ้นกับประเภทของความจําเปนในแตละธุรกิจและสาขาอุตสาหกรรม
ตัวอยางเชน ผูจัดการสนามบินแตละแหงจะตองผานการทดสอบใบรับรองการเปนผูจัดการสนามบินสาธารณะ เปนตน
และผู บ ริ ห ารระดับ สู งจํ าเปน ตอ งมี ทัก ษะและประสบการณซึ่งสมองกล (AI) ไมส ามารถทดแทนได อาทิ ทัก ษะ
ดานภาวะผูนํา และการตัดสินใจในภาวะวิกฤติ
ทั้ งนี้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) ไดรับ การพัฒ นาเพื่อ ใชทดแทนในงานที่ทํา ในลักษณะซ้ํา ๆ
แบบเดิม หรือที่เรียกวา “Pattern” เปนหลัก ซึ่งสมองกลจะจดจําและจําแนกออกเปนหลายรูปแบบได (Machine
Learning: ML) ดังนั้น แรงงานที่อ ยู ในตํา แหนง หรือ มีบ ทบาทในการทํา งานในลัก ษณะเดิ ม อาทิ พนัก งานบั ญ ชี
พนั ก งานคอลเซ็น เตอร พนัก งานคลั ง สิน ค า หรื อ อาจารย ผู ส อนรายวิ ช าในลั ก ษณะเดิ ม จะเป น กลุ ม ที่ มี โ อกาส
ที่จะถูกทดแทนไดโดยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) ไดในระยะสั้น
สํ า หรั บ แรงงานกลุ ม อื่ น ๆ ที่ อ ยู ใ น 10 กลุ ม อุ ต สาหกรรม S-Curve ยั ง คงมี โ อกาสที่ ที่ จ ะถู ก ทดแทน
โดยนวั ต กรรมและเทคโนโลยี ส มองกล (AI) โดยขึ้ น กั บ ต น ทุ น ของนวั ต กรรมและเทคโนโลยี แ ละประสิ ท ธิ ภ าพ
เชิง เปรีย บเทีย บกั บ แรงงาน และข อ จํ า กั ด หรื อ ข อ กฎหมายที่ ใช อ ยู ใ นป จ จุ บั น อาทิ ในอุ ต สาหกรรมการแพทย
ที่มีขอจํากัดดานกฎหมายที่ยังไมอนุญาตใหแพทยทําการรักษาคนไขเต็มรูปแบบผานชองทางออนไลน จะทําไดเพียง
การวินิจฉัยเบื้องตนรวมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) ที่วิเคราะหจากประวัติการรักษาเดิมเทานั้น ทําให
แรงงานกลุมดังกลาวยังไมนาจะถูกทดแทนในระยะสั้น เปนตน
อย างไรก็ตาม ชว งเวลาที่ แรงงานกลุมดังกลาวยังไมถูกทดแทนโดยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI)
มี แ นวโน มจะสั้ นลงกวา ที่เคยคาดหมาย เนื่องมาจากแรงกดดันจากสภาวะแวดลอ มภายนอก จากสภาวะอากาศ
และสิ่ ง แวดล อ มที่ เ ปลี่ ย นแปลง (Climate change) อั น ส ง ผลกระทบต อ การดํ า รงอยู ข องมนุ ษ ย ร วดเร็ ว กว า
ที่คาดการณ รวมถึงรูปแบบอุตสาหกรรมดั้งเดิมที่ซึ่งถูกเรงใหเกิดการทดแทนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม
โดยสิ้นเชิง (Disruptive) โดยมีตนทุนในการผลิตเทคโนโลยีที่ลดลงอยางรวดเร็ว เชน อุตสาหกรรมการผลิตรถยนตที่ใช
น้ํามันเปนเชื้อเพลิงกําลังจะไดรับการทดแทนดวยรถยนตไฟฟาหรือ EV หรือแมกระทั่งในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง อยาง
โรงไฟฟาในปจจุบันที่ใชการผลิตจากเชื้อเพลิงถานหินเปนหลักที่กําลังถูกทดแทนการผลิตดวยพลังงานจากธรรมชาติ
ตาง ๆ เชน จากชีวมวล แสงอาทิตย และพลังงานลม โดยอุตสาหกรรมรูปแบบใหมดังกลาวสามารถดําเนินธุรกิจ ได

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-13

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-13


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

โดยใชแรงงานนอยมาก มีตนทุนดานเทคโนโลยีและการประกอบการที่ถูกลงมาก และประสิทธิภาพที่ดีขึ้น เทคโนโลยีก็


จะถูกนํามาใชเพิ่มมากขึ้นและทดแทนแรงงานในอนาคต
ข. ระบบสนับสนุนและสภาพแวดลอม
การพั ฒ นาแรงงานในให มี อ งค ค วามรู แ ละมี ทั ก ษะตามที่ ส ถานประกอบการต อ งการต อ งมี ร ะบบ
การสนับสนุนที่ชัดเจนมีสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและแรงงาน ซึ่งประกอบดวย ฐานขอมูล
การมีระบบเงินที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาทักษะแรงงาน และกระบวนการพัฒนาทักษะแรงงานรวมกัน
- การมี ฐ านข อ มู ล ที่ ส ามารถระบุ ค วามต อ งการแรงงานในแต ล ะอุ ต สาหกรรม โดยเป น ฐานข อ มู ล
ที่มีความทันสมัย มีความเชื่อมโยงในหลายๆหนวยงานเพื่อใหเกิดการบูรณาการและแลกเปลี่ยนขอมูลดานแรงงาน
เพื่ อ ใช ใ นการวางแผนและบริห ารจั ด การได อ ย า งเป น ระบบ ทั้ ง นี้ ข อ มู ล ควรมี ลั ก ษณะของการกระจายตั ว ตาม
อุตสาหกรรม พื้นที่ การศึกษา และลักษณะอื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอมาตรการหรือนโยบายเพื่อการพัฒนาแรงงาน
ในอนาคต ตั ว อย า งเช น การใช ข อ มู ล จากการศึ ก ษาเพื่ อ ระบุ ถึ ง อายุ แ ละประเภทแรงงาน (ในหรื อ นอกระบบ)
ในรายอุตสาหกรรมเพื่อใชระบุแ นวทางการพัฒนาทักษะ รูปแบบที่ใชเพื่อการพัฒ นาทักษะที่แตกตางกันระหว า ง
แรงงานในระบบการจางงานที่มีนายจาง และนอกระบบการจางงานที่มนี ายจาง รวมถึงการประเมินตามชวงอายุเพื่อให
เห็นสภาพของการทดแทนแรงงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
- การมีระบบการเงินที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาทักษะแรงงาน ซึ่งโดยปกติแรงงานในกลุมที่มีนายจางจะ
ไดรับการพั ฒ นาทั กษะแรงงานผา นกระบวนการฝกอบรมขององคกร ในขณะที่ก ารเพิ่มทัก ษะแรงงานกลุมที่ไมมี
นายจางตองมีการทําดวยตนเอง สงผลใหพัฒนาทักษะของกลุมแรงงานนอกระบบมีความไมตอเนื่องและไมเปนระบบ
ดังนั้น การที่ภาครัฐเขามาออกแบบกลไกในการพัฒนาทักษะแรงงานเพื่อใหตอยอดไปยังอุตสาหกรรม 4.0 ในบางสาขา
อุตสาหกรรม จึงมีความจําเปนที่ตองมีกลไกทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดสภาพแวดลอมของการพัฒนาทักษะ
เชน การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาทักษะแรงงานที่เปนงานนอกระบบ (ไมมีนายจาง) และเปนการรวมจัดทํากองทุน
ที่มีการสรางสูตรการจายสมทบระหวางนายจาง ลูกจาง ภาครัฐ ในการพัฒนาทักษะของแรงงานเพื่ออุตสาหกรรม 4.0
เปนตน
- ภาครั ฐ ตองมีม าตรการสนับ สนุนให สถาบัน การเงินใหป ลอยเงินกูแ กส ถานประกอบการและแรงงาน
ที่ตองการนําไปใช เพื่ อการปรับปรุงการผลิ ตให รองรับ กับ อุตสาหกรรม 4.0 และการพัฒนาทักษะใหสอดคลอ งกับ
อุตสาหกรรม 4.0 โดยอาจเปนเงินกูดอกเบี้ยต่ํา และมีการประเมินติดตามผล
- ภาครัฐตองสงเสริมใหมีระบบโครงสรางการดําเนินการรวมกันระหวางนายจาง ลูกจางในการรวมกันพัฒนา
ทักษะแรงงาน โดยผานระบบแรงงานสัมพันธ โดยตองเปนกระบวนการเพื่อใหนายจางและลูกจางมีกระบวนการ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-14
บทสรุป-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ออกแบบรูปแบบของการพัฒนาทักษะที่สอดคลองกับกระบวนการผลิตของสถานประกอบการ ภายใตความสามารถ
ทางการเงินของสถานประกอบการ
ค. บทบาทของกระทรวงแรงงาน
กระทรวงแรงงานเปนหนวยงานที่มีความเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออมตอการพัฒนาทักษะของแรงงาน
เพื่ อรองรั บ กั บ การพัฒ นาตามแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 โดยกระทรวงแรงงานมีบ ทบาทในการเชื่อ มโยงระหวาง
ผู ป ระกอบการและแรงงานในการยกระดับ ความสามารถของตนเอง ดังนั้นตามภารกิจ ของหนว ยงานอาจมี ก าร
ดําเนินการตามนี้
- กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน เป น หน ว ยงานสนั บ สนุ น และอํ า นวยความสะดวกเพื่ อ ให ก ารดํ า เนิ น การ
ด า นการพั ฒ นาทัก ษะแรงงานเป น ไปอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยกรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานต อ งมี ก ารปรั บ หลัก สูตร
การพัฒนาทักษะฝมื อแรงงานใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยเปนการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ
ภาคเอกชน (รวมถึงสมาคมวิชาชีพตาง ๆ) และภาคแรงงาน
- รู ป แบบของการสนั บ สนุ น ภาคเอกชนที่ เ หมาะสม เช น อาจใช ร ะบบร ว มลงทุ น กั บ ภาคเอกชน
ในการออกแบบการพั ฒ นาทั ก ษะแรงงาน รู ป แบบของการพั ฒ นาทั ก ษะแรงงานในอนาคตตอ งมี ลั ก ษณะเป น
Demand driven โดยใหเอกชนมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาทักษะแรงงานใหมากที่สุด
- กรมการจัดหางาน ควรพัฒนาระบบการจัดหางานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 ทั้งในดานอาชีพ ประเภท
งาน รูปแบบงานใหม ๆ และการใหความรูแกครูแ นะแนว เด็ก เยาวชนที่เกี่ยวของกับ ประเภทงานใหม ๆ ภายใต
อุตสาหกรรม 4.0
- การพัฒ นาระบบการประมาณการความตองการแรงงานในอุต สาหกรรมตา ง ๆ โดยคํานึงถึงมิติข อง
อุตสาหกรรม อาชีพ ประเภทงาน พื้นที่ และการจางงานแรงงานตางดาว เพื่อใหเปนขอมูลพื้นฐานในการวิเคราะห
วางแผน ติดตามประเมินผล ที่เกี่ยวของกับการจางงานในอุตสาหกรรม 4.0 และเตรียมแผนความพรอมเพื่อการรองรับ
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
- กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ควรประเมินถึงแนวทางในการดําเนินการดานแรงงานสัมพันธรูปแบบ
ตาง ๆ ที่เหมาะสมตอการพัฒนาอุตสาหกรรม และประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในดานความสัมพันธระหวางนายจาง
และลูกจางอันเปนผลที่จะเกิดการปรับเปลี่ยนสูอุตสาหกรรม 4.0 เชน กรณีของการเกิดขอพิพาทดานแรงงาน ปญหา
ดานแรงงาน การเลิกจาง เปนตน รวมถึงประเมินและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
- สํานักงานประกันสังคม ตองมีการพัฒนาระบบการประกันสังคมเพื่อรองรับ การจางงานภายใตเงื่อนไข
ของอุตสาหกรรม 4.0 รวมถึงการออกแบบสิทธิประโยชนใหสอดคลองกับการจางงานสมัยใหม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-15
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บทสรุป-15
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย
รายงานศึกษาวิจัยทิศในยุ คอุตสาหกรรม
ทางการจ 4.0
างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

- สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน เปนหนวยงานที่ประสานและดําเนินการดานนโยบาย รวมถึงการศึกษา


ขอมูลทิ ศทางของการจ างงานในภาพรวม การพัฒนาระบบฐานขอมูลดานแรงงานโดยเฉพาะในอุตสาหกรรม 4.0
แบบครบวงจรและเปนการวิเคราะหจากฐานขอมูลใหญ (Big Data) และบูรณาการแลกเปลี่ยนขอมูลภายในกระทรวง
และภายนอกกระทรวง รวมถึงการเปนหนวยงานสําคัญในการวางแผนกําลังคนรวมกับหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
เชน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม
สภาอุ ต สาหกรรมแหง ประเทศไทย สภาหอการคา แหงประเทศไทย เปน ตน เพื่อใหเ กิดการทํางานรว มกัน อย า ง
บูรณาการของภาครัฐและเอกชน
ง. บทบาทของภาครัฐ
- ภาครัฐตองมีการกําหนดทิศทางและนโยบายของอุตสาหกรรม 4.0 โดยเฉพาะแนวทางในการเปลี่ยนแปลง
ประเทศ (Transformation) สู อุ ต สาหกรรม 4.0 อย า งชั ด เจน รวมถึ ง แนวทางของการให สิ ท ธิ ป ระโยชน
แกผูประกอบการในการปรับเปลี่ยนสูอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อเปนทิศทางสําคัญและสรางความมั่นใจใหกับภาคเอกชน
ในการตัดสินใจทางธุรกิจ ซึ่งจะมีผลตอแนวทางการจางงานและคุณลักษณะแรงงานที่ตองการของภาคเอกชน
- ภาครัฐตองประเมินถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ การจางงานในอุตสาหกรรม 4.0 ในมิติตาง ๆ รวมถึง
ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในระบบการจางงานของประเทศ เพื่อเตรียมการและหามาตรการบริหารความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
และพิจารณาถึงกลุมแรงงานที่ไมสามารถพัฒนาทักษะและความรู สูอุตสาหกรรม 4.0 ได วาจะมีวิธีการรองรับอยางไร
รวมถึงการที่ภาครัฐตองสรางความรูความเขาใจและทัศนคติท่ีถูกตองตอการปรับเปลี่ยนประเทศสูอุตสาหกรรม 4.0
ใหกับทุกกลุมเปาหมาย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
บทสรุป-16
บทสรุป-16 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิรายงานศึ
จัยทิศทางการจ้
กษาวิจัยางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม
ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุค4.0
อุตสาหกรรม 4.0

Executive Summary

The Cabinet's resolution on the 30th June 2015 approved the formulation of a 20- year
national strategy to drive Thailand’ s development toward stability, prosperity, and sustainability by
cultivating inner strength. Following the philosophy of Sufficiency Economy through civil state
mechanism, the goals are to increase competitiveness, to create sustainable economic growth which
will enable Thailand to become a high-income country, and to reduce income inequality and improve
the standard of living.

Thailand’s economic development started with “Industry 1.0” focusing mainly on the agricultural
sector, which was then followed by the development of light industries, or “Industry 2.0”. Currently,
Thailand is in the state of “Industry 3.0”, which is characterized by the growth of heavy industries,
however, Thailand now struggles with being trapped as a middle-income country and faces income
inequality, which prevents accelerated economic development. The government is, therefore,
implementing “Thailand 4.0” or the “Industry 4.0” revolution policy to reform the country's
economic structure by focusing on three changes which are; (1) shifting from commodity products to
innovative products, (2) moving from an industrial-driven economy towards an economy driven by
technology, creativity and innovation, (3) focusing more on high value-added sectors, such as the
service sector rather than the manufacturing sector. The “Thailand 4.0” revolution will have a vast
impact in many spheres as it aims to indirectly force low-skilled workers to acquire skill sets to
become high-skilled workers, as they need to be prepared to utilize modern technology and satisfy
the increasing demand for high-skilled workers. This will prepare the industry to support a new form
of production that emphasizes the application of modern technology and machinery.
The main objectives of this study are; (1) to study and analyze Thailand's industrial and
employment structure from the 1st to the 11th National Economic and Social Development Plan, (2)
to study and analyze the development of Industry 4.0 in Thailand together with the 20-year national
strategic framework (B.E. 2560 - 2579), (3) to study and analyze the employment trends, labour
demand and to develop guidelines for skilled-labour development to correspond with the labour

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-1

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-1


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

demand of the “Industry 4.0” era, and (4) to give policy recommendations on the production and
labour development plans in accordance with the needs of the future labour market under the
“Industry 4.0”.
The method of this study is an integrated approach including literature reviews of related
documents, such as Thailand’s National Economic and Social Development plans industrial
development policies and labour skill development under “Industry 4.0” in 5 selected countries. In
addition, in-depth interviews and brainstorming sessions with government organizations, academia,
and entrepreneurs from the 10 targeted industries have also been conducted. An econometric model
is used to estimate the employment trend.

The 20-years Thailand 4.0 Industrial Development Strategy


Thailand’s Industry 4.0 can be divided into 3 groups as follows:
The first S - curve is an upgrading of 5 existing industries with higher technology and innovation,
which are including next-generation cars, smart electronics, food processing, high-income group tourism,
as well as agriculture and biotechnology.
The new S - curve includes 5 potential industries of the future, including robotics, aviation,
medical hub, digital, biofuel and biochemistry.
The second wave S - curve is a group of industries that requires new reform in order to grow
and survive the threat of disruptive technology. These sectors include leather products, lumber,
cement, petrochemicals and plastics, textiles and garments, gems and jewelry, glass, metal, ceramics,
etc.

The development of “Industry 4.0” requires high-skilled workers who can work under the
new form of technological intensive production. Industries and educational institutions must
cooperate to prepare workers to meet the needs of the future labour market. In addition, there must
be a structural adjustment and government policies in place to promote investment from foreign
entrepreneurs and to create an incentive for knowledge and technology transfer. The government
must systematically build an eco-system that supports the transition into “Industry 4.0”.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-2
summary-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Industrial groups according to Thailand 4.0 Development Strategy


(B.E. 2560 - 2579)

Upgrading 5 existing
Aviation industries by investing in high
potential industries to
increase input efficiency.
Bio-fuel
Medical
Digital
5 future industries.
Changing product designs and
technologies to drive economy
Petrochemicals
lumber
leather and plastic Automobile Intelligent
cement Electronic
Processed Industries where revolution is
textiles metal
Glass Tourism foods needed in order to generate
Ag & Bio-tech growth under future
gems technologies.
ceramic

Source: Thailand’s Industry 4.0 Development Strategy (B.E. 2560 - 2579)

Industry 4.0 in other countries.


The “Industry 4.0” platform was first conceptualized in Germany in 2010. It is the concept of
the industrial revolution by using 3 technological innovations: automation, internet of things, and
artificial intelligence. Different countries have implemented this concept in various ways to achieve
the country’s objectives. While the United States use advanced production technology to increase
the competitiveness of the country, the United Kingdom aims to double the proportion of industrial
production in GDP by establishing Catapult centers, which are organizations to promote research and
development through business-led collaboration between scientists and engineers to exploit market
opportunities. China has implemented the Made in China 2025 policy in order to strengthen the
country’s production by using digital technology and to promote 10 new modern industries. Japan
aims to significantly increase the use of robots and the productivity in service industries by 2020.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-3
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

South Korea has a Manufacturing Innovation 3.0 policy that aims to create new technology production
environment and encourages the development of smart factories. For France, there is an Industry of
the Future policy which supports the development of specific products such as efficient cars, electric
aircraft, etc.

Concept of Industry 4.0 in various countries

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-4
summary-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

For Thailand, the main objectives are to create additional value and to build the country's
competitiveness. Therefore, Thailand should adopt the development model of Germany, Japan, USA,
and China. The secondary objective is for internal and risk management which is similar to Germany,
Japan, South Korea, and China. However, Thailand also aims to create an environment for innovation
by encouraging the development of innovation through Start-Up businesses.

Employment Trends
Based on the third quarter Labour Force Survey from 2012-2017, employment data is
classified into 10 targeted industries using current Thailand Standard Industrial Classification (TSIC)
industry code (please note that classification of industry standard codes may change in the future to
be more suitable for new targeted industries). We found that as of the third quarter of 2017,
approximately 39,578,344 people are employed and 20,525,160 people or 51.86 percent are in the
10 targeted industries. Considering the 10 targeted industries, the petrochemical and chemical
industry has the largest increase in employment (an average of 25 percent per year), followed by the
food processing industry (an average of 5.71 percent per year) and the aviation and logistics industry
(an average of 4.28 percent per year). The top three industries with the highest declining employment
rate are agriculture and biotechnology (decreased on average by 4.86 percent per year), followed by
the digital industry (decreased by 1.53 percent per year and the intelligent electronics industry
(decreased by 0.78 percent per year). The average salary is approximately 13,878 baht per month.
The industry with the highest average salary is the digital industry (average of 29,224 baht per month),
followed by the biofuel and bio-chemical industry (average of 25,393 baht per month), and the
medical hub industry (average of 19,014 baht per month). Industries with average salaries lower than
the national average are: high-income tourism and health tourism (average of 11,570 baht per month),
the food processing industry (average of 10,581 baht per month), and the agriculture and
biotechnology industry (average of 6,186 baht per month).

Employment in the next-generation automotive industry: in the third quarter of 2017,


the total employment figure is 555,528 people with age concentrated within the range of 25 to 40

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-5
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-5
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

years. Average compensation is approximately 14,788 baht per month while the median income is
approximately 12,000 baht per month. Private employees with careers in operating factory machinery
make up most of the employment, followed by a group of skilled craftsmen. Most workers hold a
high school diploma or a vocational degree. Employment in this industry is concentrated in the
Bangkok metropolitan region and in eastern Thailand. A higher proportion of workers are employed
in the formal sector.

Employment in the smart electronics industry: in the third quarter of 2017, the total
employment figure is 401,477 people with age concentrated within the range of 23 to 35 years.
Average compensation is approximately 14,408 baht per month while the median income is
approximately 12,000 baht per month. Private employees with careers in operating factory machinery
make up most of the employment, followed by technician. Most workers hold a high school diploma,
a vocational degree or a bachelor’s degree. Employment in this industry is concentrated in the
Bangkok metropolitan region, Nakhon Ratcha srima, and industrial estates located in Lumphum and
Prachinburi. A higher proportion of workers are employed in the formal sector.

Employment in high-income group tourism and medical tourism: in the third quarter of
2017, the total employment is 3,253,426 people. Average compensation is approximately 11,570
baht per month while the median income is approximately 9,100 baht per month. Business owners
(without employees) make up most of the employment, followed by private employees with careers
as service workers. Most workers hold a high school diploma or less. Employment in this industry is
concentrated in provinces with tourist destinations. A higher proportion of workers are employed in
the formal sector especially those with an age ranging from 15 – 25 years. However, those with age
above 25 are largely employed in the informal sector.

Employment in the agricultural and bio-technology industry: in the third quarter of 2017,
the total employment figure is 12,673,907 people with age concentrated above 40 years. Average
compensation is approximately 6,186 baht per month while the median income is approximately

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-6
summary-6 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

5,500 baht per month. Business owners (without employees) make up most of the employment,
followed by self-employed workers (without pay) in agriculture and fishery. Most workers hold a high
school diploma or less. Employment in this industry concentrates in the provinces with tourist
destinations. A higher proportion of workers are employed in the formal sector especially those with
an age ranging from 15 – 25 years. However, those with age above 25 are largely employed in the
informal sector.

Employment in the food processing industry: in the third quarter of 2017, the total
employment figure is 1,509,545 people with age concentrated around 23 - 40 years. Average
compensation is about 10,581 baht per month while the median income is approximately 8,370 baht
per month. Most employment occurs in the private sector by private employees followed by self-
employed workers (without pay). Employment in this industry scatters across the country. Most
workers hold primary school diploma. A higher proportion of workers are employed in the formal
sector. However, these are employed in the informal sector.

Employment in the robotic industry: in the third quarter of 2017, the total employment is
5,199 people. (Due to data limitations, no further analysis can be done)

Employment in the aviation and logistic industry: in the third quarter of 2017, the total
employment figure is 1,168,319 people across all age ranges. The average compensation is about
17,274 baht per month while the median income is approximately 13,000 baht per month. Private
employees make up most of the employment, followed by self-employed workers. Most workers
hold a high school diploma. Employment in this industry scatters across the country. A higher
proportion of workers are employed in the formal sector. However, those with age above 55 are
largely employed in the informal sector.

Employment in the biofuel and biotechnology industry: in the third quarter of 2017, the
total employment figure is 55,140 people with age concentrated around 25 - 40 years. Average

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-7

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-7


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

compensation is about 25,393 baht per month while the median income is approximately 18,000
baht per month. Private employees make up most of the employment, followed by self-employed
workers with a career in factory operation or technician. Most workers hold a high school diploma
and a bachelor’s degree. A higher proportion of workers are employed in the formal sector.
Employment in this industry concentrates in Bangkok metropolitan region and eastern Thailand.
Almost all workers are employed in the formal sector.

Employment in the digital industry: in the third quarter of 2017, the total employment
figure is 180,283 people with age concentrated around 25 – 35 years. Average compensation is about
29,224 baht per month while the median income is approximately 23,000 baht per month. Private
employees make up most of the employment, followed by technician. Most workers hold a high
school diploma, bachelor’s degree and master’s degree. A higher proportion of workers are
employed in the formal sector. Employment in this industry concentrates in Bangkok.

Employment in the medical hub industry: in the third quarter of 2017, the total
employment figure is 722,336 people with age concentrated around 25 – 40 years. Average
compensation is about 19,014 baht per month while the median income is approximately 10,000
baht per month. Most of the employment are government officers, followed by private employees.
Most workers hold high school diploma or above. Employment in this industry concentrates in big
cities. Most of the workers are employed in the formal sector.

We predict employment trends in each targeted industry using an econometrics model


estimated from panel data. Please note that the model is estimated based on the current industry’s
structure which may not reflect the true structure of future industries. Two scenarios of employment
trend are simulated (1) GPP increases by 5% for one year to capture a short-term trend and (2) GPP
increases at 5% annually for five consecutive years to capture a medium-term trend.
The predicted employment results are shown in the table below. The first column represents
estimated current employment based on Labour Force Survey (LFS) while the second column
represents current employment predicted from regression model. The third and the forth column

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-8
summary-8 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

show the predicted future employment under the two scenarios mentioned above. The last two
columns show the employment trends.
The top three industries with the highest increase in employment are modern automobile,
medical hub, and high-income group and wellness tourism respectively. On the other hand, robotics,
aviation and logistics, and biofuel and bio-chemical industries have the lowest increase in
employment.
However, when a new industry arises, changes in the production chain cause labour migration
between the old and new industries. If workers are unable to develop new skills, they might be
unemployed. it is necessary to leave employment to work independently. However, when new
industries arise, changes in the production chain will cause labour migration between industries or
out of the industries if workers are unable to develop new skills. Although the labour migration
between industries is still unpredictable due to the lack of data and clear Industry 4.0 policy, it is
certain that more labour will be replaced by cheaper innovation and technology.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-9

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-9


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Employment
Estimated Employment trend
Estimated current Predicted Predicted trend if GPP
current employment employment employment if GPP growth is
employment (predicted if GPP if GPP growth growth is 5%
(grouping from growth by is 5% 5% for 5 years
form LFS) regression) 5% for 5 years
Industry (1) (2) (3) (4) (3)-(1) (4)-(1)
27,870 153,998
Next generation automobile 555,528 573,658 583,398 709,526 (5.02) (5.54)
9,593 53,010
Smart Electronics 401,477 410,291 411,070 454,487 (2.39) (2.64)
High-income tourism and heath 128,260 708,714
tourism 3,253,426 3,322,803 3,381,686 3,962,140 (3.94) (4.36)
262,193 1,448,802
Agriculture and Bio-Technology 12,673,907 12,934,776 12,936,100 14,122,709 (2.07) (2.29)
43,627 241,072
Foods processing 1,509,545 1,583,012 1,553,172 1,750,617 (2.89) (3.19)
- 53 - 291
Robotics 5,199 5,550 5,146 4,908 (-1.02) (-1.12)
225 1,243
Aviation and logistics 1,168,319 1,204,029 1,168,544 1,169,562 (0.02) (0.02)
225 1,243
Bio-fuels and Bio-Chemistry 55,140 53,067 55,365 56,383 (0.41) (0.45)
629 3,477
Digital 180,283 168,227 180,912 183,760 (0.35) (0.39)
34,846 192,547
Medical Hub 722,336 747,806 757,182 914,883 (4.82) (5.33)
507,415 2,803,815
Total 20,525,160 21,003,219 21,032,575 23,328,975 (2.47) (2.73)
Source: Estimated by researchers
Note: numbers in parenthesis are the annual growth rates

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-10

summary-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Conclusions and policy recommendations


A. Education and labour 4.0 skill development
An improvement in the education system is essential in preparing labour for the future economy
driven by innovation and technology. Education from vocational level to higher education level must
be changed from developing specialization in a specific field to building up a variety of skills such as
languages, and the use of technology in operations and management. Workers must be able to
multitask to support the “from routine to rotation” model. In addition, workers must have an ability
to work with artificial intelligence, to control modern technology and the internet of things. These
“hybrid working” skills can be developed through practical courses and internships collaborated by
educational institutions and private firms in order to fit the industry’s needs. For example, a well-
known modern convenience store has its own teaching institute to produce workers capable of
multitasking. Each worker can work on various jobs such as cashiering, counting stock, shelfing
products, and preparing drinks and foods. In addition, they can communicate with foreign customers
in Chinese and English.
The diagram below shows the future of labour skill development that should prepare labour
for hybrid working. Educational institutions should be focusing more on practical courses and
internships. Skill development can be classified by type of work as follows:
"Blue collar" or workers at the operational level must have in-depth knowledge to work with
machines through automatic control systems and should be able to solve unexpected problems at
the job site.
“White collar” or workers at the management level must be cognitively flexible and well-
rounded in order to analyze problems and plan solutions. They should have an ability to work with
artificial intelligence.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-11

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-11


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Labour 4.0 development concept


Training for executives
““How fast innovation
นวัตกรรมและเทคโนโลยี จะมีand
ผลเขาtechnology
มาทดแทนตอแรงงาน  Specific skill, or minimum requirement
replaces labour depends on
... ในอุตสาหกรรมใดเร็ วชาthe
แคไหนcost of หลั กสูregulations.
ตรพัฒนาผูบริหารยังมีความจําเปน
.... ขึ้นกับตนทุtechnology
นของนวัตกรรมและเทคโนโลยี  ทั กษะเฉพาะทาง ขั้นต่ําตามกฎหมายกําหนด
adoption” นั้นเปนสําคัญ ”  เสริLeadership
ม สรางความเปand Decision-making
น Leadership skillsMaking
และ Decision that AI
Executive Development ซึ่งcannot do าไดในปจจุบัน
AI ไมสามารถทํ
พัฒนาทักษะให Necessary skills
มีความหลากหลายมากขึ ้น : ตองการผู บริหารที
Executive ่ AI ไม
worker withสามารถทดแทนได
skill that
 Cognitive flexibilityมีความรูที่ใชในการ
cognitive flexibility cannot be replaced by AI พัฒนาทักษะเชิงลึกNecessary
มากขึ้น : skills
วิ เคราะห ห ลายด าน
 Multi-Language analytical skill  มีproblem
ความรูในเชิงsolving
White Collar Blue Collar ลึก สามารถแกไขปญหาหนางานไดดีขึ้น
 Multi-Language Analytic Skill  จากพนั กงานปฏิ บัติ สูพนักงานควบคุม ทํางานรวมกั บ
 Analytical skill toเคราะห
work ทํwith
างานรAIวมกับ ปริDegree
ญญาจะไม เปนตัวguarantee
กําหนดอีกตhigher
อไป ...earnings
ประสบการณ  Ability to work with AI and Automation
พัฒนาทักษะในการวิ cannot but และ Robot และระบบ Automation
 Research
AI ไดดี and development skill ความสามารถจะกํ าหนดผลตอบแทนมากขึ
ability and experiences can. ้น
 ปรับตัวสูการเปน R&D ปรับหลักสูตรการศึ กษา : revision
Curriculum
 จากภาคทฤษฎี สูทักษะการทํางาน
Education System แบบ ToHybrid
train Workers
“hybridทําworkers” who can work
เน นสหกิจ ศึกon
Emphasize ษามากขึ ้น : จาก
internship Education
should produce graduates to
System งาน
ตําราในห รwith
วมกับหุAIนยนตและสมองกลมากขึ้น
in อthe
งเรียindustries
น สูการเรี ยนรูทํางาน
ระบบการศึกษาที่สอดคลองกับตลาดแรงงาน  กาMulti-skill
รเ รี ย นรู ใ นlearning
ลั ก ษณ ะ and
Multi-Skill
จริงในสถานประกอบการ meet the industries’ demand multi-tasking
เพื่อใหสามารถทํางานในลักษณะ Multi
การปรั บตัadaptation
Labour วแรงงานเขunder
าสูยุคThailand
Labour4.04.0 Tasking

High-level executives of an organization are at risk of being replaced by technology and


innovation. Therefore, executive development courses are necessary, especially the development of
knowledge that is required by law in order to get a certification for operation. For example, an airport
manager must obtain a certificate of public airport management. Leadership and crisis management
skills are also essential.
Innovation and artificial intelligence (AI) has been developed to replace repetitive work that
machines can do by recognizing and making decisions (Machine Learning: ML). Therefore, repetitive
workers, such as accountants, call center workers, warehouse staff are very likely to be replaced by
machine within the near future.
The risk that workers in the S-Curve industry will be substituted by technology will depend
on the cost of technology, worker productivity, and the industry’s regulations. For example, the law
does not allow doctors to perform long-distance robotic surgery on patients. Such groups of workers
are not likely to be replaced in the near future.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-12
summary-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

However, labour-replacement by technology has been accelerated by disruptive technology due to


a fast reduction of technology cost. For example, the rapid growth of the electrical vehicle industry
is the result of cheaper batteries. Coal-fired power plants have been replaced with renewable
energy sources such as solar and wind. These new industries tend to be less labour-intensive due to
lower technology costs and the better production of technology.

B. Supporting Ecosystem
Effective labour skill development requires a clear supporting ecosystem including a labour
database, financial support, and collaborative actions. The labour database should enable policy
makers to identify the demand for labour in each industry. To effectively plan and manage manpower
systematically, related agencies should prepare to integrate necessary data in various dimensions to
capture the heterogeneity of industry, occupation, region, worker type, and age. This will enable
policy makers to identify not only the total demand for labour in each industry but also the
characteristics of labour such as occupation, type of work, and required skills. The future labour
market structure can be predicted based on the database and long-term manpower management
plans can be effectively designed accordingly.
Skill development is essential for upgrading workers for Industry 4.0. Therefore, it is
necessary to have a financial mechanism to support skill development training. There should be an
establishment of a labour skill development fund that should be contributed to by employers,
employees and the government. This fund can be used to support training for both informal and
formal employment.
The government must encourage financial institutions to provide soft loans with which
enterprises can invest in projects or labour skill development that supports the expansion of Industry
4.0.
The government should promote a joint operation structure between employers and
employees to jointly develop labour skills through the labour relations system. This will allow

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-13

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-13


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

employers and employees to customize skills development that are in line with the firm's production
process and financial ability.
C. Role of Ministry of Labour
The Ministry of Labour relates directly and indirectly to the development of labour skills to
support Industry 4.0. The Ministry must play an important role to link entrepreneurs and workers, to
upgrade their abilities. The missions of various agencies are as follows:
The Department of Skill Development should support and facilitate skill development
training. New training courses should be designed by the collaboration of private sectors including
various professional associations to ensure the effectiveness of labour skill development that best
fits the needs of future labour market.
The Department of Employment should improve the job recruitment system and database
to support new jobs and occupations under Industry 4.0. Guidance teachers and young children
should be informed about the careers in those industries. To provide information for planning,
monitoring, and evaluation, labour demand estimation system should be developed in various
dimensions to capture the heterogeneity of industry, occupation, region, worker type, etc.
The Social Security Office must develop a social security system to support employment
under Industry 4 . 0 , including the design of a benefits package that is in line with new forms of
employment.
The Office of the Permanent Secretary is a unit that coordinates and implements labour
related policies and is also involved in studying the overall direction of employment. An Integrated
labour database for Industry 4.0 must be established and exchanged among related agencies. Based
on these data, relevant agencies such as the Ministry of Education, the Ministry of Industry, The
Federation of Thai Industries, etc. can collaboratively work on a skill development program and
manpower plan for Industry 4.0.
D. The role of the government
To transform Thailand into “Industry 4.0”, the Thai government must have clear directions
and policies including a supportive environment in which to create confidence for the private sector

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-14
summary-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

to make business decisions in that will affect the employment trend and the labour characteristics
required by the private sectors.
In addition, the government sector must assess the risks and impacts of industry 4.0 that
will arise in the labour market and prepare the risk management measures. Furthermore, measures
for workers who are unable to develop new knowledge and the required skills must be prepared.
The government sector should create understanding and a positive attitude towards changing the
country to Industry 4.0 for all target groups.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
summary-15
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ summary-15
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญ
หนา
บทสรุปสําหรับผูบริหาร
Executive Summary
บทที่ 1 บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล 1-1
1.2 วัตถุประสงค 1-2
1.3 ขอบเขตการดําเนินงาน 1-3
1.3.1 ศึกษาขอมูลปฐมภูมิ 1-3
1.3.2 ศึกษาขอมูลทุตยิ ภูมิ 1-3
1.4 วิธีการศึกษา 1-4
1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1-5
บทที่ 2 วรรณกรรมปริทัศน
2.1 การทบทวนยุทธศาสตรประเทศระยะ 20 ป 2-1
2.2 แผนการปฏิรูปประเทศ 2-18
2.3 สรุปสาระสําคัญและแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของแผนพัฒนา 2-30
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1-10
2.3.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 - 10 2-30
(2504 - 2554)
2.3.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (2555-2559) 2-45
2.3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564) 2-55
2.3.4 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตลอดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ 2-73
สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-12
2.3.5 แรงงานในยุค Thailand 4.0 2-77
2.3.6 ความสอดคลองของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 กับการผลิตแรงงานที่พึง 2-79
ประสงคในยุค Thailand 4.0
2.4 แนวความคิดของอุตสาหกรรม 4.0 2-82
2.5 แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม แนมโนมการจางงาน และแนวทางการพัฒนา 2-89
ทักษะฝมือในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ของตางประเทศ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญ
หนา
2.5.1 ประเทศเยอรมนี 2-89
2.5.2 ประเทศฝรั่งเศส 2-97
2.5.3 ประเทศญี่ปุน 2-105
2.5.4 ประเทศเกาหลีใต 2-113
2.5.5 ประเทศสิงคโปร 2-120
2.5.6 ประเทศมาเลเซีย 2-124
บทที่ 3 กรอบแนวคิดของการศึกษาและวิธกี ารศึกษา
3.1 การกําหนดนิยาม กรอบแนวความคิดของการศึกษา 3-1
3.2 การศึกษาโดยเอกสาร 3-2
3.3 การคัดเลือกกลุมอุตสาหกรรมและผูใหสัมภาษณ 3-3
3.4 การศึกษาโดยการสัมภาษณ 3-4
3.5 การประมวลขอมูลและนําเสนอผลการศึกษา 3-13
บทที่ 4 ประเภทอุตสาหกรรม และสถานการณการจางงาน
4.1 ขอมูลการมีงานทําจําแนกรายอุตสาหกรรม (กิจกรรมทางเศรษฐกิจ) 4-1
4.2 การจัดนิยามหมวดหมูอุตสาหกรรมเพื่อรองรับอุตสาหกรรมใหม 4-10
4.3 การศึกษาการตอยอดอุตสาหกรรม 4.0 4-41
ภาคผนวกทายบทที่ 4 4-44
บทที่ 5 ผลการศึกษา บทวิเคราะห
5.1 สถานการณการจางงานในอุตสาหกรรมเปาหมาย 5-1
5.2 สถานการณรายอุตสาหกรรม 5-4
5.2.1 อุตสาหกรรมรถยนตแหงอนาคต 5-4
5.2.2 อุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติ 5-8
5.2.3 อุตสาหกรรมทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 5-11
5.2.4 อุตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 5-16
5.2.5 อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 5-18
5.3 สรุปบทเรียนที่สาํ คัญของตางประเทศในการเปลี่ยนแปลงสูอุตสาหกรรมใหม 5-21
5.4 ขอเสนอแนะจากการประชุมกลุมยอย 5-26

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญ
หนา
5.5 บทสรุปและขอเสนอเชิงนโยบาย 5-27

บรรณานุกรม
ภาคผนวก ภาคผนวก ก สรุปการสัมภาษณหนวยงานที่เกี่ยวของ
ภาคผนวก ข สรุปการสัมภาษณ หนวยงานภาคเอกชน
ภาคผนวก ค สรุปผลการประชุมกลุมยอย
ภาคผนวก ง สรุปการจัดประชุมเผยแพรผลงานวิจัยและรับฟงความคิดเห็น
ภาคผนวก จ การประมาณตัวแบบเชิงพื้นที่

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญตาราง
หนา
บทที่ 2 วรรณกรรมปริทัศน
ตารางที่ 2.1 ยุทธศาสตร เปาหมาย และตัวชี้วัด ของรางยุทธศาสตรชาติ 2-3
ตารางที่ 2.2 สรุปสาระสําคัญของกลุมอุตสาหกรรม 2-22
ตารางที่ 2.3 สรุปสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2-32
ตารางที่ 2.4 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม 2-49
ตารางที่ 2.5 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต 2-51
อยางยั่งยืน
ตารางที่ 2.6 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหาร 2-52
และพลังงาน
ตารางที่ 2.7 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมี 2-53
คุณภาพและยั่งยืน
ตารางที่ 2.8 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค 2-54
เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
ตารางที่ 2.9 เปาหมายและตัวชี้วัดยุทธศาสตรท่ี 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย 2-58
ตารางที่ 2.10 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรท่ี 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุน 2-60
มนุษย
ตารางที่ 2.11 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความเปนธรรมและลดความ 2-63
เหลื่อมล้ําในสังคม
ตารางที่ 2.12 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและ 2-65
แขงขันไดอยางยั่งยืน
ตารางที่ 2.13 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกัน 2-67
การทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
ตารางที่ 2.14 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 7 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโล 2-69
จิสติกส
ตารางที่ 2.15 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย 2-70
และนวัตกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 2.16 แนวทางการพั ฒ นาภายใต ยุ ท ธศาสตร ที่ 10 ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ 2-72
เพื่อการพัฒนา
ตารางที่ 2.17 กรอบยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ ระยะ 20 ป 2-78
(พ.ศ. 2560 – 2579)
ตารางที่ 2.18 โครงการฝกอบรมเพื่อเตรียมความพรอมบุคลากรสูการปฏิวตั ิอุตสาหกรรม 4.0 2-119

บทที่ 3 กรอบแนวคิดของการศึกษาและวิธกี ารศึกษา


ตารางที่ 3.1 รายชื่อหนวยงาน สมาคม บุคคล ที่ดําเนินการสัมภาษณเชิงลึก 3-5
ตารางที่ 3.2 ตารางการทํางานและภาระงานของนักวิจัยหลัก 3-15

บทที่ 4 ประเภทอุตสาหกรรม และสถานการณการจางงาน


ตารางที่ 4.1 จํานวนผูมงี านทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 4-2
พ.ศ.2560 (หนวย พันคน)
ตารางที่ 4.2 จํานวนผูมงี านทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 4-4
พ.ศ.2555 (หนวย พันคน)
ตารางที่ 4.3 จํานวนผูมงี านทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 4-6
พ.ศ.2550 (หนวย พันคน
ตารางที่ 4.4 จํานวนผูมงี านทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 4-8
พ.ศ.2545 (หนวย พันคน)
ตารางที่ 4.5 จํานวนการจางงานรายอุตสาหกรรมใหม ตามการจําแนกรหัสของ 4-15
กรมการจัดหางานไตรมาส 3 ป 2555 – 2560
ตารางที่ 4.6 คาตอบแทนตอเดือนของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม 4-16
ตารางที่ 4.7 สถานภาพการทํางานของผูทํางานใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย 4-17
ตารางที่ 4.8 อาชีพของของผูทํางานใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย 4-18
ตารางที่ 4.9 การศึกษาของผูมีงานทําใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย 4-19
ตารางที่ 4.10 อุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติมตามขอแนะนําของการศึกษาในอดีต 4-41

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 4.11 การจําแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม 4-44

บทที่ 5 ผลการศึกษา บทวิเคราะห


ตารางที่ 5.1 การประมาณความตองการแรงงานจากตัวแบบเชิงพื้นที่ 5-3
ตารางที่ 5.2 แนวทางการพัฒ นาบุ ค ลากรด า นการท อ งเที่ ย วตามแผนพั ฒนาการท อ งเที่ ย ว 5-15
แหงชาติฉบับที่ 2

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญภาพ
หนา
บทที่ 2 วรรณกรรมปริทัศน
ภาพที่ 2.1 การวางแผนพัฒนาประเทศ ระหวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2-30
ฉบับที่ 1-10
ภาพที่ 2.2 การขยายทุนของประเทศ จากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สูฉบับที่ 11 2-45
ภาพที่ 2.3 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 2-73
ฉบับที่ 1-12
ภาพที่ 2.4 ความสอดคลองของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 กับการผลิตแรงงานที่พึงประสงค 2-81
ในยุค Thailand 4.0
ภาพที่ 2.5 แสดงประเภทของอุตสาหกรรมในแตละยุค 2-84
ภาพที่ 2.6 กรอบแนวคิดของอุตสาหกรรม 4.0 และดิจิตัลเทคโนโลยี 2-85
ภาพที่ 2.7 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายตามยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 2-86
ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)
ภาพที่ 2.8 การจัดกลุมอุตสาหกรรมเพื่อเปนอุตสาหกรรมแหงอนาคตตามยุทธศาสตรการ 2-88
พัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)
ภาพที่ 2.9 แผนภาพแสดงรายละเอียดโครงสรางการกําหนดนโยบายสําหรับโครงการ I40 2-92
ภาพที่ 2.10 The Five Pillars of the Industry of the future 2-99
ภาพที่ 2.11 แนวทางการพัฒนาฝมือของบุคลากรในองคกรทั้งระบบเพื่อเตรียมความพรอม 2-112
สูอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 2.12 แนวคิดของการเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ของแตละประเทศ 2-128


ภาพที่ 2.13 รูปแบบและเหตุผลในการเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ของแตละประเทศ 2-130

บทที่ 3 กรอบแนวคิดของการศึกษาและวิธกี ารศึกษา


ภาพที่ 3.1 กรอบภาพรวมของการศึกษา 3-14

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สารบัญภาพ
หนา
บทที่ 4 ประเภทอุตสาหกรรม และสถานการณการจางงาน
ภาพที่ 4-1 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมยานยนต 4-21
สมัยใหม
ภาพที่ 4-2 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส 4-23
อัจฉริยะ
ภาพที่ 4-3 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการทองเที่ยว 4-25
กลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
ภาพที่ 4-4 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการเกษตรและ 4-27
เทคโนโลยีชีวภาพ
ภาพที่ 4-5 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการแปรรูป 4-29
อาหาร
ภาพที่ 4-6 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมหุนยนต 4-31
ภาพที่ 4-7 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการบิ นและ 4-33
โลจิสติกส
ภาพที่ 4-8 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ 4-35
และเคมีชีวภาพ
ภาพที่ 4-9 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมดิจิทัล 4-37
ภาพที่ 4-10 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการแพทยครบ 4-39
วงจร

บทที่ 5 ผลการศึกษา บทวิเคราะห


ภาพที่ 5.1 ผังยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต 5-6
ภาพที่ 5.2 แผนที่เขตพัฒนาการทองเที่ยวเมืองตองหาม….พลาดและเมืองชายแดน 5-16

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บทที่ 1
บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล
มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เห็นชอบใหมีการจัดทํายุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป
เพื่อใชในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสูความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ดวยการสรางความเขมแข็งจากภายใน
และมีการขั บเคลื่อนตามแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพีย งโดยผานกลไกประชารัฐ ซึ่งความมั่งคั่ง หมายถึง การที่
ประเทศไทยมี การขยายตัวของเศรษฐกิจ อยางตอเนื่องและยั่งยืน เขา สูกลุมประเทศที่มีรายไดสูง (High income
country) มีความเหลื่อมล้ําของการพัฒนาลดลง ประชาชนอยูดีมีสุข ไดรับผลประโยชนจากการพัฒนาอยางเทาเทียม
มากขึ้ น เศรษฐกิจในประเทศมีความเขม แข็ ง มีความสามารถในการแขงขันสูง สามารถสรางรายไดทั้งจากภายใน
และภายนอกประเทศ และมีทุนที่จะสามารถสรางการพัฒนาอยางตอเนื่อง
ประเทศไทยไดมี ก ารพั ฒ นาเศรษฐกิ จ อย า งต อ เนื่อ งตั้ ง แตยุ คอุ ต สาหกรรม 1.0 ที่ เ นน ภาคเกษตร
ยุคอุตสาหกรรม 2.0 ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเบา และปจจุบันคือยุคอุตสาหกรรม 3.0 ที่เนนอุตสาหกรรมหนัก
อยางไรก็ดี ภายใตอุตสาหกรรม 3.0 ประเทศไทยยังติดอยูในกับดักประเทศรายไดปานกลาง โดยในชวง 50 ปที่ผานมา
ในชวงระยะแรก (พ.ศ. 2500 – 2536) เศรษฐกิจไทยมีอัตราการเติบโตอยางตอเนื่องอยูที่รอยละ 7 - 8 ตอป แตในชวง
ระยะถั ดมา (พ.ศ. 2537 – ปจ จุบัน) เศรษฐกิจ ไทยเริ่มมีอัต ราการเติบ โตเพีย งรอยละ 3 - 4 เทา นั้น นอกจากนั้น
ในยุคอุตสาหกรรม 3.0 ประเทศไทยยังตองเผชิญกับดักความเหลื่อมล้ํา ประเทศไทยไมสามารถกาวไปสูการพัฒ นา
ในระดับที่สูงขึ้นอยางกาวกระโดดได สภาพการพัฒนาดังกลาวเปนประเด็นที่ทําใหรัฐบาลตองมีนโยบายในการปฏิรูป
โครงสรางเศรษฐกิจของประเทศไปเพื่อนําไปสูประเทศที่มีรายไดสูง ดวยการนําพาประเทศกาวขามจากอุตสาหกรรม
3.0 ไปสูยุ คอุ ตสาหกรรม 4.0 หรือยุ คที่เศรษฐกิจ ขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการดําเนินการเพื่อให
เกิดผลดังกลาวมีเปาหมายดําเนินการภายในระยะเวลา 3 - 5 ป โดยมุงเนนขับเคลื่อนใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางนอย
ใน 3 มิติสําคัญ คือ (1) เปลี่ยนจากการผลิตสินคาโภคภัณฑไปสูสินคาเชิงนวัตกรรม (2) เปลี่ยนจากการขับเคลื่อน
ประเทศดวยภาคอุตสาหกรรมไปสูการขับเคลื่อนดวยเทคโนโลยี ความคิดสรางสรรค และนวัตกรรม (3) เปลี่ยนจาก
การเนนภาคการผลิตสินคาไปสูการเนนภาคการบริการมากขึ้น
ดังนั้น อุตสาหกรรม 4.0 จึงเปน เรื่องของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ่งจะมีผลกระทบกับปจจัยหลาย
ประการ รวมถึงดานแรงงานที่จะตองเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่ําไปสูแรงงานที่มีความรู ความเชี่ยวชาญ และมี ทักษะที่
สู ง ขึ้ น โดยต อ งมี ก ารเตรี ย มความพร อ มของแรงงานให มี ค วามสามารถด า นเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย มี ทั ก ษะฝ มื อ
ตามความตองการของตลาดแรงงาน และมีองคความรูใหมเพื่อรองรับการผลิตรูปแบบใหม ๆ ที่เนนการประยุกตใช

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1-1
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1-1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เทคโนโลยีและเครื่องจักรสมัยใหมมากกวาการผลิตโดยใชแรงงานคน ซึ่งกระทรวงแรงงานในฐานะองคกรที่รับผิดชอบ
ดานการบริหารจัดการแรงงานของประเทศ ไดตระหนักถึงความสําคัญของการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งเพื่อ
ตอบสนองยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป (พ.ศ.2560 – 2579) ที่ มุ ง เน น การใช น วั ต กรรมเพื่ อ ยกระดั บ ศั ก ยภาพของ
ภาคอุตสาหกรรมใหแขงขันไดบนฐานเทคโนโลยีขั้นกาวหนา และตอบสนองตอแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในยุทธศาสตรท่ี 3 คือ การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน
ที่เนนการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายที่มีศักยภาพในปจจุบัน รวมทั้งกําหนดอุตสาหกรรมอนาคตใหสามารถใชโอกาส
การปรับตัวเขาสูยุคอุตสาหกรรม 4.0 ที่ขับเคลือ่ นโดยเทคโนโลยีเขมขน ดิจิทัล และนวัตกรรม เพื่อยกระดับการพัฒนา
เศรษฐกิ จ ของประเทศ กระทรวงแรงงานจึ ง เห็ น ควรให มี ก ารศึ ก ษาทิ ศทางการจ า งงานของประเทศไทยในยุ ค
อุตสาหกรรม 4.0 เพื่อจะไดมีขอมูลเกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม และความตองการแรงงานในทักษะตาง ๆ
เพื่ อจะได นํา มาใชป ระโยชนในการวางแผนการผลิตและพัฒนากําลัง แรงงานใหสอดคลอ งกับ ทิศทางการจางงาน
ของประเทศในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ตอไป

1.2 วัตถุประสงค
1. เพื่ อ ศึก ษา วิ เ คราะห ระบบอุ ต สาหกรรมและการจ า งงานของประเทศไทย ตั้ ง แต แ ผนพั ฒ นา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ถึง ฉบับที่ 11
2. เพื่อศึกษา วิเคราะหแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ในประเทศไทย ภายใตกรอบยุทธศาสตร
ชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579)
3. เพื่อศึกษา วิเคราะห ทิศทางและแนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนา
ทักษะฝมือแรงงาน ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ภายใตกรอบยุทธศาสตร
ชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 – 2579)
4. เพื่อจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบายในการวางแผนการผลิตและพัฒนากําลังแรงงาน ใหสอดคลองกับ
ทิศทาง แนวโนมการจางงาน และความตองการของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1-2
1-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.3.1. ศึกษาขอมูลปฐมภูมิ
1. สัมภาษณเชิงลึกผูประกอบการ/ผูบริหาร ของสถานประกอบการในกลุม 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย
ไมนอ ยกว า 5 อุ ต สาหกรรม จํ า นวนตั ว อย า งไม นอ ยกว า 30 แห ง เพื่ อ ทราบข อ มู ล เกี่ ย วกั บ แนวทางการพั ฒ นา
อุตสาหกรรม ทิศทางและแนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน
ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
2. สั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึ ก ผู บ ริ ห าร ขององค ก รภาครั ฐ และภาคเอกชน และนั ก วิ ช าการที่ มี ค วามรู
และประสบการณเกี่ยวกับอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อทราบความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ทิศทาง
และแนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานใหสอดคลองกับ ความ
ตองการของตลาดแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
3. จัดการประชุม Focus groups เพื่อรับ ฟง ความคิดเห็นจากกลุมนัก วิช าการ ผูแ ทนองคกรภาครัฐ
ภาคเอกชน และผูแทนองคกรลูกจางจํานวน 1 ครั้ง มีผูเขารวมประชุมจํานวนไมนอยกวา 30 คน
4. จัดประชุมเพื่อนําเสนอผลการศึกษา และรับฟงความคิดเห็นจากทุกภาคสวน 1 ครั้ง มีผูเขารวมประชุม
จํานวนไมนอยกวา 100 คน
1.3.2. ศึกษาขอมูลทุติยภูมิ
1. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม แนวโนมการจางงาน และแนวทางการพัฒนา
ทักษะฝมือในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ของตางประเทศ อยางนอย 5 ประเทศ
2. ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับระบบอุตสาหกรรมและการจางงานของประเทศไทย ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ถึง ฉบับที่ 11
3. ศึก ษาข อ มู ล ประเภทอุ ตสาหกรรมของประเทศไทยในป จ จุ บั น โดยแบ ง เป น อุ ต สาหกรรม 1.0
อุตสาหกรรม 2.0 อุตสาหกรรม 3.0 และอุตสาหกรรม 4.0
4. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับทิศทาง แนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนา
ทักษะฝมือแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1-3
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1-3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.4 วิธีการศึกษา
1. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม แนวโนมการจางงาน และแนวทางการพัฒนา
ทักษะฝมือแรงงานในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ของตางประเทศอยางนอย 5 ประเทศ
2. ศึก ษาเอกสารที่เกี่ย วกับ ระบบอุตสาหกรรมและการจา งงานของประเทศไทย ตั้งแตแผนพั ฒ นา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ถึง ฉบับที่ 11
3. ศึกษาทิศทาง แนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน
ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
4. ขอมูลประเภทอุตสาหกรรมของประเทศไทยในปจจุบัน โดยแบงเปน อุตสาหกรรม 1.0 อุตสาหกรรม
2.0 อุตสาหกรรม 3.0 และอุตสาหกรรม 4.0
5. วิเคราะหสรุปผลการศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี/การทบทวนวรรณกรรม และเอกสารที่เกี่ยวของ
6. จัดทํารายงานสรุปผลการศึกษา
7. สัมภาษณเชิงลึกผูประกอบการ/ผูบริหาร ของสถานประกอบการในกลุม 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย
เพื่อทราบขอมูลเกี่ ยวกับ แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ทิศทางและแนวโนมการจางงาน ความตองการแรงงาน
และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
8. สั ม ภาษณ เ ชิ ง ลึก ผู บ ริ ห าร ขององค ก รภาครั ฐ และภาคเอกชน และนั ก วิ ช าการ ที่ มี ค วามรู แ ละ
ประสบการณเกี่ยวกับอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อทราบขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ทิศทางและแนวโนม
การจ างงาน ความตอ งการแรงงาน และแนวทางการพัฒ นาทั ก ษะฝ มือ แรงงาน ให สอดคล องกั บ ความต อ งการ
ของตลาดแรงงาน ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
9. วิเคราะหแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ทิศทางและแนวโนมการจางงานความตองการแรงงานและ
แนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานในยุคอุตสาหกรรม 4.0
10. จัดทํารายงานสรุปผลการศึกษา
11. จัดการประชุม Focus groups เพื่อรับ ฟงความคิดเห็นจากกลุมนักวิชาการ ผูแทนองคกรภาครัฐ
ภาคเอกชน และผูแทนองคกรลูกจางจํานวน 1 ครั้งมีผูเขารวมประชุมจํานวนไมนอยกวา 30 คน
12. จัดทํารายงานสรุปผลการศึกษา
13. จัดประชุมเพื่ อนํ าเสนอผลการศึกษา และรับ ฟงความคิดเห็นจากทุกภาคสวน 1 ครั้ง มีผูเขารวม
ประชุมจํานวนไมนอยกวา 100 คน
14. สรุปผลการศึกษา นําเสนอเปนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1-4
1-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. มีข อ มู ล เกี่ ย วกั บ ทิศ ทางและแนวโน ม การจ า งงาน และความต อ งการแรงงานของประเทศไทย
ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 – 2579)
2. มีขอมูลเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานที่สอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน
ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ.2560 – 2579)
3. มีขอมูลประกอบการกําหนดนโยบายการวางแผนการผลิตและพัฒนากําลังแรงงานใหสอดคลองกับ
ทิศทาง แนวโนมการจางงาน และความตองการแรงงานของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1-5
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 1-5
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1-6 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บทที่ 2
วรรณกรรมปริทัศน
2.1 การทบทวนยุทธศาสตรประเทศ ระยะ 20 ป
จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตั้งแตฉบับที่ 1 เปนตนมา ประเทศไทยไดมีแผนระยะ 5 ป
มาจนถึงปจจุบัน รวมเปนระยะเวลาเกือบ 60 ปที่มีการใชแผนเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จนมาถึงแผนฉบับที่ 12
ซึ่งในบางชว งเวลามีปจจัยทางเศรษฐกิจ จากภายนอกประเทศและปจจัยในประเทศที่ทําใหแผนมีความไมตอเนื่อ ง
ไมไดมีการมุงเปาระยะยาวในลักษณะของการเปนยุทธศาสตรของประเทศ จนกระทั่งรัฐบาลซึ่งนําโดยนายกรัฐมนตรี
พลเอกประยุท ธ จันทรโอชา จัดทํายุทธศาสตรของประเทศระยะยาวผานกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน
ซึ่งในการจัดทํายุทธศาสตรประเทศมีวัตถุประสงคที่จะแกปญหาจากการพัฒนาที่ผานมาขางตน และตองการขับเคลื่อน
ใหประเทศไปสูประเทศที่พัฒนาแลว มีรายไดสูง และมีการพัฒนาอยางทั่วถึง โดยมีวิสัยทัศน คือ “ประเทศไทยมีความ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” โดยไดใหคํานิยาม
ดังนี้
ความมั่ น คง หมายถึ ง การมี ค วามมั่ นคงปลอดภั ย จากภั ย และการเปลี่ ย นแปลงทั้ งภายในประเทศ
และภายนอกประเทศในทุกระดับ ทั้งระดับ ประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และปจเจกบุคคล และมีความมั่นคง
ในทุ กมิ ติ ทั้ งมิ ติทางการทหาร เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอ ม และการเมือง เชน ประเทศมีความมั่น คงในเอกราช
และอธิ ป ไตย มี ก ารปกครองระบบประชาธิป ไตยที่ มี พ ระมหากษั ต ริ ย ท รงเป น พระประมุ ข สถาบั น ชาติ ศาสนา
พระมหากษั ตริย มีความเขมแข็งเปนศูนย กลางและเปน ที่ยึ ดเหนี่ยวจิตใจของประชาชน มีระบบการเมือ งที่ มั่น คง
เป น กลไกที่ น า ไปสู ก ารบริ ห ารประเทศที่ ต อ เนื่ อ งและโปร ง ใสตามหลั ก ธรรมาภิ บ าล สั ง คมมี ค วามปรองดอง
และความสามัคคี สามารถผนึกกํ าลังเพื่อพั ฒนาประเทศ ชุมชนมีความเขมแข็ง ครอบครัวมีความอบอุน ประชาชน
มีความมั่น คงในชีวิต มีงานและรายไดที่มั่นคงพอเพี ยงกับ การดํารงชีวิต มีการออมสําหรับ วัยเกษี ยณ ความมั่นคง
ของอาหาร พลังงาน และน้ํา มีที่อยูอาศัยและความปลอดภัยในชีวิตทรัพยสิน
ความมั่งคั่ง หมายถึง ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอยางตอเนื่องและมีความยั่งยืนจนเขาสู
กลุมประเทศรายไดสูง ความเหลื่อมล้ําของการพัฒ นาลดลง ประชากรมีความอยูดีมีสุขไดรับผลประโยชนจากการ
พัฒนาอยางเทาเทียมกันมากขึ้น และมีการพัฒนาอยางทั่วถึงทุกภาคสวน มีคุณภาพชีวิตตามมาตรฐานขององคการ
สหประชาชาติ ไมมีป ระชาชนที่อยูใตเส นความยากจน เศรษฐกิจ ในประเทศมีค วามเขม แข็ง ขณะเดีย วกัน ตองมี
ความสามารถในการแขงขันกับประเทศตาง ๆ ตลอดจนมีการสรางฐานเศรษฐกิจและสังคมแหงอนาคตเพื่อใหสอดรับ
2-1
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-1


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กับบริบทการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงไป และประเทศไทยมีบทบาทที่สําคัญในเวทีโลก และมีความสัมพันธทางเศรษฐกิจ


และการคาอยางแนนแฟนกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย เปนจุดสําคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการคมนาคมขนสง
การผลิ ต การค า การลงทุ น และการทํ า ธุ ร กิ จ เพื่ อ ให เป น พลั ง ในการพั ฒ นา นอกจากนั้ น ยั ง มี ค วามสมบู ร ณ
ในทุนที่จะสามารถสรางการพัฒนาตอเนื่องไปได ไดแก ทุนมนุษย ทุนทางปญญา ทุนทางการเงิน ทุนที่เปนเครื่องมือ
เครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ความยั่งยืน หมายถึง การพัฒ นาที่สามารถสรางความเจริญ รายได และคุณ ภาพชีวิตของประชาชน
ให เพิ่ ม ขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง ซึ่ ง เป น การเจริ ญ เติ บ โตของเศรษฐกิ จ ที่ อ ยู บ นหลั ก การใช การรั ก ษาและการฟ น ฟู
ฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ อ ย า งยั่ ง ยื น ไม ใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ จ นเกิ น พอดี ไม ส ร า งมลภาวะต อ สิ่ ง แวดล อ ม
จนเกิน ความสามารถในการรองรับ และเยีย วยาของระบบนิเวศน การผลิตและการบริโภคเปน มิตรกับ สิ่งแวดลอ ม
และสอดคล อ งกั บ เป า หมายการพั ฒ นาที่ ยั่งยื น ทรัพ ยากรธรรมชาติ มีค วามอุด มสมบู รณ ม ากขึ้น และสิ่ งแวดลอ ม
มีคุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบตอสังคม มีความเอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชนสวนรวม รัฐบาลมีนโยบาย
ที่มุงประโยชนสวนรวมอยางยั่งยืน และใหความสําคัญกับการมีสวนรวมของประชาชน และทุกภาคสวนในสังคมยึดถือ
และปฏิ บั ติ ต ามปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ การพั ฒ นาในระดั บ อย า งสมดุ ล มี เสถี ย รภาพ และยั่ ง ยื น
(รางยุทธศาสตรชาติ, เมษายน พ.ศ.2561)
เปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ การที่ประเทศชาติมีความมั่นคง ประชาชนมีความสุข มีการยกระดับ
ศักยภาพในหลากหลายมิติเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจอยางตอเนื่อง มีการพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี
เกง และมีคุณภาพ มีการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตร
กั บ สิ่ ง แวดล อ ม และมี ภ าครั ฐ ของประชาชนเพื่ อ ประชาชนและประโยชน ส ว นรวม โดยมี ตั ว ชี้ วั ด ผลการพั ฒ นา
ตามยุทธศาสตรชาติ ประกอบดวย ดัชนีความอยูเย็นเปนสุขรวมกันในสังคมไทย รายไดเฉลี่ยตอหัวตอคนตอป ดัชนี
การพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย (Human Development Index - HDI) ตั ว ชี้ วั ด ความก า วหน า ทางสั ง คม (Social
Progress Index - SPI) ดั ช นี วั ด คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม (Environmental Performance Index – EPI) และอั น ดั บ
ความสามารถในการแขงขันของประเทศ
ยุทธศาสตรชาติที่จะใชเปนกรอบแนวทางการพัฒนาในระยะ 20 ป ประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร ไดแก
ยุท ธศาสตรด านความมั่ น คง ยุ ท ธศาสตรด านการสร างความสามารถในการแข งขั น ยุ ท ธศาสตร ด า นการพั ฒ นา
และเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ยุทธศาสตรดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร
ดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และยุทธศาสตรดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งมีประเด็นขอสรุปที่สําคัญตามตารางที่ 2.1

2-2
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.1 ยุทธศาสตร เปาหมาย และตัวชี้วัด ของรางยุทธศาสตรชาติ


ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด
ยุทธศาสตรดา นความมั่นคง “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข” 1. ดั ช นี ชี้ วัด ความสุ ข ของประชากร (World Happiness Index)
1. ประชาชนอยูด ี กินดี และมีความสุข สํ าหรั บประเทศไทย ดี ขึ้ นจากลํ าดั บที่ 32 ของโลก ในป พ.ศ.2560
2. บานเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ ไปอยูใ น 10 ลําดับแรกของโลก ภายในป พ.ศ.2579
3. ก องทั พ ห น วย งาน ด าน ค วาม มั่ น ค ง ภ าค รั ฐ 2. ระดับความมั่นคงปลอดภัยภายในประเทศและศักยภาพตํารวจ
ภาคเอกชน และภาคประชาชน มีความพรอมในการ ระดั บ สากล (World Internal Security & Police Index)”
แกไขปญหา ดี ขึ้ น จากลํ า ดั บ ที่ 69 ของโลก ในป พ.ศ.2560 ไป อยู ใ น
4. ประเทศไทยมี บ ทบาทเป น ที่ ชื่ น ชมและได รั บ การ 20 ลําดับแรกของโลก ภายในป พ.ศ.2579

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ยอมรับโดยประชาคมระหวางประเทศ 3. กองทัพและหนวยงานดานความมั่นคงมีความพรอมดานบุคลากร
5. การบริ ห ารจั ด การความมั่ น คงมี ผ ลสํ า เร็ จ ที่ เ ป น เทคโนโลยี ยุทโธปกรณ แผน ระบบการแกไขปญหา และการมี
รูปธรรมอยางมีประสิทธิภาพ สวนรวมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการแกไข
ปญหาที่ครอบคลุมทุกมิติและทุกระดับความรุนแรง รวมถึงมีการ
ฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง
4. การนําเสนอแนวความคิดริเริ่มและหนทางแกไขปญหาระหวาง
ประเทศตามโอกาสที่เหมาะสมของประเทศไทย
5. การพัฒ นากลไก (คนและเครื่อ งมื อ) รวมถึ งระบบการทํ า งาน
แบบบูรณาการ ใหเกิดขึ้นอยางมีประสิทธิภาพ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-3
2-3
สํานักงานศูนยวจิ ัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-4
ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด
ยุ ทธศาสตร ดานการสร าง 1.ประเทศไทยเป น ประเทศที่ พั ฒ นาแล ว ที่ เ ศรษฐกิ จ 1. รายไดเฉลี่ยตอหัวมากกวา 15,000 ดอลลารสหรัฐฯ ตอคนตอป
ความสามารถในการแขงขัน เติบโตอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน ภายในป พ.ศ.2579
2.ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น 2. อั ต ราการขยายตั ว ของผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมภายในประเทศ
มีคาเฉลี่ยไมต่ํากวารอยละ 5 ตอป ในระยะ 20 ป
3. ตัวชี้วัด ผลิตภาพการผลิตรวม เฉลี่ย ไมต่ํากวา รอยละ 3 ตอป
ในระยะ 20 ป
4. อันดับความสามารถในการแขงขันของประเทศ โดย International
Institute for Management Development (IMD) อยู ใ นอั น ดั บ 1
ใน 20 ของประเทศที่ไดรับการจัดอันดับทั้งหมด
ยุ ทธศาสตร ด านการพั ฒนา “คนไทยในอนาคต มีความพรอมทั้งกาย ใจ สติปญ ญา 1. ดัชนีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย (HDI) มีคา คะแนนมากกวา 0.90
และเสริ ม สร า งศั ก ยภาพ มีพัฒ นาการที่ดีรอบดานและมีสุขภาวะที่ดีในทุกชวงวัย 2. Global Entrepreneurship Index อยูใ นเปอรเซ็นไทลที่ 70
ทรัพยากรมนุษย มี จิ ต สาธารณะ รับ ผิ ด ชอบต อ สั งคมและผู อื่ น มั ธ ยัส ถ 3. SDG 3 มีเปอรเซ็นไทลสูงกวา 90
อดออม โอบอ อ มอารี มี วินั ย รัก ษาศี ล ธรรม และเป น 4. คะแนน PISA สูงกวา 500 คะแนน
พลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกตอง มีทักษะที่จําเปน 5. ตั ว ชี้ วั ด ที่ ค วรพั ฒ นาเพิ่ ม เติ ม ที่ ส ะท อ นการพั ฒ นาเด็ ก และ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในศตวรรษที่ 21 มีทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษและภาษา เยาวชนใหเปนคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม


ที่ 3 และอนุรักษภาษาทองถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรูและ
การพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต สูการเปนคน
ไทย ที่ มี ทั ก ษะสู ง เป น นวั ต กร นั ก คิ ด ผู ป ระกอบการ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2-4
สํานักงานศูนยวจิ ัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด


เกษตรกรยุคใหมและอื่น ๆ โดยมีสัมมาชีพตามความถนัด
ของตนเอง”
ยุ ทธศาสตร ดานการสร าง 1. สรางความเปนธรรม และลดความเหลื่อมล้ําในทุกมิติ 1. ความแตกตางของรายไดระหวางประชากรรอยละ 10 ที่รวยที่สุด
โอกาสและความเสมอภาค 2. กระจายศูนยกลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม ตอประชากรรอยละ 10 ที่จนที่สุดไมเกิน 15 เทา (ปจจุบัน อยูที่
ทางสังคม เพิ่ ม โอกาสให ทุ ก ภาคส ว นเข า มาเป น กํ า ลั งของการ 22 เทา)
พัฒนาประเทศในทุกระดับเพื่อความสมานฉันท 2. ดั ช นี ค วามก า วหน า ของคน (Human Achievement Index)
3. เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนทองถิ่นในการพัฒนา ทุกจังหวัดไมต่ํากวา 0.60
การพึ่ งตนเองและ การจัดการตนเองเพื่อสรางสังคม 3. พัฒ นาจังหวัดศูนยกลางความเจริญ ทางเศรษฐกิจ สังคม และ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คุณภาพ เทคโนโลยี บนพื้ น ฐานศั ก ยภาพทุ น ทรัพ ยากรและวัฒ นธรรม
ที่แตกตางกันของแตละพื้นที่ และการมีสวนรวมในการกําหนด
ทิศทางการพัฒนาของประชาชนในพื้นที่ ไมนอยกวา 15 จังหวัด
4. ดัชนีคุณภาพภาวะประชากรสูงอายุ ไมต่ํากวา รอยละ 70
ยุ ทธศาสตร ดานการสร าง 1. อนุ รัก ษ แ ละรัก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดลอ ม 1. พื้นที่สีเขียวที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมไมนอยกวา รอยละ 55 ของพื้นที่
การเติบโตบนคุณภาพชีวิต และวั ฒ นธรรม ให ค นรุ น ต อ ไปได ใ ช อ ย า งยั่ ง ยื น ประเทศ (ได แก ป าธรรมชาติ รอยละ 35 พื้ นที่ สวนป าใชประโยชน
ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม มีสมดุล รอยละ 15 และพื้นที่สาธารณะเพื่อการพักผอนหยอนใจรอยละ 5)
2. ฟ น ฟู แ ละสร า งใหม ฐ านทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ 2. พื้นที่เขาหัวโลน หาดทองเที่ยวและแนวปะการัง แมน้ําลําคลอง
สิ่งแวดลอม เพื่อลดผลกระทบทางลบจากการพัฒนา และแหลงน้ํา ธรรมชาติไดรับ การฟน ฟูดู แลรักษา น้ํ าเสีย ไดรับ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สังคมเศรษฐกิจของประเทศในทุกมิติ การบํ าบั ดและขยะมู ลฝอยได รับ การกําจัด อยางถูกสุข อนามั ย

2-5
2-5
สํานักงานศูนยวจิ ัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-6
ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด
3. ใช ป ระโยชน แ ละสร า งการเติ บ โต บนฐานของ ปริมาณฝุน ขนาดเล็กในบรรยากาศอยูใ นเกณฑมาตรฐานสากล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหสมดุลภายใน 3. ปริมาณกาซเรือนกระจกที่ปลอยลดลงอยางนอย รอยละ 20 จาก
ขีดความสามารถของระบบนิเวศ กรณีปกติ มูลคาเศรษฐกิจฐานชีวภาพเพิ่มขึ้น ระบบการจัดการ
4. ยกระดั บ กระบวนทั ศน เพื่ อกําหนดอนาคตประเทศ เชิ งคุ ณ ภาพของภาคการท องเที่ ย ว ระบบจั ด การน้ํ าเชิ งลุม น้ํ า
ดานทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม และวัฒ นธรรม ความมั่นคงน้ําในทุกมิติเพิ่มขึ้นใหไดรอยละ 80
บนหลักของการมีสว นรวม และธรรมาภิบาล 4. กระบวนทัศน แนวคิด และพฤติกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปใน
ทิศทางที่สนับสนุน การพัฒนาที่ยั่งยืน องคความรูและศักยภาพที่
พึงประสงคของทุกภาคสวนพัฒนาดีขึ้น การกระจายอํานาจไปสู
ทองถิ่น ระบบธรรมาภิบาลและการมีสวนรวมเกิดขึ้น โครงการ
สําคัญที่สะทอนการเปลี่ยนแปลงในการกําหนดอนาคตประเทศ
ยุ ท ธศาสตร ด า นการปรั บ “ภาครัฐ ของประชาชนเพื่ อ ประชาชนและประโยชน 1. ความพึ งพอใจของประชาชนต อการให บ ริการสาธารณะของ
สมดุลและพัฒนาระบบการ สวนรวม” ภาครัฐไมนอยกวารอยละ 90
บริหารจัดการภาครัฐ 1. ยกระดั บ งานบริ ก ารประชาชนสู ค วามเป น เลิ ศ 2. ประสิ ท ธิ ภ าพของภาครั ฐ จากการสํ า รวจของ International
ตอบสนองความตองการของประชาชนไดอยางสะดวก Institute for Management Development (IMD) อ ยู ใ น
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

รวดเร็ว โปรงใส อันดับ 1 ใน 10 ของโลก


2. ภาครัฐ มี ข นาดที่ เล็ ก ลง ลดความซ้ํ า ซ อ นและปรั บ 3. คะแนนดัชนีการรับรูการทุจ ริตของประเทศไทย (Corruption
ภารกิ จ ของหน ว ยงานภาครั ฐ ให เหมาะสม ยุ บ เลิ ก Perception Index: CPI) อยูใ นอันดับ 1 ใน 20 ของโลก
ภารกิจที่ไมจําเปน หรือถายโอนภารกิจใหภาคสวนอื่น 4. ดั ช นี นิ ติ ธ รรม (Rule of Law Index) ของ World Justice

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2-6
สํานักงานศูนยวจิ ัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด


รับไปดําเนินงาน รวมทั้งลด การแขงขันกับภาคเอกชน Project (WJP) ทุกองคประกอบอยูใ นระดับสูง
พรอมทั้งเปดโอกาสใหทุก ๆ ภาคสวนเขามามีสวนรวม
ในการดําเนินการบริการสาธารณะอยางเหมาะสม
3. ก ารทํ างาน มี วั ฒ น ธรรม ที่ มุ งผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ แ ล ะ
ผลประโยชนของสวนรวม มีความทันสมัยและพรอม
ที่ จ ะปรั บ ตั ว ให ทั น ต อ การเปลี่ ย นแปลงของโลกอยู
ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง การนํ า นวั ต กรรม
เทคโนโลยีการจัดการขอมูลขนาดใหญ และระบบการ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทํ า งานที่ เ ป น ดิ จิ ทั ล มาประยุ ก ต ใช อ ย า งคุ ม ค า และ
สามารถปฏิบัติงานเทียบไดกับมาตรฐานสากล
4. ส งเสริ ม สนั บ สนุ น ให ภ าคี อ งค ก รภ าคเอกช น
ภาคประชาสังคม ชุมชน และประชาชนรวมสอดสอง
เฝ า ระวั ง ให ข อ มู ล และตรวจสอบการดํ า เนิ น การ
ของหน วยงานภาครัฐ และภาคส ว นอื่ น ๆ ตลอดจน
ดําเนินการปองกันและปราบปรามการทุจริตในสังคม
พรอมทั้งการสรางจิตสํานึกและคํานิยมใหทุกภาคสวน
ตื่น ตัว และละอายต อการทุ จริตและประพฤติมิ ชอบ
ทุ ก รู ป แบบ โดยเฉพาะการสรา งวัฒ นธรรมต อ ต า น
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-7
2-7
สํานักงานศูนยวจิ ัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-8
ยุทธศาสตร เปาหมาย ตัวชี้วัด
การทุจริตและประพฤติมิชอบของบุคลากรภาครัฐให
เกิดขึ้น
5. กระบวนการยุติธรรม การออกกฎหมายและการบังคับ
ใช ก ฎ ห มายเป นไป เพื่ อป ระโยชน แก ส ว นรวม
ของประเทศ ผดุงไวซึ่งความยุติธ รรมอยางถวนหนา
มีความเปนสากล ไมเลือกปฏิบัติ
ที่มา: รางยุทธศาสตรชาติ, เมษายน 2561
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2-8
สํานักงานศูนยวจิ ัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ทั้ งนี้ ยุท ธศาสตรที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การพั ฒ นาประเทศสู ก ารเป น ประเทศไทย 4.0 คื อ ยุท ธศาสตร
ดานการสรางความสามารถในการแขงขัน โดยยุทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขันสําหรับ
ประเทศไทยมุงพัฒนาบนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ไดแก
1. “ตอยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหงาทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต
และจุดเดนทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้ง ความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในดานอื่น ๆ
นํามาประยุกตผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อใหสอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม
2. “ปรับปจจุบัน” เพื่อปูทางสูอนาคต ผานการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศในมิติตาง ๆ
ทั้ งโครงขา ยระบบคมนาคมและขนส ง โครงสร า งพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี และดิ จิ ทั ล และการปรั บ
สภาพแวดลอมใหเอื้อตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ
3. “สรางคุณคาใหมในอนาคต” ดวยการเพิ่มศักยภาพของผูประกอบการ พัฒนาคนรุนใหม รวมถึง
ปรับโมเดลธุรกิจ เพื่อตอบสนองตอความตองการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตรที่รองรับอนาคต บนพื้นฐาน
ของการต อยอดอดีตและปรับ ปจ จุบั น พรอมทั้ ง การส งเสริมและสนับ สนุ นจากภาครัฐ จะทําให ป ระเทศไทย
สามารถสร า งฐานรายได และการจ า งงานใหม ขยายโอกาสทางการค าและการลงทุ น ในเวที โ ลกควบคูไปกั บ
การยกระดับรายไดและการกินดีอยูดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้ําของคนในประเทศ
ไดในคราวเดียวกัน
โดยมีประเด็นยุทธศาสตร คือ ประเด็นที่ 1 มหาอํานาจทางการเกษตร ประเด็นที่ 2 อุตสาหกรรม
และบริการแหงอนาคต ประเด็นที่ 3 แมเหล็กการทองเที่ยวระดับโลก ประเด็นที่ 4 โครงสรางพื้นฐาน เชื่อมไทย
เชื่อมโลก ประเด็นที่ 5 สรางนักรบเศรษฐกิจ ยุคใหม โดยที่ในแตล ะประเด็นมีกลยุทธและกลยุทธยอยที่ชัดเจน
ในการบรรลุตามวัตถุประสงค ซึ่งสรุปไดดังนี้
ประเด็นที่ 1 มหาอํานาจทางการเกษตร
เนื่องจากแนวความคิดที่วา ประเทศไทยเปนหนึ่งในผูเลนสําคัญดานการผลิตและการคาสินคาเกษตร
ในเวทีโลกดวยพื้นฐานทางพืชเกษตรเขตรอน และมีขอไดเปรียบดานความหลากหลายทางชีวภาพที่สามารถพัฒนา
ต อยอดโครงสรา งธุรกิจ การเกษตรดว ยการสรางมู ลคาเพิ่ ม เนน เกษตรคุณ ภาพสู ง และขั บ เคลื่อนการเกษตร
ด ว ยเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม ที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ กั บ การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพการผลิ ต ทั้ ง เชิ ง ปริ ม าณและมู ล ค า
และความหลากหลายของสิน ค า เกษตร มี ก ลยุ ท ธ ที่ สํ าคั ญ คือ 1) การสรา งเกษตรอั ต ลั ก ษณ พื้ น ถิ่ น ส งเสริ ม
การนําอัตลักษณพื้นถิ่นและภูมิปญญาทองถิ่นของไทยมาเปนผลิตภัณฑการเกษตร 2) เกษตรปลอดภัย ซึ่งเกิดจาก
แนวโน ม ทางการตลาดที่ผู บ ริ โภคมีก ารรัก ษาสุ ข ภาพ มี ก ารตระหนั ก ถึ ง สิ่ ง ที่บ ริโ ภควา ต อ งมี ค วามปลอดภั ย
3) เกษตรชีวภาพ สงเสริมการใชประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศใน การสรางมูลคาเพิ่ม
2-9
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-9
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ของภาคการผลิ ต และนําไปสูก ารผลิตและพัฒ นาผลิตภัณ ฑ มูลคาสูงจากฐานเกษตรกรรมและฐานทรัพ ยากร


ชีวภาพ และสรางความมั่นคงของประเทศทั้งดานอาหารและสุขภาพ
ประเด็นที่ 2 อุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต
อุตสาหกรรมและบริการไทยตองพรอมรับ มือและสรางโอกาสจากความทาทายที่เกิดขึ้นจากการ
ปฏิ วั ติ อุต สาหกรรมครั้งที่ 4 หรือ “The 4th Industrial Revolution” การกาวเขาสูยุค ที่ 4 ที่ เปนผลของการ
หลอหลอมเทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยี ชีวภาพ และเทคโนโลยีทางกายภาพ เชน ยานยนตไรคนขับ เทคโนโลยี
การพิ มพ แ บบสามมิติ หุ น ยนต และวั ส ดุศ าสตร ฯลฯ เข าด ว ยกั น ก อ ให เกิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ
และสั งคมอย างรวดเร็ว เปน วงกว างและลึก ซึ้งทั้ งระบบอยางที่ไมเคยปรากฏมาก อ น ประเทศไทยจํ าเป น ตอ ง
เปลี่ยนแปลงพื้นฐานโครงสรางอุตสาหกรรมและบริการ โดยสรางอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคตที่ขับเคลื่อน
ประเทศไทยไปสูประเทศพัฒนาแลวดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแหงอนาคต เพิ่มบุคลากรที่มีทักษะและความรู
ตามความต องการของตลาด สรา งระบบนิ เวศอุตสาหกรรมและบริการที่เหมาะสม และสนั บ สนุน การพั ฒ นา
อุตสาหกรรมและบริการอยางยั่งยืน โดยมีกลยุทธ คือ
1) อุตสาหกรรมชีวภาพ สรางประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อตอยอดจากภาคเกษตร
ไทยและมุ ง สู อุ ต สาหกรรมบนฐานชี ว ภาพที่ เป น มิ ต รกั บ สิ่ งแวดล อ ม รวมถึ งพลั ง งานชี ว มวล มี ก ลยุ ท ธ ย อ ย
คือ 1.1) เพิ่มสัดสวนอุตสาหกรรมชีวภาพที่มีมูลคาเพิ่มสูง ไดแก ชีวเคมีภัณฑ วัสดุชีวภาพ อาหารเสริม เวชสําอางค
วัคซีน ชีวเภสัชภั ณฑ (Biopharmaceuticals) และสารสกัดจากสมุนไพร 1.2) เพิ่มการผลิตและสงเสริมการใช
พลาสติกชีวภาพ แปลงของเหลือทิ้งจากเกษตรและอุตสาหกรรม ใหเปนสารเคมีและพลังงานชีวภาพที่มีมูลคา
(Bio refinery) 1.3) เน น การวิ จั ย และพั ฒ นา และนํ า ผลงานวิ จั ย มาใช ใ นเชิ ง พาณิ ช ย ม ากยิ่ ง ขึ้ น ตลอดจน
ให ค วามสํ าคั ญ กั บ ระบบนวั ต กรรมแบบเป ด (Open innovation) เพื่ อ พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมชี ว ภาพไดเร็ว ขึ้ น
1.4) สร างและพั ฒ นา รวมทั้ งจั ด หาบุ คลากรที่ มีทั กษะความรูต รงกั บ ความตอ งการของอุต สาหกรรมชีว ภาพ
อยางเพี ยงพอทั้ งในประเทศและตางประเทศ 1.5) ปกปองทรัพยสินอันมีคาของประเทศ ทั้งสิ่งมีชีวิตและขอมูล
สิ่งมีชี วิตทั้ งในรูป แบบคลังเก็บ รักษาชีว พันธุ (Bio bank) และรูป แบบขอ มูลพันธุกรรมระดับ จีโนม (Genome)
รวมถึ งกลไกการเข าถึ งทรัพ ยากรชี ว ภาพ การคุม ครองทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา และการแบ งป น ผลประโยชน
อยางเปนธรรม
2) อุตสาหกรรมและบริการการแพทยครบวงจร อาศัยความเชี่ยวชาญดานบริการการแพทยของไทย
เพื่อสรางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องในประเทศเพื่อรองรับความตองการใชบริการการแพทยที่จะเพิ่มมากขึ้นทั้งจาก
สังคมผูสูงอายุ และความตองการการแพทยที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในประเทศและตางประเทศ เพื่อนําไปสูศูนยกลาง
อุตสาหกรรมและบริการการแพทย มีกลยุทธยอย คือ 2.1) พัฒนาอุตสาหกรรมและบริการการแพทยครอบคลุม

2-10
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การผลิตเครื่องมือและอุปกรณการแพทย การผลิตอวัยวะเทียม การผลิตเวชภัณฑและครุภัณฑการแพทย การผลิต


เภสัชภัณฑซึ่งรวมถึงชีวเภสัชภัณฑ และการใหบริการการแพทยที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง 2.2) สงเสริมการพัฒนา
และการใชเทคโนโลยีการแพทยใหม ๆ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตใหกับคนไทย 2.3) นําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชในบริการ
การแพทย เพื่ อลดต นทุ นการรัก ษาพยาบาล ยกระดั บ การใหบ ริก ารการแพทย อย างมีคุณ ภาพในระดับ สากล
และสร างความมั่น คงให กับ ระบบสาธารณสุข ของไทย 2.4) เชื่อ มโยงอุ ตสาหกรรมทางการแพทยแ ละบริการ
ทองเที่ยวเพื่อสุขภาพ เพื่อเปนศูนยกลางการสงเสริมและดูแลสุขภาพและรักษาผูปวยทั้งดานรางกายและจิตใจ
2.5) สรางและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยใหสามารถเรียนรูการใชและพัฒนาเทคโนโลยีในการรักษาและจัดหา
บุคลากรในดานตาง ๆ ที่ตองการอยางเพียงพอ
3) อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารดิ จิ ทั ล ข อ มู ล และป ญ ญ าประดิ ษ ฐ เทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล ข อ มู ล
และป ญ ญาประดิษ ฐเปนพลังที่จ ะเปลี่ยนโลก เพิ่มศักยภาพและความสามารถในการแขงขัน ของอุตสาหกรรม
และบริการ ครอบคลุมระบบอัตโนมัติและหุนยนต อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ และอินเทอรเน็ตในทุกสิ่ง (Internet of
Things: IoT) เพื่อยกระดับประสิทธิภาพของภาคเศรษฐกิจไทยทั้งระบบ สรางแพลตฟอรม (Platform) สําหรับ
เศรษฐกิจในอนาคต และเพิ่มคุณภาพชีวิตใหกับประชาชน มีกลยุทธยอย คือ 3.1) สรางอุตสาหกรรมและบริการ
ดิจิ ทั ล ขอมู ล และปญ ญาประดิษฐ เพื่อ เปนแรงขับเคลื่อนประเทศไทย และสงเสริมการลงทุนระหวางภาครัฐ
ภาคเอกชนไทย และบริ ษั ท ชั้ น นํ า ของโลก เพื่ อ ให ไทยเป น ศู น ย ก ลางการผลิ ต และการวิ จั ย และพั ฒ นา
3.2) สรางความตระหนักและใหความรูแกประชาชน และประยุกตใชเทคโนโลยีดิจิทัล ขอมูล และปญญาประดิษฐ
สําหรับภาคการผลิตและบริการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สรางนวัตกรรม และดําเนินธุรกิจใหม ๆ 3.3) ผลักดันให
ผูประกอบการไดรับการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมในระดับสากล และสรางคลัสเตอรอุตสาหกรรมเพื่อขยาย
ธุรกิจไทยในอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ขอมูล ปญญาประดิษฐ ระบบอัตโนมัติและหุนยนต และอิเล็กทรอนิกส
อั จ ฉริ ย ะให ค รอบคลุ ม ตลอดทั้ ง ห ว งโซ มู ล ค า ระดั บ โลก 3.4) สนั บ สนุ น การวิ จั ย และพั ฒ นาเทคโนโลยี
ของผู ป ระกอบการที่ ส ามารถนํ า ไปใช ป ระโยชน ในเชิ งพาณิ ช ย ได สรางความร ว มมือ ระหว างภาครั ฐ เอกชน
และสถาบั น การศึ ก ษาต า ง ๆ และสนั บ สนุ น การใช ข อ มู ล เป ด (Open data) ที่ ไม ก ระทบต อ สิ ท ธิ ส ว นบุ ค คล
เพื่อประโยชนในการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และการตอยอดทางธุรกิจ 3.5) สรางและพัฒนาบุคลากรที่มีทักษะ
ความรูเพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ขอมูล และปญญาประดิษฐ รวมทั้งอุตสาหกรรม
และบริการที่ใชเทคโนโลยีเหลานี้ และสรางแรงจูงใจใหบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญจากทั่วโลกใหมาทํางานในไทย
ตลอดจนใหความชวยเหลือและเยียวยาผูไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงและรวดเร็วของเทคโนโลยี
4) อุตสาหกรรมและบริการขนสงและโลจิสติกส ดวยตําแหนงที่ตั้งทางภูมิศาสตรของประเทศไทย
สงผลใหไทยมี ความไดเปรียบอยางมากในการเปนศูนยกลางของภูมิภาคในดานตาง ๆ ไมวาจะเปนการคมนาคม

2-11
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-11
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ขนสง และโลจิสติกส การเปนฐานการผลิตของภูมิภาคเพื่อการสงออกสูตลาดโลก และศูนยกลางการทองเที่ยว


ในภูมิภาค จึงตองพัฒนาอยางตอเนื่องเพื่อลดตนทุนทางดานโลจิสติกส ในขณะเดียวกับการเพิ่มมูลคาจากการเปน
ศูน ยกลางทางภู มิศาสตร พรอมทั้งสงเสริม อุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวของ มีกลยุทธยอย คือ 4.1) สงเสริม
การสร า งศู น ย ก ลางด า นโลจิ ส ติ ก ส ร ะดั บ ภู มิ ภ าคและเชื่ อ มต อ กั บ เครื อ ข ายโลจิ ส ติ ก สข องโลก 4.2) ผลั ก ดั น
การเปลี่ยนผานของอุตสาหกรรมยานยนตทั้งระบบไปสูอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาอัจฉริยะ สงเสริมเทคโนโลยี
และพัฒนาอุตสาหกรรมระบบกักเก็บพลังงาน รวมทั้งสงเสริมการลงทุนที่เนนการวิจัยและพัฒนาและการถายทอด
เทคโนโลยี 4.3) พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมการบิ น และอวกาศเพื่ อ รองรับ การเติ บ โตของอุ ต สาหกรรมและบริก าร
ที่เกี่ยวของโดยยกระดับบริการซอมบํารุงอากาศยาน และการผลิตชิ้นสวนอากาศยาน ซึ่งจะตอยอดไปยังชิ้นสวน
ยานอวกาศในที่สุด และสนับสนุนการลงทุนดานบริการดูแลรักษาและซอมแซมอากาศยานเพื่อขยายตลาดบริการ
ดู แ ลรั ก ษาและซ อ มแซมอากาศยาน ตลอดจนพั ฒ นาเทคโนโลยี สํ า หรั บ การบิ น และอวกาศ 4.4) ส ง เสริ ม
และพั ฒ นาการขนสงรูป แบบใหม เชน อากาศยานไร ค นขั บ (Drone) ไฮเปอรลูป (Hyper loop) 4.5) พั ฒ นา
บุคลากรที่มีทักษะความเชี่ยวชาญตรงกับความตองการของอุตสาหกรรมยานยนต อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ
และบริการโลจิสติกส อํานวยความสะดวกสําหรับบุคลากรผูเชี่ยวชาญตางชาติใหเขามาทํางานในไทย และจัดตั้ง
ศูนยใหคําปรึกษาและสนับสนุนใหอุตสาหกรรม ยานยนต การบินและอวกาศ และโลจิสติกส ตลอดจนหนวยงาน
กํากับดูแลใหไดรับมาตรฐานสากล และสรางความรวมมือในการรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมระหวางประเทศ
5) อุ ต สาหกรรมความมั่ น คงของประเทศ ท า มกลางการเปลี่ ย นแปลงของสถานการณ ข องโลก
อย า งรวดเร็ ว ทํ า ให เกิ ด ภั ย คุ ก คามในรูป แบบต า ง ๆ ทั้ งความมั่ น คงดา นภั ย พิ บั ติ ด านไซเบอร ดา นพลั งงาน
และดานการปองกันประเทศ ในขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงทางดานนโยบายของประเทศตาง ๆ ที่เปดกวางและ
เชื่อมโยงกันมากขึ้น ทําใหมีการคาสินคาที่เกี่ยวกับความมั่นคงของประเทศ กอใหเกิดการแขงขันและโอกาสในการ
พัฒ นาอุ ตสาหกรรมที่เกี่ย วขอ ง จึ งควรพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศที่ไทยมีศักยภาพ เพื่อลด
การพึ่งพาจากตางประเทศ และพัฒนาตอยอดเปนอุตสาหกรรมสงออกตอไป มีกลยุทธยอย คือ 5.1) ตอยอดพัฒนา
อุตสาหกรรมความมั่นคงดานตาง ๆ จากอุตสาหกรรมของประเทศที่ไทยมีความเขมแข็งอยูแลว เชน อุตสาหกรรม
ยานยนต อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหม เปนตน รวมทั้ง
สงเสริมการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับความมั่นคงดานตาง ๆ และเทคโนโลยีที่มีประโยชนในบริบท
ดานความมั่น คงและเชิงพาณิชย ตลอดจนพัฒ นาบุคลากรทางดานวิจัยและพัฒนา การออกแบบ และการผลิต
เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ 5.2) พัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการจัดการ
ภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงระบบการเตือนภัย การเตรียมตัวรับภัยพิบัติ และการใหความชวยเหลือระหวางและหลังเกิดภัย
พิบัติ 5.3) สรางอุตสาหกรรมที่สงเสริมความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร เพื่อลดผลกระทบจากภัยคุกคามไซเบอร

2-12
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

(Cyber threats) ต อ เศรษฐกิ จ และสัง คม และปกป อ งอธิ ป ไตยทางไซเบอร (Cyber sovereignty) เพื่ อ รั ก ษา
ผลประโยชนของชาติจากการทําธุรกิจดิจิทัล 5.4) เพิ่มสัดสวนอุตสาหกรรมพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก
ควบคูกับการลดสัดสวนอุตสาหกรรมพลังงานจากฟอสซิล ใหมีความสมดุลและเกิดความมั่นคง สามารถพึ่งพา
ตนเองทางดานพลังงาน ตลอดจนพัฒนาอุตสาหกรรมดานพลังงานที่มีมูลคาเพิ่ม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีพลังงาน
ใหม และอุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวเนื่อง 5.5) พัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการปองกันประเทศ รวมทั้ง
การผลิตยุทโธปกรณและยุทธภัณฑทางการทหาร ไปพรอมกับอุตสาหกรรมที่เปนเทคโนโลยีสองทาง (Dual-use
technology) และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน
ประเด็นที่ 3 แมเหล็กการทองเที่ยวระดับโลก
ประเทศไทยจะตองรักษาการเปนจุดหมายปลายทางที่สําคัญ ของการทองเที่ยวระดับ โลกที่ดึงดูด
นักทองเที่ยวทุกระดับและเพิ่มสัดสวนของนักทองเที่ยวที่มีคุณภาพสูง มุงพัฒนาธุรกิจดานการทองเที่ยวใหมีมูลคา
สู ง เพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น ด ว ยอั ต ลั ก ษณ แ ละวั ฒ นธรรมไทย และใช ป ระโยชน จ ากข อ มู ล และภู มิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น
เพื่อสรางสรรคคุณคาทางเศรษฐกิจและ ความหลากหลายของการทองเที่ยวใหสอดรับกับ ทิศทางและแนวโนม
ของตลาดยุคใหม โดยการสรางและใชประโยชนจาก Big data รวมทั้งเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสงเสริม
การตลาด การดูแลความปลอดภัยและอํานวยความสะดวกแกนักทองเที่ยวทุกกลุม รวมถึงคนพิการและผูสูงอายุ
การใชประโยชนจากการทองเที่ยวใหเอื้อตอผลิตภัณฑชุมชนและเศรษฐกิจตอเนื่อง พัฒ นาแหลงทองเที่ยวเดิม
และสร า งแหล ง ท อ งเที่ ย วใหม ท่ี มี เอกลั ก ษณ เ ฉพาะโดยคํ า นึ ง ถึ ง ศั ก ยภาพของแต ล ะพื้ น ที่ รวมทั้ ง ส ง เสริ ม
การทองเที่ยวพํานักระยะยาว ตลอดจนสงเสริมการสรางและพัฒนาคน โครงสรางพื้นฐาน ระบบนิเวศที่เอื้อตอการ
เติบโตของการทองเที่ยวที่มีคุณภาพ เพื่อกระจายโอกาสในการสรางรายไดไปสูชุมชนและเมือง (Local tourism)
อยางทั่วถึงและยั่งยืน และพัฒนาการเชื่อมโยงการทองเที่ยวไทยกับประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค (Regional tourism)
เพื่อการเปนแมเหล็กดึงดูดนักทองเที่ยวอยางประทับใจตลอด การทองเที่ยวจนเกิดการทองเที่ยวซ้ําและแนะนําตอ
มีก ลยุ ท ธ ท่ีสํ าคัญ คือ 3.1) ทองเที่ยวเชิงสรางสรรคและวั ฒ นธรรม สงเสริมธุรกิจ การทอ งเที่ย วเชิงสรา งสรรค
และวัฒนธรรม 3.2) ทองเที่ยวเชิงธุรกิจ สรางแรงดึงดูดและสิ่งจูงใจใหไทยเปนจุดหมายปลายทางของการทองเที่ยว
เชิงธุรกิจ โดยสงเสริมการเปนศูนยกลางการจัดประชุมและนิทรรศการนานาชาติของโลก (Meeting Incentive
Convention and Exhibition : MICE) 3.3) ท อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ ความงาม และแพทย แ ผนไทย ผสานกั บ
“ศาสตร ” และความชํ า นาญของการดู แ ลรั ก ษาด ว ยภู มิ ป ญ ญาไทย กั บ “ศิ ล ป ” และความละเอี ย ดอ อ น
ในการใหบริการแบบไทย เพื่อดึงดูดการทองเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย 3.4) ทองเที่ยวสําราญทางน้ํา สงเสริม
ให ไทยเป น ศู นยก ลางการทองเที่ย วเชิงสําราญทางทะเลและชายฝง และเป นแหลงทอ งเที่ย ววัฒ นธรรมลุมน้ํา
ที่มีเอกลักษณท่ีโดดเดน เนื่องจากไทยมีจุดเดนดานแหลงทองเที่ยวทางน้ําที่สวยงามและกิจกรรมการทองเที่ยว
2-13
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-13
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ที่หลากหลาย ที่สามารถดึงดูดนักทองเที่ยวผานการชื่นชมธรรมชาติ การรอยเรียงเรื่องราวประวัติศาสตร วิถีชีวิต


วัฒนธรรมไทย ตามเสนทางทองเที่ยวทางน้ํา ทั้งเรือสําราญและเรือยอรช ตามชายฝงทะเลทั้งอันดามันและอ าวไทย
เกาะ แก ง ที่ ส วยงาม รวมทั้ งการท อ งเที่ ย วตามแม น้ํ าลํา คลอง นํ า ไปสู ศูน ย ก ลางท อ งเที่ ย วสํ าราญทางน้ํ า
3.5) ทองเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค ใชประโยชนจากที่ตั้งทางภูมิศาสตรในการเชื่อมโยง การทองเที่ยวกับตางประเทศ
เพื่ อ ขยายการท อ งเที่ ย วของไทยและภู มิ ภ าคไปพร อ มกั น ผ านการเชื่ อมโยงโครงสร างพื้ นฐานและโลจิ สติ กส
จากเมืองหลักสูเมืองรอง เพื่อรองรับการเชื่อมโยงเสนทางการทองเที่ยวไทยกับอาเซียนและอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง
ทั้งทางบก ทางน้ํา และทางอากาศ
ประเด็นที่ 4 โครงสรางพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
เชื่อมไทย เชื่อมโลก โดยโครงสรางพื้นฐานเปนสิ่งจําเปนสําหรับ ประเทศไทยในการกาวสูการเปน
ศูนยกลางเศรษฐกิจอาเซียน และเปนจุดเชื่อมตอที่สําคัญของภูมิภาคเอเชีย (Asia’s super corridor) ในยุคของ
การเปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็วและรุนแรง โครงสรางพื้นฐานจะครอบคลุมถึงโครงสรางพื้นฐาน
ทางกายภาพในดานโครงขายคมนาคม พื้นที่และเมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
และพลวัตทางกฎหมาย เพื่ออํานวยความสะดวกและลดตนทุนในการเคลื่อนยายสินคา บริการ เงินทุน บุคลากร
และเชื่อมโยงประเทศไทยกับประชาคมโลก มีกลยุทธ คือ
1) เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมไรรอยตอ เชื่อมโยงโครงขายคมนาคมระดับภูมิภาคจากเอเชียตะวันออก
ถึงเอเชียใตอยางไรรอยตอ โดยมีไทยเปนจุดเชื่อมโยงหลักของการคมนาคมใหเปนระเบียงเศรษฐกิจ แหงเอเชีย
เพื่อเปนศูน ยกลางการคมนาคม การขนสง การกระจายสินคา การคา การลงทุน และการทองเที่ยว สอดรับกับ
การพัฒนาการเชื่อมโยงกับกลุมเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
2) เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ สรางศูนยกลางเศรษฐกิจและนวัตกรรมแหงใหมในสวนภูมิภาคคูขนาน
กับ การเติ บ โตของกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยยกระดับ จังหวั ดสําคัญ ของไทย สงเสริมการพั ฒ นาในเชิงพื้ น
ที่ พัฒนาเศรษฐกิจควบคูไปกับการพัฒนาเมือง และสรางเมืองเศรษฐกิจเฉพาะดานเพื่อสงเสริมการสรางคลัสเตอร
ของเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ภายใตระบบนิเวศที่เอื้อตอการสรางนวัตกรรมซึ่งมีมหาวิทยาลัยในแตละ
ภูมิภาค สถาบันการศึกษาทองถิ่น และทุกภาคสวนมีสว นรวมเปนแรงขับเคลื่อน
3) พั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานเทคโนโลยี ส มั ย ใหม ความก า วหน า อย า งรวดเร็ ว ของเทคโนโลยี
ทางดานกายภาพ เทคโนโลยีดิจิทัล และเทคโนโลยีชีวภาพ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจและสังคม
ของโลกอย างลึกซึ้ง การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศจึงใหความสําคัญกับการสรางศักยภาพ
ของคนและสังคมในการนําประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลและขอมูลมาใชอยางทั่วถึง รวมถึงการสรางความพรอม

2-14
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ทางดานโครงสรางพื้น ฐานเพื่ อสนั บสนุน การสรางเทคโนโลยีและนวัตกรรม และการใชพลังงานจากแหลงที่มา


ที่ยั่งยืนอยางเพียงพอสําหรับความตองการใชที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
4) รักษาและเสริม สรางเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค ดําเนินกรอบนโยบายการเงินและการคลัง
ที่ ยื ด หยุ น ที่ พ ร อ มรองรั บ ความผั น ผวนทางเศรษฐกิ จ จากป จ จั ย ภายในและภายนอก และพั ฒ นานโยบาย
ใหสอดคลองกับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของสถานการณโลกและการดําเนินธุรกิจในอนาคต เพื่อใหเศรษฐกิจไทย
มีเสถี ยรภาพเหมาะสําหรับ การดําเนินและลงทุน ทางธุรกิจ เชื่อมโยงการคาการลงทุน ของไทยกับ ตางประเทศ
เพื่อพัฒนาไปสูการเปนชาติการคาในอนาคต และสนับสนุนการเขาถึงบริการทางการเงินอยางสมดุล
5) สรา งพลวั ต ทางกฎหมาย เพิ่ ม พลวั ต ทางกฎหมายเพื่ อ สรา งกฎระเบี ย บที่ เป น ธรรมและสรา ง
ขีดความสามารถในการแขงขัน โดยปรับปรุงกฎระเบียบใหอํานวยความสะดวกตอการดําเนินธุรกิจและสนับสนุน
การสรางนวัตกรรม เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน
ประเด็นที่ 5 สรางนักรบเศรษฐกิจยุคใหม
สรางและพัฒ นาผูป ระกอบการยุคใหม ไมวาจะเปนผูป ระกอบการรายใหญ กลาง เล็ก วิสาหกิจ
เริ่ ม ต น วิ ส าหกิ จ ชุม ชน หรื อ วิ ส าหกิ จ เพื่ อ สั ง คม รวมทั้ ง เกษตรกร ให เป น นั ก รบเศรษฐกิ จ ยุ ค ใหม ที่ มี ทั ก ษะ
และจิตวิญญาณของการเปนผูประกอบการที่มีความสามารถในการแขงขันที่มีอัตลักษณชัดเจน โดยมีนวัตกรรม
ใน 3 ด า น คื อ นวั ต กรรมในการสร า งโมเดลธุ ร กิ จ นวั ต กรรมในเชิ ง สิ น ค า และบริ ก าร และนวั ต กรรม
ในเชิงกระบวนการผลิตและบริการ พรอมทั้งเปนนักการคาที่เขมแข็งที่จะนําไปสูการสนับสนุนการเปนชาติการคา
มีความสามารถในการเขาถึงตลาดทั้งในและตางประเทศ เปนผูประกอบการที่ “ผลิตเกง ขายเกง” หรือ “ซื้อเปน
ขายเปน ” บริการเปนเลิศ สามารถขยายการคาและการลงทุนไปตางประเทศ รวมทั้งสงเสริมใหผูประกอบการ
มีธรรมาภิบาล มีกลยุทธ คือ
1) สรางผูประกอบการอัจฉริยะ สรางและพัฒนาผูประกอบการที่มีความสามารถใน การสรางและใช
เทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอดกระบวนการการผลิตและบริการ การจัดการ และการตลาด สามารถบริหารจัดการ
ธุรกิจและบริการไดอยางมีประสิทธิภาพและโปรงใส
2) สรางโอกาสเขาถึงบริการทางการเงิน สงเสริมการเขาถึงบริการทางการเงินของผูประกอบการ
3) สร า งโอกาสเข า ถึ ง ตลาด สนั บ สนุ น และสร า งโอกาสให ผู ป ระกอบการสามารถเข า สู ต ลาด
ทั้งในและตางประเทศตามระดับศักยภาพการประกอบการ
4) สรางโอกาสเข าถึงขอมูล อนาคตของโลกไรพ รมแดนคือการแขงขันบนฐานขอมูล จึงตองสราง
โอกาสใหผูประกอบการสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารที่จําเปนและเปนขอมูลที่ทันสมัยเพื่อการวางแผนธุรกิจ
5) ปรับบทบาทและโอกาสการเขาถึงบริการภาครัฐ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพธุรกิจ
2-15
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-15
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

โดยสรุป ยุ ทธศาสตรชาติดานการสรางความสามารถในการแขงขัน มุงสูเศรษฐกิจที่เนนการสราง


มูลค าและขั บ เคลื่อนดวยนวัตกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ อัตลักษณ ทุนทางวัฒ นธรรม และความคิด
สรางสรรค ควบคูไปกับการพัฒนาองคความรู วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และดิจิทัล ในการเพิ่มผลิตภาพการผลิต
และยกระดับภาคการผลิตและบริการ อันเสมือนเปนการสรางความเขมแข็งและเฉียบคมบนฐานความสามารถ
ของคนไทยและประเทศไทย โดยคํานึงถึงหลักปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒ นาที่ยั่งยืน เพื่ อเป น
การหยั่ ง รากผลแห ง การพั ฒ นาที่ “มั่ น คง มั่ ง คั่ ง และยั่ ง ยื น ” อย า งไรก็ ดี ภายใต บ ริ บ ทโลกและไทยซึ่ ง มี
การเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและไมอาจคาดการณไดในบางกรณี ในทายที่สุดแลว ยุทธศาสตรชาติดานการสราง
ความสามารถในการแข งขัน คื อ การติด อาวุธ แห งศั ก ยภาพพร อ มกั บ การเสริ ม เกราะป อ งกั น ภั ย ในเวที โ ลก
ซึ่งจําเปนตองมีการประเมิน ทบทวน และปรับเปลี่ยนยุทธศาสตรการพัฒนาอยางเปนพลวัต เพื่อใหประเทศไทย
มีความสามารถในการแขงขันที่แข็งแกรงและโดดเดนในระดับสากลอยางตอเนื่อง
นอกเหนือจากยุทธศาสตรในการสรางความสามารถในการแขงขันแลว การพัฒนาตามยุทธศาสตร
ประเทศที่เกี่ยวของกับประเทศไทย 4.0 จะมียุทธศาสตรดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
ที่มุงเนนการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ควบคูกับการปฏิรูปที่สําคัญทั้งในสวนของการปรับเปลี่ยนคานิยม
และวัฒ นธรรม เพื่อ ให คนมีความดีอยูใน “วิถี” การดําเนินชีวิ ตและมีจิตสํานึก รวมในการสรางสังคมที่น าอยู
และมีการปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม ในทุกระดับตั้งแตระดับปฐมวัยจนถึงการเรียนรูตลอดชีวิต โดยพัฒนา
ระบบการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม การเปลี่ยน
บทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิตเพื่อพัฒนา
ผูเรียนใหสามารถกํากับการเรียนรูที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางตอเนื่องแมจะออกจากระบบการศึกษาแลว รวมถึง
ความตระหนั กถึงพหุปญ ญา (multiple intelligence) ของมนุษยที่ห ลากหลาย และการพัฒ นาและรักษา
กลุม ผูมีความสามารถพิเศษของพหุปญญาแตละประเภท และการปฏิรูประบบเสริมสรางความรอบรูและจิตสํานึก
ทางสุขภาพ เพื่อใหคนไทยมีศักยภาพในการจัดการสุขภาวะที่ดีไดดวยตนเอง พรอมกับการสรางสภาพแวดลอม
ที่เอื้อตอการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ทั้งการเสริมสรางครอบครัวที่เขมแข็งอบอุนซึ่งเปน
การวางรากฐานการสงตอ เด็กและเยาวชนที่ มีคุณ ภาพสูการพัฒ นาในชว งอายุถั ดไป โดยการสงเสริมการเกิ ด
ที่ มี คุ ณ ภาพ การสร า งครอบครัว ที่ เหมาะสมกั บ คนรุ น ใหม การส ง เสริ ม บทบาทในการมี ส ว นร ว มพั ฒ นาคน
การพัฒนาระบบฐานขอมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่มีความเชื่อมโยงและบูรณาการขอมูลดานการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยระหวางกระทรวง/หนวยงานที่เกี่ยวของ และการเสริมสรางศักยภาพการกีฬาในการสรางคุณคา
ทางสั ง คมและพั ฒ นาประเทศ โดยการใช กิ จ กรรมนั น ทนาการและกี ฬ าเป น เครื่อ งมื อ เสริ ม สร า งสุ ข ภาวะ

2-16
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-16 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ของประชาชนอยางครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน รวมถึงการพัฒนาทักษะดานกีฬาสูความเปนเลิศและกีฬา
เพื่อการอาชีพ
ทั้งนี้ กลยุทธที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสูประเทศไทย 4.0 ไดแก การปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม
โดยการพั ฒ นาระบบการเรีย นรูที่ ตอบสนองตอ การเปลี่ย นแปลงในศตวรรษที่ 21 ที่มุงเนน ผูเรียนใหมีทักษะ
การเรี ย นรูแ ละมีใจใฝเรีย นรูตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรูใหม การเปลี่ย นบทบาทครู การเพิ่ ม
ประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต การสรางความตื่นตัวใหคนไทย
ตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางตําแหนงของประเทศไทยในภูมิภาคเอเซียอาคเนยและประชาคม
โลก การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรูโดยใชดิจิทัลแพลตฟอรม และการสรางระบบการศึกษาเพื่อเปนเลิศ
ทางวิชาการระดับนานาชาติ
ในกลยุทธการปฏิรูปการเรียนรูแบบพลิกโฉม มีกลยุทธยอยที่สําคัญที่เกี่ยวของคือ 1) การปรับเปลี่ยน
ระบบการเรียนรูใหเอื้อตอการพัฒนาทักษะสําหรับศตวรรษที่ 21 โดยออกแบบกระบวนการเรียนรูในทุกระดับชั้น
อย า งเป น ระบบ ตั้ ง แต ร ะดั บ ปฐมวั ย จนถึ ง อุ ด มศึ ก ษา ที่ มุ ง เน น การใช ฐ านความรูแ ละระบบคิ ด ในลั ก ษณะ
สหวิทยาการ 2) การเปลี่ยนโฉมบทบาท “ครู” ใหเปนครูยุคใหม โดยปรับ บทบาทจาก “ครูสอน” เปน “โคช”
หรือ “ผูอ ํานวยการการเรียนรู” ทําหนาที่กระตุน สรางแรงบันดาลใจ แนะนําวิธีเรียนรูและวิธีจัดระเบียบการสราง
ความรู ออกแบบกิจกรรมและสรางนวัตกรรมการเรียนรูใหผูเรียน และมีบทบาทเปนนักวิจัยพัฒนากระบวนการ
เรียนรูเ พื่อผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน 3) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท จัดให
มีมาตรฐานขั้นต่ําของโรงเรียนในทุกระดับ จัดโครงสรางการจัดการการศึกษาเพื่อสรางความรับผิดชอบตอผลลัพธ
(Accountability) และให เ อื้ อ ต อ การเข า ถึ ง การศึ ก ษาอย า งเสมอภาค ทั่ ว ถึ ง และใช ท รั พ ยากรได อ ย า งมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ 4) การสรางความตื่น ตัว ให คนไทยตระหนัก ถึงบทบาท ความรับ ผิดชอบ และการวางตําแหน ง
ของประเทศไทยในภู มิ ภ าคเอเชี ย อาคเนย แ ละประชาคมโลก บนพื้ น ฐานของความเข า ใจลุ ม ลึ ก (Critical
understanding) ในประวั ติ ศ าสตร ประเพณี วั ฒ นธรรมของไทยและพั ฒ นาการของประเทศเพื่ อ นบ า น
เพิ่มการรับรูของคนไทยดานพหุวัฒนธรรม 5) การวางพื้นฐานระบบรองรับ การเรียนรูโดยใชดิจิทัลแพลตฟอรม
โดยเนนการพัฒนาทักษะดิจิทัล ทักษะการคัดกรองความรู องคความรู การใชเทคโนโลยีผสมผสานกับคุณคาของครู
ไปพรอมกัน การพัฒนาสื่อการเรียนรูที่มีคุณภาพที่ประชาชนสามารถเขาถึงทรัพยากรและใชประโยชนจากระบบ
การเรียนรูและพัฒนาตนเองผานเทคโนโลยีการเรียนรูสมัยใหมํใหเกิดประโยชนสูงสุด 6) การสรางระบบการศึกษา
เพื่ อ เป น เลิ ศ ทางวิ ช าการระดั บ นานาชาติ โดยเน น การเสริ ม สร างและพั ฒ นาศั ก ยภาพสถาบั น การศึ ก ษาที่ มี
ความเชี่ ย วชาญและมีค วามโดดเด น เฉพาะสาขาสู ร ะดั บ นานาชาติ ในการให บ ริก ารทางการศึก ษา วิ ช าการ
และการพั ฒ นาสมรรถนะแรงงาน ควบคูกับ การสรา งเครือขา ยความรว มมือทางวิช าการและการแลกเปลี่ย น

2-17
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-17
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

นั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา และบุ ค ลากรทางการศึ ก ษาเพื่ อ สร า งความแข็ ง แกร ง ทางวิ ช าการ เป น ศู น ย ฝ ก อบรม
และศูนยทดสอบสมรรถนะในระดับภูมิภาค
ทั้งนี้ ประเด็นที่เกี่ยวของ คือ ในกลยุทธยอยที่ 5 คือ การวางพื้นฐานระบบรองรับการเรียนรูโดยใช
ดิจิ ทั ลแพลตฟอรม โดยเนน การพั ฒ นาทัก ษะดิจิทั ล ทั ก ษะการคั ดกรองความรู องคค วามรู การใชเทคโนโลยี
ผสมผสานกับคุณคาของครูไปพรอมกัน เพื่อเปนกลยุทธเพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดลอมของการเรียนการสอนใหเขา
สูก ารใช ดิ จิทั ล ที่ มากขึ้น รวมถึงการนํ า ระบบดิ จิทั ลมาจัด การองคค วามรูและการพั ฒ นาทั้ งผูเรีย นและผู สอน
อยางเปนระบบ
2.2 แผนการปฏิรูปประเทศ
รัฐธรรมนู ญแหงราชอาณาจักรไทย หมวด 16 การปฏิรูป ประเทศ กําหนดใหดําเนินการปฏิรูป
ประเทศและให ดําเนิน การปฏิ รูป ประเทศอยางนอยในดานตาง ๆ ให เกิดผลตามที่ กําหนด โดยให เป นไปตาม
ที่กําหนดในกฎหมายวาดวยแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ ซึ่งอยางนอยตองมีวิธีการจัดทําแผน
การมีส วนรวมของประชาชนและหนวยงานที่เกี่ยวของ ขั้นตอนในการดําเนินการปฏิรูปประเทศ การวัดผลการ
ดํ า เนิ น การ และระยะเวลาดํ า เนิ น การปฏิ รูป ประเทศทุ ก ด า น และต อ มาได มี ก ารตราพระราชบั ญ ญั ติ แ ผน
และขั้ น ตอนการดํ า เนิ น การปฏิ รู ป ประเทศ พ.ศ.2560 มี ผ ลใช บั งคั บ เมื่ อ วั น ที่ 1 สิ งหาคม 2560 เป น ต น มา
โดยกําหนดให มีการแตงตั้งคณะกรรมการปฏิ รูปประเทศดานตาง ๆ จํานวน 11 คณะกรรมการ เพื่อรับผิดชอบ
ในการจัดทําแผนการปฏิรูป ประเทศแตละดาน เพื่อกําหนดกลไก วิธีการ และขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ
ในด านต าง ๆ และเมื่อไดรับ ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและรายงานตอรัฐสภาเพื่อทราบแลว ใหประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาและใชบังคับไดตอไป
ทั้งนี้ เพื่อใหเปนไปตามที่กําหนดในพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการดําเนินการปฏิรูปประเทศ
พ.ศ.2560 คณะรัฐ มนตรีไดมีมติเมื่อ วัน ที่ 15 สิ งหาคม 2560 แตงตั้งคณะกรรมการปฏิรูป ประเทศดานตาง ๆ
จํานวน 11 คณะ อันประกอบดวย คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานการเมือง คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดาน
การบริ ห ารราชการแผ น ดิ น คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศด า นกฎหมาย คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศ
ด า นกระบวนการยุ ติ ธ รรม คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศด า นเศรษฐกิ จ คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศ
ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คณะกรรมการปฏิรูปประเทศ ดานสาธารณสุข คณะกรรมการปฏิรูป
ประเทศดานสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานสังคม คณะกรรมการปฏิรูป
ประเทศดานพลังงาน และคณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ
มิ ช อบ เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบในการดํา เนิ น การจั ด ทํ า รา งแผนการปฏิ รูป ประเทศให เป น ไปตามหลั ก เกณฑ วิ ธี ก าร

2-18
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-18 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

และเงื่อนไขที่กําหนด ตลอดจนไดจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นของประชาชนและหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ
อยางกวางขวาง เพื่อประกอบการพิจารณาจัดทํารางแผนการปฏิรูปประเทศดานตาง ๆ
คณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศด า นต า ง ๆ ได ดํ า เนิ น การจั ด ทํ า ร า งแผนการปฏิ รู ป ประเทศ
เปนที่เรียบรอย และไดเสนอคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติพิจารณาความสอดคลองกับยุทธศาสตรชาติ ประกอบ
กั บ คณะรั ฐ มนตรี ได มี ม ติ เมื่ อ วั น ที่ 13 มี น าคม 2561 เห็ น ชอบร า งแผนการปฏิ รู ป ประเทศตามที่ สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในฐานะฝายเลขานุการคณะกรรมการยุทธศาสตรชาติ
และคณะกรรมการปฏิ รู ป ประเทศเสนอ และสภานิ ติบั ญ ญั ติ แ ห ง ชาติ ได มี ก ารประชุ ม เมื่ อ วั น ที่ 29 มี น าคม
พ.ศ.2561 รับทราบแผนการปฏิรูปประเทศเปนที่เรียบรอยแลว โดยในแผนการปฏิรูปมีประเด็นที่สําคัญที่เกี่ยวของ
กับการพัฒนาประเทศไทยตามกรอบแนวคิดประเทศไทย 4.0 ดังนี้
จากบริบทตามขอกําหนดของรัฐธรรมนูญ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศดานเศรษฐกิจจึงไดกําหนด
กรอบการปฏิรูปประเทศดานเศรษฐกิจ คือ การปฏิรูปประเทศอยางยั่งยืนและครอบคลุมทุกมิติ โดยมุงใหเกิด
การสรางการเติบ โตทางเศรษฐกิจ อยางยั่งยืน เกิดการกระจายโอกาสทางเศรษฐกิจสูเศรษฐกิจ ระดับ ฐานราก
และเรงความเร็วในยกระดับ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทยอยางจริงจัง ผานการปฏิ รูป 3 ดานหลัก
ได แ ก ด า นที่ 1 การเพิ่ ม ความสามารถในการแข ง ขั น ของประเทศ ด า นที่ 2 ความเท า เที ย มและการเติบ โต
อยางมีสวนรวม และดานที่ 3 การปฏิรูปดานสถาบันเศรษฐกิจ
ดานที่ 1 การเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ
การเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศ เปนหัวใจของการยกระดับการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ โดยมีจุ ดเนนหลักที่ การพัฒ นาศักยภาพของภาคเศรษฐกิจที่แทจริง คือ ภาคการผลิตและบริการ
ของประเทศ ซึ่งตอ งเกิดจากความเขม แข็งของปจ จัย สนับ สนุ นหลายดาน ทั้งดา นทรัพ ยากรมนุษ ย ศัก ยภาพ
ดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม โครงสรางพื้นฐาน รวมทั้งกฎระเบียบตางๆ ที่เกี่ยวของที่เอื้อตอการคาการลงทุน
และการใชประโยชนจากทรัพยากรตาง ๆ อยางมีประสิทธิภาพและมูลคาเพิ่มสูงสุด โดยในรางยุทธศาสตรชาติ
ระยะ 20 ป ไดมีการกําหนดยุทธศาสตรดานการสรางความสามารถในการแขงขัน เปนหนึ่งในยุทธศาสตรหลัก
อี ก ทั้ งยั งเกี่ ย วข อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร ดา นการพั ฒ นาและเสริม สร างศั ก ยภาพทรัพ ยากรมนุ ษ ย ด ว ย นอกจากนี้
ในแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ฉบั บ ที่ 12 ได กํ า หนดยุ ท ธศาสตร ในการพั ฒ นาความสามารถ
ในการแข งขัน ของประเทศ ในยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน
โดยมุงพั ฒ นาและยกระดับ ภาคการผลิตและบริก าร โดยการปฏิรูป ประเทศดานเศรษฐกิจ ไดกําหนดประเด็น
การปฏิรูปที่สําคัญที่สอดคลองกับยุทธศาสตรชาติและแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ไดแก 1) การพัฒนาอุตสาหกรรม
หลักของประเทศ เชน อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ อุตสาหกรรมอาหาร และอุตสาหกรรมเกษตร
2-19
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-19
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2) การส ง เสริ ม การลงทุ น ในอุ ต สาหกรรมและบริ ก ารในอนาคต ได แ ก อุ ต สาหกรรมเศรษฐกิ จ ชี ว ภาพ


อุต สาหกรรมยานยนต ไฟฟ า อุต สาหกรรมเครื่อ งใช ไฟฟ า อัจ ฉริ ย ะ อุ ต สาหกรรมเศรษฐกิ จ ดิ จิ ตั ล ธุ ร กิ จ
การศึกษาและบริการสุขภาพ รวมทั้งพัฒนาปจจัยสนับสนุนและกฎระเบียบที่เกี่ยวของ โดยมีประเด็นปฏิรูป ไดแก
1) การพัฒนาบุคลากรและแรงงานในอุตสาหกรรม 2) การเพิ่มการแขงขันทางการคาภายในประเทศ 3) การพัฒนา
ขีดความสามารถดานเทคโนโลยี 4) การพัฒนาระบบนิเวศดานการวิจัยและพัฒนาและนวัตกรรม ผานการจัดสรร
เงินทุนอยางมีคุณภาพเพื่อตอบโจทยการพัฒนาของภาคการผลิตและบริการเปาหมาย 5) การบูรณาการเศรษฐกิจ
กับ ประเทศอื่น ๆ ในภูมิภาค ดวยการสงเสริมการลงทุนในโครงสรางพื้นฐานและการเปดเสรีการคาและบริการ
ระหวางประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะประเทศ CLMV และภูมิภาคใกลเคียง เชน ภาคใตของจีน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย และบังคลาเทศ เปนตน เพื่อสรางความเขมแข็งของหวงโซอุปทาน
และห วงโซ มู ลค า ในภู มิภ าค (Regional supply chain/value chain) เปน ตน ทั้งนี้ ยุท ธศาสตรดา นการสราง
ความสามารถในการแข ง ขั น มี ป ระเด็ น การพั ฒ นาประกอบด ว ย 1) การพั ฒ นาภาคการผลิ ต และบริ ก าร
2) การพัฒนาสังคมผูประกอบการ (Entrepreneurial society) เพื่อสรางผูประกอบการทางธุรกิจ 3) การพัฒนา
ปจจัยสนับสนุนและการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน และ 4) การวางรากฐานที่
แข็งแกรงเพื่อสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
ในแผนปฏิ รูป ดานการสรา งความสามารถในการแขงขันจะใหความสําคัญ ของการเพิ่ มผลิ ตภาพ
มีการเนนถึง 3 กลุมอุตสาหกรรมหลัก คืออุตสาหกรรมการเกษตร ทองเที่ยวและบริการ และอาหาร ซึ่งเปนกลุม
อุต สาหกรรมที่มี มู ลคา โดยรวมกวา รอ ยละ 40 ของผลิต ภั ณ ฑ มวลรวมในประเทศ และสามารถชว ยยกระดับ
และกระจายความเจริญ ของเศรษฐกิจ ไทยในระยะสั้นได เนื่อ งจากเปน กลุมอุตสาหกรรมที่มีแรงงานมากกวา
20 ลานคน (คิ ดเป น รอ ยละ 60 ของแรงงานทั้งประเทศ) ทั้ งนี้ อุ ตสาหกรรมเกษตรมี ความสํา คัญ ทั้ งทางดา น
เศรษฐกิจและสังคมของไทย โดยคิดเปนรอยละ 10 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ และประมาณรอยละ 30
ของการจ า งงาน ดั ง นั้ น การปฏิ รู ป เพื่ อ ปรั บ ปรุง ประสิ ท ธิ ภ าพและสมรรถภาพของอุ ต สาหกรรมการเกษตร
จึงมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ นอกจากนี้ อุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการ และอุตสาหกรรมอาหาร
มีโอกาสขยายตัวเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะจากการเจริญเติบโตของประเทศในกลุม CLMVT (กัมพูชา ลาว เมียนมา
เวียดนาม และไทย)
นอกจากนี้กลุมอุตสาหกรรมใหมกลาวคือ อุตสาหกรรมเศรษฐกิจชีวภาพ อุตสาหกรรมยานยนตไฟฟา
อุตสาหกรรมเครื่อ งใชไฟฟาอัจ ฉริย ะ และอุตสาหกรรมเศรษฐกิจ ดิจิ ทัล จะเปนอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตสูง
และเป น อุ ตสาหกรรมที่สํา คัญ ในระยะยาวตอ เศรษฐกิจ ของไทยในอนาคต ดว ยเหตุนี้ จึงจํา เปน ตองมีการเพิ่ ม
ศั ก ยภาพในการแข ง ขั น ของอุ ต สาหกรรมชี ว ภาพ (บู ร ณาการเข า กั บ อุ ต สาหกรรมการเกษตรและอาหาร)

2-20
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-20 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมยานยนตไฟฟา (พั ฒนาตอยอดจากอุตสาหกรรมยานยนตที่มีอยูแลว) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส


อั จ ฉริย ะ (พั ฒ นาจากอุ ตสาหกรรมไฟฟ า และอุตสาหกรรมอิ เล็กทรอนิก ส) อุต สาหกรรมดิจิทั ล อุ ตสาหกรรม
การศึกษา และอุตสาหกรรมการ แพทยและสุขภาพ ตามตารางที่ 2.2

2-21
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-21
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-22
ตารางที่ 2.2 สรุปสาระสําคัญของกลุมอุตสาหกรรม

กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา


อุตสาหกรรม อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วและบริ ก ารในประเทศไทยได - ความคลุ ม เครื อ ในภาระและหน า ที่ ข องกระทรวง
ทองเที่ยว และ ขยายตัว ในเชิงของมูลคาเพิ่ มเฉลี่ย รอยละ 9.1 ตอป (ป พ.ศ. การทองเที่ยวและกีฬ า และการทองเที่ยวแหงประเทศไทย
การบริการ 2553 - 2559) และมีมูลคา 2.9 แสนลานบาทในป พ.ศ.2559 ได จํ า กั ด ความสามารถของหน ว ยงานในการขั บ เคลื่ อ น
(รวมการใช จ า ยโดยตรงและทางอ อ ม) และขยายตั ว ในเชิ ง โครงการให เ ป น ไปตามแผนการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรม
ของการสรางงานรอยละ 3.2 ตอป ในชวงเวลาเดียวกัน และได การทองเที่ยวและบริการและตามกลยุทธตาง ๆ ของรัฐ
สร า งงานถึ ง 2.3 ล า นคน ในป พ.ศ.2559 ซึ่ ง ในช ว งเวลา - รายจายตอหัวของนักทองเที่ยวตางชาติในประเทศไทย
ดั ง กล า วผลิ ต ภาพได เ พิ่ ม ขึ้ น ร อ ยละ 40 และอุ ต สาหกรรม อยู ที่ ป ระมาณ 150 ดอลล า ร ส หรัฐ ตอ วั น ต่ํ า กว า ค า เฉลี่ ย
ท อ งเที่ ย วและบริ ก ารในประเทศไทยปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น ในช ว ง ของประเทศในภู มิภ าคเอเชีย แปซิ ฟกและประเทศสิ งคโปร
หลายปที่ผานมาและเป นแกนหลักใหกับ เศรษฐกิจไทย โดยมี ซึ่ ง มี ร ายจ า ยต อ หั ว ของนั ก ท อ งเที่ ย วประมาณ 240 และ
มูลคาทางดานเศรษฐกิจถึงรอยละ 25 ของผลิตภัณ ฑมวลรวม 440 ดอลลารสหรัฐตอวัน ตามลําดับ สืบเนื่องจากประเทศ
ภายในประเทศ ไทยมี สั ด ส ว นของการท อ งเที่ ย วราคาประหยั ด ที่ สู ง และ
ขอเสนอบริการ การทองเที่ยวราคาสูงของประเทศไทยยังมีจํากัด
- การท อ งเที่ ย วส ว นมากจํ า กั ด อยู ใน 5 จั ง หวั ด ใหญ
ไดแก กรุงเทพมหานคร ภูเก็ต ชลบุรี เชียงใหม และสุราษฎร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ธานี โดยค า ใช จ า ยในจั ง หวั ด เหล า นี้ คิ ด เป น ร อ ยละ 80


ของการทองเที่ยวรวมของประเทศไทย
- แหล ง ท อ งเที่ ย วที่ ส ร า งขึ้ น (Man-Made) มี จํ า กั ด
โดยแหล ง ท อ งเที่ ย วของประเทศยั ง ขาดกิ จ กรรมส ง เสริ ม
สํ า หรั บ ลู ก ค า เป า หมายเฉพาะ มี ป ญ หาการเชื่ อ มโยง

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2-22
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา


การคมนาคม ขาดความปลอดภั ย และความสะอาดเมื่ อ
เปรียบเทียบกับประเทศญี่ปุนและฮองกง
- ขอมูลการทองเที่ยวกระจัดกระจาย ไมสามารถเขาถึง
ได และการขาดขอมูลกลางที่นาเชื่อถือซึ่งทําใหไมสามารถทํา
การวางแผนและดํ าเนิ น การขั บ เคลื่ อ นแผนสํ าหรับ ลู ก ค า
เฉพาะกลุมอยางมีประสิทธิภาพ
อุตสาหกรรมการเกษตร ภาคการเกษตรเปนภาคที่สําคัญมากตอประเทศ โดยคิดเปน - ขาดแหลงขอมูลที่ครบถวนและเชื่อถือไดของปริมาณ
รอ ยละ 10 ของผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมในประเทศ และในภาค ความตองการ ปริมาณการผลิต และราคาของสิน คาเกษตร
แรงงานคิ ด เป น ร อ ยละ 30 ของแรงงานทั้ ง หมด ในขณะที่ ซึ่งทําใหเกษตรกรรายยอยเสียเปรียบเนื่องจากขาดขอมูล
อุตสาหกรรมเกษตรไดขยายตัวในเชิงของมูลคาเพิ่มเฉลี่ยรอยละ - ผลผลิตการเกษตรต่ํา เนื่องจากเทคโนโลยี เครื่องจักร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
8.7 ต อ ป (ป พ .ศ .2553 – 2556) แ ล ะ แ รงงาน ใน ภ า ค และวิ ธีก ารเพาะปลู ก ที่ ไม ทั น สมั ย การเพาะปลู ก ในแปลง
การเกษตรไดหดตัวลงรอยละ 3.6 ในชวงเดียวกัน ซึ่งแสดงถึง ขนาดเล็ ก และการขาดระบบชลประทานและการพั ฒ นา
ประสิทธิภาพทีเ่ พิ่มขึ้น อยางไรก็ดี แนวโนมตรงกันขามในชวงป คุณภาพดินและพันธุพืชที่ดี
พ.ศ.2556 - 2560 อุ ต สาหกรรมเกษตรได ห ดตั ว ในเชิ ง ของ - ราคาสินคาเกษตรต่ํา เกษตรกรในประเทศไทยมุงเนน
มูล คา เพิ่ มเฉลี่ย ร อยละ 3.4 ต อ ป (ป 2556 – 2559) มี มูล คา ในการผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ารเกษตรที่ มี มู ล ค า ต่ํ า เนื่ อ งจาก
1.7 แสนลานบาทในป พ.ศ.2559 ซึ่งแสดงถึงผลิตภาพที่ลดลง ไม ส ามารถเข า ถึ ง ข อ มู ล รวมทั้ ง ขาดความรู แ ละศั ก ยภาพ
รอยละ 15 (ป พ.ศ.2556 - 2559) ในการใชข อมูล ให เป น ประโยชน อีก ทั้ งช องทางการเขาถึ ง
ตลาดของเกษตรกรโดยเฉพาะเกษตรกรรายยอยยังจํากัด
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-23

2-23
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-24
กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา
อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมอาหารของประเทศไทยไดขยายตัวในเชิงของ - ขาดหน ว ยงานรัฐ ที่ ทํ าหน า โดยตรงในการวางแผน
มู ล ค า เพิ่ ม เฉลี่ ย ร อ ยละ 3.5 ต อ ป (ป พ.ศ.2554 – 2558) และยุทธศาสตรการผลิตอาหารและการจัดสงเสริมการขาย
และมีมูลคา 0.6 แสนลานบาทในป พ.ศ.2558 และไดขยายตัว สําหรับลูกคาเฉพาะกลุม
ในเชิ งของการจ างงานรอ ยละ 6.6 ต อ ป ในช วงเวลาเดีย วกั น - ขาดการวิ จั ย และพั ฒ นา ทั้ ง นี้ ก ารลงทุ น ในด า น
และได ก อ ให เกิ ด การจ า งงาน 1.5 ล า นงานในป พ.ศ.2558 การวิ จั ย พั ฒ นาในประเทศไทยนั้ น ยั ง ต่ํ า กว า มาตรฐาน
ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการลดลงของผลิตภาพที่รอยละ 8 ระหวางป ของภู มิ ภ าคและนานาชาติ โดยประเทศไทยมี ก ารลงทุ น
พ.ศ.2554 – 2558 ในดานการวิจัยพัฒนารวมอยูที่รอยละ 0.6 ของผลิตภั ณฑ
มวลรวมในประเทศ ในขณะที่ประเทศเกาหลีใตมีการลงทุน
ในดานการวิจัยพัฒนาที่รอยละ 4.1 ของผลิตภัณฑมวลรวม
ในประเทศ ในขณะที่ประเทศไทยมีจํานวนนักวิจัย 0.3 ราย
ต อ จํ า นวนพนั ก งาน 1,000 ราย ในขณะที่ ป ระเทศจี น
มีนักวิจัย 5.3 ราย ตอจํานวนพนักงาน 1,000 ราย
- ขาดกิ จ กรรมส งเสริม อาหารที่ ผ ลิ ต ในประเทศไทย
“Made in Thailand” ในตลาดเปาหมายตาง ๆ และการคา
ที่ลดต่ําลงกับประเทศคูคาหลักเดิม เชน ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา
และสหภาพยุโรป ในขณะที่การคาที่กําลังเติบโตกับประเทศ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

คูคา เชน จีน เมียนมา เวียดนาม และกัมพูชา ยังไมสามารถ


ทดแทนการสงออกที่หายไปได

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2-24
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา


อุตสาหกรรมเศรษฐกิจ ผลิต ภั ณ ฑ ชี ว ภาพในตลาดโลกได เติ บ โตขึ้ น อย างชัด เจน - หากดู ตั ว อย า งความสํ า เร็ จ อย า งเช น ประเทศ
ชีวภาพ ในชว งที่ผานมาและคาดวาจะเติบโตอยางตอ เนื่องในอนาคต เนเธอร แ ลนด ซึ่ ง เศรษฐกิ จ ชี ว ภาพคิ ด เป น ร อ ยละ 15.2
เชน การผลิ ตเชื่อเพลิงชีว ภาพเพิ่ม ขึ้ นเฉลี่ย รอยละ 6.3 ตอ ป ของผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมในประเทศ โดยมี ป จ จั ย หลั ก ของ
(ป พ.ศ.2554 - 2559) และคาดวาจะเติบโตรอยละ 10.2 ตอป ความสํ า เร็ จ ของการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมของประเทศ
ระหวางป พ.ศ.2560 - 2565 เนเธอรแลนด คือ ความสามารถในการเขาถึงแหลงชีวมวล
ถึงแมอุตสาหกรรมเศรษฐกิจชีวภาพยังอยูในชวงเริ่มตนโดย ของประเทศทั้ ง จากการนํ า เข า และจากอุ ต สาหกรรม
คิ ด เป น เพี ย งร อ ยละ 2 ของผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวมในประเทศ การเกษตรขนาดใหญ การมี ร ะบบนิ เ วศที่ ส ง เสริ ม ธุ ร กิ จ
และจํ า นวนแรงงานในอุ ต สาหกรรมยั ง เป น จํ า นวนที่ น อ ย การมีนโยบายสนับ สนุนที่ชัดเจนจากรัฐบาล และศูน ยวิจัย
เมื่อเทียบกับแรงงานทั้งหมด แตอุตสาหกรรมเศรษฐกิจชีวภาพ พัฒนาเฉพาะตาง ๆ สําหรับ อุตสาหกรรมเศรษฐกิจชีวภาพ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ของประเทศไทยมีโอกาสในการพัฒนาที่สูงดวยการสนับสนุน อีกทั้งภาครัฐยังเนนการอํานวยใหเกิดการรวมมือและรวมทุน
ที่มั่นคงของภาครัฐ ยกตั วอยางเชน ตามเปาหมายที่ป ระเทศ ระหวางภาคการศึกษา ภาครัฐ และภาคเอกชน และสงเสริม
ไทยจะเพิ่ ม สั ด ส ว นของพลั ง งานทดแทนจากร อ ยละ 8 กิจกรรมในการพัฒนาหวงโซของอุตสาหกรรมชีวภาพตาง ๆ
ในป จ จุบั น เป น รอ ยละ 17 ในป พ.ศ.2579 การผลิ ตพลังงาน ใหครบถวนตอเนื่อง
จากพลังงานชีวภาพ ซึ่งเปนหนี่งในสีธ่ ุรกิจดานเศรษฐกิจชีวภาพ
ที่ใหญที่สุดของประเทศ จะขยายตัวเปนสองเทา
อุตสาหกรรมยานยนต ส ว นแบ ง ของรถยนต ไ ฟฟ า ในตลาดยานยนต ข องจี น - ประเทศไทยมี บ ทบาทอย า งมากในตลาดยานยนต
ไฟฟา อเมริกา และสหภาพยุโรป ถูกคาดวาจะเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต ในฐานะผู ผ ลิ ต หลั ก
ใน 20 ป ข า งหน า การคาดการณ ข องการใช ย านยนต ไฟฟ า ของเครื่ อ งยนต ดั้ ง เดิ ม ต า ง ๆ ผลิ ต รถยนต แ ละรถบรรทุ ก
ที่มากขึ้นมาจากการที่ หลายประเทศไดเริ่มออกนโยบายยับยั้ง มากกวา 2.6 ลานคันในป พ.ศ.2558 ประเทศไทยจําเปนตอง
การใชรถยนตที่ใชเครื่องยนตระบบเผาไหมภายใน โดยจะมีผล ปรับทิศทางการผลิตยานยนตไปในการผลิตชิ้นสวนยานยนต
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-25

2-25
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-26
กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา
บังคับใชระหวางป พ.ศ.2568 - 2583 ที่เกี่ยวกับยานยนตไฟฟามากขึ้น เพราะหากผูผลิตยานยนต
แม ว า ยอดขายยานยนต ไ ฟ ฟ า จะคิ ด เป น ร อ ยละ 1 เปลี่ยนไปผลิตยานยนตไฟฟาและไมเลือกที่จะผลิตยานยนต
ของยอดขายรถยนตในปจจุบัน แตภายในป พ.ศ.2583 โดยที่ ในประเทศไทย แรงงานกว า 650,000 ราย อาจได รั บ
กวารอยละ 50 ของรถใหมจะเปนยานยนตไฟฟา ดังนั้นสัดสวน ความเสี่ยง เนื่องจากแรงงานกวา 450,000 ราย ทํางานกับ
ของยานยนต ไ ฟฟ า ในยานยนต ข นาดเล็ ก (Light vehicle ผู ผ ลิ ต เที ย ร 1 เที ย ร 2 และเที ย ร 3 มี แ รงงานจํ า นวน
fleet) ของทั่วโลกจะเพิ่มขึ้นจากรอยละ 1 ในปจจุบันเปนรอย 100,000 ราย ทํางานกับอุตสาหกรรมสนับสนุน ตาง ๆ และ
ละ 30 ในป พ.ศ.2583 ซึ่ งตรงกั บ การคาดการณ ข องผู ผ ลิ ต อีก 100,000 ราย ทํางานกับโรงงานประกอบรถยนต
ที่ ร ายใหญ ต า ง ๆ ที่ ไ ด ตั้ ง เป า การผลิ ต ยานยนต ไ ฟฟ า ไว ที่
20 ลานคันตอปภายในป 2568

อุตสาหกรรม ป จ จุ บั น อุ ต สาหกรรมไฟฟ า และอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส กํ า ลั ง - ประเทศไทยมีอุ ตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิก ส


อิเล็กทรอนิกสอจั ฉริยะ เปลี่ยนแปลงอยางมาก สิ นคาสินคาไฟฟาและอิเล็กทรอนิ กส ขนาดใหญและเนนการสงออกเปนสําคัญ ตั้งแตป พ.ศ.2555
ดั้ ง เดิ ม กํ า ลั ง ถู ก ทดแทนด ว ยสิ น ค า อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส อั จ ฉริ ย ะ อุตสาหกรรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไดหดตัวที่รอยละ 0.4
จํานวนของอุปกรณอัจฉริยะ (Smart Devices) จะเพิ่มขึ้นจาก ตอป ในขณะเดียวกันการหดตัวของการสงออกนั้นสอดคลอง
17 พันล านเครื่องในป พ.ศ.2559 เปน 30 พันลานเครื่องในป ไปกั บ การที่ ป ระมาณการลงทุ น จากต า งประเทศ (FDI)
พ.ศ.2563 และ 75 พันลานเครื่องในป พ.ศ.2568 ในอุต สาหกรรรมไฟฟ าและอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส ในประเทศไทย
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ระหวางป พ.ศ.2553 - 2559 มี การลงทุ น เพี ย ง 6 พั น ล าน


เหรีย ญสหรัฐ โดยการชะลอตั ว ของอุ ต สาหกรรรมไฟฟ า
และอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส เดิ มและการปรั บ ตั ว ของอุ ต สาหกรรม
สูอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะจะเปนความเสี่ยงของประเทศไทย

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2-26
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา


ในเชิง GDP และการจางแรงงานในอนาคต
อุตสาหกรรม ตลาดการทองเที่ยวและบริการออนไลนถูกคาดการณวาจะ - แนวโนม การเติ บ โตของเศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล ของไทยนั้ น
เศรษฐกิจดิจิทัล พัฒ นาจาก 26,000 ล านเหรียญสหรัฐฯ ในป พ.ศ.2558 เปน เป น ไปในแนวทางเดี ย วกั น กั บ ของภู มิ ภ าค อย า งไรก็ ต าม
90,000 ล า นเหรีย ญ ในป พ.ศ.2568 หรือ เติ บ โตรอ ยละ 15 ป ญ ห าห ลั ก ที่ เป น ค ว าม เสี่ ย งสํ าคั ญ ใน ก าร พั ฒ น า
ต อ ป ตลาดคา ปลี ก ออนไลน ถู ก คาดการณ ว า จะพั ฒ นาจาก ของอุตสาหกรรมเศรษฐกิจดิจิทัลคือ การขาดซึ่งบุคลากรที่มี
7 พั น ล า น เห รี ย ญ ส ห รั ฐ ใน ป พ .ศ .2558 เป น 88,000 ความสามารถ เชน ประเทศไทยมีโ ปรแกรมเมอร 726 คน
ล า นเหรี ย ญ ในป พ.ศ.2568 หรื อ เติ บ โตร อ ยละ 22 ต อ ป ตอประชากร 1 ลานคน ในขณะที่สิงคโปรมีโปรแกรมเมอร
ตลาดสื่อและการบันเทิงออนไลนถูกคาดการณวาจะพัฒนาจาก 32,000 คนต อ ประชากร 1 ล า นคน ระบบชํ า ระเงิ น ที่ ยั ง
5 พั น ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ ในป พ.ศ.2558 เป น 20,000 ล า น พึ่งพาวิธีการจายเงินสด ณ จุดรับของ (Cash-on Delivery)

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เหรียญในป พ.ศ.2568 หรือเติบโตรอยละ 23 ตอป ที่ มี ค วามเสี่ ย งและต น ทุ น สู ง ข อ จํ า กั ด ท างกายภาพ
และกฎเกณฑ ข องโครงข า ยอิ น เตอร เน็ ต และระบบขนส ง
การฉอโกงทีม่ ีระดับสูง และระบบนิเวศสตารทอัพที่มีขนาดเล็ก
อุตสาหกรรม มหาวิ ท ยาลั ย ของไทยยั ง มี อั น ดั บ ที่ ต่ํ า เมื่ อ เที ย บอั น ดั บ - ช อ งว า งใน เชิ งป ระ สิ ท ธิ ภ าพ ข อ งก ารศึ ก ษ า
การศึกษา ในระดับนานาชาติและระดับภูมิภาคโดยมหาวิทยาลัย 3 อันดับ ของประเทศไทยและมาตรฐานของนานาชาติและภูมิภ าค
สู ง สุ ด ของประเทศไทย ได แ ก จุ ฬ าลงกรณ ม หาวิ ท ยาลั ย ไม เพี ย งปรากฏในระดับ มหาวิทยาลัยแตยั งปรากฏในภาค
มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล และ มหาวิท ยาลั ย ธรรมศาสตร ถู ก จั ด การศึ ก ษาในองค ร วม โดยการศึ ก ษาในระดั บ สู ง กว า
อันดับที่ 245 334 และ 600 ตามลําดับ ในขณะที่มหาวิทยาลัย มั ธยมศึก ษานั้ น ประเทศไทยถู ก จั ด อั น ดั บ ที่ 56 ในขณะที่
จากประเทศเพื่อ นบานในภูมิภ าค เชน นันยางเทคโนโลจิคัล ประเทศสิงคโปร เกาหลีใต และ มาเลเซีย ไดรับการจัดอันดับ
ยู นิ เ วอร ซิ ตี้ (Nanyang Technological University) แนชั น ที่ 1 อั น ดับ ที่ 23 และอั น ดั บ ที่ 36 ตามลํา ดั บ โดยการจั ด
นอล ยูนิเวอรซิตี้ ออฟ สิงคโปร (National University of Singapore) อันดับยังประกอบดวยตัวชี้วัดตาง ๆ เชน ระดับการศึกษา
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-27

2-27
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-28
กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา
ออสเตรเลี่ ยนแนชั นนอลยู นิ เวอร ซิ ตี้ (The Australian National ในระดับมัธยมศึกษา การศึกษาในระดับอุดมศึกษา คุณภาพ
University) ยู นิ เวอร ซิ ตี้ ออฟโตเกี ยว (The University of Tokyo) ของโรงเรียน อาจารย และระบบอินเทอรเน็ต
ฮองกงยูนิเวอรซิตี้ ออฟเทคโนโลยี แอนดแ อพพลายไซแอนท - น อ ก จ า ก นี้ ค ว า ม ส า ม าร ถ ใน ภ า ษ า อั งก ฤ ษ
แอนดเทคโนโลยี (The Hong Kong University of Science ของนักศึก ษาไทยยังตามหลังประเทศเพื่อนบานในภูมิภ าค
and Technology) นั้ น ถู ก จั ด อั น ดั บ อ ยู ใน 30 อั น ดั บ โดยอันดับคะแนน IELTS ของประเทศอยูที่อันดับ 5.9 จาก 9
มหาวิ ท ยาลั ย สู ง สุ ด ของการจั ด อั น ดั บ มหาวิ ท ยาลั ย โลก และประเทศไทยถูกจัดใหอยูที่อันดับที่ 6 ของประเทศในกลุม
โดยการจั ด อั น ดั บ เหลา นี้ โดยปกติ แ ลว มัก จะมี ความสั มพั น ธ ASEAN เทานั้น
สอดคลองกับสัดสวนนักเรียนตางชาติในประเทศ โดยประเทศ
ไทยมี สั ด ส ว นนั ก เรี ย นต า งชาติ อ ยู ที่ ร อ ยละ 0.5 เที ย บกั บ
สิงคโปร ออสเตรเลีย และฮองกง มีสัดสวนของนักเรียนตางชาติ
อยูที่รอยละ 19.2 รอยละ 18.3 และรอยละ 10.7 ตามลําดับ
อุตสาหกรรม ข อ มู ล ในระดั บ นานาชาติ ระหวา งป พ.ศ.2544 - 2557 - ในการพั ฒ นาการท อ งเที่ ย งเชิง สุข ภาพประเทศไทย
สาธารณสุข มีรายจายดานสาธารณสุขเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้นประมาณ ยัง ต อ งพั ฒ นาคุ ณ ภาพของบริ ก ารด า นสาธารณสุ ข ต า ง ๆ
ร อ ยละ 8 ต อ ป โดยประเทศไทยมี ร ายจ า ยเฉลี่ ย อยู ที่ 228 ทั้งดานสถานพยาบาล จํานวนแพทยและพยาบาล และไดรับ
ดอลล า รส หรั ฐ ต อ คน และมี ร ายจ า ยเพิ่ ม ขึ้ น รอ ยละ 9 ต อ ป การยอมรับจากนานาชาติ ผ าน Joint Commission International
ในชวงเวลาดังกลาว อยางไรก็ดี การเพิ่มขึ้นของรายจายดาน (JCI) ถึงแมประเทศไทยจะเปนผูนําในภูมิภาคดานการรองรับ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สาธารณสุ ข จะไม ใช สิ่ ง ที่ ดี ถ า หากไม ได เพิ่ ม ขึ้ น พร อ มไปกั บ มาตราฐาน JCI แต ใ นการดึ ง ดู ด คนไข จ ากต า งประเทศ
คุ ณ ภาพการบริ ก ารด า นสาธารณสุ ข ทั้ ง นี้ ในด า นคุ ณ ภาพ เพิ่มเติม ประเทศไทยจําเปนตองเพิ่มจํานวนสถานพยาบาล
ของสาธารณสุข จากการจัดอันดับขององคการอนามัยโลก ในป ที่รองรับมาตรฐาน JCI
พ.ศ.2544 ซึ่งเปนการจัดอันดับครั้งลาสุดในดานนี้ ประเทศไทย

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2-28
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรม ความสําคัญ ประเด็นปญหา/การพัฒนา


ถูกจัดอันดับอยูที่ 47 จาก 264 ประเทศทั่วโลก และจากการ
ใช Legatum Prosperity Index ในป 2560 ประเทศไทยถู ก
จัดอันดับ อยูที่ 35 จาก148 ประเทศทั่วโลก ถึงแมอันดับ ของ
ประเทศไทยในทั้ ง 2 ดั ช นี จ ะถู ก ประเมิ น โดยใช ตั ว ชี้ วั ด
ที่ แ ตกต า งกั น และไม ส ามารถเที ย บกั น ได โ ดยตรงแต อั น ดั บ
ดังกลาวแสดงใหเห็นวาคุณ ภาพของสาธารณสุขของประเทศ
ไทยยั งไม ไ ด รั บ การพั ฒ นาเท า ที่ ค วรและยั ง สามารถพั ฒ นา
ไดอีกมาก ทั้งนี้หากดูจากจํานวนแพทยและพยาบาลในประเทศ
ไทย ประเทศไทยมี แ พทย 0.4 คน และพยาบาล 2.1 คน
ต อ ประชากร 1,000 คน ซึ่ ง เป น อั ต ราที่ น อ ยกว า ประเทศ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สิงคโปรที่มีแพทย 2.2 คน และพยาบาล 6.4 คน มาเลเซียที่มี
แพทย 1.5 คน และพยาบาล 3.3 คน และฟลิปปนสที่มีแพทย
1.2 คน และพยาบาล 6.0 คนตอประชากร 1,000 คน อีกทั้ง
ตลาดสาธารณสุขในประเทศไทยยังแบงเปนโรงพยาบาลเอกชน
รอยละ 25 และโรงพยาบาลของรัฐรอยละ 75 โดยโรงพยาบาล
เอกชนสวนมากมีคุณภาพดีกวาโรงพยาบาลของรัฐมาก แตสวน
แบ งรอ ยละ 80 ของตลาดโรงพยาบาลเอกชนถู กถื อครองโดย
ผูประกอบการหลักเพียง 5 ราย
ที่มา : ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศแผนการปฏิรูปประเทศ (ราชกิจจานุกเบกษา 6 เมษายน 2561)
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2-29

2-29
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.3 สรุปสาระสําคัญและแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติฉบับที่ 1-10
2.3.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 - 10 (2504 - 2554)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ เปนแผนที่ใชในการกําหนดกรอบและแนวทางในการพัฒนา
ประเทศ ระยะ 5 ป (มีเพียงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 เทานั้น ที่ครอบคลุมระยะเวลา 6 ป ตั้งแตป พ.ศ.2504-2509)
ใหสอดคลองกับสถานการณของประเทศและทั่วโลกในเวลานั้น รวมถึงเตรียมพรอมรับมือกับเหตุการณที่คาดวา
จะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต โดยมี สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคมแห ง ชาติ เป น หน ว ยงาน
ที่รับผิดชอบในการจัดทําแผนดังกลาว โดยเปาประสงคหลักของแผน คือ เพื่อใหประชาชนมีชีวิตความเปนอยูที่ดี
มีความสุข รวมถึงประเทศมีเสถียรภาพและความมั่นคง
ภาพที่ 2.1 การวางแผนพัฒนาประเทศ ระหวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1-10

ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2-30
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2-30 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เมื่อประเทศเผชิญหนากับสถานการณที่แตกตางกันในแตละชวงเวลา (ภาพที่ 2.1) แผนพัฒนาเศรษฐกิจ


และสั ง คมแห ง ชาติ จึ ง ต อ งตอบสนองต อ การแก ไขป ญ หาที่ เผชิ ญ อยู ในขณะนั้ น รวมถึ ง ปรั บ ปรุ ง โครงสร า ง
สภาพเศรษฐกิ จ และสังคมให เหมาะสมรองรับ การพั ฒ นาตอ ยอดในอนาคต จากภาพที่ 2.1 แสดงให เห็ น ว า
ชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 - 2 มุงเนนที่การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเปนหลัก เชน โครงการทางหลวงสายประธาน
โครงการทางหลวงจังหวัด โครงการชลประทาน โครงการพลังงานไฟฟา เปนตน ทั้งนี้ เพื่อใหโครงสรางพื้นฐาน
ของประเทศใหอยูในสภาวะที่เหมาะสม เอื้อตอการพัฒนาเศรษฐกิจตอไปในอนาคต ตอมาในชวงแผนพัฒนาฯ ที่ 3
และ 4 ซึ่งเปนชวงที่ประเทศเผชิญความผันผวนจากสภาพเศรษฐกิจโลกและสถานการณทางการเมืองในประเทศ
การพั ฒนาประเทศในขณะนั้น ไดขยายขอบเขตความครอบคลุมจากการพัฒนาเศรษฐกิจไปถึงการพัฒนาสังคม
และความเปนอยูของประชาชน ทั้งดานที่อยูอาศัย การศึกษา สาธารณสุข และสวัสดิการสังคม
หลั ก จากที่ ได พั ฒ นาประเทศตามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห งชาติ ม าจนถึ ง 20 ป รายได
ประชาชาติเพิ่มขึ้นกวา 16 เทา รายไดเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้นถึง 8 เทา และมูลคาการสงออกเพิ่มขึ้น 16 เทา
สะทอนให ถึงความสําเร็จ ในการขยายการผลิตและการพัฒ นาเศรษฐกิจของประเทศ อยางไรก็ตาม การพัฒนา
ดังกลาวไมกระจายตัวอยางทั่วถึง ประชาชนในชนบทอีกจํานวนมากไมไดรับผลประโยชนจากการพัฒนาประเทศ
และยังมีฐานะความเปนอยูที่ยากจน จึงทําใหแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 - 7 มุงเนนไปที่การพัฒนาอยางทั่วถึงในระดับ
ภูมิภาคและชุมชน เพื่อใหประชาชนในชนบทมีคุณภาพชีวิตและความเปนอยูที่ดีขึ้น
เมื่อเขาสูชวงการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 8 รัฐบาลไดเล็งเห็นแลววาแนวคิด
ของการพั ฒนาตามแผนพัฒนาฯ ในอดีต ใหความสําคัญกับการเรงรัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนา
อุตสาหกรรมและการผลิตเพื่อการสงออกเปนเปาหมายหลัก โดยอาศัยความไดเปรียบทางดานทรัพยากรธรรมชาติ
และทรัพ ยากรมนุษ ยม าใชข ยายฐานการผลิต แตก ลับ ทํ า ให ป ระเทศเผชิญ หนา กั บ ป ญ หาดา นความไมมั่ น คง
ของครอบครัว ชุมชน และสังคม รวมถึงทรัพยากรทางธรรมชาติท่เี สื่อมโทรม ทําใหเกิดปญหา เศรษฐกิจดี สังคมมี
ป ญ หา การพั ฒ นาไมยั่งยืน แผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ 8 - 10 จึงไดป รับ เปลี่ยนแนวคิดการพัฒ นา จากเดิมที่เนน
การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เป น จุ ด มุ งหมายหลั ก เป น การพั ฒ นาแบบเน น คนเป น ศู น ย ก ลาง โดยพั ฒ นาคุ ณ ภาพ
และสมรรถนะของคนไทยใหมีความรู ความสามารถ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค เนื่องจากเชื่อวาคนคือตัวแปร
สํ า คั ญ ที่ จ ะทํ า ให ป ระเทศพั ฒ นาไปได อ ย า งมี เสถี ย รภาพและยั่ ง ยื น ทั้ งนี้ เป า หมาย ยุ ท ธศาสตรก ารพั ฒ นา
และนโยบายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 - 10 สามารถสรุปสาระสําคัญได
ดังตารางตอไปนี้

2-31
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-31
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.3 สรุปสาระสําคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 - 2509)


แนวทางการพัฒนา มุงเนนที่การเติบโตของเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม และใหความสําคัญกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
เปาหมายสําคัญ  รายไดประชาชาติเพิ่มขึ้นรอยละ 6 รายไดเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้นรอยละ 3
 การสะสมทุนมีอัตราสวนไมต่ํากวารอยละ 15 ของรายไดประชาชาติในแตละป
 มูลคาของผลผลิตภาคการเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 3 ตอป
 รายไดประชาชาติจากภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 12 ตอป
 เพิ่มกําลังการผลิตไฟฟา โดยสรางเขื่อนภูมิพลใหเสร็จภายในป พ.ศ.2509
 สรางทางหลวงแผนดินประมาณ 1,000 กิโลเมตร และสรางทางรถไฟสายใหม (แกงคอย – บัวใหญ)
ยาว 272 กิโลเมตร
แผนพัฒนาหลัก  แผนการพัฒนาเกษตรและสหกรณ  แผนการพัฒนาชุมชนและสาธารณูปโภค
 แผนการพัฒนาอุตสาหกรรมและเหมืองแร  แผนการพัฒนาสาธารณสุข
 แผนการพัฒนาพลังงาน  แผนการพัฒนาการศึกษา
 แผนการพัฒนาการคมนาคมและขนสง  แผนการพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึ ก ษา มี น โยบายเพิ่ ม ระดับ การศึก ษาภาคบั งคับ จาก 4 ป เป น 7 ป สรา งโอกาสในการเข าถึ งการศึ ก ษา
อยางทั่วถึ ง และปรับ ปรุงการศึกษาระดับกลาง ทั้งในดานสามัญ และอาชีว ศึกษาใหเปนรากฐานในการสรางกําลัง
แรงงาน ในแขนงอาชี พ ต า ง ๆ ให ทั น ความต อ งการของประเทศ รวมถึ ง ส ง เสริ ม การอาชี ว ศึ ก ษาเป น พิ เศษ
โดยปรับปรุงวิทยาลัยเทคนิคและวิทยาลัยเกษตรกรรมใหมีคุณภาพไดมาตรฐาน และจัดตั้งมหาวิทยาลัยประจําสวนภูมิภาค

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514)


แนวทางการพัฒนา พัฒนาโครงสรางพื้นฐานตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 และเริ่มมีแนวคิดดานการพัฒนาในรายสาขา
เปาหมายสําคัญ  เพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศในอัตราเฉลี่ยรอยละ 8.5 ตอป (ณ ราคาคงที่)
 รายไดเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้นไมนอยกวารอยละ 5 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 4.4 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 10.9 ตอป
 สรางทางหลวงแผนดินอีก 1,700 กิโลเมตร และทางหลวงจังหวัด 2,1000 กิโลเมตร
 เพิ่มกําลังการผลิตไฟฟา อีก 650 เมกะวัตต โดยการสรางและพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานน้ํา
 ขยายการมีงานทํา และพัฒนาฝมือแรงงานในระดับตาง ๆ

2-32
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-32 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2510 - 2514)


 สรางอาคารสงเคราะห สําหรับผูมีรายไดนอย ปละ 760 ครอบครัว
 เปดเขตพัฒนาชุมชนใหครบทุกอําเภอในภาคใต และรอยละ 60 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 ปรับปรุงโรงพยาบาลในสวนภูมิภาค 84 แหง ยกระดับโรงพยาบาล 3 แหง เปนโรงพยาบาล
ศูนยประจําภาค
 รับนักเรียนเพิ่มขึ้นจาก 5.29 ลานคนเปน 6.35 ลานคน เรงผลิตครูและอาจารยเพิ่มขึ้น 49,770 คน
และขยายคณะและภาควิชาในมหาวิทยาลัย เพื่อใหรับนักศึกษาเพิ่มขึ้น 10,300 คน
แผนพัฒนาหลัก การพัฒนาสวนรวม การพัฒนาแยกตามสาขา
 การเงินการคลัง  เกษตรและสหกรณ  สังคมและสาธารณูปการ
 กําลังคนและการมีงานทํา  อุตสาหกรรมและเหมืองแร  สาธารณสุข
 การพัฒนาสวนภูมิภาคและ  พลังงาน  การศึกษา
ทองถิ่น  คมนาคมและขนสง
 รัฐวิสาหกิจ  พาณิชยและบริการ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึ ก ษา นํ า เด็ ก เข า สู ร ะบบการศึ ก ษาภาคบั ง คั บ ให ม ากที่ สุ ด จั ด ระบบมั ธ ยมศึ ก ษาและขยายสาขาวิ ช า
ในระดับอุดมศึกษาใหความสอดคลองกับความตองการดานอาชีพและตลาดแรงงาน เรงผลิตครู อาจารยใหสอดคลอง
กั บ สาขาวิ ช าที่ ต อ งการ โดยเป าหมายในการพั ฒ นาการศึ ก ษาจะอยู ที่ ก ารเพิ่ ม จํ า นวนนั ก เรี ย น นั ก ศึ ก ษา ครู
และอาจารยเป นหลั ก นอกจากนี้ รัฐยังใหบ ริการดานการศึกษาเพิ่มเติมในรูป การศึกษาผูใหญ ซึ่งจะตอเนื่องกับ
การศึ ก ษาภาคบังคั บ ในโรงเรีย น เพื่ อให ป ระชาชนมีค วามรูทั้ งดา นหนัง สือควบคู ไปกั บ วิ ชาชีพ และคาดหวังว า
การศึกษาผูใหญชวยเพิ่มรายไดของผูรับการศึกษาดวย
แรงงาน ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การเพิ่ ม และพั ฒ นากํ า ลั ง คนให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของตลาดแรงงาน
นอกเหนื อ จากการสนั บ สนุ น ด า นการศึ ก ษาแล ว ยั ง เน น ไปที่ ก ารฝ ก อบรมเพื่ อ เพิ่ ม ทั ก ษะทางวิ ช าชี พ ได แ ก
การฝ ก อบรมบุค คลดา นวิช าชีพ และการจัดการ การฝกอบรมบุ ค ลากรด านบริห าร และการฝก อบรมชางฝมือ
โดยสวนหลังนี้มีความตองการในตลาดเปนอยางมากเนื่องจากประเทศอยูในชวงพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน จึงมีความ
ตองการแรงงานดานกอสรางและงานชางฝมือเปนจํานวนมาก
อาชี พที่ ข าดแคลนบุ ค ลากร แพทย พยาบาล นักเกษตร นักบริห าร วิ ศวกร อาจารย ครู และชางฝมือ จําพวก
ชางกล ชางไฟฟา ชางไม ชางเชื่อมโลหะ และหัวหนาคนงานทุกประเภท

2-33
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-33


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 - 2519)


แนวทางการพัฒนา เนนกระจายการพัฒนาลงสูระดับภูมิภาคและชุมชน การพัฒนาสังคม และสรางความเทาเทียม
ในการใชประโยชนจากบริการของรัฐ เพื่อตอบสนองตอเปาหมายระยะยาว 4 ขอ ไดแก 1) การสรางดุลทางเศรษฐกิจ
ระหวางการเกษตรกับอุตสาหกรรม 2) เสริมสรางความรวมมือระหวางภาครัฐและเอกชน 3) การขยายความเจริญ
ระดับทองถิ่น และ 4) การวางแผนประชากร เพื่อพัฒนาคุณภาพประชากร สรางงาน และเพิ่มรายได
เปาหมายสําคัญ  เพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศในอัตราเฉลี่ยรอยละ 7 ตอป
 รายไดเฉลี่ยตอประชากรเพิ่มขึ้นไมนอยกวารอยละ 4.5 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5.1 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 8 ตอป
 ลดอัตราการเพิ่มของประชากรจากรอยละ 3.2 ตอป เหลือรอยละ 2.5 ตอปภายในป
พ.ศ.2519 โดยสนับสนุนการวางแผนครอบครัวแบบสมัครใจ
 ขยายการจางงานสําหรับแรงงานประมาณ 2.6 ลานคน
 อัตราวางงานในตัวเมืองตองไมเกินรอยละ 3.2
 ลดความเหลื่อมล้ําในระดับรายไดและความแตกตางในระดับความเปนอยูของประชากร
ในชนบท
แผนพัฒนาหลัก การพัฒนาสวนรวม การพัฒนาแยกตามสาขา
 การเงินการคลังของรัฐ  เกษตรและชลประทาน
 การพัฒนาสวนเอกชนและรัฐวิสาหกิจ  อุตสาหกรรมและเหมืองแร
 การพัฒนาสวนภูมิภาคและทองถิ่น  การพัฒนาพลังงานไฟฟา
 ประชาชน กําลังคน และการมีงานทํา  คมนาคมและขนสง
 พาณิชยและบริการ
 กิจการสังคม
 พัฒนาเมืองและทองถิ่น
 สาธารณสุข
 การศึกษา
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา ขยายการศึกษาภาคบังคับระดับประถมปลาย (ป.5–ป.7) อยางชาที่สุดในป พ.ศ.2533 เพื่อใหประชากร
ไดรับการศึกษาในระดับนี้โดยทั่วถึง สนับสนุนการศึกษาดานวิทยาศาสตร อาชีวศึกษา และเทคโนโลยี และขยาย
การศึกษาระดับ มัธ ยมศึกษาตอนตนให มากขึ้น ขยายการศึกษาผูใหญ และการศึกษานอกโรงเรียนใหผูที่ขาดพ น
การศึกษาไดมีโอกาสรับการศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น โดยเฉพาะการฝกฝนในดานเกษตรกรรม
แรงงาน สงเสริมการฝกอบรมและฝกอาชีพใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงานในแตละพื้นที่ การสราง

2-34
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-34 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 - 2519)


โอกาสใหมีงานทําโดยสนับสนุนอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานจํานวนมากทั้งในภาครัฐบาลและเอกชน รวมถึงกระจาย
กําลังคนลงไปยังทองถิ่น โดยสนับสนุนธุรกิจและอุตสาหกรรมใหไปดําเนินการในตางจังหวัด ขยายสํานักจัดหางาน
ในภูมิภาค และสรางแรงจูงใจใหขาราชการและพนักงานของรัฐทํางานในระดับภูมภิ าคมากขึ้น
อาชีพที่ขาดแคลนบุคลากร นักวิทยาศาสตร วิศวกร ครู แพทย และพยาบาล

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 - 2524)


แนวทางการพัฒนา พัฒนาตอเนื่องจากแผนฯ ฉบับที่ 3 โดยยึดถือความมั่นคงปลอดภัยของชาติเปน พื้นฐานของการ
พัฒนา และเนนเสริมสรางสวัสดิภาพทางสังคมแกคนในชาติมากกวาการขยายตัวทางเศรษฐกิจเปนหลัก
เปาหมายสําคัญ  เพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศในอัตราเฉลี่ยรอยละ 7 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยไมต่ํากวารอยละ 9.6 ตอป
 รักษาระดับเงินเฟอไมใหสูงเกินรอยละ 6 ตอป
 ลดอัตราการเพิ่มของประชากรเหลือรอยละ 2.1 ตอปภายในป พ.ศ.2524
 ขยายการจางงานสําหรับแรงงานประมาณ 2.2 ลานคน
 อัตราวางงานต่ํากวารอยละ 6 ของกําลังแรงงานทั้งหมดของประเทศ อัตราเพิ่มของปริมาณ
การมี งานทํ า ในเมื อ งและชนทบเฉลี่ ย ร อ ยละ 4.6 และ 2 ต อ ป โดยที่ รัก ษาสั ด ส ว นการ
เคลื่อนยายของแรงงานจากชนบทเขาสูเมืองในอัตราไมเกินรอยละ 2.0 ตอป
 เสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความเปนธรรม โดยลดความเหลื่อมล้ําทางรายได
และสังคม
แผนพัฒนาหลัก การพัฒนาสวนรวม การพัฒนาแยกตามสาขา
 งบพัฒนาและแนวนโยบายการเงิน  การพัฒนาและอนุรักษทรัพยากรหลักทางเศรษฐกิจ
การคลังของรัฐ และสิ่งแวดลอม
 การกระจายรายไดและแนวทางการ  การกระจายและการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในชนบท
พัฒนาภาคและทองถิ่น  การพัฒนาอุตสาหกรรม
 ประชากร กําลังคน การมีงานทํา  การสงออก การนําเขา และสงเสริมการทองเที่ยว
และคาจาง  การพัฒนาเมืองหลักและการปรับปรุงกรุงเทพมหานคร
 การพัฒนาเพื่อความมั่นคง  การกระจายบริการขั้นพื้นฐาน
 การกระจายบริการสังคม
 การพัฒนาสังคม
2-35
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-35


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 - 2524)


การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา ใหรับนักเรียนเขาศึกษามากขึ้นทั้งในระดับประถม มัธยมสายสามัญ และอาชีวศึกษา สวนในระดับอุดมศึกษา
มีเปาหมายใหรับนักศึกษาเพิ่มขึ้นเฉลี่ยประมาณรอยละ 4 ตอป แตใหเนนเรื่องคุณภาพของผูสําเร็จการศึกษา และผลิต
บัณฑิตแตละสาขาใหสอดคลองกับความตองการของประเทศใหมากที่สุด
แรงงาน มี นโยบายพัฒนาคุณภาพของประชากร โดยขยายแนวทางการฝกอาชีพใหครอบคลุมกลุมเปาหมายที่สําคัญ
4 กลุม คือ ผูมีรายไดนอย ผูเขาสูกําลังแรงงานใหม ผูวางงานที่มีฝมือและความรูดอยกวาหรือไมตรงกับความตองการ
ของตลาดแรงงาน และผูที่มีปญหาบางประเภท เชน บุคคลตองโทษ คนตาบอด คนพิการ หญิงโสเภณี เปนตน
การว างงาน ในช ว งแผนฯ ฉบั บ ที่ 4 มี ป ริ ม าณการวา งงานของแรงงานที่ มี ก ารศึ ก ษาในระดับ กลางและระดั บ สู ง
คอนขางมาก โดยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วจากรอยละ 25.3 เปนรอยละ 42.5 ของผูสําเร็จการศึกษาในป 2516 และ 2518
ตามลําดับ รัฐบาลจึงตองเรงแกไขปญหาในระยะสั้นโดยการบรรจุบุคลากรในตําแหนงที่วางของภาครัฐและรัฐวิสาหกิจให
ไดมากที่สุด

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 - 2529)


แนวทางการพัฒนา การพัฒ นาโดยยึดหลักภูมิภาคและพื้นที่ กําหนดพื้นที่เปาหมายเพื่อแกปญ หาความยากจน
ความมั่นคง และรองรับอุตสาหกรรม ESB (Eastern Seaboard Development Program) เนนการปรับโครงสราง
เศรษฐกิจมากกวาการมุงขยายอัตราความเจริญทางเศรษฐกิจ
เปาหมายสําคัญ  เพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศในอัตราเฉลี่ยรอยละ 6.6 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 4.5 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 7.6 ตอป
 ลดอัตราการเพิ่มของประชากรจากเหลือรอยละ 1.5 ตอปภายในป พ.ศ.2529
 ลดอัตราการไมรูหนังสือจากรอยละ 14.5 ของประชากรในป พ.ศ.2524 เหลือรอยละ 10.5
ของประชากรในป พ.ศ.2529
 เรงปรับโครงสรางอุตสาหกรรม โดยใชมาตรการทางภาษี และสิ่งจูงใจตาง ๆ เพื่อสงเสริมการ
ผลิต เพื่อสงออก และการกระจายอุตสาหกรรมไปสูสวนภูมิภาค เพื่อกระจายรายได และ
ความเจริญไปสูพื้นที่ตาง ๆ ทั่วประเทศ
แผนพัฒนาหลัก  การปรับโครงสรางและการเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ
 การพัฒนาพื้นที่เฉพาะและการพัฒนาเมือง
 การพัฒนาโครงสรางและการกระจายบริการทางสังคม

2-36
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-36 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525 - 2529)


 การแกไขปญกาความยากจนและการพัฒนาชนบทเขตลาหลัง
 การพัฒนาเศรษฐกิจและความมั่นคง
 การปฏิรูประบบบริหารงานพัฒนาของรัฐและการกระจายสินทรัพย
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา นโยบายดานการศึกษาแบงออกเปน 4 ดาน คือ 1) ดานปริมาณ ขยายการรับนักเรียนเพิ่มในระดับกอน
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย และอุดมศึกษา ใหไดรอยละ 35.4 48.3 30.9 และ 4.8
ของประชากรในกลุมอายุ 2) ดานคุณภาพ การลดอัตราการตกซ้ําชั้นลงรอยละ 2 ตอป ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร
ปรับ ปรุงมาตรฐานของโรงเรียนในเขตชนบท พัฒ นาบุคลากรดานการศึกษา 3) ความเสมอภาค จัดใหมีโรงเรียน
ประถมศึ กษาในทุกตําบล กระจายโรงเรีย นมัธยมตน ออกสูพื้ นที่ช นบทและทุรกันดาร และจั ดระบบวิธีการสอบ
คัดเลือกใหมีความเสมอภาค และ 4) ดานความรับผิดชอบระหวางโรงเรียนของรัฐและเอกชน มีนักเรียนของรัฐและ
เอกชนในสัดสวนรอยละ 89.9 และ 12.1
แรงงาน ในช วงแผนฯ ฉบับที่ 5 ยังคงเผชิญ ปญ หาแรงงานดอยคุณ ภาพ ไมไดมาตรฐาน ขาดความรูพื้นฐานและ
ทัก ษะเบื้ องตน เกี่ย วกับ สายงาน การฝกอาชีพเพื่อเสริมทัก ษะการประกอบอาชีพยังมีไมเพียงพอ อีกทั้งการผลิต
แรงงานที่มีการศึกษาในระดับกลางและระดับสูงยังไมตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน บุคลากรในภาครัฐและ
รัฐวิสาหกิจขาดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและบริหารงาน แผนการพัฒนาในระยะนี้ จึงเปนการสงเสริมใหภาครัฐ
รัฐวิสาหกิจ และเอกชนรวมวางแผนการใชกําลังคนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อสงตอใหภาคการศึกษาและการ
ฝกอาชีพนําไปใชวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและคุณภาพของประชากรตอไป กลุมเปาหมายการพัฒนา
อาชีพในชวงแผนฯ ฉบับที่ 5 คือ เจาหนาที่รัฐและรัฐวิสาหกิจ เกษตรกร และชางผีมือ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 - 2534)


แนวทางการพัฒนา กําหนดขอบเขตและวิธีการใชแผนฯ ที่ชัดเจน มีทั้งระยะสั้น กลาง ยาว และแผนปฏิบัติระดับ
กระทรวง เน น การรักษาเสถีย รภาพทางเศรษฐกิจ ควบคูกั บ การเพิ่ มประสิท ธิภ าพการพั ฒ นาทรัพ ยากรมนุ ษ ย
วิทยาศาสตร และการบริหารจัดการ
เปาหมายสําคัญ  เพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศในอัตราเฉลี่ยรอยละ 5 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 2.9 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 6.6 ตอป
 ลดอัตราการเพิ่มของประชากรจากเหลือรอยละ 1.3 ตอปภายในป พ.ศ.2534
 ขยายการจางงานสําหรับแรงงานประมาณ 3.9 ลานคน

2-37
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-37


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 - 2534)


 ยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิตของคนในชนบทและในเมืองใหไดตามเกณฑความจําเปนพื้นฐาน
แผนพัฒนาหลัก การปรับปรุงประสิทธิภาพการพัฒนา การปรับปรุงโครงสรางการผลิตและบริการ
 แผนพัฒนาเศรษฐกิจสวนรวม  แผนพัฒนาระบบการผลิต การตลาด และการสรางงาน
 แผนพัฒนาคน สังคม และวัฒนธรรม  แผนพัฒนาระบบบริการพื้นฐาน
 แผนพั ฒนาทรัพ ยากรธรรมชาติและ  การกระจายความเจริญและสรางความเปนธรรม
สิ่งแวดลอม  แผนพัฒนาเมืองและพื้นที่เฉพาะ
 แผนพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี  แผนพัฒนาชนบท
 แผนปรับปรุงการบริหารและทบทวน
บทบาทของรัฐในการพัฒนาประเทศ
 แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา เนนการพัฒนาคนตามชวงอายุ ประกอบดวย 1) 0-5 ป เตรียมความพรอมทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ
และสติปญ ญา 2) 6-14 ป ปรับ ปรุงใหไดรับการศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสมกับความสนใจและศักยภาพของเด็ก
รวมถึงสงเสริมใหศึกษาตอเมื่อสําเร็จการศึกษาภาคบังคับ ไมวาจะเปนสายสามัญหรือสายอาชีพ 3) 15-25 ป เนนการ
ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทั้งในและนอกระบบโรงเรียน เพื่อแกไขปญหาการไมมีงานทํา 4) สนับสนุนการสรางงาน
ดวยการประกอบอาชีพสวนตัวใหมากขึ้น รวมถึงเพิ่มพูนทักษะความสามารถของแรงงานใหสอดคลองกับพัฒนาการ
ทางเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป 6) 60 ปขึ้นไป สนับสนุนใหประชาชนวางแผนเตรียมการเพื่อการพึ่งพาตนเองในยาม
สูงอายุ
แรงงาน แผนพัฒนาฯ ฉบับนี้มีแนวความคิดที่โดดเดน และแตกตางกันอยางชัดเจนจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-5 โดย
จะเนนสงเสริมการประกอบอาชีพสวนตัวแบบครบวงจร ปรับปรุงประสิทธิภ าพตลาดแรงงานภายในประเทศและ
วิชาชีพตางประเทศใหกวางขวางยิ่งขึ้น สงเสริมสมรรถภาพของบริการวิชาชีพภายในประเทศใหมีมาตรฐานเปนที่
เชื่อ ถื อเที ย บเท ากั บ บริษัทตางประเทศ ขยายตลาดแรงงานโดยสงเสริมใหแ รงงานไทยไปทํางานในตางประเทศ
(แรงงานตองมีความรูดานภาษา และมีคุณภาพที่เปนที่ยอมรับในระดับสากล) และปองกันคนตางดาวแยงอาชีพคน
ไทย รวมถึงมีการพัฒนาระบบการจางงานใหมีความมั่นคง สงเสริมระบบแรงงานสัมพันธ และการคุมครองแรงงาน
ปรับปรุงสภาพแวดลอมการทํางาน สุขภาพอนามัยของแรงงาน และนโยบายเงินเดือนคาจาง และคาตอบแทนให
สอดคลองกับการปรับปรุงผลิตภาพแรงงาน ภาวะเศรษฐกิจ และคาครองชีพ

2-38
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-38 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 - 2539)


แนวทางการพัฒ นา เริ่มแนวคิด การพั ฒ นาที่ ยั่งยื น โดยมุงสู เศรษฐกิ จ ที่ มีเสถีย รภาพ ด ว ยการรัก ษาอั ตราการ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กระจายการพัฒนาสูภูมิภาคและชนบท พัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิต สิ่งแวดลอม
และทรัพยากรธรรมชาติ
เปาหมายสําคัญ  เพิ่มผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศในอัตราเฉลี่ยรอยละ 8.4 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคเกษตรเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 3.4 ตอป
 มูลคาผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 9.5 ตอป
 เงินเฟอโดยเฉลี่ยไมเกินรอยละ 5.6 ตอป
 ลดอัตราการเพิ่มของประชากรจากเหลือรอยละ 1.2 ตอปภายในป พ.ศ.2539
 ขยายการจางงานสําหรับแรงงานประมาณ 2.8 ลานคน
 ลดสัดสวนประชากรที่อยูใตขีดเสนความยากจนลงจากรอยละ 23.7 ในป พ.ศ.2531 ใหเหลือ
ต่ํากวารอยละ 20 ของประชากรทั้งประเทศในป พ.ศ.2539
แผนพัฒนาหลัก แนวทางการรักษาอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจใหมีเสถียรภาพ
 การพัฒนาการเงินการคลัง และตลาดทุน
 การพัฒนาการเกษตร
 การพัฒนาอุตสาหกรรม การคาและบริการ
 การพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
 การพัฒนาบริการพื้นฐาน
 การพัฒนาพลังงาน
 การพัฒนาภาคมหานครและเขตเศรษฐกิจใหม
แนวทางการกระจายรายไดและการกระจายการพัฒนาสูภูมิภาคและชนบท
 แนวนโยบายการเงินการคลังเพื่อเสริมสรางการกระจายรายได
 การกระจายการถือครองทรัพยสิน
 การปรับโครงสรางการผลิตการเกษตรและการกระจายอุตสาหกรรมไปสูภูมิภาค
 การกระจายการพัฒนาเมืองและบริการพื้นฐานไปสูภูมิภาค
 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของคนยากจนในชนบท
 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คุณภาพชีวิต และสิ่งแวดลอม
 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย การศึกษา และสาธารณสุข
 การพัฒนาจิตใจ วัฒนธรรม และสังคม
 การพัฒนาสิ่งแวดลอมเพื่อคุณภาพชีวิต

2-39
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-39


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535 - 2539)


 การบริหารและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 แนวทางการพัฒนากฎหมาย รัฐวิสาหกิจ และระบบราชการ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา ขยายการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก 6 ปเปน 9 ป โดยมีเปาหมายใหอัตราการเรียนตอจากชั้น ป.6 เขาสูชั้น
มัธ ยมศึ ก ษาตอนตน เพิ่ มขึ้น จากอัตราป จ จุบั น รอ ยละ 46.2 เป นไมต่ํ ากว ารอยละ 73 ของผู จ บชั้ นประถมศึก ษา
กําหนดใหมีการรับนักศึกษาใหมในระดับอุดมศึกษาที่สัดสวนของสายวิทยาศาสตรตอสายสังคมศาสตรเปน 30 : 70
โดยเนนการผลิตแพทย ทันตแพทย เภสัชกร วิศวกร สถาปนิก นักวิทยาศาสตร นักเทคโนโลยีและชางเทคนิค รวมถึง
พัฒนาการเรียนการสอนทางดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และภาษาศาสตร
แรงงาน สงเสริมการฝกอบรมและพัฒนาฝมือแรงงาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุมผูดอยโอกาสใหมีความรู
มีฝมือและทักษะในการประกอบอาชีพ สงเสริมและสนับสนุนความตองการพื้นฐานที่จําเปนแกผูประกอบธุรกิจที่ไม
เปน ระบบขนาดเล็กและผูประกอบอาชีพสวนตัวในเขตเมือง รวมทั้งใหการสนับสนุน การประกอบอาชีพเสริมแก
เกษตรกรในชนบทในชวงฤดูแลงและชวงรอฤดูกาลเก็บ เกี่ยว สงเสริมและสนับสนุนกลุมผูทํางานที่ดอยโอกาสทาง
เศรษฐกิจ ไดแก กลุมแรงงานภาคเกษตรในชนบท กลุมแรงงานยากจนในเมือง แรงงานหญิง และแรงงานเด็กใหมี
ความมั่นคงในการทํางาน ไดรับรายไดและคาจางที่เปนธรรม มีสภาพการทํางานที่เหมาะสม มีความปลอดภัยและ
ไดรับสวัสดิการอยางทั่วถึง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 - 2544)


แนวทางการพัฒนา เนนคนเปนศูนยกลางการพัฒนา และปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดทําแผนเปนแบบ “จากลางขึ้นบน”
บูรณาการแบบองครวม ไมพัฒนาแยกสวน
เปาหมายสําคัญ  เตรียมความพรอมทุกดานของเด็กปฐมวัยอยางมีคุณภาพ และเพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษาทุกระดับ
 ยกระดับทักษะฝมือและความรูพื้นฐานใหแกแรงงานในสถานประกอบการ โดยใหความสําคัญเปน
ลําดับแรกตอกลุมแรงงานอายุ 25 - 45 ป
 ใหผูดอยโอกาสไดรับโอกาสการพัฒนาตามศักยภาพและไดรับบริการพื้นฐานทางสังคมอยางมี
คุณภาพและทัว่ ถึง
 รักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจไทย โดยลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดใหอยูในระดับ
รอยละ 3.4 ของผลผลิตรวมในปสุดทายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 และรักษาอัตราเงินเฟอ
ใหอยูในระดับที่เหมาะสมเฉลี่ยรอยละ 4.5 ตอป
 ระดมการออมของภาคครั วเรื อนให เพิ่ มขึ้ นเป นอย างน อยร อยละ 10 ของผลผลิ ตรวมในป
พ.ศ.2544

2-40
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-40 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540 - 2544)


 ขยายปริมาณและเพิ่มคุณภาพของบริการโครงสรางพื้นฐานสูภูมิภาคและชนบท
 ลดสัดสวนคนยากจนของประเทศใหนอยกวารอยละ 10 ภายในป พ.ศ.2544
 อนุ รักษ และฟ นฟู บู รณะพื้ นที่ ปาเพื่ อการอนุรักษไวใหไดไมน อยกวารอยละ 25 ของพื้ นที่ ของ
ประเทศ รวมทั้งรักษาพื้นที่ปาชายเลนใหคงไวไมต่ํากวา 1 ลานไรในปสุดทายของแผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ 8
แผนพัฒนาหลัก  การพัฒนาศักยภาพของคนไทย
 การพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมใหสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคน
 การเสริมสรางศักยภาพการพัฒ นาของภูมิภาคและชนบท เพื่อยกระดับคุณ ภาพชีวิตของ
ประชาชนอยางทั่วถึง
 การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจเพื่อสนับสนุนการพัฒนาคนและคุณภาพชีวิต
 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
 การพัฒนาประชารัฐ
 การบริหารจัดการเพื่อการแปลงแผนไปสูการปฏิบัติ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา ปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอนใหผูเรียนรูจักคิด วิเคราะหอยางมีเหตุผล มีความคิดริเริ่มสรางสรรค รูจัก
การคนควาหาความรูเพิ่มเติมและมีการฝกปฏิบัติจากประสบการณจริง ขยายการศึกษาขั้นพื้นฐาน 9 ปแกเด็กในวัย
เรี ย นทุ ก คน และการเตรีย มการขยายการศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐานเป น 12 ป เพิ่ ม สั ดส ว นของการผลิ ต บั ณ ฑิ ต สาขา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรเปนไมต่ํากวา 40 : 60 เสริมสรางศักยภาพคน
ดานการวิจัยและพัฒนา
แรงงาน ขยายการฝกอบรมและพัฒนาฝมือแรงงานในสาขาชางตาง ๆ อยางตอเนื่อง ยกระดับความรูพื้นฐานของ
คนงานในสถานประกอบการทุกแหงใหมีความรูขั้นต่ําอยางนอยระดับมัธยมศึกษาตอนตน พัฒนาระบบการฝกอบรม
เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของกําลังแรงงานที่มีความประสงคจะประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมและกลุมที่ตองการ
เปลี่ยนอาชี พจากภาคเกษตรกรรมไปสูภาคอุตสาหกรรมและบริการอื่น ๆ สงเสริมใหมีการฝกอบรมทักษะในดาน
บริห ารจัดการและทักษะดานเทคโนโลยีส ารสนเทศแกผูป ระกอบการ กลุมผูนําทางธุรกิจในชุมชน กลุมสหกรณ
กลุมสตรี ตลอดทั้งการเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพอิสระและการรับชวงเหมาแกแรงงานที่ไมสามารถกลับเขา
สูระบบการจางงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการสาขาตาง ๆ
สาขาอาชีพที่เปนที่ตองการ วิศวกร ชางเทคนิค ชางฝมือ นักบัญชี การเงินการธนาคาร และการประกันภัย

2-41
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-41


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549)


แนวทางการพัฒนา ยึดคนเปนศูนยกลางการพัฒนาตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 และยึดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เปาหมายสําคัญ เปาหมายดุลยภาพทางเศรษฐกิจ
 เศรษฐกิจขยายตัวเฉลี่ยรอยละ 4-5 ตอป
 เพิ่มการจางงานใหมในประเทศใหไดไมตํ่ากวา 230,000 คนตอป
 อัตราเงินเฟอโดยเฉลี่ยไมเกินรอยละ 3 ตอป
 รักษาการเกินดุลบัญชีเดินสะพัดใหคงอยูเฉลี่ยประมาณรอยละ 1 - 2 ของผลิตภัณฑ
มวลรวมในประเทศ
 สร า งความสามารถทางวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี เพื่ อ เพิ่ ม สมรรถนะและ
ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ
เปาหมายการยกระดับคุณภาพชีวิต
 ประชาชนมีโครงสรางประชากรที่สมดุล และขนาดครอบครัวที่เหมาะสม
 ประชาชนอายุ 15 ป ขึ้นไป มีการศึกษาโดยเฉลี่ยไมต่าํ กวา 9 ป ในป พ.ศ.2549
 แรงงานไทยมากกว าร อยละ 50 ไดรั บการศึกษาในระดับ มั ธยมศึ กษาตอนต น ในป
พ.ศ.2549
 ขยายการประกันสุขภาพและระบบการคุมครองทางสังคมอยางทั่วถึงและเปนธรรม
 ลดอาชญากรรมและปองกันแกไขปญหายาเสพติด
 สรางระบบราชการที่มีประสิทธิภาพ มีขนาดและโครงสรางที่เหมาะสม
 สนับสนุนการกระจายอํานาจใหโปรงใส มีระบบตรวจสอบดวยการมีสวนรวมที่เขมแข็ง
 ลดสัดสวนคนยากจนของประเทศใหอยูในระดับทีไ่ มเกินรอยละ 15 ของประชากร ในป 2549
แผนพัฒนาหลัก การสรางระบบการบริหารจัดการที่ดีในสังคมไทย
 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการที่ดี
การเสริมสรางรากฐานของสังคมไทยใหเขมแข็ง
 ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและการคุมครองทางสังคม
 ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางการพัฒนาชนบทและเมืองอยางยั่งยืน
 ยุทธศาสตรการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจใหมีความสมดุลและยั่งยืน
 ยุทธศาสตรการบริหารเศรษฐกิจสวนรวม
 ยุทธศาสตรการเพิ่มสมรรถนะและขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ
 ยุทธศาสตรการพัฒนาความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

2-42
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-42 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549)


การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา ปรับปรุงการจัดหลักสูตรใหมีความหลากหลาย ยืดหยุน สามารถปรับใหสอดคลองกับความตองการของ
ทองถิ่น ปรับปรุงกระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตรและเสริมสรางพื้นฐานความคิดตามหลักวิทยาศาสตร ผลิตและ
พั ฒ นาบุ ค ลากรและนั ก วิจั ย โดยเฉพาะในสาขาที่ มี ศัก ยภาพสู งและมี ค วามจํ าเป น ต อ การพัฒ นาประเทศ เช น
การเกษตร อุ ต สาหกรรมการเกษตร การแพทย แ ละสาธารณสุ ข พลั งงาน เทคโนโลยี ชีว ภาพ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ เป น ตน รวมถึ งใชสื่อ การศึกษาในทุก รูป แบบเพื่ อกระจายการเรียนรูสูป ระชาชนทุ กกลุมเป าหมาย
โดยเฉพาะกลุมผูดอยโอกาส
แรงงาน พั ฒ นาความรูและทัก ษะให แรงงานสามารถประกอบอาชีพสวนตัวและเปนผูป ระกอบการขนาดเล็กได
รวมถึงเพิ่มทักษะความรูความสามารถใหแรงงานที่อยูในตลาดแรงงานที่มีฝมือและกึ่งฝมือใหสามารถปรับตัวเขากับ
สภาพแวดลอมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป สงเสริมการฝกอาชีพที่เหมาะสมในแตละพื้นที่และตามศักยภาพ
สงเสริมการจางงานในตางประเทศ โดยจัดการฝกอบรมทักษะอาชีพซึ่งเปนที่ตองการของตลาดตางประเทศ รวมถึง
สนั บ สนุ นเงิ นกูยื ม ดอกเบี้ย ตํ่าแกแ รงงานไทยที่จ ะไปทํางานต างประเทศ และหาลูทางเป ดตลาดแรงงานใหมใน
ตางประเทศ รวมทั้งใหความรูเกี่ยวกับขอพึงปฏิบัติในการไปทํางานในแตละประเทศอีกดวย

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)


แนวทางการพัฒนา ยึดแนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตอเนื่องจากแผนฯ ฉบับกอน เพื่อสรางภูมิคุมกันใหแกครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
เปาหมาย เปาหมายการพัฒนาคุณภาพคนและความเขมแข็งของชุมชน
สําคัญ  เพิ่มจํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเปน 10 ป
 พัฒนากําลังแรงงานระดับกลางที่มีคุณภาพเพิ่มเปนรอยละ 60 ของกําลังแรงงานทั้งหมด
 เพิ่มสัดสวนบุคลากรดานการวิจัยและพัฒนาเปน 10 คนตอประชากร 10,000 คน
 ลดสัดสวนผูอยูใตเสนความยากจนลงเหลือรอยละ 4 ภายในป พ.ศ.2554
เปาหมายดานเศรษฐกิจ ปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหมีความสมดุลและยั่งยืน
 สั ด ส ว นภาคการผลิ ต เกษตรและอุ ต สาหกรรมเกษตรเพิ่ ม ขึ้ น เป น ร อ ยละ 15 ภายในป
พ.ศ.2554
 อัตราเงินเฟอทั่วไปเฉลี่ยรอยละ 3-3.5 ตอป
 สัดสวนหนี้สาธารณะตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศไมเกินรอยละ 50
 เพิ่มสัดสวนการใชพลังงานหมุนเวียนเปนรอยละ 8
 ลดการใชนํามันในภาคการขนสงใหเหลือรอยละ 30 ของการใชพลังงานทั้งหมด
2-43
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-43


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)


 รายไดของกลุมที่มีรายไดสูงสุดรอยละ 20 แรกมีสัดสวนไมเกิน 10 เทาของรายไดของกลุมที่มี
รายไดต่ําสุดรอยละ 20 ภายในป พ.ศ.2554
 สัดสวนผลผลิตของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ไมต่ํากวารอยละ 40
เปาหมายการสรางความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
 รักษาความอุดมสมบูรณของฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพ
 รักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการดํารงคุณภาพชีวิตที่ดีและไมเปนภัย
คุกคามตอระบบนิเวศ ตลอดจนคุณภาพชีวิตของคนไทย
เปาหมายดานธรรมาภิบาล
 มุงใหธรรมาภิบาลของประเทศดีขึ้น
 สรางองคความรูเกี่ยวกับประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลในบริบทไทย
แผนพัฒนา  ยุทธศาสตรการพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสูสังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู
หลัก  ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งของชุมชนและสังคมใหเปนรากฐานที่มั่นคงของประเทศ
 ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจใหสมดุลและยั่งยืน
 ยุทธศาสตรการพั ฒ นาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพและการสรา งความมั่นคงของฐาน
ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
 ยุทธศาสตรการเสริมสรางธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการประเทศ
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย
การศึกษา พัฒนาหลักสูตรทั้งในและนอกระบบใหหลากหลายสอดคลองกับพัฒนาการทางสมอง สรางเยาวชนรุนใหมที่
มุงศึกษาสายอาชีวศึกษาเพิ่มขึ้น เรงสรางกําลังคนที่มีความเป นเลิศในการสรางสรรคน วัตกรรมและองคความรูใหมที่
นําไปใชประโยชนในการพัฒนาประเทศ โดยเรงผลิตนักวิจัยในสาขาที่สอดคลองกับความตองการของตลาด และพัฒนา
นักวิจัยที่มีอยูใหมีศักยภาพ มีความคิดสรางสรรคและความเชี่ยวชาญสูงขึ้น สามารถสรางนวัตกรรมที่นํามาใชประโยชน
ตอสังคมโดยรวมและเชิงพาณิชยได
แรงงาน พัฒนาสมรรถนะและทักษะแรงงานใหรองรับการแขงขันของประเทศ โดยเพิ่มพูนความรูและทักษะพื้นฐานใน
การทํางานเพื่อเสริมสรางผลิตภาพแรงงานใหสูงขึ้นทั้งการคิด วิเคราะห สรางสรรค แกปญหา ตัดสินใจ ทํางานเปนทีม
มี จริยธรรม มี วินั ยในการทํ างาน สามารถรองรับ และเรียนรูเทคโนโลยี ที่ ซับ ซ อ นไดงายปรับ ตั วให ทั น กั บ เทคโนโลยี
สมัยใหมและพรอมกาวสูสังคมแหงการเรียนรู
ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2-44
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-44 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.3.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)


การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” ตอเนื่องจากแนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 แตไดเพิ่ม “การสราง
สมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ โดยขยายการนําทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก 3 ทุน ไดแก ทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ
และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปน 6 ทุน ไดแก ทุนมนุษย ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน
ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และทุนทางวัฒนธรรมมาใชประโยชนอยางบูรณาการและเกื้อกูลกัน
ภาพที่ 2.2 การขยายทุนของประเทศ จากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สูฉบับที่ 11

ที่มา: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
สํา หรับ แนวทางการพั ฒ นาทรัพ ยากรมนุ ษ ยในแผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 11 โดยรวมจะเน น ที่ ก ารมี
คุณธรรม ลดความเลื่อมล้ําในการการศึกษา การพัฒนาทักษะ และการเขาถึงบริการของภาครัฐ ความเทาเทียม
(เนนเรื่องแรงงานเด็ก สตรี ผูสูงอายุ และผูพิการ) สรางสังคมการเรียนรู โดยการบริหารจัดการองคความรูที่มีอยู
ส วนการพั ฒ นาทรัพยากรมนุษ ยดานเศรษฐกิจ จะเนนที่ การพั ฒ นาศักยภาพของผูป ระกอบการ และการผลิต
แรงงานใหสอดคลองกับความตองการในตลาดแรงงาน แตยังคงใหความสําคัญการพัฒนาบุคลากรภาคการเกษตร
แรงงานระดับกลาง และผูป ระกอบธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลางอยู อีกทั้งยังมียุทธศาสตรที่สงเสริมการเพิ่ม
ทักษะดานเทคโยโลยี ความคิดสรางสรรค และการสรางนวัตกรรมใหม ๆ รวมถึงการสงเสริมการขยายตลาด
ไปประเทศเพื่อนบาน ผานยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ
สังคม

2-45
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-45


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สถานการณภายนอกประเทศที่สงผลตอแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ในชวงที่กฎและกติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว โดยเฉพาะขอตกลง
ดานสิทธิมนุษยชน ที่ใหความสําคัญกับการสงเสริมใหเกิดความเคารพและรักษาศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของทุกคน
อย างเท าเที ยมกั น จะถูก ใชเปน เครื่องมือ ในการตอ รองทางการคาที่ผ ลักดัน ผูป ระกอบการไทยให จํา เปน ตอ ง
ยกระดับธุรกิจของตนเองใหไดมาตรฐานที่กําหนด นอกจากนี้ การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญ ไดแก การรวมกลุม
ในภู มิ ภาคเอเชียภายใตก รอบการคาเสรีของอาเซียนกับ จีน ญี่ปุน และอินเดีย การเปนประชาคมอาเซียนในป
พ.ศ.2558 และกรอบความรวมมืออื่น ๆ ทําใหป ระเทศไทยตองเตรียมความพรอ มในหลายมิติ หนึ่งในนั้น คือ
การเตรียมความพรอมดานทรัพยากรมนุษย ใหมีความสามารถในการปรับตัวตอสภาพเศรษฐกิจ ตลาด เทคโนโลยี
และนวั ต กรรมที่ เปลี่ ย นแปลงไป นอกจากนี้ การเข า สู สั ง คมผู สู ง อายุ ข องโลกอย า งต อ เนื่ อ ง ส ง ผลให เ กิ ด
การเคลื่อนยายกําลังคนขามประเทศ และสงผลกระทบตอโครงสรางการผลิต ที่เปลี่ยนจากการใชแรงงานเขมขน
เปนการใชองคความรูและเทคโนโลยีมากขึ้น ทําใหการพัฒนาคนตองมุงสรางใหมีความรู ทักษะ และความชํานาญ
ควบคูไปกับการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อใชทดแทนกําลังแรงงานที่ขาดแคลน
สถานการณภายในประเทศที่สงผลตอแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุเชนเดียวกับประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก โครงสรางประชากรมีวัยสูงอายุ
เพิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่วัยเด็ก และวัย แรงงานลดลง แมวาตลอดแผนพัฒ นาฯ ที่ผานมา จะพยายามใหคนไทยไดรับ
การพัฒ นาศักยภาพในทุกชวงวัย แตประเทศยังคงเผชิญ กับปญ หาดานคุณภาพการศึกษาและระดับ สติปญ ญา
ของเด็ก พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ และผลิตภาพแรงงานต่ํา นอกจากนี้ แมวาประชาชนจะไดรับการคุมครอง
ทางสังคมเพิ่มขึ้น และมีการจัดสวัสดิการทางสังคมในหลายรูปแบบ แตกลุมผูดอยโอกาสยังคงไมสามารถเขาถึง
บริการทางสังคมไดอยางทั่วถึง ความเหลื่อมล้ําทางรายไดของประชากรและโอกาสการเขาถึงทรัพยากรยังเป น
ปญหาในการพัฒนาประเทศ
การประเมินความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันดานทรัพยากรมนุษย
ประเทศไทยเผชิญความเสี่ยงทั้งหมด 6 ดาน ประกอบดวย การบริหารจัดการของภาครัฐ การเติบโต
ของเศรษฐกิจ ที่ ไมยั่งยืน การเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร คานิยมที่ดีงามเสื่อ มถอย ทรัพ ยากรธรรมชาติ
เสื่อมโทรม และการกอความไมสงบ โดยที่ ความเสี่ยงดานการเติบโตของเศรษฐกิจที่ไมยั่งยัน เกิดจากการขยายตัว
ทางเศรษฐกิ จ ที่ ขึ้ น อยู กั บ ป จ จั ย การผลิ ต ดั้ งเดิ ม โดยเฉพาะทุ น และแรงงานราคาถู ก ที่ มี ผ ลิ ต ภาพการผลิ ต ต่ํ า
เปนอุปสรรคตอการเพิ่มความสามารถในการแขงขันในตลาดโลก อีกทั้ง โครงสรางประชากรที่มีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น
2-46
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-46 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อาจทําใหเกิดการแขงขันเพื่อแยงชิงแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานคุณภาพ ดังนั้น เพื่อสรางภูมิคุมกันดานทรัพยากร


มนุษย การวางแผนการพัฒนาประเทศจะตองใหอยูบนฐานความรูและเทคโนโลยีที่ทันสมัย สงเสริมการวิจัยพัฒนา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหแรงขับเคลื่อนที่สําคัญสําหรับการพัฒนาประเทศ เปลี่ยนโครงสรางการผลิต จากการ
ผลิ ตโดยการใชทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุ น และแรงงานที่มีผลิตภาพต่ํา ไปสูการใชความรูแ ละความชํานาญ
ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เพื่อเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน รวมถึงทดแทนกําลังแรงงานที่จะลดลงในอนาคต

วัตถุประสงคและเปาหมายโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11
วิสัยทัศนระยะยาว
คนไทยภาคภูมิใจในความเปน ไทย มีมิตรไมตรีบ นวิถีชีวิตแหงความพอเพีย ง ยึด มั่นในวัฒ นธรรม
ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานที่ทั่วถึงมีคุณภาพ สังคมมีความปลอดภัย
และมั่ น คงอยูในสภาวะแวดลอมที่ดี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิต เปนมิตรกับ สิ่งแวดลอ ม
มีความมั่นคงดานอาหารและพลังงาน อยูบนฐานทางเศรษฐกิจที่พึ่งตนเองและแขงขันไดในเวทีโลก สามารถอยูใน
ประชาคมภูมิภาคและโลกไดอยางมีศกั ดิ์ศรี
วัตถุประสงค
1. เพื่อเสริมสรางสังคมที่เปนธรรมและเปนสังคมสันติสุข
2. เพื่ อพัฒ นาคนไทยทุก กลุม วัย อย างเป น องครวมทั้ งทางกาย ใจ สติป ญ ญา อารมณ คุ ณ ธรรม
จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ
3. เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจใหเติบโตอยางมีเสถียรภาพ คุณภาพ และยั่งยืน มีความเชื่อมโยงกับเครือขาย
การผลิตสิน คาและบริการบนฐานปญ ญา นวัตกรรม และความคิดสรางสรรคในภู มิภาคอาเซีย น มีความมั่นคง
ทางอาหารและพลังงาน การผลิตและการบริโภคเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม นําไปสูการเปนสังคมคารบอนต่ํา
4. เพื่อบริห ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอการรักษาสมดุลของระบบ
นิเวศ และเปนฐานที่มั่นคงของการพัฒนาประเทศ
เปาหมายรวม
1. ความอยูเย็นเปนสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิ่มขึ้น ความเหลื่อมล้ําในสังคมลดลง สัดสวน
ผูอยูใตเสนความยากจนลดลง และดัชนีภาพลักษณการคอรรัปชั่นไมต่ํากวา 5 คะแนน

2-47
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-47


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. คนไทยมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง มีสุขภาวะดีขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทางสังคม


มีความเขมแข็ง
3. เศรษฐกิจเติบโตในอัตราที่เหมาะสมตามศักยภาพของประเทศ ใหความสําคัญ กับ การเพิ่มผลิต
ภาพรวมไม ต่ํ ากวา รอ ยละ 3 ต อ ป เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศเพิ่ ม มู ลค า
ผลิตภัณฑของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ ใหมีไมต่ํากวารอยละ 40
4. คุณภาพสิ่งแวดลอมอยูในเกณฑมาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพการลดการปลอยกาซเรือนกระจก
รวมทั้งเพิ่มพื้นที่ปาไมเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
ตัวชี้วัด
1. ดัชนีความอยูเย็นเปนสุข ดัชนีความสงบสุข สัดสวนรายไดระหวางกลุมประชากรที่มีรายไดสูงสุด
รอยละ 10 กับกลุมที่มีรายไดนอยรอยละ 10 สัดสวนผูอยูใตเสนความยากจน สัดสวนแรงงานนอกระบบที่สามารถ
เขาถึงการคุมครองทางสังคม และดัชนีภาพลักษณการคอรรัปชั่น
2. จํานวนปการศึกษาเฉลี่ยของคนไทย ผูเรียนทุกระดับการศึกษามีคุณธรรมจริยธรรม สัดสวนของ
ประชากรที่เขา ถึ งโครงข ายคมนาคมและอิ น เทอร เน็ ต ความเร็ ว สู ง จํา นวนบุ ค ลากรด า นการวิ จัย และพั ฒ นา
อัตราการปวยดวยโรคไมติดตอ และดัชนีความอบอุนของครอบครัว
3. อัตราการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ อั ตราเงินเฟ อ ผลิตภาพการผลิตรวม อันดับ ความสามารถ
ในการแข งขั น ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ สั ด ส ว นมู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องวิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย อ ม
ตอผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
4. คุณภาพน้ําและอากาศ รอยละของพื้นที่ปาไมตอพื้นที่ประเทศ และสัดสวนการปลอยกาซเรือน
กระจกตอหัวเปรียบเทียบกับลําดับขั้นการพัฒนาที่แสดงโดยผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศตอหัว
ยุทธศาสตรการพัฒนา
1. ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม
2. ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน
3. ยุทธศาสตรความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
4. ยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน
5. ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
2-48
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-48 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

6. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเปนธรรมในสังคม มุงเนนการพัฒนาคุณภาพของสังคมทั้งในระดับ
ป จ เจกและระดั บ สั ง คมโดยรวม และการปรับ โครงสร า งเศรษฐกิ จ ให มี ค วามครอบคลุ ม ทั่ ว ถึ ง สร า งโอกาส
การมีงานทําอยางมีคุณ ภาพสําหรับ คนกลุมตาง ๆ ในสังคม พรอมทั้งมีระบบการคุมครองทางสังคมเพื่อปองกัน
ความเสี่ยงในการดําเนินชีวิต ดังนั้น แนวทางการพัฒนาในยุทธศาสตรนี้จึงครอบคลุมประชากรทุกกลุมเปาหมาย
ทั้ งผูป ระกอบการ แรงงานทั่ วไป แรงงานกลุมเยาวชน สตรี ผูพิก าร และผูสูงอายุ เกษตรกร แรงงานต างดาว
รวมถึงบุคลากรของภาครัฐ

ตารางที่ 2.4 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม

แนวทางการพัฒนา
สิทธิ สวัสดิการแรงงาน  การเปดโอกาสการทํางานสําหรับผูสูงอายุ สตรี และคนพิการไดตามศักยภาพมากขึ้น
และความเทาเทียม  การรวมมือระดับ ภูมิภาคเพื่อการพัฒ นาทักษะและการสงเสริมการมีสวนรวมของ
เยาวชน ผูสูงอายุ สตรี และผูพิการ
 เสริมสรางเจตคติดานความเสมอภาคระหวางหญิงและชาย สงเสริมบทบาทของสตรี
ในระดับการบริหารและการตัดสินใจ
 สงเสริมการใชสิทธิแรงงานขั้นพื้นฐานในสถานประกอบการ
 การมีระบบคาจางและสวัสดิการแรงงานที่เปนธรรม
 ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นากฎเกณฑ ด า นแรงงานและการบั ง คั บ ใช ให เกิ ด ประสิ ท ธิ ผ ล
เพื่อคุมครองแรงงานบนหลักสิทธิพื้นฐานและการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน
 การรณรงค แ ละการให ผ ลประโยชน ท างภาษี สํ า หรั บ ภาคธุ รกิ จ ที่ ดํ า เนิ น กิ จ กรรม
เพื่ อรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คมและวิ ส าหกิ จ เพื่ อสั ง คม เพื่ อ สนั บ สนุ น การสร า ง
ความเปนธรรมตอแรงงาน
 ยกระดับ คุณ ภาพของระบบการคุมครองทางสังคมใหครอบคลุมทุกคนอยางทั่วถึง
สอดคลองกับความตองการและความจําเปน
 พัฒนากลไกการใหความชวยเหลือประชาชนและผูประกอบการที่ไดรับ ผลกระทบ
จากการดําเนินนโยบายตามขอตกลงการคาและการลงทุนเสรีระหวางประเทศ
 พัฒนาการใชประโยชนเทคโนโลยีสารสนเทศและสนับสนุนการเขาถึงขอมูลขาวสาร

2-49
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-49


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา
ในการพัฒนาอาชีพอยางทั่วถึง
การกระจายรายได  ปรับโครงสรางภาษีทั้งระบบใหสนับสนุนการกระจายรายได โดยเนนการจัดเก็บภาษี
ทางตรงมากขึ้นโดยเฉพาะภาษีที่จัดเก็บ จากมูลคาทรัพ ยสินและฐานรายไดที่ไมใช
ผลตอบแทนจากการทํางาน
การพั ฒ นาความรู  การพัฒนาทักษะความสามารถทั้งดานการผลิตและการบริหารจัดการรวม เพื่อเพิ่ม
และทักษะ โอกาสการประกอบสัมมาอาชีพที่หลากหลาย
 สงเสริมใหสถานประกอบการจัดการฝกอบรมและการฝกอบรมซ้ําของแรงงาน
 พัฒนาขาราชการใหมีคุณภาพสูง มีคุณธรรม จริยธรรมทางอาชีพ และมีความรับผิด
รับชอบ ควบคูกับการกําหนดคาตอบแทนที่เหมาะสม
การสรางงาน  ยกระดับและสรางเสถียรภาพรายไดเกษตรกรพรอมกับการพัฒนาอาชีพและแนวทาง
สรางรายไดเสริมนอกฤดูกาล
 สรางงานในภาคอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้นควบคูไปกับการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน
และความสามารถในการคิดสรางสรรคเพื่อเปนฐานในการสรางราย
 สนั บ สนุ น การรวมกลุ ม อาชี พ ที่ ส อดคล อ งกั บ ศั ก ยภาพของพื้ น ที่ แ ละเกิ ด การใช
ประโยชนจากทรัพยากรรวมกัน โดยเชื่อมโยงภูมิปญญาและวัฒนธรรมทองถิ่น พัฒนา
ตอยอดสูวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการพัฒนากลุมอาชีพที่ครบวงจรทั้งหวงโซมูลคา
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน มุงเนนการพัฒนาคน


ทุ ก ช ว งวั ย ให เข า สู สั งคมแห งการเรีย นรู ต ลอดชี วิ ต อย า งยั่ งยื น ให ค วามสํ า คั ญ กั บ การนํ า หลั ก คิ ด หลั ก ปฏิ บั ติ
ตามปรั ชญาของเศรษฐกิ จ พอเพีย งมาเสริม สรา งศักยภาพของคนในทุ กมิติ ทั้ งดานรางกายที่สมบูรณ แ ข็งแรง
มี ส ติ ป ญ ญาที่ ร อบรู และมี จิ ต ใจที่ สํ า นึ ก ในศี ล ธรรม คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ความเพี ย ร ตลอดจนมี ภู มิ คุ ม กั น
ตอการเปลี่ยนแปลงที่มีแนวโนมจะเกิดขึ้นในอนาคต แนวทางการพัฒนาในยุทธศาสตรนี้เนนไปที่การเพิ่มความรู
ใหการศึกษา และการพัฒนาทักษะของคน รวมถึงการสรางงานและการจางงานในระดับ ภูมิภาค ซึ่งครอบคลุม
ประชากรเกือบทุกกลุมเปาหมาย ทั้งแรงงานทั่วไป แรงงานกลุมเยาวชน สตรี ผูพิการ และผูสูงอายุ เกษตรกร
รวมถึงบุคลากรของภาครัฐ

2-50
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-50 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.5 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน


แนวทางการพัฒนา
การศึกษาและการ  พั ฒนาเด็กปฐมวัยอยางเปนองครวมทั้งดานสติปญ ญา อารมณ คุณ ธรรม และ
ผลิตบุคลากร จริยธรรม
 พัฒนาเด็กวัยเรียนใหมีความรูทางวิชาการ และสติปญญาทางอารมณที่เขมแข็ง
สามารถศึกษาหาความรูและตอยอดองคความรูไดดวยตนเอง
 จัด การศึ ก ษาและการเรีย นรู ที่ มี คุณ ภาพ ยื ด หยุ น หลากหลาย เขา ถึ งไดงา ย
สงเสริมใหมีการพัฒนาบทเรียนผานเครือขายอินเทอรเน็ต
 จั ด ระบบการศึ ก ษาเพื่ อ สร า งเกษตรกรรุ น ใหม ที่ มี ค วามรู ค วามสามารถ
ดานการเกษตรที่ใชความรูและเทคโนโลยีสมัยใหมอยางครบวงจร
 สนับสนุนการผลิตและพัฒนานักวิจัย ผูสรางและพัฒนานวัตกรรมในสาขาตาง ๆ
 การยกระดับคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษาใหผูเรียนมีสมรรถนะในการประกอบ
อาชีพที่ เชื่อมโยงกับ กลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย สอดคลองกับ ความเชี่ยวชาญ
ของสถานศึกษา
การพัฒนาความรูและ  เสริมสรางทักษะใหคนมีการเรียนรูตอเนื่องตลอดชีวิต การตอยอดสูนวัตกรรม
ทักษะ ความรู การฝกฝนจนเกิดความคิดสรางสรรค
 จัดใหมีการวางแผนและพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคกรภาครัฐอยางเปนระบบ
และตอเนื่อง
มาตรฐานของแรงงาน  จัด ทํา กรอบคุ ณ วุ ฒิ แ ห ง ชาติที่ เที ย บเคีย งกั บ มาตรฐานสากล เพื่ อ ให แ รงงาน
มีสมรรถนะและมีเสนทางความกาวหนาในวิชาชีพที่ชัดเจน ตลอดจนสนับสนุน
การเตรียมความพรอมรองรับการเปดเสรีดานแรงงานภายใตกรอบความรวมมือ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางเปนรูปธรรม
การสรางงาน  สร า งโอกาสและเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของคนไทยในการออกไปทํ า งาน
ตางประเทศ ยกระดับทักษะดานอาชีพและทักษะดานภาษา
 เพิ่ มโอกาสการจ า งงานและการมี ง านทํ า ในภู มิภ าค เพื่ อ ลดการย ายถิ่ น ออก
และ จูงใจใหมีการยายถิ่นกลับภูมิลําเนาเดิม
โครงสรางพื้นฐาน  เสริ ม สร า งและพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานทางป ญ ญาในระดั บ ท อ งถิ่ น ชุ ม ชน
และประเทศ โดยพัฒนาโครงขายโทรคมนาคมและบริการอินเทอรเน็ตความเร็ว
สูงใหครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ
 พัฒนาแหลงเรียนรูของชุมชนทั่วประเทศ
การบริหารจัดการ  พัฒนาองคความรูของทองถิ่นทั้งจากผูรู ปราชญชาวบาน และจัดใหมีการวิจัย
และพัฒนาองค เชิงประจักษของชุมชน การจัดการองคความรูในชุมชนอยางเปนระบบ
2-51
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-51


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา
ความรูในระดับชุมชน  สนับสนุนการคนหาอัตลักษณอันโดดเดนของชุมชน การสรางกระบวนการเรียนรู
และปลูกฝงความเปนอัตลักษณของชุมชน
 ให ความสํ าคัญ กั บ การจั ด การการเรี ย นรู ในชุ ม ชน การศึ ก ษาถอดองค ค วามรู
ของชุม ชนและชุ ม ชนต น แบบ การจัด การตนเองไดต ามบริบ ทของพื้ นที่ และ
การถายทอดภูมิปญญาที่ชวยพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ยุทธศาสตรที่ 3 ความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน ใหความสําคัญกับ
การดูแลและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มศักยภาพการผลิตภาคเกษตร สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาพันธุ
พืช พั น ธุสัตว และสัตวน้ํา และเทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมและเปนมิตรกับ สิ่งแวดลอม สงเสริมการสราง
มูลคาเพิ่มสินคาเกษตร อาหารและพลังงาน บนฐานของภูมิปญ ญาทองถิ่นและความคิดสรางสรรค รวมถึงสราง
ความมั่นคงในอาชีพและรายไดแกเกษตรกร การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในยุทธศาตรนี้ สวนใหญเนนที่การพัฒนา
ความรูและทักษะของเกษตรกร ไปจนถึงสรางโอกาสในการเปนผูประกอบการธุรกิจการเกษตร
ตารางที่ 2.6 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
แนวทางการพัฒนา
การศึกษาและวิจัย  พัฒนาและเสริมสรางองคความรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตาง ๆ ที่เหมาะสม
ทางการเกษตร รวมทั้ ง สนั บ สนุ น การใช เ ทคโนโลยี ก ารผลิ ต ที่ เป น มิ ต รต อ
สิ่ งแวดล อ ม ผ านการสนั บ สนุน สิ น เชื่ อ ผ อ นปรนและมาตรการทางด านภาษี
แกเกษตรกรและผูประกอบการธุรกิจเกษตร ที่มีการใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสม
และคุมคา
รายได  พัฒนาระบบการสรางหลักประกันดานรายไดของเกษตรกร
 ส ง เสริ ม ระบบการทํ า การเกษตรแบบมี พั น ธสั ญ ญาที่ เป น ธรรมแก ทุ ก ฝ า ย
ที่เกี่ยวของเพื่อเปนหลักประกันทั้งทางดานรายไดใหกับเกษตรกรและความมั่นคง
ดานวัตถุดิบแกภาคอุตสาหกรรมการเกษตร อาหาร และพลังงาน
การสรางงาน  สรางแรงจูงใจใหเยาวชน หรือเกษตรกรรุนใหม และแรงงานที่มีคุณภาพเขาสู
อาชีพเกษตรกรรม
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2-52
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-52 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ยุทธศาสตรที่ 4 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ใหความสําคัญ


กับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการพัฒนาที่มีคุณภาพและยั่งยืน โดยใชปญญา ความรู วิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และความคิดสรางสรรค เปนพื้นฐานสําคัญในการขับเคลื่อน แนวทางการพัฒนาในยุทธศาสตรนี้จึงเนนไปที่การเพิ่ม
ความรูทางวิทยาศาสตร การวิจัยและการพัฒนาทักษะและศักยภาพของผูประกอบการ และแรงงาน

ตารางที่ 2.7 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน


แนวทางการพัฒนา
การศึกษาและการ  สรางและพัฒนาบุคลากรที่สอดคลองกับความตองการของธุรกิจ
ผลิตบุคลากร  พัฒนาบุคลากรดานวิทยาศาสตรและนักวิจัยใหเพียงพอทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
 ผลิตบุคลากรดานโลจิสติกสที่มีความเปนมืออาชีพ
 เพิ่ มขี ดความสามารถของผู จบการศึ กษาในทุ กระดั บ โดยเฉพาะด านวิ ทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ใหมีมาตรฐานสอดคลองกับความตองการของสาขาเกษตร อุตสาหกรรม
และบริ การ เพื่ อรองรั บ การเปลี่ ยนแปลงของตลาดแรงงานและความก าวหน า
ของเทคโนโลยี
 จัดทําแผนการพัฒนาบุคลากรดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับการพัฒนาในระยะยาว
การพัฒนาความรูและ  พัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของผูประกอบการตลอดหวงโซการผลิตและบริการ
ทักษะ  การสงเสริมการยกระดับองคความรูและทักษะผูประกอบการทั้งดานการผลิต
การตลาด และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการดําเนินธุรกิจ
 เสริมสรางศักยภาพของผูประกอบการและบุคลากรในการใชความคิดสรางสรรค
เพื่อเพิ่มมูลคาสินคาและบริการทุกสาขา ตลอดหวงโซอุปทานของอุตสาหกรรม
สรางสรรค
 ประสานความรวมมือการพัฒนาระหวางภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา
และสถาบั น เฉพาะทางในการฝก อบรมบุ คลากรให มีทั กษะ มีการใช ความคิด
สรางสรรค และองคความรู
 พัฒนาทักษะและองคความรูของบุคลากรภาครัฐ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
และชุมชน รวมทั้งเสริมสรางศักยภาพของผูป ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอมใหสามารถปรับตัวเพื่อรองรับ ผลกระทบตาง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น
จากการเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขตามกฎระเบียบใหมของโลก
มาตรฐานแรงงาน  พั ฒ นาศั ก ยภาพของบุ ค ลากรให มี ทั ก ษะการบริ ห ารและความเชี่ ย วชาญ
ในสายอาชีพ และพัฒ นามาตรฐานธุรกิจ และวิช าชีพใหเปนที่ย อมรับ ในระดับ

2-53
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-53


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา
สากล
 ยกระดั บ คุ ณ ภาพกํ า ลั ง แรงงาน และสนั บ สนุ น การใช ร ะบบคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ
และระบบมาตรฐานฝมือแรงงานที่มีความเชื่อมโยงกันทั้งระบบมาตรฐานอาชีพ
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ยุทธศาสตรที่ 5 การสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
เน นการใช ป ระโยชนสูงสุดจากการเชื่อมโยงการพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมกับ ประเทศในอนุภู มิภ าค ภูมิภ าค
และภูมิภาคเอเชียแปซิฟก แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในยุทธศาสตรนี้จึงเนนที่การพัฒนาทักษะ ความรู
และมาตรฐานของทั้งแรงงานและผูป ระกอบการ ใหสามารถใชประโยชนสูงสุดในการสรางอาชีพ การจางงาน
และสรางโอกาสในการทําธุรกิจจากความเชื่อมโยงระหวางประเทศ

ตารางที่ 2.8 แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคง


ทางเศรษฐกิจและสังคม
แนวทางการพัฒนา
การศึ ก ษ าและการ  เสริมสรางความเขมแข็งใหสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนใหมีมาตรฐาน
ผลิตบุคลากร เปนที่ยอมรับในระดับสากล
การพัฒนาความรูและ  พั ฒ น าบุ คลากรใน ธุ ร กิ จการขน ส ง และโลจิ สติ กส เพื่ อเพิ่ มศั ก ยภาพ
ทักษะ ของภาคเอกชนไทยทั้งในดานทักษะภาษาตางประเทศ และความรูดานบริหาร
จัดการโลจิสติกส
 พัฒนาความรวมมือระหวางภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มีศักยภาพ รวมพัฒนา
บุค ลากรและเสริม สรางความรู ความเขาใจในเรื่องประชาคมอาเซียนใหไดรับ
ข อ มู ล และศึ ก ษากฎระเบี ย บและข อ ตกลงต า ง ๆ ที่ เกี่ ย วข อ ง รวมทั้ ง ภาษา
ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมเพื่อใหมีความเขาใจที่ชัดเจน
มาตรฐานแรงงาน  การยกระดับ ทั กษะฝมือ แรงงาน ทั กษะดา นภาษาและความรอบรูดานภาษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เพื่อเตรียมความพรอมของแรงงานไทย
เขาสูตลาดแรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2-54
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-54 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา
การสรางงาน  สงเสริมผูประกอบการไทยในการขยายการลงทุนไปสูตางประเทศ โดยเฉพาะ
ในประเทศเพื่อนบาน เพื่อแกปญหาการขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบในประเทศ
และใชประโยชนจากสิทธิพิเศษของประเทศเพื่อนบานในการผลิตเพื่อสงออก
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

2.3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564)


หลั ก การพั ฒ นาประเทศที่ สํ า คั ญ ในระยะแผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 12 ยั ง คงยึ ด หลั ก “ปรั ช ญา
ของเศรษฐกิจพอเพี ยง” “การพัฒนาที่ยั่งยืน” และ “คนเปนศูนย กลางการพัฒ นา” ตอเนื่องจากแผนพัฒ นาฯ
ฉบับที่ 9 - 11 แตการกําหนดวิสัยทัศนและเปาหมายของแผนพัฒนาฯ ฉบับนี้ จะอางอิงกับวิสัยทัศและเปาหมาย
ในยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป ควบคูไปกับกรอบเปาหมายการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมที่องคกร
ระหว างประเทศกํา หนดขึ้น รวมถึงยึด หลักการเจริญ เติบ โตทางเศรษฐกิจ ที่ลดความเหลื่อมล้ําและขับ เคลื่อ น
การเจริญเติบโตจากการเพิ่มผลิตภาพการผลิตบนฐานของการใชภูมิปญญาและนวัตกรรม เพื่อนําไปสูการปฏิบัติ
ใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางจริงจังใน 5 ปที่ ตอยอดไปสูผลสัมฤทธิ์ที่เปนเปาหมายระยะยาว
สถานการณภายนอกประเทศที่สงผลตอแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
แนวโน ม เศรษฐกิ จ โลกมี ต ลาดเกิ ด ใหม ที่ มี บ ทบาทสู ง ขึ้ น ตลาดการเงิ น โลกเข า สู ส ถานการณ
ไรพรมแดน ซึ่งเปนผลจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเงินที่มีความกาวหนาอยางรวดเร็ว ทําใหมีการพัฒนา
เครื่ อ งมื อ ทางการเงินใหม ๆ ดั งนั้น การวิ จัย และพั ฒ นาดานวิ ทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีที่ เกี่ย วของกับ สาขา
การผลิ ต และบริ ก ารต า ง ๆ ทั้ ง ในเชิ ง สถาบั น โครงสรา งพื้ น ฐานและทรั พ ยากรมนุ ษ ย ถื อ เป น กุ ญ แจสํ า คั ญ
ตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต นอกจากนี้ กระแสโลกาภิวัตนที่เขมขน การเคลื่อนยายคน เงินทุน
องค ความรู เทคโนโลยีขาวสาร สิน คาและบริการอยา งเสรี ทําใหก ารแขงขันในตลาดโลกรุนแรงขึ้น ประเทศ
เศรษฐกิจใหมมีขีดความสามารถในการแขงขันมากขึ้น เชน จีน อินเดีย ละติน อเมริกา และเวียดนาม ซึ่งมีแรงงาน
ราคาถูก ในขณะที่ ความสามารถในการแขงขันของไทยยังคงปรับตัวชา เนื่องจากคุณ ภาพคนต่ํา การลงทุ น
ในการวิ จั ย และพั ฒ นายัง มีนอ ย คุณ ภาพของโครงสรางพื้ น ฐานยั งไม ดี และป ญ หาการบริห ารจั ดการภาครัฐ
และกฎระเบียบตาง ๆ ลาสมัยและขาดประสิทธิผลในการบังคับใช
สถานการณภายในประเทศที่สงผลตอแผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
โครงสรางเศรษฐกิ จ มี ก ารเปลี่ย นผ า นจากภาคเกษตรไปสูภ าคอุ ต สาหกรรมและบริก ารมากขึ้ น
ภาคการผลิตมีการสั่งสมองคความรูและปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีการผลิตอยางตอเนื่อง แตภาพรวมของการพัฒนา
2-55
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-55


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

วิท ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจั ย และนวั ต กรรม ยั งอยูในลํ า ดั บ ต่ํ า อี ก ทั้ ง การบริห ารจั ด การงานวิ จั ย ขาดการ
บูรณาการใหมีเอกภาพ ทําใหทิศทางการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยพัฒนา และนวัตกรรมของประเทศ
ไมชัดเจน มีความซ้ําซอน และยังมีขอจํากัดในการตอบโจทยการพัฒนาประเทศ ตลอดจนมีการนําผลงานวิจัยไปใช
ประโยชนในเชิงพาณิชยในระดับต่ํา
นอกจากนี้ โครงสร า งประชากรไทยจะเปลี่ ย นแปลงเข า สู สั ง คมสู งวั ย อย า งสมบู ร ณ เมื่ อ สิ้ น สุ ด
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 โดยป 2557 เปนปที่ประชากรวัยแรงงานจะมีจํานวนสูงสุดและเริ่มลดลงอยางตอเนื่อง
ในขณะที่ คุณ ภาพคนไทยทุกกลุม วัย ยัง มีป ญ หา คุณ ภาพการศึกษาและการเรีย นรูข องคนไทยยังอยูในระดั บ
คอนข างต่ํ า มี ป ญ หาดานคุณ ธรรมจริยธรรม ความยากจนยังกระจุกตัวหนาแนน ในภาคตะวั นออกเฉียงเหนือ
และภาคเหนื อ รวมทั้ งความแตกต างของรายได ระหว างกลุ มคนรวยที่ สุ ดและกลุ มคนจนที่ สุ ดสู งถึ ง 34.9 เท า
ในป พ.ศ.2556
วัตถุประสงคและเปาหมายโดยรวมของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
วิสัยทัศนระยะยาว
การเตรียมความพรอมเพื่อ วางรากฐานของประเทศในระยะยาวใหมุงตอยอดผลสัมฤทธิ์ของแผน
ที่ ส อดคล อ งเชื่ อ มโยง และรองรั บ การพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ งกั น ไปตลอด 20 ป ตามกรอบยุ ท ธศาสตร ช าติ
(พ.ศ. 2560 - 2579) และการปรับโครงสรางประเทศไทยไปสูประเทศไทย 4.0
วัตถุประสงค
1. เพื่อวางรากฐานใหคนไทยเปนคนที่สมบูรณ
2. เพื่อใหคนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ไดรับความเปนธรรมในการเขาถึงทรัพยากร
และบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ ผูดอยโอกาสไดรับการพัฒนาศักยภาพ รวมทั้งชุมชนมีความเขมแข็งพึ่งพาตนเองได
3. เพื่อใหเศรษฐกิจเขมแข็ง แขงขันได มีเสถียรภาพ และมีความยั่งยืน
4. เพื่อรักษาและฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมใหสามารถสนับสนุนการเติบโต
ที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและการมีคุณภาพชีวิตที่ดขี องประชาชน
5. เพื่อใหการบริหารราชการแผนดินมีประสิทธิภาพ โปรงใส ทันสมัย และมีการทํางานเชิงบูรณาการ
6. เพื่อใหมีการกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค
7. เพื่ อ ผลั ก ดั นให ป ระเทศไทยมี ค วามเชื่ อ มโยง (Connectivity) กั บ ประเทศต า ง ๆ ทั้ งในระดั บ
อนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาชาติไดอยางสมบูรณและมีประสิทธิภาพ

2-56
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-56 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เปาหมายรวม
1. คนไทยมีคุณลักษณะเปนคนไทยที่สมบูรณ
2. ความเหลื่อมล้ําทางดานรายไดและความยากจนลดลง
3. ระบบเศรษฐกิ จมีความเข มแข็งและแขงขันได โครงสรางเศรษฐกิจ ปรับสูเศรษฐกิจฐานบริการ
และดิจิทัล มีผูประกอบการรุนใหมและเปนสังคมผูประกอบการ ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กที่เขมแข็ง
สามารถใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการสรางสรรคคุณคาสินคาและบริการ
4. ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดลอมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้ํา
5. มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สรางภาพลักษณดี และเพิ่มความ
เชื่อมั่นของนานาชาติตอประเทศไทย
6. มี ระบบบริ ห ารจั ดการภาครั ฐที่ มี ประสิ ทธิ ภ าพ ทั นสมั ย โปรงใส ตรวจสอบได กระจายอํ านาจ
และมีสวนรวมจากประชาชน
ยุทธศาสตรการพัฒนา
1. ยุทธศาสตรการเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย
2. ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ําในสังคม
3. ยุทธศาสตรการสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน
4. ยุทธศาสตรการเติบโตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
5. ยุทธศาสตรการเสริมสรางความมั่นคงแหงชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสูความมั่งคั่ ง และยั่งยืน
6. ยุทธศาสตรการบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลในสังคมไทย
7. ยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส
8. ยุทธศาสตรการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
9. ยุทธศาสตรการพัฒนาภาคเมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
10. ยุทธศาสตรความรวมมือระหวางประเทศเพื่อการพัฒนา

2-57
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-57


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ยุทธศาสตรและแนวทางการพัฒนาที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย ยุทธศาสตรนี้เปนยุทธศาสตรห ลัก
ในการพั ฒ นาทรั พยากรมนุษ ย ให ความสํา คัญ กับ การวางรากฐานการพั ฒ นาคนใหมีค วามสมบู รณ เริ่มตั้งแต
กลุ ม เด็ กปฐมวั ย ที่ตองพัฒ นาใหมีสุขภาพกายและใจที่ดี มีทักษะทางสมอง ทักษะการเรียนรู และทักษะชีวิต
เพื่ อ ให เติ บ โตอย า งมี คุ ณ ภาพ ควบคูกับ การพั ฒ นาคนไทยในทุ ก ช ว งวั ย ให เป น คนดี มี สุ ข ภาวะที่ ดี มี คุ ณ ธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสํานึกที่ดีตอสังคมสวนรวม มีทักษะความรู และความสามารถปรับตัวเทาทันกับ
การเปลี่ยนแปลงรอบตัวที่รวดเร็ว โดยมีเปาหมายและตัวชี้วัดของยุทธศาสตรดังตารางที่ 2.9

ตารางที่ 2.9 เปาหมายและตัวชี้วัดยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย


เปาหมาย ตัวชี้วัด
1. คนไทยสว นใหญ มี ทั ศ นคติ แ ละ 1.1 ประชากรอายุ 13 ป ขึ้ น ไปมี กิ จ กรรมการปฏิ บั ติ ต นที่ ส ะท อ น
พฤติ ก รรมตามบรรทั ด ฐานที่ ดี การมีคณ ุ ธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น
ของสังคมเพิ่มขึ้น 1.2 คดีอาญามีสัดสวนลดลง
2. คนในสังคมไทยทุกชวงวัยมีทักษะ 2.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไมนอยกวารอยละ 85
ความรู และความสามารถเพิ่มขึ้น 2.2 คะแนน IQ เฉลี่ยไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน
2.3 เด็กรอยละ 70 มีคะแนน EQ ไมต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน
2.4 ผูเรียนในระบบทวิภาคีเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 30 ตอป
2.5 ผูที่ไดรับการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพและผูผานการทดสอบมาตรฐานฝมือ
แรงงานแหงชาติเพิ่มขึ้น
2.6 การออมสวนบุคคลตอรายไดพึงจับจายใชสอยเพิ่มขึ้น
2.7 การมีงานทําของผูสูงอายุ (อายุ 60 – 69 ป) เพิ่มขึ้น
3. ค น ไท ย ได รั บ ก ารศึ ก ษ าที่ มี 3.1 ผลคะแนนสอบ PISA ในแตละวิชาไมต่ํากวา 500
คุ ณ ภาพสู งตามมาตรฐานสากล 3.2 การใชอินเทอรเน็ตเพื่อการอานหาความรูเพิ่มขึ้น
และสามารถเรี ย นรู ด ว ยตนเอง 3.3 การอานของคนไทยเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 85
อยางตอเนื่อง 3.4 แรงงานที่ข อเทียบโอนประสบการณและความรูเพื่อขอรับวุฒิ ปวช.
และ ปวส. เพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 20 ตอป
4. คนไทยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น 4.1 ประชากรอายุ 15-79 ปมีภาวะน้ําหนักเกินลดลง
4.2 การตายจากอุบัติเหตุทางถนนต่ํากวา 18 คน ตอประชากรแสนคน
4.3 ประชาชนเลนกีฬาและเขารวมกิจกรรมนันทนาการเพิ่มขึ้น
2-58
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-58 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เปาหมาย ตัวชี้วัด
4.4 อัตราการฆาตัวตายสําเร็จตอประชากรแสนคนลดลง
4.5 การคลอดในผูหญิงกลุมอายุ 15-19 ป ลดลง
4.6 รายจายสุขภาพทั้งหมดไมเกินรอยละ 5 ของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ
4.7 ผูสูงอายุที่อาศัยในบานที่มีสภาพแวดลอมที่เหมาะสมเปนรอยละ 20
5. สถาบันทางสังคมมีความเขมแข็ง 5.1 ดัชนีครอบครัวอบอุนอยูในระดับดีขึ้น
และมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศ 5.2 ประชากรอายุ 13 ปขึ้นไปมีการปฏิบัติตามหลักคําสอนทางศาสนาเพิ่มขึ้น
5.3 ธุรกิจที่เปนวิสาหกิจเพื่อสังคมเพิ่มขึ้น
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12

แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 7 ขอหลัก ไดแก


1) ปรับเปลี่ยนคานิยมคนไทยใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค
2) พัฒนาศักยภาพคนใหมีทักษะความรู และความสามารถในการดํารงชีวิตอยางมีคุณคา
3) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต
4) ลดปจจัยเสี่ยงดานสุขภาพและใหทุกภาคสวนคํานึงถึงผลกระทบตอสุขภาพ
5) เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการระบบสุขภาพภาครัฐและปรับระบบการเงินการคลังดานสุขภาพ
6) พัฒนาระบบการดูแลและสรางสภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย
7) ผลักดันใหสถาบันทางสังคมมีสวนรวมพัฒนาประเทศอยางเขมแข็ง
ในแนวทางการพัฒ นาทั้งหมด 7 ขอนี้ มีขอที่ 2) และ 3) เปนหัวขอ หลัก ในการพัฒ นาทรัพยากร
มนุษยทุกชวงอายุ โดยสามารถสรุปสาระสําคัญไดดังตารางที่ 2.10

2-59
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-59


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.10 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย


แนวทางการพัฒนา กลุมเปาหมาย
การพัฒนาศักยภาพคนใหมีทักษะความรู และความสามารถในการดํารงชีวิตอยางมีคุณคา
1. สงเสริมใหเด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะทางสมองและทักษะทางสังคมที่เหมาะสม เด็กปฐมวัย
 ใหความรูแกพอแมหรือผูดูแลเด็กในเรื่องการมีโภชนาการที่เหมาะสม
 กํ าหนดมาตรการสรางความสมดุลระหวางชีวิตและการทํางานใหพอแมสามารถ
เลี้ยงดูบุตรไดดวยตนเอง
 พัฒนาหลักสูตรการสอนที่อิงผลงานวิจัยทางวิชาการและปรับปรุงสถานพัฒนาเด็ก
ปฐมวัยใหมีคุณ ภาพตามมาตรฐานที่ เนนการพัฒ นาทักษะสําคัญ ดานตาง ๆ อาทิ
ทัก ษะทางสมอง ทักษะดานความคิดความจํา ทักษะการควบคุมอารมณ ทักษะ
การวางแผนและการจัดระบบ ทักษะการรูจักประเมินตนเอง ควบคูกับการยกระดับ
บุค ลากรในสถานพัฒ นาเด็กปฐมวัยใหมีความพรอ มทั้งทักษะ ความรู จริย ธรรม
และความเปนมืออาชีพ
 สนับสนุ นการผลิตสื่อสรางสรรคที่มีรูป แบบหลากหลายที่ใหความรูในการเลี้ยงดู
และพัฒนาเด็กปฐมวัย
 ผลั ก ดั น ให มี ก ฎหมายการพั ฒ นาเด็ ก ปฐมวั ย ให ค รอบคลุ มทั้ งการพั ฒ นาทั ก ษะ
การเรีย นรู เน น การเตรีย มความพรอ มเข า สู ระบบการศึ ก ษา การพั ฒนาสุ ขภาพ
อนามั ยใหมี พัฒนาการที่สมวั ยและการเตรียมทักษะการอยูในสังคมให มีพั ฒนาการ
อยางรอบดาน
2. พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุนใหมีทักษะการคิดวิเคราะหอยางเปนระบบ มีความคิด วัยเรียนและวัยรุน
สรางสรรค มีทักษะการทํางานและการใชชีวิตที่พรอมเขาสูตลาดงาน
 ปรับกระบวนการเรียนรูที่สงเสริมใหเด็กมีการเรียนรูจากการปฏิบัติจริงสอดคลอง
กับ พั ฒ นาการของสมองแตล ะช ว งวั ย เน นพั ฒนาทั กษะพื้นฐานดานวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี ดานวิศวกรรมศาสตร ดานคณิตศาสตร ดานศิลปะ และดานภาษาตางประเทศ
 สนับสนุนใหเด็กเขารวมกิจกรรมทั้งในและนอกหองเรียนที่เอื้อตอการพัฒนาทักษะ
ชี วิ ต และทั ก ษะการเรี ย นรู อ ย า งต อ เนื่ อ ง อาทิ การอ า น การบํ า เพ็ ญ ประโยชน
ทางสังคม การดูแลสุขภาพการทํางานรวมกันเปนกลุม การวางแผนชีวิต
 สรางแรงจูงใจใหเด็กเขาสูการศึกษาในระบบทวิภาคีและสหกิจศึกษาที่มุงการฝก
ทักษะอาชีพใหพรอมเขาสูตลาดงาน
2-60
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-60 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา กลุมเปาหมาย
3. ส ง เสริ ม แรงงานให มี ค วามรูแ ละทั ก ษะในการประกอบอาชี พ ที่ เ ป น ไปตามความ แรงงานทั่วไป
ตองการของตลาดงาน ผูประกอบการ
 พั ฒ นาศู น ยฝก อบรมสมรรถนะแรงงานที่ ได ม าตรฐานตามระบบคุ ณ วุ ฒิ วิ ช าชี พ
และมาตรฐานฝมือแรงงาน จัดทํามาตรฐานอาชีพในอุต สาหกรรมเปา หมายที่ มี
ศักยภาพ และใหมีการประเมินระดับทักษะของแรงงานบนฐานสมรรถนะ
 เรงพัฒนาระบบขอมูลความตองการและการผลิตกําลังคนที่มีการบูรณาการระหวาง
หนวยงานที่เกี่ยวของ และสามารถนําไปใชคาดประมาณความตองการกําลังคนที่
สอดคลองกับทิศทางตลาดงานในอนาคต
 จั ด ตั้ ง ศู น ย บ ริ ก ารข อ มู ล และให คํ า ปรึ ก ษาในการเป น ผู ป ระกอบการรายใหม
และอาชี พ อิ ส ระทั้ ง การจั ด หาแหล ง เงิ น ทุ น และการตลาดที่ เหมาะสม และให
สถาบั น การศึ ก ษาจั ด ทํ า หลั ก สู ต รระยะสั้ น พั ฒ นาทั ก ษะพื้ น ฐานและทั ก ษะ
ที่จําเปน
 ส งเสริม ให สถาบั นการเงินรวมกับ สถานประกอบการกําหนดมาตรการการออม
ที่จู งใจแกแรงงานและกระตุนใหเกิดพฤติกรรมการออมอยางตอ เนื่อง เพื่อ ความ
มั่นคงทางการเงินหลังเกษียณ
4. พัฒนาศักยภาพของกลุมผูสูงอายุวัยตนใหสามารถเขาสูตลาดงานเพิ่มขึ้น แรงงานผูสูงอายุ
 จัดทํ าหลักสูตรพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับวัย สมรรถนะทางกาย
ลักษณะงาน และสงเสริมทักษะการเรียนรูในการทํางานรวมกันระหวางรุน
 สนับสนุนมาตรการจูงใจทางการเงินและการคลังใหผูป ระกอบการมีการจางงาน
ที่เหมาะสมสําหรับผูสูงอายุ
 สนั บ สนุ นชอ งทางการตลาด แหลงทุน และบริก ารขอ มูล เกี่ ย วกั บ โอกาสในการ
ประกอบอาชีพสําหรับผูสูงอายุในชุมชน
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิต
1. ปรับระบบบริหารจัดการสถานศึกษาขนาดเล็กที่มีขนาดและจํานวนผูเรียนต่ํากวาเกณฑ เด็กปฐมวัย
มาตรฐานใหมีการจัดทรัพยากรรวมกัน เด็กวัยเรียน
2. ปรับหลักสูตรการผลิตครูที่เนนสมรรถนะ มีจิตวิญญาณความเปนครู เปนผูแนะนําและ ครูและอาจารย
สามารถกระตุนการเรียนรูของผูเรียน สรางมาตรการจูงใจใหผูมีศกั ยภาพสูงเขามาเปนครู
3. พัฒนาระบบประเมินคุณภาพมาตรฐานที่สามารถวัดและประเมินผลคุณภาพผูเรียน
4. สงเสริมมาตรการสรางแรงจูงใจให สถานประกอบการขนาดกลางที่ มีศักยภาพเขารวม
ระบบทวิ ภ าคีห รือ สหกิ จ ศึ ก ษา สรางความรูค วามเข าใจให กับ ผู ป ระกอบการ ครูฝก
2-61
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-61


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา กลุมเปาหมาย
หรือครูพี่เลี้ยงใหรวมวางแผนการจัดการเรียนการสอน การฝกปฏิบัติ และการติดตาม
ประเมินผลผูเรียน
5. ขยายความร ว มมื อ ระหว า งสถาบั น อาชี ว ศึ ก ษา สถาบั น อุ ด มศึ ก ษา ภาคเอกชน
และผูเชี่ยวชาญทั้งในและตางประเทศ พัฒนาสาขาวิชาที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
สู ความเป น เลิศ การพัฒ นางานวิจัย ไปสูนวัตกรรม รวมทั้งขยายการจัดทําและการใช
หลักสูตรฐานสมรรถนะใหมากขึ้น
6. จัดทําสื่อการเรียนรูที่เปน สื่ออิเล็กทรอนิกสให คนทุกกลุม สามารถเขาถึงไดงาย สะดวก
ทั่วถึง
7. ปรับปรุงแหลงเรียนรูในชุมชนใหเปนแหลงเรียนรูเชิงสรางสรรคและมีชีวิต

ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12

ยุ ท ธศาสตร ที่ 2 การสร า งความเป น ธรรมและลดความเหลื่ อ มล้ํ า ในสั ง คม เน น เกี่ ย วกั บ
การยกระดั บ คุ ณ ภาพบริ ก ารทางสั ง คมให ทั่ ว ถึ ง โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ด า นการศึ ก ษาและสาธารณสุ ข ซึ่ ง เป น
การดําเนินงานตอเนื่องมาจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 แตจะใหความสําคัญมากขึ้นในเรื่องการเพิ่มทักษะแรงงาน
และการใชนโยบายแรงงานที่สนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสรางรายไดสูงขึ้น และการสรางโอกาส
ทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งการสนับสนุนในเรื่องการสรางอาชีพ รายได และใหความชวยเหลือ
เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพสํ า หรับ ประชากรกลุ ม รอ ยละ 40 ที่ มี ร ายได ต่ํ า สุ ด ผู ด อ ยโอกาส สตรี และผู สู ง อายุ
ยุทธศาสตรนี้จึงมีความเกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยูบาง แตเปนในแงของความทั่วถึงและเทาเทียม
แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 3 ขอหลัก ไดแก
1) เพิ่มโอกาสใหกับกลุมเปาหมายประชากรรอยละ 40 ที่มีรายไดต่ําสุดใหส ามารถเขาถึงบริก าร
ที่มีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ
2) กระจายการให บ ริ ก ารภาครั ฐ ทั้ ง ด า นการศึ ก ษา สาธารณสุ ข และสวั ส ดิ ก ารที่ มี คุ ณ ภาพ
ใหครอบคลุมและทั่วถึง
3) เสริมสรางศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสรางความเขมแข็งการเงิน

2-62
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-62 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ฐานรากตามหลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเพื่ อ ให ชุ ม ชนสามารถพึ่ งพาตนเองได มี สิ ท ธิ


ในการจั ด การทุ น ที่ ดิ น และทรั พ ยากรภายในชุ ม ชน โดยสามารถสรุ ป สาระสํา คั ญ ของแนวทางการพั ฒ นา
ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยไดดังตารางที่ 2.11
ตารางที่ 2.11 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ําในสังคม
แนวทางการพัฒนา กลุมเปาหมาย
เพิ่มโอกาสใหกับกลุมเปาหมายประชากรรอยละ 40 ที่มีรายไดต่ําสุดใหสามารถเขาถึงบริการที่มีคุณภาพของรัฐ และมีอาชีพ
1. ขยายโอกาสการเข า ถึ ง การศึ ก ษาที่ มี คุ ณ ภาพให แ ก เ ด็ ก และเยาวชนที่ ด อ ยโอกาส เยาวชน
ทางการศึกษาอยางตอเนื่อง โดยไมถูกจํากัดศักยภาพจากสภาพครอบครัว พื้นที่ และสภาพ
รางกาย
2. สรางโอกาสในการมีที่ดินทํากินของตนเองและยกระดับรายได ตลอดจนสงเสริมทักษะ เกษตรกร
การบริหารเงินเพื่อใหสามารถจัดการรายได เงินทุน และหนี้สินอยางมีประสิทธิภาพ
กระจายการใหบริการภาครัฐทั้งดานการศึกษา สาธารณสุข และสวัสดิการที่มีคุณภาพใหครอบคลุมและทั่วถึง
1. ส งเสริม ใหมีการกระจายการบริก ารดานการศึกษาที่มีคุณ ภาพใหมีความเทาเทียมกัน เยาวชน
มากขึ้นระหวางพื้นที่ ครู
 สรางแรงจูงใจใหบุคลากรครูมีการกระจายตัวอยางมีประสิทธิภาพ
 สรางระบบความรับผิดชอบ (Accountability) ของการจัดการศึกษา นําผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษามาประกอบการประเมินผลครูและโรงเรียน
 ขยายการจัดการศึกษาทางไกลโดยใชโครงขายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อชวยเหลือโรงเรียนที่อยูหางไกลและขาดแคลนครูผูสอน
2. เรงรณรงคและประชาสัมพันธใหแรงงานนอกระบบตระหนักถึงประโยชนของการสราง แรงงานนอกระบบ
หลักประกันในวัยเกษียณและประโยชนจากระบบประกันสังคม
3. สงเสริมและจัดหาโครงสรางพื้นฐานที่เหมาะสมใหประชากรกลุมตาง ๆ โดยเฉพาะกลุม แรงงานทั่วไป
เด็ ก เยาวชน สตรี ผูพิการ ผูสูงอายุ และผูดอยโอกาสทางสังคม เพื่อใหเขาถึงบริก าร แรงงานสตรี
ของรั ฐ และโอกาสทางสั ง คมได อ ย า งเท า เที ย ม รวมถึ ง การได รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะ เยาวชน ผูสูงอายุ
ใหสามารถประกอบอาชีพและมีรายไดตามศักยภาพและความเหมาะสมของแตละบุคคล และผูพิการ
พรอมทั้ งสงเสริมบทบาทของกลุมขางตนใหมีสวนรวมในการบริหารและการตัดสินใจ
ทั้งในระดับชาติและระดับทองถิ่นเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ

2-63
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-63


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนา กลุมเปาหมาย
เสริมสรางศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสรางความเขมแข็งการเงินฐานราก
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใหชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได มีสิทธิในการจัดการทุน ที่ดิน
และทรัพยากรภายในชุมชม
1. สงเสริมใหเกิดชุมชนแหงการเรียนรูดวยกระบวนการวิจัย และการถายทอดองคความรู ประชาชนทั่วไป
ในชุมชนเพื่อนําไปสูการแกไขปญหาในพื้นที่และการตอยอดองคความรูไปสูเชิงพาณิชย
รวมทั้งสงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการสรางการจัดการความรูในชุมชน
2. พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยสงเสริมการประกอบอาชีพของผูประกอบการระดับชุมชน ประชาชนทั่วไป
การสนั บ สนุ น ศู น ย ฝ ก อาชี พ ชุ ม ชน การส ง เสริ ม การเชื่ อ มต อ ระหว า งเครื อ ข า ย ผูประกอบการ
อุ ต สาหกรรม ( Cluster) ในพื้ น ที่ กั บ เศรษฐกิ จ ชุ ม ชน การสร า งความร ว มมื อ กั บ
ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษาในการรวมกันพัฒนาความรูในเชิงทฤษฎีและสามารถ
นํ า ไปประยุก ต ใชในทางปฏิ บั ติ เพื่ อ สรางศัก ยภาพให กับ ชุ ม ชนในการประกอบธุ รกิ จ
การสนันสนุนการประกอบธุรกิจแบบวิสาหกิจเพื่อสังคม รวมถึงการสงเสริมการทองเที่ยว
ทองถิ่นและการทองเที่ยวเชิงอนุรักษในชุมชนที่มีแหลงทองเที่ยว
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตรที่ 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน ใหความสําคัญ
กับการบริหารเศรษฐกิจใหมเี สถียรภาพ เพิ่มประสิทธิภาพภาคการเงิน และดูแลวินัยทางการเงินการคลัง ควบคูกับ
การดําเนินยุทธศาสตรสรางความเขมแข็งใหกับเศรษฐกิจรายสาขาทั้งภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการที่เปน
ฐานรายได เดิ ม และขยายสาขาการผลิ ต และบริ ก ารใหม ๆ สํ า หรั บ อนาคต โดยการขั บ เคลื่ อ นให เศรษฐกิ จ
เจริญ เติบ โตจะเน นการใชวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรมขั้นกาวหนาที่เขมขนมากขึ้น ตลอดจนพัฒนา
เศรษฐกิ จ ดิ จิทั ล ยกระดั บ คุณ ภาพของกํ า ลั งคน และส งเสริ ม ความคิ ด สร างสรรคใ นการขยายฐานเศรษฐกิ จ
และฐานรายไดใหม ควบคูการตอยอดการผลิตและบริการเดิมโดยใชดิจิทัลและเทคโนโลยีอัจฉริยะ
แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 2 ขอหลัก ไดแก
1) สรางความเข็มแข็งใหเศรษฐกิจขยายตัวอยางมีเสถียรภาพและยั่งยืน
2) สรางความเขมแข็งใหกับเศรษฐกิจรายสาขา ไดแก ภาคเกษตร อุตสาหกรรม บริการ และการคา
การลงทุน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในยุทธศาสตรนี้ จะเนนที่การเพิ่มทักษะความรูและการสรางบุคลากร
ของแตละสาขา ตลอดจนการบูรณาการองคความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การสรางนวัตกรรม และความคิด

2-64
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-64 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สรางสรรค เพื่อนําไปประยุกตในการเพิ่มขีดความสามารถในการผลิตของแตละสาขา โดยสาระสําคัญสามารถสรุป


ไดดังตารางที่ 2.12
ตารางที่ 2.12 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 3 การสรางความเขมแข็งทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน
แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
การพัฒนาภาคการเกษตร
พั ฒ นาป จ จัย สนั บ สนุ น ในการบริ ห ารจั ด การภาคเกษตรและสนั บ สนุ น เกษตรกรรุน ใหม เกษตรกร
สรางบุคลากรดานการเกษตร โดยการผลิตเกษตรกรรุนใหมหรือดําเนินนโยบายบัณฑิตคืนถิ่น ผูประกอบการ
การจั ดทํ า หลั กสูต รการศึก ษาที่เน นการเรีย นรูจ ากภาคปฏิ บั ติเพื่ อ สรางเกษตรกรที่มี ความรู
และมีความสามารถในการยกระดับการผลิต แปรรูป การตลาดและการบริหารจัดการที่สามารถ
ปรับ ตัวได ทันตามการเปลี่ยนแปลงของโลก การสนับสนุนการสรางและการรวมกลุมเกษตรกร
ปราดเปรื่องใหเปนผูบริหารจัดการธุรกิจการเกษตรตั้งแตตนน้ําถึงการแปรรูปและการตลาด
การพัฒนาภาคอุตสาหกรรม
1. พั ฒ นาต อ ยอดความเข ม แข็ งของอุ ต สาหกรรมที่ มี ศั ก ยภาพป จจุบั น เพื่ อ ยกระดั บ ไปสู แรงงานทั่วไป
อุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง ผูประกอบการ
 มุ ง เน น การพั ฒ นาศั ก ยภาพบุ ค ลากรในภาคอุ ต สาหกรรมให มี ทั ก ษะขั้ น ก า วหน า
เพื่อตอยอดฐานองคความรูเทคโนโลยีเดิมไปสูการใชและพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง
 การส ง เสริ ม ให ผู ป ระกอบการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต โดยใช ร ะบบอั ต โนมั ติ
ในกระบวนการผลิตมากขึ้นและสรางมูลคาเพิ่มของสินคาที่สูงขึ้นโดยการวิจัยและพัฒนา
การใชนวัตกรรม ความคิดสรางสรรค และพื้นฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย
 สงเสริมการทํางานรวมกันอยางใกลชิดระหวางสถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรม
ในการพัฒ นาบุคลากรในอุตสาหกรรมและเตรียมความพรอ มของบุคลากรที่จะเขาสู
ภาคอุตสาหกรรม
2. วางรากฐานการพัฒนาอุตสาหกรรมสาหรับอนาคต แรงงานทั่วไป
 วางแผนและพัฒนากําลังคนรองรับอุตสาหกรรมอนาคตเพื่อปอนคนเขาสูอุตสาหกรรม ผูประกอบการ
อนาคต โดยในระยะเร ง รั ด ต อ งมี ก ารกํ า หนดกลไกที่ ชั ด เจน แต มี ค วามยื ด หยุ น
ในการพัฒนาทักษะกําลังแรงงานกลุมที่อยูในอุตสาหกรรมในปจจุบันและกลุมที่กําลังจะ
เขาสูอุตสาหกรรมใหมีทักษะพื้นฐานที่สําคัญสําหรับอุตสาหกรรมอนาคต รวมทั้งสงเสริม
ให ภ าคเอกชนเป น ผู ล งทุ น พั ฒ นาหลั ก สู ต รฝ ก อบรมและระบบการศึ ก ษาเร ง รั ด
เพื่ อ ให ส ามารถผลิ ต บุ ค ลากรที่ มี ทั ก ษะรองรั บ อุ ต สาหกรรมอนาคตในระยะแรก
ไดอยางทันการณ สวนในระยะยาว ตองกําหนดกลุมกําลังคนเปาหมาย รวมทั้งความรู
2-65
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-65


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
ทั ก ษะ และคุ ณ ลั ก ษณ ะที่ จํ า เป นต อ การยกระดั บ ความสามารถการแข ง ขั น
ของอุตสาหกรรมอนาคตที่ชัดเจนเพื่อวางระบบการพัฒนาบุคลากรสําหรับอุตสาหกรรม
อนาคตที่มีประสิทธิผลอยางแทจริง
 สนั บ สนุ น ให มี ก ารถ า ยทอดเทคโนโลยี จ ากเจ า ของเทคโนโลยี ใ ห กั บ บุ ค ลากร
และผูประกอบการไทยอยางจริงจังทั้งโดยมาตรการภาคบังคับและภาคสมัครใจ
การพัฒนาภาคบริการและการทองเที่ยว
พัฒนาทักษะฝมือบุคลากรในภาคบริการและการทองเที่ยว จัดฝกอบรมมัคคุเทศก แรงงานทั่วไป
ภาษาตางประเทศทั่วประเทศ
การพัฒนาภาคการคาและการลงทุน
1. การพัฒ นาทักษะของผูป ระกอบการใหผลิตไดและขายเปนในการทําธุรกิจการคาระหวาง ผูประกอบการ
ประเทศ
2. สรางผูประกอบการใหมที่มีจิตวิญ ญาณในการเปนผูประกอบการที่มีทักษะในการทําธุรกิจ
รูจักใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตการจัดการ การขาย หรือเปน Smart SMEs
3. การกําหนดหลักสูตรที่เกี่ยวกับทักษะการเปนผูประกอบการทั้งในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระดับอุดมศึกษา และสายอาชีพใหมีความรูความเขาใจในการเริ่มตนธุรกิจ และตระหนักถึง
แนวโน มการทํา ธุร กิ จ สีเขีย ว ตลอดจนการสร า งสภาพแวดล อ มในสถานศึ กษาให เอื้ อ ต อ
การเรียนรูและกระตุนการเปนผูประกอบการ
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลใน
สังคมไทย เรงปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐใหเกิดผลสัมฤทธิ์อยางจริงจัง เพื่อใหเปนปจจัยสนับสนุนสําคัญที่จะ
ชวยสงเสริม การพัฒ นาประเทศในทุก ดานใหป ระสบผลสําเร็จ บรรลุเปาหมาย ทั้งการบริห ารจัดการภาครัฐให
โปรงใส มีประสิทธิภาพ รับผิดชอบ ตรวจสอบไดอยางเปนธรรม และประชาชนมีสวนรวม มีการกระจายอํานาจ
และแบงภารกิจรับผิดชอบที่เหมาะสม ระหวางสวนกลาง ภูมิภาค และทองถิ่น
แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 6 ขอหลัก ไดแก
1) ปรับ ปรุงโครงสรางหนวยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ใหมีความโปรงใส
ทันสมัย คลองตัว มีขนาดที่เหมาะสม เกิดความคุมคา
2) ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ และสรางกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลังภาครัฐ

2-66
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-66 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3) เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับการใหบริการสาธารณะใหไดมาตรฐานสากล
4) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
5) ปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
6) ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมใหมีความทันสมัย เปนธรรม และสอดคลองกับขอบังคับ
สากลหรือขอตกลงระหวางประเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษยในยุทธศาสตรนี้ปรากฎอยูในขอ 1 ซึ่งเกี่ยวของกับ
การพัฒนาบุคลากรของรัฐ โดยสาระสําคัญสามารถสรุปไดดังตารางที่ 2.13

ตารางที่ 2.13 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การปองกันการทุจริต


ประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย
แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
ปรั บ ปรุง โครงสรา งหน วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุ ณ ภาพบุ ค ลากรภาครัฐ ให มีค วามโปรงใส ทั น สมั ย
คลองตัว มีขนาดที่เหมาะสม เกิดความคุมคา
1. กํ าหนดใหตําแหนงหัวหนาหนว ยงานที่มีความสําคัญ สูงกับ การพั ฒ นาประเทศในวงกวา ง บุคลากรของรัฐ
หรือมีความสําคัญทางยุทธศาสตรใหสามารถสรรหาบุคคลภายนอกเขามาบริหารราชการได
2. สรรหาคนรุ น ใหม ที่ มี ค วามรู ค วามสามารถและสมรรถนะสู ง เข า มาสู ร ะบบราชการ
โดยใหคํานึงถึงความเสมอภาคและความเทาเทียมกันทางสังคม
3. นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาทดแทนกําลังคนภาครัฐ ควบคูกับการศึกษาแนวทางการจางงาน
ผูเกษียณอายุราชการอยางเปนระบบและเหมาะสมกับสภาวะการคลังของประเทศ
4. วางระบบคาตอบแทนและสิทธิป ระโยชนของขาราชการและเจาหนาที่ ของรัฐ ทั้งในสว น
ราชการ หน ว ยงานในกํ า กั บ ของรั ฐ และองค ก รอิ ส ระ ให เหมาะสมตามลั ก ษณะงาน
ความเชี่ยวชาญสมรรถนะ ความสลับซับซอนของงาน และสอดคลองกับกลไกตลาด
5. กําหนดมาตรการและวิธีการในการแตงตั้ง โยกยายบุคลากรภาครัฐ การพิจารณาบําเหน็จ
ความชอบหรือการลงโทษ และการพิทักษความเปนธรรม ใหมีความโปรงใส ตรวจสอบได
และมีความเปนกลางทางการเมือง โดยยึดหลักคุณธรรมและความรูความสามารถ
6. พั ฒ นาบุ ค ลากรภาครั ฐ ในทุ ก ระดั บ ให ไ ด รั บ ความรู ความสามารถให ส อดคล อ งกั บ
การปฏิ บั ติ งานในยุ ค เศรษฐกิ จ ดิ จิ ทั ล โดยเฉพาะการสรา งภาวะผู นํา และการปรับ ปรุ ง
หลักสูตรการพัฒนานักบริหารระดับสูงของราชการใหเกิดประโยชนและคุมคาตอการบริหาร
ราชการอยางแทจ ริง รวมทั้งใหมีการประเมินความคุมคาและประสิทธิภ าพในการพั ฒ นา
ขาราชการในมิตติ า ง ๆ

2-67
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-67


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
7. วางระบบประเมินผลการปฏิบัติราชการในภาครัฐทั้งในสวนขาราชการประจําและบุคลากร
จากภายนอกที่ ผ า นการสรรหาเข า มาดํ า รงตํ า แหน ง ระดั บ สู ง ได อ ย า งจริ ง จั ง มากขึ้ น
โดยใหสามารถวัดผลลัพธไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนที่ยอมรับของทุกฝาย
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
ยุ ท ธศาสตร ที่ 7 การพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานและระบบโลจิ ส ติ ก ส มุ ง เน น การขยาย
ขี ด ความสามารถและพั ฒ นาคุณ ภาพการให บ ริก าร เพื่ อ รองรับ การขยายตั ว ของเมื อ ง พื้ น ที่ เศรษฐกิ จ หลั ก
และการเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและในอาเซียนอยางเปนระบบ ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจตาง ๆ การพัฒนาระบบ
การบริหารจัดการและการกํากับดูแลใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล ตลอดจนการพัฒนาอุตสาหกรรมตอเนื่อง
เพื่อสรางโอกาสทางเศรษฐกิจใหกับประเทศและพัฒนาผูประกอบการในสาขาโลจิสติกสและหนวยงานที่มีศักยภาพ
เพื่อไปทําธุรกิจในตางประเทศ
แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 6 ขอหลัก ไดแก
1) การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานขนสง
2) การสนับสนุนการพัฒนาระบบขนสง
3) การพัฒนาระบบโลจิสติกส
4) การพัฒนาดานพลังงาน
5) การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
6) การพัฒนาระบบน้ําประปา
ทั้งนี้ แนวทางการพัฒนาขอที่ 2) 3) 5) ไดบรรจุเรื่องการพัฒ นาทรัพยากรมนุษ ย ในดานการเพิ่ม
ทักษะความรูความสามารถที่จําเปนเอาไว ดังสาระสําคัญในตารางที่ 2.14

2-68
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-68 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.14 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 7 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและระบบโลจิสติกส

แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
การสนับสนุนการพัฒนาระบบขนสง
สงเสริม และสนั บ สนุ นการวิ จัยและพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละนวั ตกรรมและการพั ฒ นาบุ คลากร แรงงานทั่วไป
เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพการให บ ริ ก ารเข า สู ม าตรฐานสากล ยกระดั บ ทั ก ษะขี ด ความสามารถ
ของบุ ค ลากรในระบบขนส งให มี ความรูความสามารถในองค ความรู และเทคโนโลยี สมั ย ใหม
และสามารถปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและมาตรฐานสากล โดยเฉพาะ
การพั ฒ นาบุ ค ลากรในอุต สาหกรรมการบิ น จะต อ งวางแผนพั ฒ นากํ าลั งคนร ว มกั น ระหว าง
หนวยงานที่เกี่ยวของและสถาบันการศึกษาที่ไดมาตรฐานสากลดานการบิน
การพัฒนาระบบโลจิสติกส
1. พั ฒ นาศั ก ยภาพผู ให บ ริก ารโลจิ ส ติ ก ส (Logistics Service Providers: LSPs) ให ส ามารถ ผูประกอบการ
แข งขั นได โดยยกระดับ ประสิทธิภ าพและมาตรฐานการใหบ ริการโลจิส ติกสให เที ยบเคียง แรงงานทั่วไป
ผูใหบริการโลจิสติกสระหวางประเทศ
2. พั ฒ นาคุ ณ ภาพบุ ค ลากรและวางแผนจั ด การกาลั ง คนด า นโลจิ ส ติ ก ส ให ส อดคล อ งกั บ
ความต อ งการของภาคธุ ร กิ จ โดยเน น การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพแรงงานโดยหน ว ยงานภาครั ฐ
รวมดําเนินการกับภาคเอกชนในการปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาสาขาโลจิสติกสระดับอาชีวะ
ศึ ก ษาและระดั บ ปริ ญ ญา ฝ ก อบรมวิ ช าชี พ เฉพาะหรื อ เทคนิ ค เฉพาะด า น และส ง เสริ ม
ความรวมมือกับภาคเอกชนในการฝกอบรมในระดับปฏิบัติงาน เพื่อใหกําลังคนดานโลจิสติกส
มีคุณภาพ มาตรฐาน และสอดคลองกับความตองการภาคธุรกิจ
การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
ส ง เสริ ม นวั ต กรรม การวิ จั ย และพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมดิ จิ ทั ล และเทคโนโลยี อ วกาศของไทย แรงงานทั่วไป
โดยการสนับสนุนการวิจัยและพัฒ นาดานโทรคมนาคม ใหสามารถนาไปตอยอดในเชิงพาณิช ย
โดยเฉพาะนวัต กรรมด านเทคโนโลยี ดิ จิทั ล เทคโนโลยีก ารสื่ อ สารไรส ายความเร็ว สูง ระบบ
ซอฟต แ วร (Software) อุ ป กรณ รับ ส ง สั ญ ญาณ ระบบสื่ อ สารความเร็ ว สู ง ระบบดาวเที ย ม
และเทคโนโลยี อ วกาศและภู มิส ารสนเทศ ตลอดจน พั ฒ นาบุ คลากรภาครัฐและภาคเอกชน
รวมทั้ งสถาบั น การศึ ก ษา ให มี ค วามรู ค วามสามารถรองรับ ต อ การพั ฒ นาเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล
และสอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมในอนาคต
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12

2-69
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-69


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ยุ ท ธศาสตรที่ 8 การพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี วิ จั ย และนวั ต กรรม เน น การเตรี ย ม


ความพรอมใหประเทศไทยพัฒนาเขาสูสังคมนวัตกรรมและกาวสูประเทศรายไดสูงในอนาคต โดยใหความสําคัญกับ
การใชองคความรูทางวิทยาศาสตรผลงานวิจัยและพัฒนา ความกาวหนาทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด
สรางสรรคอยางเขมขนทั้งในภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม รวมทั้งใหความสําคัญกับการพัฒนาสภาวะ
แวดลอมหรือปจจัยพื้นฐานที่เอื้ออํานวยทั้งการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสราง
พื้นฐานทางวิ ทยาศาสตรและเทคโนโลยี และการบริห ารจัดการ เพื่อชวยขับเคลื่อนการพัฒ นาประเทศใหกาวสู
เปาหมายดังกลาว
แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 3 ขอหลัก ไดแก
1) เรงสงเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาและผลักดันสูการใชประโยชนในเชิงพาณิชยและเชิงสังคม
2) พัฒนาผูประกอบการใหเปนผูประกอบการทางเทคโนโลยี
3) พั ฒ นาสภาวะแวดล อ มของการพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจั ย และนวั ต กรรม โดยที่
แนวทางการพัฒนาขอที่ 3) ไดบรรจุเรื่องการพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยเอาไว มีรายละเอียดดังตารางที่ 2.15
ตารางที่ 2.15 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
พัฒนาสภาวะแวดลอมของการพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม
1. เร ง การผลิ ต บุ ค ลากรสายวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ท่ี มี คุ ณ ภาพและสอดคล อ งกั บ แรงงานทั่วไป
ความต อ งการโดยเฉพ าะในสาขา STEM (วิ ท ยาศาสตร (Science: S) เท คโน โลยี บุคลากรครู
(Technology: T) วิศ วกรรมศาสตร (Engineering: E) และคณิ ต ศาสตร (Mathematics: นักวิจัย และ
M)) รวมทั้งเรงผลิตกําลังคนและครูวิทยาศาสตรที่มคี ณ ุ ภาพ นักวิทยาศาสตร
2. เรงสรางนักวิจัยมืออาชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขาวิศวกรรมการผลิตขั้นสูง แพทยศาสตร
นักวิทยาศาสตรขอมูล นักออกแบบ และในสาขาที่ขาดแคลนและสอดคลองกับการเติบโต
ของอุตสาหกรรมเปาหมายและทิศทางการพัฒ นาประเทศ รวมทั้งบุคลากรที่เกี่ยวของกับ
การวิ จั ย และพั ฒ นานวั ต กรรม ไม ว า จะเป น นั ก บริ ห ารจั ด การงานวิ จั ย และนวั ต กรรม
นักถายทอดเทคโนโลยี นักประเมินผล และบุคลากรดานทรัพยสินทางปญญา
3. พัฒนาศักยภาพนักวิจัยใหมีทั้งความรูและความเขาใจในเทคโนโลยี เขาใจตลาดและรูปแบบ
การทํ า ธุ ร กิ จ และการบริ ห ารจั ด การทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญา รวมทั้ ง เข า ถึ ง และเข า ใจ
ความตองการของผูใชประโยชน โดยใชหลักการตลาดนํางานวิจัย เพื่อใหสามารถประเมิน
ความคุมคาในการลงทุนวิจัย และไดงานวิจัยที่มีคุณคาในเชิงเศรษฐกิจและสังคม

2-70
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-70 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
4. ดึ ง ดู ด บุ ค ลากรผู เ ชี่ ย วชาญ นั ก วิ จั ย และนั ก วิ ท ยาศาสตร ใ นต า งประเทศที่ มี ผ ลงาน
เปนที่ยอมรับในสาขาอุตสาหกรรมเปาหมายของไทยใหมาทํางานในสถาบันวิจัยของภาครัฐ
และภาคเอกชนในประเทศไทย เพื่ อเสริมสรางศักยภาพการวิจัย และพั ฒ นาของประเทศ
และใช สิ ทธิป ระโยชนทางภาษี เพื่อสนั บ สนุน ภาคการผลิตและภาคบริการในการพั ฒ นา
เทคโนโลยีใหม ๆ
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
ยุ ท ธศาสตร ที่ 10 ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศเพื่ อ การพั ฒ นา ผลั ก ดั น ให ค วามเชื่ อ มโยง
ดานกฎระเบียบในระดับ อนุภูมิภาคและภูมิภาคมีความคืบหนาชัดเจนในระดับปฏิบัติ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
เครื อ ข า ยการเชื่ อ มโยงตามแนวระเบี ย งเศรษฐกิ จ ให ค รอบคลุ ม และใช ป ระโยชน ไ ด อ ย า งเต็ ม ศั ก ยภาพ
เตรียมความพรอมใหประเทศไทยเป นประตูไปสูภาคตะวันตกและตะวันออก ตลอดจนขยายโอกาสดานการคา
การลงทุนระหวางประเทศ และเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีโลก
แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรนี้ แบงออกเปน 10 ขอหลัก ไดแก
1) ขยายความรวมมือทางการคา และการลงทุนกับมิตรประเทศ และแสวงหาตลาดใหมสําหรับสินคา
และบริการของไทย
2) พัฒนาความเชื่อมโยงดานการคมนาคมขนสง โลจิสติกส และโทรคมนาคมในกรอบความรวมมือ
อนุ ภู มิ ภ าคภายใต แ ผนงาน GMS, ACMECS, IMT-GT, BIMSTEC และ JDS และภู มิ ภ าคอาเซี ย นเพื่ อ อํ า นวย
ความสะดวกและลดตนทุนดานโลจิสติกส
3) พัฒนาและสงเสริมใหไทยเปนฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทุนที่โดดเดน
ในภูมิภาค
4) สงเสริมการลงทุนไทยในตางประเทศ (Outward investment) ของผูประกอบการไทย
5) เปดประตูการคาและพัฒนาความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานในลักษณะหุนสวนทางยุทธศาสตร
ทั้งในระดับอนุภูมิภาค และภูมิภาคที่มีความเสมอภาคกัน
6) สรางความเปนหุนสวนการพัฒนากับประเทศในอนุภูมิภาค ภูมิภาค และนานาประเทศ
7) เขารวมเปนภาคีความรวมมือระหวางประเทศโดยมีบทบาทที่สรางสรรค
8) สงเสริมความรวมมือกับภูมิภาคและนานาชาติในการสรางความมั่นคง
9) บูรณาการภารกิจดานความรวมมือระหวางประเทศและดานการตางประเทศ

2-71
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-71


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

10) สงเสริมใหเกิดการปรับตัวภายในประเทศที่สําคัญ
โดยที่ แ นวทางการพั ฒ นาข อ ที่ 2) และ 3) ได บ รรจุ เรื่ อ งการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย เอาไว
มีรายละเอียดดังตารางที่ 2.16
ตารางที่ 2.16 แนวทางการพัฒนาภายใตยุทธศาสตรที่ 10 ความรวมมือระหวางประเทศเพื่อการพัฒนา

แนวทางการพัฒนาดานทรัพยากรมนุษย กลุมเปาหมาย
พัฒนาความเชื่อมโยงดานการคมนาคมขนสง โลจิสติกส และโทรคมนาคมในกรอบความรวมมืออนุภูมิภาค
พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนสงและบริการโลจิสติกส เพื่อเพิ่มศักยภาพของภาคเอกชนไทย แรงงานทั่วไป
ในการให บริการและการบริหารจัดการดานโลจิสติกส ทักษะภาษาตางประเทศ รวมถึงความรู ผูประกอบการ
ความเข า ใจในกฎระเบี ย บที่ เกี่ ย วข อ ง ซึ่ ง จะเป น การเพิ่ ม ศั ก ยภาพของผู ป ระกอบการไทย
ให สามารถเพิ่ มมู ล คาธุรกิจขนสงและโลจิส ติกสไดตลอดทั้งหว งโซอุป ทานทั้งภายในประเทศ
และระหวางประเทศ
สงเสริมการลงทุนไทยในตางประเทศ (Outward investment) ของผูประกอบการไทย
1. พัฒนาผูประกอบการโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมใหสามารถพัฒนาธุรกิจ แรงงานทั่วไป
รวมกับ ประเทศเพื่อนบาน รวมถึงการเขาถึงขอมูลการใชป ระโยชนจากโครงสรางพื้นฐาน ผูประกอบการ
เชื่ อมโยงตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจและชองทางสงออกในอนุภูมิภ าค และพัฒ นาสมรรถนะ
การเปน ผูประกอบการของไทยในระดับ สากลเพื่อใหสามารถริเริ่มธุรกิจระหวางประเทศได
ในขณะเดี ย วกันไทยก็ให ความสนับ สนุ นทางวิช าการกับ ประเทศเพื่ อนบ า นในการพั ฒ นา
กฎระเบียบและบุคลากรดานธุรกิจการขนสงและโลจิสติกสในฐานะหุนสวนการพัฒนา
2. พัฒนาทรัพยากรมนุษย เทคโนโลยี และนวัตกรรม สงเสริมผูประกอบการรุนใหมที่มีความรู
เทคโนโลยีและนวัตกรรม และมุงเนนการวิจัยพัฒนา เทคโนโลยีและนวัตกรรม การบริหาร
จัดการการสรางแบรนด เพื่อสรางสรรคคุณคาใหกับธุรกิจ สินคาและบริการอยางตอเนื่อง
ที่มา: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12

2-72
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-72 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.3.4 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยตลอดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 - 12


จากรายละเอียดของแผนการพัฒ นาทรัพ ยากรมนุษย ในแผนพั ฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ
ฉบั บ ที่ 1 - 12 ในหั ว ข อ ก อ น สะท อ นให เห็ น ว า แนวทางการพั ฒ นาทรัพ ยากรมนุ ษ ย ล ว นแตกต า งกั น ตาม
สถานการณการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายในและนอกประเทศ ทั้งการเปลี่ยนโครงสรางการผลิตจากสาขาการเกษตร
มาสูอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานเขมขน มาจนถึงอุตสาหกรรมที่ใชแรงงานที่มีทักษะและฝมือขั้นสูง ตลอดจนยุคของ
การเคลื่อนยายคน เงินทุน องคความรู เทคโนโลยีขาวสาร สินคาและบริการอยางเสรี ทําใหประชากรของประเทศ
ตองสามารถปรับ เพิ่มทักษะความรูใหทันตอการเปลี่ยนแปลง และสอดคลองกับแนวทางในการพัฒนาประเทศ
โดยการพัฒนาทรัพยากรมนุษยสามารถแบงโดยคราว ๆ ออกเปน 6 ชวง (ภาพที่ 2.3) ดังนี้
ภาพที่ 2.3 แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 - 12

ที่มา: นักวิจัย
1. ยุค ของการพั ฒ นาเศรษฐกิจ โดยเน น การพั ฒ นาโครงสรา งพื้ น ฐาน ในระยะแรกของยุ ค นี้
แผนพัฒนาดานการศึกษายังไมชัดเจน การพัฒนาประเทศสวนใหญมุงเปาไปที่ความเติบโตของเศรษฐกิจเปนหลัก
ภายหลังจึงไดมีการใหความสําคัญกับการศึกษามากขึ้น โดยขยายระยะเวลาของการศึกษาภาคบังคับจาก 4 ป
เปน 7 ป และรณรงคใหประชาชนที่จ บการศึกษาภาคบังคับ เขาเรียนในระดับ การศึกษาผูใหญและอาชีวศึกษา
เพื่ อ ส งเสริ ม ให ป ระชาชนมี ค วามรู ในระหว างที่ ป ระกอบวิ ช าชี พ ส ว นการพั ฒ นาศั ก ยภาพแรงงานเริ่ม ได รั บ
ความสําคัญในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 ในชวงที่การเกษตรเปนอาชีพหลักของประเทศ และการพัฒนาโครงสราง
พื้นฐานยังคงเขมขน ทําใหการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยางการฝกอบรมบุคลากร และการฝกวิชาชีพ เนนไปที่กลุม

2-73
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-73


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เกษตรกรและช างฝ มื อ เป น หลัก ส ว นอาชี พ ที่ บุ ค ลากรขาดแคลนในยุ ค นั้ น คือ แพทย พยาบาล นั ก เกษตร
นักบริหาร วิศวกร อาจารย ครู และชางฝมือ จําพวก ชางกล ชางไฟฟา ชางไม ชางเชื่อมโลหะ และหัวหนาคนงาน
ทุกประเภท
2. ยุคของการพัฒนาเศรษฐกิจควบคูกับการพัฒนาสังคม มุงเนนการสงเสริมใหประชาชนไดรับ
การศึ ก ษาสู ง กว า การศึ ก ษาภาคบั ง คั บ โดยสนั น สนุ น การศึ ก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น ทั้ ง สายสามั ญ
และสายอาชี พ ในสาขาวิ ท ยาศาสตร อาชี ว ศึ ก ษา และเทคโนโลยี ตลอดจนสนั บ สนุ น ให ส ถาบั น การศึ ก ษา
ในระดับอุดมศึกษารับนักศึกษาเพิ่มขึ้น แตตองผลิตบัณฑิตแตละสาขาใหสอดคลองกับความตองการของประเทศ
ทางดานการพัฒนาศักยภาพแรงงานเริ่มมุงเนนที่กลุมผูมีรายไดนอย ผูเขาสูกําลังแรงงานใหม ผูวางงานที่มีฝมือ
และความรูด อ ยกวาหรือไม ตรงกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และผูที่มีปญ หาบางประเภท เชน บุคคล
ตองโทษ คนตาบอด คนพิการ หญิงโสเภณี เปนตน
ในยุ ค นี้ รัฐ บาลเริ่ ม มี น โยบายเพิ่ ม การจ า งงาน จึ ง เน น ส ง เสริ ม การขยายตั ว ของอุ ต สาหกรรม
ที่ ใช แ รงงานเข ม ข น เพื่ อ เพิ่ มปริ มาณการจ า งงานในภาคเอกชน ตลอดจนสนั บ สนุ น ธุร กิ จ และอุ ต สาหกรรม
ใหไปดําเนินการในตางจังหวัด เพื่อกระจายกําลังคนลงไปยังทองถิ่น การพัฒนาศักยภาพของแรงงานในยุคนี้จึงเนน
เพื่ อตอบสนองต ออุตสหกรรมที่ ใชแ รงงานเขมขนเปนหลัก อยางไรก็ตาม ในชวงปลายแผนพั ฒ นาฯ ฉบับ ที่ 3
ประเทศเริ่มเผชิญ กับ ปญ หาการผลิตแรงงานไมสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน ทํ าใหมีป ริมาณ
การว า งงานของแรงงานที่ มี ก ารศึ ก ษาในระดั บ กลางและระดั บ สู ง ค อ นข า งมาก ในขณะที่ ยั งคงขาดแคลน
นักวิทยาศาสตร วิศวกร ครู แพทย และพยาบาล
3. ยุคของการมุงพัฒนาภูมิภาคและชุมชน ในความสําคัญกับการพัฒนาการศึกษาในเขตชบนบท
โดยปรับ ปรุงมาตรฐานของโรงเรี ย นในเขตชนบท พั ฒ นาบุ ค ลากรด านการศึ ก ษา ตลอดจนจั ด ให มี โ รงเรี ย น
ประถมศึกษาในทุกตําบล กระจายโรงเรียนมัธยมตนออกสูพื้นที่ชนบทและธุรกันดาร และจัดระบบวิธีการสอบ
คัดเลื อ กให มี ความเสมอภาค ในชวงแผนฯ พั ฒ นาฉบับ ที่ 7 ไดข ยายการศึกษาขั้น พื้น ฐาน จาก 6 ป เปน 9 ป
และกํ าหนดให มี ก ารรับ นัก ศึก ษาใหม ในระดับ อุ ดมศึก ษาที่สัด สว นของสายวิ ทยาศาสตรต อสายสั งคมศาสตร
เปนรอยละ 30 ตอ 70 ตามลําดับ โดยเนนการผลิตแพทย ทันตแพทย เภสัชกร วิศวกร สถาปนิก นักวิทยาศาสตร
นักเทคโนโลยีและชางเทคนิค
ความโดดเด น ของการพั ฒ นาแรงงานในยุ ค นี้ คื อ การเล็ ง เห็ น ความสํ า คั ญ ของการพั ฒ นา
ผูประกอบการ โดยมีนโยบายสงเสริมการประกอบอาชีพสวนตัวแบบครบวงจร สงเสริมและสนับสนุนความตองการ
พื้ น ฐานที่ จํ า เป น แก ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ที่ ไม เป น ระบบขนาดเล็ก ตลอดจนพั ฒ นาทั ก ษะให เกษตรกรในชนบท
เพื่อการประกอบอาชีพเสริมนอกฤดูเก็บเกี่ยว อีกทั้งยังขยายตลาดแรงงานดวยการสงเสริมใหแรงงานไทยไปทํางาน
2-74
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-74 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในต างประเทศ โดยปรับ ปรุงประสิทธิภ าพตลาดแรงงานภายในประเทศและวิชาชีพตางประเทศใหกวางขวาง


ยกระดับมาตรฐานของบริการวิชาชีพใหมีความนาเชื่อถือในระดับสากล นอกจากนี้ ยังใหความสําคัญกับการพัฒนา
ดานสวั สดิ การและการคุมครองแรงงาน เริ่มมีระบบแรงงานสัมพัน ธ มีก ารปรับ ปรุงสภาพแวดลอมการทํางาน
สุขภาพอนามัยของแรงงาน และนโยบายเงินเดือนคาจางและคาตอบแทนใหสอดคลองกับการปรับปรุงผลิตภาพ
แรงงาน ภาวะเศรษฐกิจ และคาครองชีพ
4. ยุ ค ของการพั ฒ นาโดยยึ ด คนเป น ศู น ย ก ลางและยึ ด หลั ก ปรั ช ญาเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
(แผนพั ฒนาฯ ฉบับ ที่ 8 - 10) มุงเนนการพัฒ นาคนใหมีคุณภาพ มีคุณธรรม และจริยธรรม เนื่องจากเล็งเห็น
แลววาคนเป นตัว แปรสําคัญ ที่จะชวยเพิ่มขีดความสามารถของประเทศ ตลอดจนสรางเสถียรภาพในการเติบโต
ของเศรษฐกิจและสังคมอยางยั่งยืน นโยบายดานการศึกษาในชวงตนเริ่มเนนกระบวนการเรียนการสอนใหผูเรียน
รู จั ก คิ ด วิ เคราะห อ ย า งมี เหตุ ผ ล และมี ค วามคิ ด ริ เริ่ม สรา งสรรค ต อ มามี น โยบายในการสร า งกํ า ลั ง คนที่ มี
ความเป น เลิ ศ ในการสรา งสรรค น วั ต กรรมและองค ค วามรู ใหม ที่ นํ า ไปใช ป ระโยชน ในการพั ฒ นาประเทศได
ส วนการผลิ ตคนยังคงเนนที่ส าขาวิ ทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี โดยกําหนดเป าหมายสัดสวนของบั ณ ฑิต สาขา
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตอสาขาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตรไวเปนไมต่ํากวา 40 : 60 แตในขณะเดียวกัน
ก็เรงผลิตและพัฒนานักวิจัยที่มีอยูใหมีศักยภาพ มีความคิดสรางสรรคและความเชี่ยวชาญสูงขึ้น สามารถสราง
นวัตกรรมที่นํามาใชประโยชนตอสังคมโดยรวมและเชิงพาณิชยได
สําหรับ การพัฒนาศักยภาพแรงงานในยุคนี้เนนการเพิ่มพูนความรูเบื้องตนในสายสามัญ สรางเสริม
กระบวนการคิดวิเคราะห และทักษะเกี่ยวกับการใชเทคโนโลยี โดยมีนโยบายยกระดับความรูพื้นฐานของคนงาน
ในสถานประกอบการทุกแหงใหมีความรูขั้น ต่ําอยางนอยระดับมัธยมศึกษาตอนตน นโยบายเพิ่มทักษะความรู
ความสามารถให แ รงงานที่ อ ยูใ นตลาดแรงงานที่ มี ฝ มือ และกึ่ งฝ มือ ให ส ามารถปรับ ตั ว เข า กั บ สภาพแวดล อ ม
และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป นโยบายเพิ่มพูนความรูและทักษะพื้นฐานในการทํางานเพื่อเสริมสรางผลิตภาพ
แรงงานให สู ง ขึ้ น ทั้ ง การคิ ด วิ เคราะห สร า งสรรค แก ป ญ หา ตั ด สิ น ใจ ทํ า งานเป น ที ม มี จ ริ ย ธรรม มี วิ นั ย
ในการทํ า งาน สามารถรองรับ และเรี ย นรู เทคโนโลยี ที่ ซั บ ซอ นได งา ยปรับ ตั ว ให ทั น กั บ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม
และพรอมกาวสูสังคมแหงการเรียนรู
5. ยุค ของการพั ฒ นาในช ว งเศรษฐกิจ ยุค ใหม ห รือเศรษฐกิจสรา งสรรค เปน ระบบเศรษฐกิ จ
ที่แตกตางจากฐานเดิมของประเทศไทยที่เนนการใชทรัพยากรและแรงงานตนทุนต่ํา แตระบบเศรษฐกิจสรางสรรค
นี้เนน การเพิ่มคุณคาและมูลคาของสินคาและบริการผานการใชความคิดสรางสรรค เทคโนโลยี และนวัตกรรม
เปนตัวขับเคลื่อน ดังนั้น ประชากรของประเทศจะตองมีความรูพื้นฐานที่เหมาะสม ไดรับการปลูกฝงกระบวนการ

2-75
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-75


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

คิด วิเคราะห อย างสรางสรรค มีความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รวมถึงมีความสามารถ


ในการสรางนวัตกรรมใหมหรือตอยอดนวัตกรรมเดิม เพื่อสรางมูลคาใหแกตัวบุคคล ธุรกิจ สินคาและบริการ
การพัฒ นาทรัพยากรมนุษ ยในแผนพัฒ นาฯ ฉบับ นี้ จึงมีความแตกตางจากแผนพั ฒ นาฉบับ กอน
อย างเห็น ได ชัด โดยยุทธศาสตรห ลักที่เกี่ยวของกับ การพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒ นาทักษะ
และวิชาชีพ ตลอดจนการคุมครองสิทธิ และสวัสดิการของแรงงานอยางเสมอภาคและทั่วถึงอยูคงมีอยู แตจะมี
การพั ฒ นาคนต อ ยอดจากยุ ท ธศาสตร ก ารปรั บ โครงสรา งเศรษฐกิ จ สู ก ารเติ บ โตอย า งมี คุ ณ ภาพและยั่ ง ยื น
ที่ ให ค วามสํ าคั ญ กั บ การพั ฒ นาคนให มี ค วามรูดานวิ ทยาศาสตร เทคโนโลยี และความคิด สรางสรรค ให ผ ลิ ต
ผูประกอบและแรงงานที่มีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงคตอการผลักดันประเทศเขาสูยุคเศรษฐกิจสรางสรรค
6. ยุคของ Thailand 4.0 การพั ฒ นาในยุคนี้ มุงเนนการนําความคิดสรางสรรคและการพัฒ นา
ตอ ยอดนวัต กรรมมาทํ า ให เกิ ด การคิ ด และพั ฒ นาสิ่ งใหม ที่ มี มู ล ค าเพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ พั ฒ นากลุ ม อุ ต สาหรรม
เปาหมายกลุมเดิมใหมีมูลคามายิ่งขึ้น ควบคูไปกับการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายกลุมใหมซึ่งมีมูลคาสูงใหประสบ
ผลสําเร็จ ทั้งนี้ เพื่อสนับ สนุนแนวทางในการพัฒนาดังกลาว ประเทศไทยไมเพียงแตจ ะตองเตรียมความพรอ ม
ดา นป จ จั ยพื้ น ฐานที่ เอื้ อ ต อ การสรางสรรคน วั ต กรรมเท า นั้ น แต ต อ งเน น พั ฒ นาทรัพ ยากรมนุ ษ ย ให มี ค วามรู
ความสามารถพอที่จะสรางนวัตกรรมดังกลาวดวย
ดังนั้น การพัฒนาทักษะความรูความสามารถของคน จึงมุงเนนการพัฒนาทักษะที่เหมาะสมในแตละ
ชวงวัยเพื่อวางรากฐานใหเปนคนมีคุณภาพในอนาคต โดยทักษะดังกลาวเปนทักษะที่สอดคลองกับความตองการ
ในตลาดแรงงานยุ ค Thailand 4.0 และทั ก ษะที่ จํ าเป น ต อ การดํา รงชี วิ ตในศตวรรษที่ 21 เช น เด็ ก วั ย เรีย น
และวั ยรุ น ต อ งพั ฒ นาทั ก ษะการวิ เคราะห อ ยา งเป น ระบบ มีค วามคิดสรา งสรรค ตลอดจนให ความสํา คัญ กั บ
การพัฒนาใหมีความพรอมในการตอยอดพัฒนาทักษะในทุกดาน มีทักษะการทํางานและการใชชีวิตที่พรอมเขาสู
ตลาดงาน วัยแรงงานเนนการสรางความรูและทักษะในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับบตลาดงานทั้งทักษะ
ขั้นพื้นฐาน ทักษะเฉพาะในวิชาชีพ ทักษะการเปนผูประกอบการรายใหม ทักษะการประกอบอาชีพอิสระ เปนตน
และหากกล า วถึ ง ผู ป ระกอบการในยุ ค นี้ จะต อ งเป น ผู ป ระกอบการการทางเทคโนโลยี (Technopreneur)
สามารถเข า ถึ ง และนํ า ผลงานวิ จั ย พรอ มใช ม าต อ ยอดใช ป ระโยชน ในเชิ ง พาณิ ช ย โดยดํ า เนิ น การควบคู กั บ
การสงเสริมสังคมผูประกอบการที่ผลิตไดขายเปน
การพั ฒ นาทรัพ ยากรมนุษยในแผนพัฒ นาฯ ฉบั บนี้ มียุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรางและพัฒ นา
ศักยภาพทุนมนุษย และ ยุทธศาสตรที่ 2 การสรางความเปนธรรมและลดความเหลื่อมล้ําในสังคม เปนยุทธศาสตร
หลักที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในแงของคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะและวิชาชีพ
ตลอดจนการคุม ครองสิทธิ และสวัส ดิการของแรงงานอยางเสมอภาคและทั่ว ถึ ง แตจ ะมี แนวทางการพั ฒ นา
2-76
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-76 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ทรัพยากรมนุษยเพิ่มเติมจาก ยุทธศาสตรที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ซึ่งมุงเนน


การผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและสอดคลองกับความตองการโดยเฉพาะในสาขา
STEM รวมถึ ง สร า งนั ก วิ จั ย มื อ อาชี พ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ในสาขาวิ ศ วกรรมการผลิ ต ขั้ น สู ง แพทยศาสตร
นั ก วิ ท ยาศาสตรขอ มูล นั กออกแบบ และในสาขาที่ ข าดแคลนและสอดคลองกับ การเติบ โตของอุตสาหกรรม
เป า หมายและทิ ศ ทางการพั ฒ นาประเทศ ตลอดจนพั ฒ นาศั ก ยภาพนั ก วิ จั ย ให มี ทั้ ง ความรู แ ละความเข า ใจ
ในเทคโนโลยี เขาใจตลาดและรูป แบบการทําธุรกิจ โดยใชห ลักการตลาดนํางานวิจัย เพื่อ ใหส ามารถประเมิน
ความคุมคาในการลงทุนวิจัย และไดงานวิจัยที่มีคุณคาในเชิงเศรษฐกิจและสังคม
2.3.5 แรงงานในยุค Thailand 4.0
กระทรวงแรงงานไดกําหนดกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ ระยะ 20 ป
(พ.ศ. 2560 – 2579) โดยแบงยุทธศาสตรออกเปน 4 ชวง ชวงละ 5 ป ไดแก ชวงที่ 1 Productive Manpower
(พ .ศ. 2560-2564) ช ว งที่ 2 Innovation Workforce (พ .ศ. 2565-2569) ช ว งที่ 3 Creative Workforce
(พ.ศ. 2570-2574) และ ช ว งที่ 4 Brain Power (พ.ศ. 2575-2579) ทั้ ง นี้ จ ากกรอบยุ ท ธศาสตร ดั ง กล า ว
ได กําหนดให ชวงที่ 1 เปนชว งของการเตรียมความพรอมใหแรงงานทั้งเชิงคุณ ภาพและปริมาณ กอนที่จะเขาสู
ชวงที่ 2 ซึ่งเปนยุคที่แรงงานมีคุณสมบัติสมบูรณรองรับตอยุค Thailand 4.0 อยางเต็มรูปแบบ (ตารางที่ 2.17)

2-77
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-77


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้ารายงานศึ
งงานของประเทศไทย ในยุคอุตาสาหกรรม
กษาวิจัยทิศทางการจ 4.0
งงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.17 กรอบยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579)

ผลสัมฤทธิ์
ยุคของรากฐานดานแรงงานที่เปนมาตรฐานสากล มิติค น: แรงงานไทยมีผลิตภาพสูง มีทักษะที่
เตรี ย มความพร อ มของทรั พ ยากรมนุ ษ ย ทั้ ง ด า น หลากห ลาย (multi-skilled) มี ทั ก ษ ะให ม
ปริมาณและคุณภาพ เรงรัดการรับมือกับปญหาการ (re-skilled) มี ทั ก ษะด า น STEM สามารถ
Productive Manpower

ขาดแคลนแรงงาน รวมถึงสงเสริมใหแรงงานไทยเปน ทํ างานในยุ ค เริ่ มตน ของการเข า สู Thailand


หัว หน างาน มีทักษะที่ห ลากหลาย (multi-skilled) 4.0 ไดอยางราบรื่น
เติ ม ทั ก ษะใหม ด ว ยการ re-skill และเติ ม ทั ก ษะ มิ ติ ม าตรฐานการขั บ เคลื่ อ นวงจรแรงงาน:
ดาน STEM แกแรงงาน ใหพรอมเผชิญ ตอความทา มี มาตรฐานอาชี พตามกรอบคุ ณ วุ ฒิ วิ ชาวิ ชี พ
ทายที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคตเพื่ อ รองรับ การพั ฒ นา แห งชาติ 8 ระดั บที่ เชื่ อมโยงกั บมาตรฐานฝ มื อ
แรงงานใหมีทักษะการเปนแรงงานในยุค Thailand แรงงานแห งชาติ ครบทุ กสาขาอาชี พตาม
4.0 อุ ตสาห กรรมแห งอน าคต (New Engine of
Growth)
ยุ ค ข องท รั พ ยากรมนุ ษ ย ข องป ระเทศที่ เป น มิ ติ ค น : แ ร งงา น ไท ย มี ทั ก ษ ะ ค ว า ม รู
ประชาชนของโลก (Global Citizen) เพื่ อให ความสามารถ สมรรถนะที่สามารถทํางานใน
แรงงานสามารถนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใชใน ยุ ค ที่ ภ าคเศรษฐกิ จ ใช เทคโนโลยี ขั้ น สู ง และ
Innovation Workforce

การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพได อ ย างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รองรั บ นวัตกรรมเต็มรูปแบบไดอยางราบรื่น


Thailand 4.0 อย า งเต็ ม รู ป แบบ และกฎระเบี ย บ มิ ติ ม าตรฐานการขั บ เคลื่ อ นวงจรแรงงาน:
ต าง ๆ ด านแรงงานจะต อ งมี ค วามยื ด หยุ น รองรั บ มีระบบการจางานที่ห ลายรูปแบบ เปนระบบ
รูปแบบการจางงานใหมในยุคดิจิทัล การสรางระบบ ที่ ยื ด ห ยุ น เห มาะสมกั บ คุ ณ ลั ก ษณ ะของ
ก า ร จ า ง ง า น ที่ เอื้ อ ต อ แ ร ง งา น สู ง วั ย อ ย า ง ทรัพยากรมนุษยหลากหลายประเภท
ครบวงจร รวมทั้งการพัฒนาแรงงานใหมีความพรอม
ในการทํางานภายใตสังคมที่มีวัฒนธรรมหลากหลาย
และการจางงานขามแดน

2-78
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-78 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิ จัยทิศกทางการจ้
รายงานศึ ษาวิจัยทิาศงงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม
ทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุต4.0
สาหกรรม 4.0

ผลสัมฤทธิ์
ยุคของทรัพยากรมนุษยที่มีความคิดสรางสรรคใน ประเทศไทยบรรลุ วาระการพั ฒ นาที่ ยั่ งยื น ใน
การสร า งมู ล ค า เพิ่ ม ให แ ก ก ารทํ า งาน เพื่ อ สร า ง
กรอบของสหประชาชาติ (SDGs) การจ างงาน
ความยั่งยืนดานแรงงานสูความยั่งยืนในการดํารงชีวิต เต็ มที่ (Full Employment) และมี ผลิ ต ภาพ
Creative Workforce

เพื่ อ ให บ รรลุ วาระการพั ฒ นาที่ ยั่ งยื น ในกรอบของ (Productivity) และการมีงานที่มีคุณคาถวนหนา
สหประชาชาติ (SDG) เป าหมายข อที่ 8 “ส งเสริมการ (Decent Work)
เติ บโตทางเศรษฐกิจที่ ต อเนื่ อง ครอบคลุ ม และยั่ งยื น
การจ างงานเต็ ม ที่ และมี ผ ลิ ต ภาพ และการมี งาน
ที่ สมควรสํ าหรั บ ทุ กคน” และเพื่ อ ให กํ าลั งแรงงาน
มีทักษะดาน STEM มีความคิดสรางสรรค และมีทักษะ
R&D ในการสรางมูลคาเพิ่มใหแกการทํางาน
ยุ คของสั งคมการทํ างานแห งป ญ ญา โดยการเพิ่ ม ประเทศสามารถหลุดพนจากกับดักรายไดปานกลาง
จํ านวนทรัพยากรมนุษยที่ มี ทักษะดาน STEM เพื่ อให (Middle Income Trap : MIT) ดวยทรัพยากรมนุษย
Brain Power

เป นทรัพยากรมนุษยที่สามารถใชความรู ความสามารถ ที่มีคุณคาสูงอยางยั่งยืน


และสติ ป ญญาในการทํ างานที่ มี มู ลค าสู ง (High
Productivity) เพื่อใหมีรายไดไดสูง (High Income) และ
ประเทศสามารถหลุ ดพ นจากกั บดักรายได ปานกลาง
(Middle Income Trap : MIT)
ที่มา: กระทรวงแรงงาน

2.3.6 ความสอดคล องของแผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 12 กั บ การผลิ ต แรงงานที่ พึ งประสงค ในยุ ค
Thailand 4.0
ภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรก ารพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย ข องประเทศ ระยะ 20 ป แสดงให เห็ น ว า
แผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 12 อยู ในช ว ง Productive Manpower ซึ่ งเป น การสรา งรากฐานของทรัพ ยากรมนุ ษ ย
ใหเหมาะสมกับการเปลี่ยนถายไปยุค Thailand 4.0 โดยคุณสมบัติของแรงงานที่พึงประสงคจะตองเปนแรงงานที่มี
ผลิ ต ภาพสู ง มี ทั ก ษะที่ ห ลากหลาย (multi-skilled) มี ทั ก ษะใหม (re-skilled) มี ทั ก ษะด า น STEM ตลอดจน
มีความสามารถตามมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิวิชาชีพแหงชาติ 8 ระดับ เพื่อตอบสนองตออุตสาหกรรมแหง
อนาคต (New Engine of Growth) หลั ง จากนั้ น จึ ง จะเข า สู ช ว งการพั ฒ นาทรั พ ยากรมนุ ษ ย ใ ห มี ค วามรู

2-79
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-79


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

และทั ก ษะในการใช เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมขั้ น สู ง มี ค วามคิ ด สร า งสรรค ในการเพิ่ ม มู ลค า ให แ ก การทํ า งาน
ไปจนถึงการเนนการใชสติปญญาแทนการใชแรงกายในการทํางานที่มีมูลคาสูง
ทั้งนี้ หากยอนกลับไปดูแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะเห็นวามีการกําหนดแนวทางการพัฒนาทรัพยากร
มนุยษใหสอดคลองกับกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยของประเทศ ระยะ 20 ปแลว โดยเริ่มตั้งแต
การพั ฒ นาการศึ ก ษาและทั ก ษะพื้ น ฐานตาม ยุท ธศาสตรที่ 1 การเสริม สร างและพั ฒ นาศั ก ยภาพทุ น มนุ ษ ย
ซึ่ งเน น พั ฒ นาทั ก ษะทางสมอง ทั ก ษะด า นความคิ ด ความจํ า ทั ก ษะการควบคุม อารมณ ทั ก ษะการวางแผน
และการจั ด ระบบ ทั ก ษะการรู จั ก ประเมิ น ตนเอง ไปจนถึ ง ทั ก ษะพื้ น ฐานด า นวิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร คณิตศาสตร ศิลปะ และภาษาตางประเทศ เพื่อเตรียมความพรอมใหเด็กและเยาวชนมีความรู
และความสามารถในการพัฒนาขั้นตอไป สวนกลุมวัยทํางานก็จะไดรับการฝกอาชีพที่เหมาะสมและสอดคลองกับ
ศักยภาพของแรงงานและความตองการของประเทศในอนาคต ในขณะที่แนวทางการพัฒนาตาม ยุทธศาสตรที่ 2
การสรา งความเป น ธรรมและลดความเหลื่ อ มล้ํ าในสั งคม จะเป น เครื่ อ งมื อ ที่ ช ว ยให ป ระชาชนทุก กลุ มไดรั บ
การพัฒนาทักษะดังกลาวอยางทั่วถึงและเทาเทียม โดยการพัฒนาตามยุทธศาสตรที่ 1 และ 2 นี้ จะเปนพื้นฐาน
ในการพัฒนาตอยอดทรัพยากรมนุษยในยุทธศาสตรที่ 3 , 8 และ 10 ตอไป
การพัฒ นาทรัพ ยากรมนุษ ยตาม ยุทธศาสตรที่ 8 การพั ฒ นาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัย และ
นวัตกรรม จะมุงเนนการผลิตบุคลากรสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีคุณภาพและสอดคลองกับความตองการ
โดยเฉพาะในสาขา STEM (วิ ท ยาศาสตร (Science: S) เทคโนโลยี ( Technology: T) วิ ศ วกรรมศาสตร
(Engineering: E) และคณิตศาสตร (Mathematics: M)) และเรงสรางนักวิจัยมืออาชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่งในสาขา
วิศวกรรมการผลิตขั้นสูง แพทยศาสตร นักวิทยาศาสตรขอมูล นักออกแบบ และในสาขาที่ขาดแคลนและสอดคลอง
กับการเติบโตของอุตสาหกรรมเปาหมายและทิศทางการพัฒนาประเทศ ตลอดจนพัฒนาศักยภาพนักวิจัยใหมีทั้ง
ความรูและความเขาใจในเทคโนโลยี เขาใจตลาดและรูปแบบการทําธุรกิจ และการบริห ารจัดการทรัพยสินทาง
ปญ ญา รวมทั้งเขาใจความตองการของผูใชป ระโยชน โดยใชหลักการตลาดนํางานวิจัย เพื่อใหสามารถประเมิน
ความคุมคาในการลงทุนวิจัย และไดงานวิจัยที่มีคุณคาในเชิงเศรษฐกิจและสังคม
ในขณะเดี ย วกั น ยุ ท ธศาสตรที่ 10 ความร ว มมื อ ระหว า งประเทศเพื่ อ การพั ฒ นา ก็ มี เป า หมาย
ที่จะพัฒนาผูประกอบการรุนใหมใหมีความรูดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลอดจนความรูดานการบริหารจัดการ
การสรางแบรนด เพื่อสรางมูลคาใหกับธุรกิจ สินคาและบริการอยางตอเนื่อง อีกทั้งยังสนับสนุนใหผูประกอบการ
โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พัฒนาธุรกิจรวมกับประเทศเพื่อนบาน และประเทศในภูมิภาคอื่น ๆ
ซึ่งสุดทายแล วจะผลักดันใหเกิดการพัฒ นาและยกระดับ สินคาและบริการใหมีคุณ ภาพและมีมูลคาสูง สามารถ

2-80
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-80 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แขงขันในตลาดระหวางประเทศได ตลอดจนสงผลใหผูประกอบการเกิดการพัฒนาศักยภาพ สรางเสริมองคความรู


และฝกการใชทักษะความคิดสรางสรรคในการสรางมูลคาใหแกสินคาและบริการ

ภาพที่ 2.4 ความสอดคลองของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 กับการผลิตแรงงานที่พึงประสงคในยุค Thailand 4.0

ที่มา: นักวิจัย
ผลสุดทายจากการพัฒนาตามยุทธศาสตรที่ 1 2 8 และ 10 จะหนุ นให การพัฒนาคนตาม ยุทธศาสตร 3
การสร า งความเข ม แข็ ง ทางเศรษฐกิ จ และแข ง ขั น ได อ ย า งยั่ ง ยื น ประสบความสํ าเร็ จ ได เนื่ อ งจากบุ ค ลากร
ของประเทศไดรับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพอยางเทาเทียม ไดรับการพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และนวัตกรรม ตลอดจนมีความสามารถในการคิดสรางสรรคเพื่อเพิ่มมูลคาของสินคาและบริการใหสามารถแขงขัน
ได ในตลาดระหวางประเทศ ตามแนวทางการพัฒ นาของยุทธศาสตรที่ 1 2 8 และ 10 แลว ดังนั้น การพัฒ นา
บุคลากรหรือผูประกอบการตามยุทธศาสตรที่ 3 ไมวาจะเปน 1) การสรางเกษตรกรที่มีความรูและมีความสามารถ
ในการยกระดับการผลิตแปรรูป การตลาด และการบริหารจัดการ 2) การพัฒนาทักษะของผูประกอบการใหผลิตได
และขายเป นในการทําธุรกิจการคาระหวางประเทศ และรูจักใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตการจัดการ
การขาย หรือเปน Smart SMEs 3) การพั ฒ นาศัก ยภาพบุ ค ลากรในภาคอุต สาหกรรมให มีทัก ษะขั้น ก าวหนา
เพื่ อ ต อ ยอดฐานองค ค วามรู เทคโนโลยี เ ดิ ม ไปสู ก ารใช แ ละพั ฒ นาเทคโนโลยี ขั้ น สู ง หรื อ 4) การส ง เสริ ม
ใหผูประกอบการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสรางมูลคาเพิ่มของสินคา โดยการวิจัยและพัฒนา การใชนวัตกรรม
ความคิ ดสรางสรรค และพื้น ฐานทางวัฒ นธรรมและภู มิปญ ญาไทย ก็ลวนแตสามารถทําได นั่นหมายความวา
หากการดําเนินงานตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 สําเร็จลุลวงอยางสมบูรณ ทรัพยากรมนุษยของประเทศไมเพียงแต

2-81
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-81


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

จะสอดคล อ งกั บ คุณ สมบั ติข องแรงงานในยุ ค Productive Manpower เทานั้น แตจะสามารถเป นแรงงานที่มี
ความรูความสามารถสมบูรณในยุค Creative Workforce หรือแมกระทั่งยุค Brain Power ไดอีกดวย

2.4 แนวความคิดของอุตสาหกรรม 4.0


การศึ ก ษานี้ จํ า เป น ต อ งให ค วามสนใจเกี่ ย วกั บ ประเภทอุ ต สาหกรรมและทิ ศ ทางของอุ ต สาหกรรม
ที่จะเปน อุตสาหกรรมที่มีแนวโนมและสําคัญตอการพัฒนาประเทศในภาพรวม และนํามาซึ่งทิศทางการจางงาน
ความตองการแรงงานประเภทตาง ๆ ในอนาคต รวมถึงทักษะและสมรรถนะที่ผูประกอบการตองการเพื่อรองรับ
ตออุตสาหกรรม 4.0
โดยอุ ต สาหกรรม 4.0 มี ค วามสํ าคั ญ ในการเปลี่ ย นแปลง (Transform) เศรษฐกิ จ ประเภทงาน
และสังคม ผานเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยการใหคํานิยามของอุตสาหกรรม 4.0 มีหลายรูปแบบ แตป ระเด็น
ที่สําคัญ คือ การเชื่อมโยงกันและการจับคูกันระหวางเทคโนโลยีและขอมูลขาวสาร ทั้งนี้ แนวคิดของอุตสาหกรรม
4.0 เป น การปฏิ วั ติ อุ ต สาหกรรมที่ เป น ระยะตามการพั ฒ นา เป น แนวคิ ด ของประเทศเยอรมนี ที่ อ อกมาในป
พ.ศ.2556 แลวมาตอยอดในเชิงความคิดกันตอมา ซึ่งการแบงอุตสาหกรรม 1.0 – 4.0 แบงไดดังนี้
ยุคอุตสาหกรรม 1.0 (ประมาณชวงป ค.ศ.1784 - 1869) เปนการดําเนินอุตสาหกรรมภายใตระบบ
ไอน้ําหรือการใชพลังน้ําซึ่งเปนอุตสาหกรรมในยุคแรกที่พัฒนาภายหลังจากการปฏิวัติในภาคการเกษตร (Green
Revolution) อุตสาหกรรมที่มีความสําคัญ ในยุคนี้ ไดแก อุตสาหกรรมทอผา และอุตสาหกรรมการขนสง ซึ่งเปน
อุตสาหกรรมที่มกี ารใชเครื่องจักรไอน้ํา เปนหลัก
อุตสาหกรรม 2.0 (ประมาณชวงป ค.ศ.1870 - 1969) เปนยุคที่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตจะผลิต
เปนจํานวนมากแบบเปนระบบ (Mass production) โดยมีการใชสายพานการผลิตและมีการใชไฟฟาเปนปจจัย
การผลิ ต หลั ก ในอุ ต สาหกรรม มี ก ารแบ ง งานของแรงงานเป น ช ว งการผลิ ต ใช ร ะบบวิ ศ วอุ ต สาหกรรม
ในการออกแบบและพั ฒ นาปรั บ ปรุงการผลิต โดยอุ ต สาหกรรมในยุ ค นี้ ที่ สํ าคั ญ คือ อุ ต สาหกรรมยานยนต
อุตสาหกรรมดานการทหาร และในชวงเวลาดังกลาวมีการเกิดสงครามโลกถึงสองครั้ง ซึ่งอุตสาหกรรมการทหาร
เป น อี ก ป จ จั ย หนึ่ งที่ ทํ า ให ร ะบบการผลิ ต ในรู ป แบบของอุ ต สาหกรรมแบบโรงงานที่ ผ ลิ ต สิ น ค า จํ า นวนมาก
มีการพัฒนาไปไดรวดเร็วมากขึ้น
อุตสาหกรรมยุค 3.0 (ประมาณชวงป ค.ศ.1970 - 2016) เปนการใชระบบอัตโนมัติที่ใชแขนกล
(Automation) และหุนยนตมาใชในโรงงานซึ่งเปนปจจัยเสริมการทํางานใหกับแรงงานมนุษย และในขณะเดียวกัน
ก็ เป น ป จ จั ย ที่ ม าทดแทนแรงงานมนุ ษ ย เช น กั น โดยมี เทคโนโลยี ด า นคอมพิ ว เตอร เข า มามี บ ทบาทสํ า คั ญ
2-82
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-82 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตั้งแตป ค.ศ.1970 เปนตนมา การเขามาของระบบคอมพิวเตอรเพิ่มประสิทธิภาพใหกับกระบวนการผลิต ในชวง


เวลาดั งกล า วมี เทคโนโลยี แ ละนวัต กรรมอวกาศเพื่ อ การพาณิ ช ย เช น การใช ด าวเที ย มในการติ ด ต อ สื่ อ สาร
การใชดาวเทียมเพื่อการวิเคราะหเชิงกายภาพ และใชเพื่อการวางแผนและพัฒนา เปนตัวกระตุนใหเกิดการใชงาน
ดานเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร
อุตสาหกรรม 4.0 เปนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรมโดยการนําเอาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยี
ดิ จิ ทั ล มาประยุ ก ต ใช กั บ เทคโนโลยี อุ ต สาหกรรมมาผสมผสานในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ มี ก ารต อ ยอดการทํ า งาน
ตลอดห ว งโซ คุ ณ ค า (Value chain) โดยมี ห ลั ก การ คื อ การนํ า เอาเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช การมี ร ะบบ
การควบคุมแขนกลและหุนยนตที่มีความสามารถมากกวาเดิมผานระบบเทคโนโลยีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ จากเดิม
ที่ยุค 3.0 จะสามารถผลิตสินคาหรือบริการที่มีจํานวนมากไดอยางมีประสิทธิภาพ ในยุค 4.0 จะมีกระบวนการผลิต
ที่รองรับ การผลิตที่มี ความหลากหลายไดม ากขึ้น ลดระยะเวลาในการรอคอยในการผลิตผานระบบการบริหาร
จัดการที่นํ าเอาขอมูลขาวสารมาใชเพื่อการวิเคราะห การวางแผน การเตรียมการ และการผลิต ซึ่งอาจเรียกวา
ระบบการผลิตในโรงงานที่ชาญฉลาด หรือ Smart Factory และสามารถพัฒ นาไปยังอุตสาหกรรมพื้นฐานอื่น
เชน การใชเทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการอุตสาหกรรมการเกษตร เปนตน โดยการผลิตอยางมีประสิทธิภาพเกิด
จากการเชื่อมโยงระหวางกระบวนการผลิตกับการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ

การประยุกตใชเทคโนโลยีของอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่มีอยูเดิมและมีการเชื่อมตอ


ระหว า งทางเทคโนโลยี แ ละข อ มู ล เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการของตลาด มีเทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมที่ เป น
องคประกอบสําคัญอยู 9 ดาน ที่เปนแนวทางพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Roadmap) ประกอบดวย
- การใชหุนยนตอัตโนมัติมาชวยในการผลิต (Automatic Robots)
- การสรางแบบจําลองเสมือนจริง (Simulation)
- การบูรณาการระบบตาง ๆ (System Integration)
- การเชื่อมตอ Internet ของสิ่งของใหเปนอุปกรณอัจฉริยะ (Internet of Things)
- การรักษาความปลอดภัยของขอมูล (Cyber Security)
- การประมวลและการเก็บขอมูลผานระบบออนไลน (Cloud Computing)
- การขึ้นรูปงานดวยเนื้อวัสดุ (Additive Manufacturing)
- การใชเทคโนโลยีที่ผสานโลกจริงกับโลกเสมือน (Augmented Reality: AR)
- การใชขอมูลขนาดใหญ (Big Data) ในการวิเคราะห

2-83
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-83


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ซึ่งทั้งหมดเปนการผสานเทคโนโลยีและนวัตกรรมระหวางการใชฮารดแวรและซอฟทแวรควบคูกัน
อยางมีประสิทธิภาพ (ภาพที่ 2.6)

ภาพที่ 2.5 แสดงประเภทของอุตสาหกรรมในแตละยุค

ที่มา: ILO, Skill Needs Analysis for “Industry 4.0” Based on Roadmaps for Smart System

2-84
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-84 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 2.6 กรอบแนวคิดของอุตสาหกรรม 4.0 และดิจิทัลเทคโนโลยี

ที่มา: PWC, 2016 Global Industry 4.0 Survey.


สํ า หรั บ นโยบายด า นอุ ต สาหกรรมของประเทศเพื่ อ รองรับ อุ ต สาหกรรม 4.0 ตามยุ ท ธศาสตร
การพั ฒ นาอุ ตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) โดยเมื่อ ประเมิ นจากความไดเปรียบเชิ ง
เปรียบเทียบ (comparative advantage) ของประเทศและใชการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีและนวัตกรรม
แสดงใหเห็น ถึงกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตยุทธศาสตรการพัฒ นาอุตสาหกรรม ระยะ 20 ป (ภาพที่ 2.7)
ไดแก
กลุมที่หนึ่ง อุตสาหกรรมอาหาร เกษตรแปรรูป และเทคโนโลยีชีวภาพ ไดแก อาหารและเครื่องดื่ม
เกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมชีวภาพ
กลุ ม ที่ ส อง กลุ ม อุ ต สาหกรรมสาธารณสุ ข สุ ข ภาพ และเทคโนโลยี ท างการแพทย ได แ ก ยา
และสมุนไพร อุปกรณทางการแพทย เทคโนโลยีทางการแพทย
กลุ ม ที่ ส าม กลุ ม อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งกลที่ ใช ร ะบบอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส ค วบคุ ม อุ ป กรณ อั จ ฉริ ย ะ
และหุนยนต ไดแก ยานยนตและชิ้นสวน เครื่องใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกสและอุปกรณโทรคมนาคม หุนยนต อากาศ
ยานและชิ้นสวน
2-85
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-85


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุ ม ที่ สี่ กลุ ม อุ ต สาหกรรมดิ จิ ทั ล โดยมี ก ารพั ฒ นาด า น e-commerce การพั ฒ นาเทคโนโลยี
ทางการเงิน (FinTech) ดิจิทัลเพื่อการศึกษา (EdTech) และ
กลุ ม ที่ หา กลุมอุต สาหกรรมสรางสรรคทุ น วัฒ นธรรม และบริการที่ มี มูล คาสูง ไดแ ก ท อ งเที่ย ว
อุตสาหกรรมแฟชั่น อุตสาหกรรมไลฟสไตล อุตสาหกรรมสื่อสรางสรรคและแอนิเมชั่น
ทั้ ง นี้ อุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น จะเป น กลุ ม เป น อุ ต สาหกรรมหนั ก ที่ มี อ ยู เดิ ม ได แ ก ป โ ตรเคมี
และพลาสติก เคมีภัณฑ พลังงาน เหล็กและโลหะการ บรรจุภัณฑ เครื่องจักรกล เหมืองแร โลจิสติกส แมพิมพ

ภาพที่ 2.7 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายตามยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)

ที่มา: ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสากรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)


การพัฒนาและตอยอดอุตสาหกรรมเหลานี้อาจมีรูป แบบที่ผสมผสาน เชน อุตสาหกรรมแฟชั่นที่มี
การต อยอดจากอุต สาหกรรมสิ่งทอ เครื่อ งนุงหม และอัญ มณี และนําความคิดริเริ่มสรา งสรรค มุงเนน การใช
ประโยชน จากผลิตภัณฑมาใชเพื่อผลทางการตลาด และมีกระบวนการวิเคราะหขอมูลความตองการของลูกคา
อยางเปน ระบบ เชน เครื่องนุงหมเพื่อสุขภาพ หรือ เครื่องนุงหมเพื่อการกีฬ า เปนตน หรือแมแตอุตสาหกรรม
ดั้งเดิ มอย า งเช น กลุม อุตสาหกรรมโลหะ แกวและกระจก ปูน ซีเมนต ไมแ ปรรูป และเซรามิก อาจพัฒ นาเป น
กลุมอุตสาหกรรมวัสดุ มีการพัฒ นาผลิตภัณ ฑที่มีคุณสมบัติเฉพาะและมีการคํานึงถึงสิ่งแวดลอมซึ่งเปนไปตาม
กระแสการพัฒนาอยางยั่งยืนของโลก เปนตน

2-86
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-86 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในแตละสาขาการผลิตโดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทย การปรับตัวเขาสูอุตสาหกรรม 4.0


อาจตองมีการสงเสริมใหเกิดการลงทุนในเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีการจัดกลุมอุตสาหกรรม (ภาพที่ 2.8) ตามมูลคา
และการเติบโตเปน 3 กลุม คือ New S – Curve และ First S – Curve ที่เปนเทคโนโลยีแหงอนาคต ที่มีการเตรียม
แรงงานให มีความสามารถและทักษะที่สูงขึ้นรวม และมีการบูรณาการรวมกับภาคเอกชนและการศึกษาเพื่อผลิต
แรงงานใหม ใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงานในอนาคต และกลุม 2nd Wave ที่เปนอุตสาหกรรมพื้นฐาน
(อาจจั ด ได ว า เป น กลุ มอุ ตสาหกรรม 1.0 – 3.0) ต องมี ก ารปรั บ ตั ว ในเชิ ง โครงสร า ง รวมไปถึ งนโยบายภาครั ฐ
ในการส งเสริม การลงทุ น จากผู ป ระกอบการต างประเทศ มี กระบวนการและการสรางแรงจู งใจในการส งเสริ ม
การถายทอดเทคโนโลยีและการจัดการองคความรูอยางเปนระบบ โดยบทบาทของภาครัฐตองทําหนาที่เปนตัวเรง
หรือสนับสนุนการสรางสภาพแวดลอมใหเกิดการเขาสูการเปนอุตสาหกรรม 4.0 อยางเปนระบบ ทั้งนี้อุตสาหกรรมทั้ง
สามกลุมประกอบดวย
กลุ ม First S - Cure คื อ การต อ ยอด 5 อุ ต สาหกรรมที่ มี อ ยู แ ล วดว ยเทคโนโลยีแ ละนวัต กรรม
ในระดับที่สูงขึ้น ไดแก ยานยนตสมัยใหม อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ อาหารแปรรูป การทองเที่ยวที่มีเปาหมายเฉพาะ
กลุม รายไดดี การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
New S - Curve คื อ การเพิ่ ม 5 อุ ต สาหกรรมที่ มี ศั ก ยภาพในอนาคต ได แ ก หุ น ยนต การบิ น
การแพทยครบวงจร ดิจิทัล เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบผลิตภัณฑและเทคโนโลยี
เพื่อเปนกลไกการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และตองมีการพัฒนาทักษะของทรัพยากรมนุษยในอุตสาหกรรมนี้ใหมีทักษะ
ชั้นสูง
Second Wave S - Curve คื อ กลุ ม อุ ต สาหกรรมที่ ต อ งมี ก ารปฏิ รู ป ใหม เพื่ อ ให ส ามารถเติบ โต
และอยูรอดในยุคของเทคโนโลยีในอนาคต ไดแก เครื่องหนัง ไมแปรรูป ปูนซีเมนต ปโตรเคมีและพลาสติก สิ่งทอ
และเครื่องนุงหม อัญมณีและเครื่องประดับ แกวและกระจก โลหะ เซรามิก เปนตน
การแบ งกลุ ม อุ ต สาหกรรมออกเป น 3 กลุ ม ทํ า ให ภ าครั ฐสามารถกํ าหนดนโยบายหรื อมาตรการ
ที่เกี่ยวของกับแตละกลุมอุตสาหกรรมไดอยางเปนระบบ รวมถึงสามารถสรางรูปแบบของการพัฒนากําลังคนไดตรง
กับความตองการของตลาดแรงงาน รวมถึงการกําหนดทิศทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษยไดตรงตามสาขาการผลิต
ประเภทงาน และตามทักษะที่ตองการ

2-87
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-87


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 2.8 การจัดกลุมอุตสาหกรรมเพื่อเปนอุตสาหกรรมแหงอนาคตตามยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรม


ไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)

ที่มา: ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)

2-88
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-88 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5 แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม แนมโนมการจางงาน และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือใน


ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ของตางประเทศ
2.5.1 ประเทศเยอรมนี
ประเทศเยอรมนีถือวาเปนประเทศผูนําแรกในสหภาพยุโรปที่มีความคิดริเริ่มการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ให เข าสู อุต สาหกรรม 4.0 หรือ Fourth Industrial Revolution (4IR) โดยมี วัตถุป ระสงคให ภ าคอุตสาหกรรม
การผลิตของประเทศเยอรมนีไดปรับเปลี่ยนและประยุกตใชเทคโนโลยีเขากับกระบวนการผลิต รักษาตําแหนงผูนํา
ดานอุตสาหกรรมหนักของโลก สรางมาตรฐานและสรางมูลคาเพิ่มใหกับผลิตภัณฑ ตลอดจนสรางหวงโซการผลิตที่
เข มแข็ งภายในภูมิภาค โดยในป พ.ศ. 2554 กระทรวงศึกษาธิก ารและการวิจัย (Ministry of Education and
Research: BMBF) และกระทรวงการเศรษฐกิจ และพลั งงาน (Ministry of Economics Affairs and Energy:
BMWI) ไดรวมกันรางแผนยุทธศาสตรอุตสาหกรรม 4.0 หรือ Industry 4.0 (I40) เพื่อกําหนดแนวทางการเปลี่ยน
โครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0
การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอตุ สาหกรรม 4.0
เยอรมนี เป น ประเทศแรกในโลกที่ กํ า หนดแพลตฟอร ม ของอุ ต สาหกรรมและแบ งวิ วั ฒ นาการ
ของอุตสาหกรรมออกเปน 4 ยุค หรือ Fourth Industrial Revolution (4IR) ซึ่งรัฐบาลเยอรมนีไดกําหนดนโยบาย
การสรางเทคโนโลยีระดับสูงขึ้นมาแทนการผลิตแบบเดิม โดยสงเสริมการใชระบบทํางานอัจฉริยะเขามาควบคุม
การทํางานของเครื่องจักรกลในอุตสาหกรรมตาง ๆ แทนการใชแรงงาน
แนวคิ ด ของอุ ต สาหกรรม 4.0 จึ งกลา วได ว า มี ต น กํ าเนิ ด จากประเทศเยอรมนี โดยเริ่ม ใชคํ า ว า
Industries 4.0 ครั้งแรกในงาน Hannover Messe ณ เมือ งฮัน โนเวอร ป พ.ศ. 2554 ซึ่ งเป น งานแสดงสิน คา
ที่ใหญที่สุดในโลก
เหตุผลหลักของการเคลื่อนยายแพลตฟอรมเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ของเยอรมนี เนื่องจากการผลิต
ในภาคอุ ต สาหกรรมตาง ๆ นั้น มี ตน ทุน สูง ประเทศที่มีค าจ างแรงงานราคาถูกย อ มมีต นทุ น ที่ต่ํา กว าประเทศ
ที่ มี ต น ทุ น ด า นแรงงานสู ง ขณะเดี ย วกั น รั ฐ บาลเยอรมนี เล็ ง เห็ น ว า ตนเองมี ค วามเชี่ ย วชาญด า นการพั ฒ นา
เครื่ อ งจั ก รกลและระบบควบคุม อั จ ฉริ ย ะ จึง กํ าเนิ ด แนวคิด อุต สาหกรรม 4.0 ขึ้ น มา เพื่ อ ลดต น ทุ น การผลิ ต
จากปญหาแรงงาน โดยใชเครื่องจักรกลเขามาทดแทนแรงงานคนและใชความเชี่ยวชาญทางดานเทคโนโลยีเขามา
ควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลในลักษณะของระบบดิจิทัลและระบบการทํางานอัจฉริยะตาง ๆ
เยอรมนี มีค วามพรอ มทั้ งดา นทรัพ ยากรมนุ ษ ยแ ละความเชี่ย วชาญดานเครื่อ งจัก รกล ตลอดจน
การจั ด การเทคโนโลยี จึ งมี การผนวกรวมความพร อมที่ มี เข า ด ว ยกั น และกํ า หนดนโยบายขั บ เคลื่ อ นประเทศ

2-89
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-89


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ดวยอุตสาหกรรมดิจิทัล เนนการผลิตในทุ กภาคสวนดวยเครื่องจักรกล หุนยนต อุป กรณอัตโนมัติ เพื่อทดแทน


แรงงานคน และพั ฒ นาระบบควบคุม การทํ างานทั้ งหมดดว ยดิจิ ทัล ทําให อุต สาหกรรมการผลิต ของเยอรมนี
มีผลผลิตสูงและตนทุนต่ํา สามารถแขงขันไดในระดับโลก
อยางไรก็ตาม แมวาประเทศจะมีความพรอมทั้งดานทรัพยากรมนุษย เครื่องจักรกลและเทคโนโลยี
แต ก ารขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรมในประเทศไปสู แ พลตฟอร ม 4.0 ของเยอรมนี กลั บ มี ก ารดํ า เนิ น การแบบ
คอยเปนคอยไป เนื่องจากรัฐบาลตองการศึกษาถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนผานดังกลาว เชน ชั่วโมงการทํางาน
ที่ลดลงมีผลตอครอบครัวและบุคคลอยางไร มิติทางดานสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร อีกทั้งการเปลี่ยนแปลง
ที่ ร วดเร็ ว เกิ น ไป อาจสง ผลกระทบต อ ห ว งโซ อุ ป ทานภายในประเทศ ทํ า ให ก ารจั ด การของรัฐ บาลเยอรมนี
ตอการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม 4.0 มีการศึกษาทั้งกอนดําเนินการและระหวางดําเนินการ รวมถึงเตรียมรับมือกับ
สถานการณในอนาคต หากเครื่องจักรกลและระบบควบคุมการทํางานอัตโนมัติเขามาทดแทนแรงงานคนในสัดสวน
ที่สูงมากขึ้นกวาในปจจุบัน
รั ฐ บาลเยอรมนี สง เสริ ม การศึ ก ษาและการวิจั ย ทางดา นการพั ฒ นาการผลิ ต โดยพื้ น ฐานการใช
เครื่องจักรกลและระบบอัตโนมัติ โดยสถาบันเทคโนโลยีคารลสรูเออ Karlsruhe Institute of Technology (KIT)
เมืองคารลสรูเออ รัฐบาเดิน-เวือรทเทมแบรก เปนหนึ่งในสถาบันหลักของเยอรมนีที่รับผิดชอบดานการพัฒนา
และวิ จั ย องค ค วามรู ด า นวิ ศ วกรรมและระบบคอมพิ ว เตอร อั จ ฉริ ย ะ โดยเป ด สอนการพั ฒ นาด า นดิ จิ ทั ล
ในแพลตฟอรมอุตสาหกรรมและภาคการผลิตตางๆ ใหกับนักศึกษา ซึ่งนอกจากเปนคลังสมองหลักใหกับประเทศ
แล ว ยั ง เป น แหล ง บ ม เพาะการขั บ เคลื่ อ นอุ ต สาหกรรม 4.0 ให กั บ นั ก ศึ ก ษาในระดั บ ต า ง ๆ จากหลั ก สู ต ร
ทางดาน Automation และ Basic tooling สําหรับกระบวนการผลิตโดยเฉพาะ
จากที่กลาวไปขางตน จะเห็นไดวา เยอรมนีถือเปนตนแบบสําคัญของโลกในการพัฒนาองคความรู
ด า นอุ ต สาหกรรม 4.0 ตลอดจนการพั ฒ นาและวิ จั ย การต อ ยอดเพื่ อ ให อุ ต สาหกรรมบนแพลตฟอร ม 4.0
เกิ ดความยั่ งยื น โดยไมคํานึงเฉพาะผลผลิตและผลตอบแทนที่ไดรับ แตมีการศึกษาถึงผลกระทบทั้ งกับ บุคคล
และมิ ติ ชุ ม ชนและสั ง คม จึ ง อาจกล า วได ว า เยอรมนี เป น ประเทศที่ มี ค วามพร อ มสู ง สุ ด และเป น ต น แบบ
การพัฒนาการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเขาสูแพลตฟอรม 4.0 อยางเปนรูปธรรม
โครงการอุตสาหกรรม 4.0 เปนหนึ่งโครงการที่ตั้งขึ้นเพื่อใหสอดรับกับแผนยุทธศาสตรเทคโนโลยีขั้น
สู ง ชาติ 2020 (High Tech 2020 Strategy) ซึ่ ง โครงการดั ง กล า ว ได รั บ การผลั ก ดั น จาก BMBF และ BMWI
และกําหนดระยะเวลาไว 10 - 15 ป โดยเสนอใหมุงเนนการใชระบบ Cyber-Physical System (CPS) หรือระบบ
การทํ า งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ในฐานข อ มู ล ดิ จิ ทั ล หรื อ ในโลกไซเบอร และ Internet of Things and Services (IoTS)

2-90
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-90 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

หรือ การใชอินเตอรเน็ตเปนสื่อกลางในการทํางานทุกประเภทไมวาจะเปนการผลิตหรือการบริการ รายละเอียด


แนวทางการดําเนินการ (Birkit, 2017) สรุปได ดังนี้
1. ระบบการกําหนดนโยบายที่สงเสริมการมีสวนรวมของภาคอุตสาหกรรม
BMBF และ BMWI จะทําหนาที่เสมือนเปนคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายและจัดสรรงบประมาณ
สนั บ สนุ น ให เกิ ด ความรว มมื อ ระหว า งภาคส ว น ซึ่ ง การกํ าหนดนโยบายนั้ น จะเกิ ด ขึ้ น จากการหารื อ รว มกั น
อยางใกลชิดระหวางภาครัฐ ภาคสถาบันการศึกษาและวิจัย ภาคผูประกอบการอุตสาหกรรม และภาคแรงงาน
โดยระบบการกํ า หนดนโยบายโดยรวมทั้ งหมดจะดํ า เนิ น การผ านคณะทํ า งานในชื่ อ Industry 4.0 Platform
โดยไดแบงความรับผิดชอบในการดูแลนโยบายแตกตางกันไป 5 ดานหลก ไดแก
1) ดานการกํากับดูแลและกําหนดมาตรฐานการผลิตและการใชเทคโนโลยีรูปแบบเดียวกัน
2) ดานการสงเสริมการทําวิจัยและคิดคนนวัตกรรม
3) ดานการกําหนดระบบรักษาความปลอดภัยบนเครือขายที่เชื่อมโยงถึงกัน
4) ดานการปรับเปลี่ยนและกําหนดระเบียบและขอบังคับทางกฎหมายใหสอดคลองกับโครงการ
5) ดานการพัฒนาคุณภาพในการทํางาน การศึกษาและการพัฒนาทักษะที่จําเปน

2-91
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-91


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 2.9 แผนภาพแสดงรายละเอียดโครงสรางการกําหนดนโยบายสําหรับโครงการ I40

ที่มา: plattform-i40.de, 2017


2. การสนับสนุนจากภาครัฐ
รัฐบาลเยอรมนีไดกําหนดวงเงินสนับสนุนโครงการอุตสาหกรรม 4.0 ถึงปละ 200 ลานยูโรโดยมุงเนน
การจัดสรรใหกับโครงการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวของกับ CPS และ IoTS รวมถึงการพัฒนามาตรฐานการผลิตใหม
โดยตองเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติสนับสนุนจาก BMBF และ BWMI
ผู ป ระกอบการขนาดกลางและขนาดย อม (Small and Medium Enterprises: SMEs) สามารถ
เสนอรายละเอี ย ดโครงการที่เกี่ ย วของกับ I40 อาทิ การเปลี่ย นแผนการผลิต เพื่ อสรา งมาตรฐานใหม เป นตน
เพื่อขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาลได โดยรัฐบาลจะพิจารณาการใหเงินสนับสนุนเปนรายโครงการไป

2-92
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-92 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ระบบใหความชวยเหลือออนไลน
รัฐ บาลไดจั ด ทํ า แผนที่ I40 (Online Map) เข็ ม ทิ ศ I40 (Industries 4.0 compass) เพื่ อ เผยแพร
ทางอิ น เตอร เน็ ต และประชาสั ม พั น ธ แ ละให ค วามรู แ ก ผู ป ระกอบการ SMEs โดยแผนที่ I40 จะยกตั ว อย า ง
ผู ประกอบการที่ป ระสบความสําเร็จ ในการเปลี่ย นแปลงอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0 และเข็มทิ ศ I40
จะนํ า เสนอว า โครงการ I40 ได จั ด สิ ท ธิ ป ระโยชน ป ระเภทใดบ า งให แ ก ผู ป ระกอบการในภาพรวมเพื่ อ
ใหผูประกอบการสามารถเลือกใชสิทธิที่เหมาะกับตนที่สุด
นโยบายดานแรงงานและการจางงานในอุตสาหกรรม 4.0
เยอรมนีใหความสําคัญ กับทรัพยากรดานแรงงานอยางมาก โดยเปน ประเด็นหลักดานการพัฒ นา
มนุษยและความเปนอยูของประชากรในประเทศ และเล็งเห็นถึงความสําคัญของแรงงานในระบบ จึงมีความคิดให
ขยายอายุการเกษียณของแรงงานไปจนถึง 67 ป ในอนาคต
ปญหาขาดแคลนแรงงานในเยอรมนีมีความคลายคลึงกับหลายประเทศ อันเปนผลจากการเขาสูสังคม
สู ง อายุ รั ฐ บาลจึ ง มี ม าตรการเพื่ อ รั บ กั บ ป ญ หาดั ง กล า ว ซึ่ ง นอกเหนื อ จากการขยายอายุ ก ารเกษี ย ณแล ว
รัฐยังกําหนดใหนายจางสามารถรับแรงงานประเภทรับจางอิสระ (Freelancers) เพื่อใหการผลิตมีแรงงานเพียงพอ
โดยใหนายจางใหคาตอบแทนแรงงานอิสระอยางเปนธรรม
ในอุตสาหกรรมและประเภทงานที่มีความเสี่ยงสูงและแรงงานมีความเหนื่อยลาจากการทํางานสูง
รัฐ บาลกํ า หนดให น ายจางลดชั่ว โมงการทํ างานลง เชน การกอสราง การขนสง โลจิสติก ส การบริการอาหาร
การบริการที่พัก การทําความสะอาดอาคารสูง การถอดชิ้นสวนงานจัดแสดงนิทรรศการและการจัดแสดงสินคา
และแรงงานที่ ทํ า งานกั บ เครื่ อ งจั ก รกลที่ มี อั น ตราย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให แ รงงานได รั บ ความคุ ม ครองและการดู แ ล
ความปลอดภัยในการทํางาน พรอมกันนี้ รัฐบาลไดสงเสริมใหนําระบบอัตโนมัติและระบบเครื่องจักรเขามาทํางาน
แทนคนที่ ถูกลดชั่วโมงการทํ างานลง ถือเปนการขยายการใชงานแพลตฟอรมอุตสาหกรรม 4.0 ในหลากหลาย
อุตสาหกรรม
สําหรับป ญ หาเรื่อ งการทดแทนแรงงานคนในอุตสาหกรรมหนั ก ซึ่งเกิด จากการใชเครื่องจัก รกล
และระบบดิ จิ ทั ล ตา ง ๆ เข า มาทํ างานแทน พบว า แทบไม มี ค วามเปลี่ ย นแปลง เนื่ อ งจากเยอรมนี มี แ รงงาน
ในอุตสาหกรรมหนักนอยอยูแลว อันเปนผลมาจากการทดแทนการทํางานคนดวยเครื่องจักรกลในชวงสิบปกอน
และเมื่ อกาวเขาสูแพลตฟอรม 4.0 ซึ่งมีการใชระบบดิจิทัลเขามาควบคุมการทํางานแทนคน แรงงานในระบบ
อุ ตสาหกรรมหนักก็มีความพรอมกับการเปลี่ยนแปลงดังกลาว โดยการเคลื่อนยายไปยังภาคสวนที่ยังตองการ
แรงงานคน เชน การบริการ เปนตน

2-93
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-93


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เยอรมนี ป ระกาศใช ก ฎหมายแรงงานฉบั บ ใหม พ.ศ.2558 กํ า หนดให น ายจ า งสั ญ ชาติ เยอรมั น
และนายจางตางชาติตองจ ายคาจางขั้ นต่ําให แกลูกจางทุกคนที่ทํางานอยูในประเทศเยอรมนีโดยไมมีขอยกเวน
และรั ฐ บาลจะทํ า การตรวจสอบว า ลู ก จ า งไดรับ ค า จ า งขั้ น ต่ํ าตามที่ ก ฎหมายกํ า หนดหรื อ ไม โดยตรวจสอบ
ทั้งลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว กฎหมายดังกลาวมีผลใหแรงงานในประเทศทั้งที่มีสัญชาติเยอรมันและสัญชาติ
อื่น สามารถเลือกทํางานไดอยางอิสระตามความสามารถและความถนัดของตนเอง ทําใหตลาดแรงงานในประเทศ
มีการตอบรับไปในทิศทางบวกมากขึ้นหลังเผชิญกับวิกฤตการขาดแคลนแรงงานอยางหนักในชวงหลายปที่ผานมา
นอกจากนี้ รัฐบาลไดสงเสริมใหลูกจางตางชาติท่ไี มสามารถสื่อสารดวยภาษาเยอรมันใหสามารถเขารับการฝกอบรม
และเรีย นภาษาเยอรมันไดโดยไมมีคาใชจาย หรือมีคาใชจ ายต่ํา เพื่อ อํานวยความสะดวกและชวยเพิ่มโอกาส
การทํางานใหกับแรงงาน อีกทั้งยังเปนการเพิ่มสภาพคลองของการจางงานในประเทศอีกดวย
ป พ.ศ. 2558 กระทรวงแรงงานไดสนับสนุนใหบริษัทไดทําการทดลงพื้นที่นวัตกรรม (Innovation
Spaces) (Klein, 2017) รวมกันระหวางนายจางและกลุมตัวแทนลูกจาง เพื่อประเมินผลความสําเร็จของการนํา
เทคโนโลยีแ ละนโยบายที่ เกี่ ย วข อ งกั บ การจางงานในแต ล ะองคก ร อาทิ ทดลองระบบติ ด ตามประสิ ท ธิ ภ าพ
การทํ างาน การทดลองการทํางานนอกสํานักงานการประเมินผลความรูดานเทคโนโลยีของพนักงาน เป นตน
ซึ่งนโยบายที่ประสบความสําเร็จนั้น จะไดรับการพิจารณาภาครัฐเพื่อขยายผลและกําหนดเปนนโยบายในระดับ
ทองถิ่นและระดับชาติตอไป
ความเข ม แข็ งของระบบหุ น ส ว นทางสั งคม (Social Partnership) แบบไตรภาคีร ะหวา งภาครัฐ
ภาคอุ ตสาหกรรม และภาคแรงงาน ทําใหเกิดกระบวนการเจรจาตอรอง จนในป พ.ศ.2559 ไดมีการกําหนดให
นายจางตองจัดการอบรมเพื่อพัฒนาฝมือลูกจางของตนใหสอดคลองกับยุคดิจิทัล ยิ่งไปกวานั้น กระทรวงแรงงาน
ไดกําหนดรายละเอียดที่เกี่ยวของกับการจางงานหรือเอกสารแนวทางการทํางานแหงอนาคต (White Paper on the
future of work) เมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2559 สรุปประเด็นได 4 ประเด็นสําคัญ ดังนี้ (Eurofound.europa.eu)
1) ให มี ค วามยื ด หยุ น ในการเปลี่ ย นรู ป แบบการจ า งงานระหว า งงานไม เ ต็ ม เวลา (Part Time
Employment) และงานเต็มเวลา (Full Time Employment)
2) ใหมีการทํางานไมเกินวันละ 8 ชั่วโมงตอวัน
3) แรงงานหรือลูกจางมีสิทธิเจรจากับนายจางในเรื่องของสถานที่ และระยะเวลาในการทํางาน
4) แรงงานหรือลูกจางมีในการเจรจาตอรองขอเพิ่มสวัสดิการจากนายจาง
จากรายงานของ Friedrich-Ebert-Stiftung (2016) คาดการณวา ในอนาคตระบบดิจิทัลจะสามารถ
ทดทนแรงงานแรงงานกึ่งฝ มือ (Semi-skilled Labor) ไดเชนเดียวกับ ที่เครื่อ งจักรเคยทดแทนแรงงานไรฝมื อ

2-94
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-94 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

(Unskilled Labor) ได แตในการดําเนินการบางอยางก็ยังคงจําเปนตองใชแรงงานมนุษยอยู อยางไรก็ดี ศูนยวิจัย


Mannheim Centre for European Economic Research ไดใชขอมูลทางสถิติในการประมาณการณและพบวา
จะมีแรงงานรอยละ 12 ที่โดนทดแทนโดยระบบดิจิทัลอยางสมบูรณ ซึ่งไมถือวาเปนตัวเลขที่สูงมากนัก นอกจากนี้
Boston Consulting Group ได ทํ า นายว า ภาพรวมของการจ า งงานอาจเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ถึ ง ร อ ยละ 6 ในอนาคต
เนื่องจากความตองการแรงงานที่มีทักษะเฉพาะสูง ทั้งนี้ ความเสี่ยงในอาชีพที่จะโดนผลกระทบจากการใชระบบ
ดิจิทัลและเทคโนโลยีนั้น ขึ้นอยูกับระดับทักษะ การศึกษาที่จําเปนในแตละหนาที่ และรวมถึงคาจาง อาทิ แรงงาน
ที่ตองใชวุฒิการศึกษาขั้นต่ําอยางนอยระดับปริญ ญาเอกจะไดรับผลกระทบนอยกวาแรงงานที่ตองการวุฒิขั้นต่ํา
นอยกวา แรงงานที่ไดรับคาจางที่สูงกวามีแนวโนมจะมีความเสี่ยงหรือไดรับผลกระทบนอยกวา เปนตน
แนวทางพัฒนาฝมือแรงงาน
แรงงานสัญชาติเยอรมันและสัญชาติอื่นที่อยูในสถานะถูกกฎหมายในเยอรมนี สามารถเขารับการฝก
อาชีพระยะสั้นเพื่อเพิ่มทักษะและขยายชองการทํางานใหมากขึ้น นอกจากนี้ รัฐยังเปดอบรมภาษาเยอรมันใหกับ
แรงงาน เนื่องจากอุตสาหกรรมการบริการ การทองเที่ยว การขนสงและอื่น ๆ จําเปนตองสื่อสารดวยภาษาเยอรมัน
แรงงานที่ไมสามารถสื่อสารดวยภาษาเยอรมันไดจึงมีขอจํากัดอยางมากในการสมัครงาน
สําหรับ แนวทางการพัฒ นาฝมือ แรงงาน รัฐบาลพยายามดําเนิน การควบคูกัน ไปกับ การทดแทน
อัตรากําลังในภาคอุ ตสาหกรรมตาง ๆ และฝกอบรม สรางเสริมทักษะดานตาง ๆ ใหกับ แรงงาน เพื่อประโยชน
ในการยายงานและตอยอดไปทํางานดานอื่น เชน การเปดธุรกิจสวนตัว เปนตน
นอกจากการสงเสริม และพั ฒนาทักษะของแรงงานแลว กระทรวงแรงงานของเยอรมนี ยังสงเสริม
การใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศ การเขาถึงอินเทอรเน็ต การใชงานแอพพลิเคชั่นตาง ๆ ใหกับ ผูสูงอายุ ทั้งที่ยัง
ทํางานในระบบและที่เกษียณอายุไปแลว ใหสามารถใชงานได เพื่ออํานวยความสะดวก ซึ่งรัฐบาลกลางและรัฐบาล
ท องถิ่ น มี ระบบแอพพลิเคชั่นที่ ใชงานงา ยและออกแบบมาสําหรับ ผูสูงอายุ โดยเฉพาะ ทํ าใหผู สูงอายุส ามารถ
ติดตอสื่อสารกับรัฐไดโดยตรง ทําใหรับทราบสถานะของการจางงาน สุขภาพ สวัสดิการตาง ๆ
แนวทางการพัฒนาฝมือแรงงานและการแกไขปญหาแรงงานในระยะยาวของเยอรมนี มีการนําเขา
แรงงานจากตางชาติเขามาทดแทนแรงงานในประเทศหลายอุตสาหกรรม โดยขอมูล จากสํานักงานจัด หางาน
แหงสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี (German Federal Employment Agency) ระบุวา แรงงานตางชาติจํานวนมาก
เดินทางเขามาในเยอรมนีชวงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ถึง เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยเปนแรงงานจาก
ประเทศยุ โรปตะวั นออกและจากเช็กเกีย กรีซ อิตาลี สเปน และโปรตุเกสจํานวน 1.25 ลานคนเดิน ทางเขามา
เยอรมนี คิด เปน จํ า นวนที่ เพิ่ ม ขึ้ น รอ ยละ 16.8 ซึ่ งแรงงานดั งกล าวเข ามาทดแทนแรงงานสู ง อายุ ในเยอรมนี

2-95
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-95


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ที่เกษียณอายุและแรงงานสัญ ชาติเยอรมันที่ขยับไปทํางานในตําแหนงที่สูงขึ้นหรือยายไปยังอุตสาหกรรมอื่น ๆ
หรือเข าไปทํ างานในสวนราชการ แรงงานสัญ ชาติอื่นนอกเหนือจากเยอรมั น รัฐบาลไดกําหนดมาตรฐานฝมือ
แรงงานไวตามกลุมอาชีพและกลุมอุตสาหกรรม แรงงานตางชาติจําเปนตองศึกษาใหละเอียดกอนเดินทางเขาสู
เยอรมนี ทั้งนี้ แรงงานอาจตองมีประสบการณ มีเอกสารรับรองในบางอาชีพ หรือสามารถเขาไปรับการฝกอบรม
ในประเทศเยอรมนีได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับขอกําหนดของรัฐบาลและนายจาง
ในเดื อ นมี น าคม พ.ศ.2560 คณะทํ า งาน Industry 4.0 Platform ด า นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพ
ในการทํางาน การศึกษาและการพัฒนาทักษะที่จําเปน ไดรวบรวมกรณีศึกษาและจัดพิมพรายงานเพื่อเสนอแนะ
แนวทางในการพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อใหตอบสนองตอโครง I40 สรุปได ดังนี้
1. ขอเสนอแนะแนวทางพัฒนาฝมือแรงงานในองคกร
1) ติดตามสถานการณความเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรมอยางสม่ําเสมอ ตลอดจนวิเคราะห
สถานการณดังกลาววาจะมีผลอยางไรตอทรัพยากรบุคคลในองคกร
2) จัดการอบรมดานเทคโนโลยี ทักษะเฉพาะทางและการคิดวิเคราะหอยางสรางสรรค ผานระบบ
การอบรมแบบหองเรียนและใหไดทดลองปฏิบัติจริง (Dual Vocational Training) ทั้งนี้ ควรจัดระบบการอบรม
ใหไดมีการทํางานเปนทีมแบบคละชวงอายุ
3) จัดระบบการอบรมออนไลนแกพนักงานที่สนใจ
4) สรางความรวมมือระหวางนายจางลูกจางและรวมกันแกปญหาอยางยั่งยืน
5) ใช ป ระโยชน จ ากสื่อ เทคโนโลยี สารสนเทศ สร างการมี ส ว มร ว มของลู ก จ า งและพั ฒ นาทั ก ษะ
ดานเทคโนโลยี
2. ขอเสนอแนะแนวทางพัฒนาฝมือแรงงานในระดับนโยบาย
1) กําหนดการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยูในหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ
2) สนับสนุนการจัดอบรมแบบ Dual Vocational Training โดยใหรัฐบาลกลางและรัฐบาลทองถิ่น
ประสานงานกับสถานศึกษา สถาบันวิจัย และภาคอุตสาหกรรม
3) จั ด ตั้ งกองทุน เพื่ อ สนั บ สนุ น การจั ดอบรมฝมื อ แรงงานและการทํ าวิ จัย โดยมุ งเน น การพั ฒ นา
ผูประกอบการ SMEs กอนในเบื้องตน
4) ทบทวนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานใหมีความเชื่อมโยงและบูรณาการมากยิ่งขึ้น
5) สงเสริมใหมีการทดลงพื้นที่นวัตกรรมในทุกบริษัทโดยเฉพาะบริษัท SMEs

2-96
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-96 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5.2 ประเทศฝรั่งเศส
ประเทศฝรั่งเศสไดมีความพยายามในการปฏิวัติอุตสาหกรรมใหเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 หรือในยุค
แหงการปฏิวัติระบบดิจิทัล (Digital Revolution) และการใชเทคโนโลยีควบคูกับการผลิตและใหบริการทุกรูปแบบ
ทั้งนี้ ประเทศฝรั่งเศสไดเห็นการปฏิวัติอุตสาหกรรมดังกลาวเปนโอกาสในการกระตุนการจางงานและสนับสนุน
ภาคอุตสาหกรรมใหกลายเปนผูนําดานการผลิตอีกครั้งหลังจากที่การลงทุนในภาคอุตสาหกรรมซบเซามาในระยะ
หลัง โดยในป พ.ศ.2558 ซึ่งตรงกับ สมัยของประธานาธิบดี François Hollander ไดออกโครงการอุตสาหกรรม
แหงอนาคต หรือ Industry of the Future เพื่อปรับเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0
การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4. 0
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงดานอุตสาหกรรมของโลกในปจจุบันกาวเขาสูระบบดิจิทัลอยางครบวงจร
ทั้ งการเชื่ อ มตอ ขอ มูล และการประยุก ตใช การปรับ เปลี่ย นวิธีก ารทํา งานและการผลิตอยา งชาญฉลาด ทํา ให
การขั บ เคลื่ อนอุตสาหกรรมดําเนินไปอยางรวดเร็ว ถูกตองและแมนยํา สามารถเพิ่มจํานวนผลผลิตไดมากขึ้น
ขณะเดียวกันก็ลดขอผิดพลาดจากกระบวนการทํางานของคนและเครื่องจักรกลลงได พรอมกันนั้น แพลตฟอรม
อุ ต สาหกรรม 4.0 ยั งรวมไปถึ งห ว งโซคุณ ค า ซึ่ง ครอบคลุ ม ทั้ ง โลจิ ส ติก ส การปฏิ บั ติ ก าร การตลาด การขาย
และการบริการ
จากข อ มู ล ในรายงาน Competing in the new Europe: Industrie 4.0 / industrie du future
ป พ.ศ.2559 และ French-German Institute for “Industry of the Future” ระบุ ว า ฝรั่ ง เศสเป น หนึ่ ง ใน
ประเทศชั้นนําและเปนแบบอยางของการพัฒนาอุตสาหกรรม ทั้งกลุมอิเล็กทรอนิกส เครื่องจักรกล รถยนต อากาศ
ยาน เคมี ภั ณ ฑ อาหารและการเกษตร การบริก ารและการท องเที่ ย ว โดยภาครัฐ กํ า หนดแนวทาง Alliance
Industrie du Future หรือ พันธมิตรอุตสาหกรรมสูอนาคต โดยสรางความรวมมือระหวางภาครัฐ ภาคการศึกษา
และภาคอุตสาหกรรม เพื่อรวมกันพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยเริ่มปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิต
และการบริการ จากระบบเครื่องจักรกลและคน ไปสูการนําเทคโนโลยีดิจิทัลและการบริหารจัดการระบบขอมูล
มาใชควบคุมการผลิตอยางเต็มรูปแบบ โดยมีเปาหมายเพื่อเพิ่มกําลังการผลิต การลดความสูญ เสียจากการผลิต
และทดแทนแรงงานในกระบวนการผลิตที่มีความเสี่ยงสูง
รัฐ บาลฝรั่งเศสให ความสนใจอุตสาหกรรมในแพลตฟอรม 4.0 เป นอยางมาก เนื่ องจากสามารถ
ตอบโจทย เรื่องการแกปญ หาแรงงานคนในภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ ไดอยางยั่งยืนและเห็นผลอยางเปนรูปธรรม
โดยรัฐสนับสนุนใหมีการศึกษาและแลกเปลี่ยนขอมูล รวมทั้งสรางความรวมมือระหวางประเทศ อาทิ การจัดตั้ง

2-97
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-97


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สถาบั น ฝรั่ งเศส - เยอรมนี เพื่ อการศึก ษาอุ ตสาหกรรมสํ า หรับ อนาคต (The French-German Institute for
Industry of the Future) โดยความรวมมือระหวางรัฐบาลฝรั่งเศสและเยอรมนี
อย า งไรก็ ต าม ในส ว นของการส ง เสริ ม การอุ ต สาหกรรม 4.0 จากระดั บ ครั ว เรื อ นในฝรั่ ง เศส
ยั ง พบข อ จํ า กั ด ซึ่ ง Claudia Christ และ Rolf Frankenberger ได ให ค วามเห็ น ในรายงาน On the Way to
Welfare 4.0 –Digitalisation in France เกี่ย วกับ การเปลี่ย นผ านเขา สูแ พลตฟอรม 4.0 ของประเทศฝรั่งเศส
โดยกลาวถึงนโยบายของรัฐในการดําเนินงานและสงเสริมเทคโนโลยีดานดิจิทัลภาคครัวเรือนในประเทศ ซึ่งถือวาชา
เกินไปเมื่อเทียบกับหลายประเทศในกลุมสหภาพยุโรป โดยเทียบจากความเร็วของอินเทอรเน็ต มิติทางดานสังคม
เชน การใชอิน เทอรเน็ตและเทคโนโลยี ดิจิทัลในภาคครัวเรือนเพื่ออํานวยความสะดวกในการใชชีวิตประจําวัน
การใชชองทางดิจิทัลในการซื้อ - ขาย ชําระเงินและคาบริการ รวมถึงระบบธนาคารอิเล็กทรอนิกสตาง ๆ ซึ่งรัฐบาล
ฝรั่ งเศสยั ง ไม ไ ด มี ก ารส งเสริ มมากเท า ที่ ควร ทั้ ง นี้ เมื่ อ พิ จ ารณาจากพื้ น ฐานทางด านทั ศ นคติ ข องประชาชน
ตอ นวั ตกรรมและเทคโนโลยี พบวาประชาชนให ความสนใจและมีทั ศนคติเชิงบวก และฝรั่งเศสมีการสงเสริม
การพัฒนาและวิจัยทางดานเทคโนโลยีดิจิทัลในภาคการศึกษามาอยางยาวนาน ทําใหรัฐบาลสามารถวางแผนการ
ทํางานและวางนโยบายทางดานอุตสาหกรรม 4.0 ในภาคครัวเรือนไดอยางรวดเร็ว
จากรายงานของ World Economic Forum’s Global Competitiveness Report 2015 – 2016
ระบุวา ฝรั่งเศสมีความเขมแข็งดานโครงสรางพื้นฐาน สิ่งอํานวยความสะดวก ระบบการศึกษา โดยระบบเศรษฐกิจ
จะพัฒนาอยางตอเนื่องและสามารถแขงขันในระดับโลกไดหากรัฐมีการสงเสริมการใชเทคโนโลยีดิจิทัลและสงเสริม
การผลิ ต และการบริ ก ารบนแพลตฟอร ม อุ ต สาหกรรม 4.0 ซึ่ ง เป น ทิ ศ ทางของเศรษฐกิ จ โลกยุ ค ใหม ทั้ ง นี้
การสงเสริมการใชงานและเปลี่ยนผานระบบการผลิตแบบเกาไปสูแพลตฟอรม 4.0 ถือวามีความทาทายอยางยิ่ง
เนื่ อ งจากต อ งอาศัย แรงผลัก ดัน จากภาครัฐไปยั งภาคการผลิ ต ซึ่ งฝรั่งเศสเป น ประเทศที่ มี ค วามหลากหลาย
ของกลุ ม อุ ต สาหกรรม รวมถึ ง ขนาดและความสามารถของผู ป ระกอบการยั ง แบ ง เป น หลายระดั บ ตั้ ง แต
ผูประกอบการ วิสาหกิจในชุมชน ในกลุมการผลิตอาหาร การบริการ การทองเที่ยว ไปจนถึงอุตสาหกรรมหนัก
เช น การผลิ ต อากาศยานและการต อ เรื อ ทํ า ให ก ารวางแผนของภาครั ฐ ต อ งมี ก ารวางแผนและแบ ง กลุ ม
ผูประกอบการ ผูผลิต ตามประเภทอุตสาหกรรมและกําลังการผลิต เพื่อใหสามารถกําหนดนโยบายไดตรงเปาหมาย
มากที่สุด
โครงการอุ ต สาหกรรมแห ง อนาคต หรื อ Industry of the Future ได ริ เ ริ่ ม จากคณะทํ า งาน
หรือคณะพันธมิตรอุตสาหกรรมแหงอนาคต (Industry of Future Alliance) ที่จัดขึ้นในป พ.ศ.2558 และมีผูแทน
จากกลุมผูประกอบอุตสาหกรรม สถานศึกษา สถาบันวิจัย สภาอุตสาหกรรม และโรงเรียนวิศวกรรม รวมกันราง

2-98
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-98 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แผนและแนวทางการปรั บ เปลี่ ย นโครงสร า งอุ ต สาหกรรมสู อุ ต สาหกรรม 4.0 ซึ่ ง ได กํ า หนด 5 แนวทาง
ในการปรับเปลี่ยนโครงสราง (Ministry of Economy and Finance, 2016) ดังนี้

ภาพที่ 2.10 The Five Pillars of the Industry of the future

ที่มา: Ministry of Economy and Finance, 2016


1. พัฒ นาเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีลักษณะเฉพาะตัว (Developing Cutting-Edge Technology)
รัฐบาลฝรั่งเศสไดจัดสรรงบประมาณกวา 100 ลานยูโร ในการสนับสนุนอุตสาหกรรม 7 ประเภทที่จะชวยสราง
มู ล ค า เพิ่ ม ให กั บ ภาคอุ ต สาหกรรมและสอดคล อ งกั บ สภาวการณ ป จ จุ บั น ส ง เสริม ให เ กิ ด การใช เทคโนโลยี
และสรางนวัตกรรมสงผลกระทบอยางรุนแรง (disrupt) ตอตลาดของผลิตภัณฑเดิม โดยอุตสาหกรรมขางตน ไดแก
อุตสาหกรรมที่มีการใชอยางใดอยางหนึ่ง 1) เทคโนโลยีระบบดิจิทัลและอินเตอรเน็ต 2) การปฏิรูปการใชทรัพยากร
มนุษยในการผลิต การประยุกตใชหุนยนตรวมกับมนุษยในการผลิต และการใชเทคโนโลยี Augmented Reality
3) กระบวนการผลิตขั้นใหม (อาทิ 3D Printing) 4) ระบบควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ 5) ระบบประกอบชิ้นสวน
6) เทคโนโลยี ก ารนํ า เครื่ อ งจั ก รหรื อ เทคโนโลยี ม าทํ า งานแทนมนุ ษ ย และ 7) พั ฒ นาการใช พ ลั ง งาน
อยางมีประสิทธิภาพ
2. พั ฒ นาผูป ระกอบการให ส ามารถปรั บ ตั ว เข า กั บ สิ่ ง แวดล อ มใหม (Helping Companies
Adapt to the New Paradigm) รัฐบาลฝรั่งเศสไดจัดสรรงบประมาณกวา 1,000 ลานยูโร ในการสนับ สนุน
ผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ใหมีการนําเทคโนโลยีมาใชชวยในกระบวนการผลิตและพัฒนา
คุณภาพผลิตภัณฑ ผานระบบการใหกูยืมและมาตรการจูงใจทางภาษี

2-99
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-99


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. พั ฒนาทั กษะพนักงาน (Training Employees) รัฐ บาลฝรั่งเศสไดพ ยายามจัดสรรโครงการ


พั ฒ นาฝ มื อ แรงงานโดยเริ่ ม จากกลุ ม นั ก ศึ ก ษาเพื่ อ ให รู ส ภาวะตลาดและทั ก ษะที่ จํ า เป น สํ า หรับ การทํ า งาน
ในอุตสาหกรรมยุคใหม
4. นํ า เสนอสิ น ค า ที่ เ ป น อุ ต สาหกรรมแห ง อนาคตของประเทศฝรั่ ง เศส (Showcasing the
French Industry of the Future) รัฐบาลฝรั่งเศสไดพยายามจัดนิทรรศการทั้งในและตางประเทศเพื่อนําเสนอ
และสงเสริมสินคานวัตกรรมของประเทศฝรั่งเศส
5. เสริ ม สร า งความแข็ ง แกร ง ภายในภู มิ ภ าคยุ โ รปและความร ว มมื อ ระหว า งประเทศ
(Strengthening European and International Cooperation) รัฐบาลฝรั่งเศสสงเสริมใหเกิดความรวมมือ
ระหว างสหภาพยุโรป สนับ สนุ นใหเกิด การแลกเปลี่ ย นและถายทอดเทคโนโลยีระหวางกัน โดยเฉพาะในกลุ ม
ประเทศที่ มี ก ารเปลี่ ย นโครงสร า งอุ ต สาหกรรมเดิ ม สู อุ ต สาหกรรม 4.0 รวมถึ ง สรา งมาตรฐานทางดิ จิ ทั ล
ใหเปนรูปแบบเดียวกันทั้งภูมิภาค

นโยบายดานแรงงานและการจางงานในอุตสาหกรรม 4. 0
ประเทศฝรั่งเศสแบงเขตการปกครองออกเปน 13 แควน อุตสาหกรรมหลักของประเทศตั้งอยูบ น
ผืนแผนดินใหญ (Rance métropolitaine) โดยไมรวมดินแดนโพนทะเลตาง ๆ
ด ว ยลั ก ษณะดั ง กล า ว ทํ า ให ฝ รั่ ง เศสมี ค วามหลากหลายของอุ ต สาหกรรม อุ ต สาหกรรมหลั ก
ของประเทศแบ ง ออกเป น สามกลุ ม หลั ก โดยอุ ต สาหกรรมที่ กํ า เนิ ด ในช ว งแรกของการพั ฒ นาประเทศ
คืออุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม ผลิตภัณฑเกษตรตาง ๆ อาทิ การผลิตเนื้อสัตวแชเย็นและแชแข็ง ผลิตภัณฑ
เนื้อสัตวแปรรูป ผลิตภัณฑนม ชีส ไวน และผลไม เชน องุน สม ซึ่งกลุมอุตสาหกรรมอาหารตั้งอยูทางตอนเหนือ
ติดกับมหาสมุทรแอตแลนติกและทางตอนใตบริเวณเขตติดตอกับทะเลเมดิเตอรเรเนียน นอกจากนี้ ฝรั่งเศสยังมี
อุตสากรรมทองเที่ยวในเมืองสําคัญตาง ๆ คือ ปารีส มารแซย ลียง ลีล ตูลูซ นิส และน็องต ซึ่งรายงานขององคการ
การท องเที่ยวโลกแหงสหประชาชาติ (UNWTO) ระบุวาฝรั่งเศสเปนประเทศที่มีนักทองเที่ยวมาเยือนมากที่สุด
เปน อัน ดับ 1 ของโลก โดยป พ.ศ.2559 มีนักทองเที่ยวตางชาติทั้งสิ้น 82.6 ลานคน ทําใหฝรั่งเศสเปนประเทศ
ที่ ต อ งพึ่ ง พาแรงงานคนจํ า นวนมาก เนื่ อ งจากกลุ ม อุ ต สาหกรรมดั ง ที่ ก ล า วไปข า งต น ต อ งอาศั ย ทั ก ษะ
และความสามารถของแรงงานคนเปนจํานวนมาก
ขณะเดียวกัน กลุมอุตสาหกรรมใหมของประเทศ ซึ่งเนนอุตสาหกรรมหนัก อาทิ การผลิตรถยนต
การตอ เรือ การผลิตอากาศยาน เชน เครื่องบิน พาณิ ชยของบริษัทแอรบัส (Airbus) และบริษัทเอทีอาร (ATR)
ซึ่งมีฐานการผลิตอยูในเมืองตูลูส ถือเปนกลุมอุตสาหกรรมที่รัฐบาลตองดําเนินนโยบายควบคูไปกับการเปลี่ยนผาน

2-100
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-100 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แพลตฟอร ม อุ ต สาหกรรม จากเน น เครื่อ งจั ก รกลและแรงงานคน ไปสู ก ารใช ดิจิ ทั ล ควบคุม เครื่ อ งจั ก รแทน
แรงงานคนเพื่อเพิ่มกําลังการผลิต ลดความเสี่ยงจากการทํางานของคน และใชฐานขอมูลสําหรับการวิเคราะหตลาด
การขนสง การวางแผนธุรกิจ
จากลักษณะความหลากหลายของอุตสาหกรรมในประเทศ ทํ าใหฝ รั่งเศสมีการกําหนดนโยบาย
แยกออกเปนแตละกลุมอุตสาหกรรมและแบงความตองการใชแรงงานคนและอัตราการทดแทนแรงงานคน เพื่อให
กําหนดทิศทางการพัฒนาไดอยางถูกตอง ซึ่งกลุมของอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร การบริการและการทองเที่ยว
รัฐได ส งเสริม การขยายอายุการทํางานของแรงงานในระบบ เพื่ อคงจํานวนแรงงานใหอยูในระบบการจางงาน
ใหน านที่สุด พรอมทั้งสรางแรงจูงใจแรงงานที่เกษียณกอนกําหนดใหกลับ เขามาทํางาน โดยการสรางมาตรการ
ช ว ยเหลื อแรงงานสู งอายุ เชน การปรับ ปรุงสภาพความปลอดภั ย ในการทํา งาน สวัส ดิ การที่ รัฐ และนายจ าง
ใหแกลูกจาง เพื่อใหเกิดการจางงานและมีอัตรากําลังในภาคการผลิตและการบริการอยางเพียงพอ
สําหรับ ภาคอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร แปรรูปผลิตภัณฑทางเกษตร การบริการ การทองเที่ยว
แม ยั งต อ งพึ่ งพาแรงงานคนเป น หลัก แต จ ากสถานการณ ในป จ จุ บั น แรงงานอายุ น อ ยในฝรั่ง เศสมี แ นวโน ม
เขาทํางานในกลุ มอุตสาหกรรมดังกลาวมากกวากลุมอุตสาหกรรมหนัก เนื่องจากสามารถเลือกประเภทงานได
หลากหลาย งานไมหนัก และเหตุผลหลักคือคาตอบแทนที่คุมคาเมื่อเทียบกับชั่วโมงการทํางาน
สําหรับกลุมอุตสาหกรรมหนัก รัฐบาลไดมอบหมายใหภาคการศึกษาและกระทรวงแรงงาน สวัสดิการ
สังคม ครอบครัวและความสัมพันธ (Ministère du Travail, des Relations sociales, de la Famille et de la
Solidarité) ทํ ารายงานในลัก ษณะการศึก ษาวิจั ยสํา หรับ วางแผนในอนาคต เพื่ อ ศึก ษาผลกระทบทั้ งทางตรง
และทางออม เชน ผลกระทบตอแรงงานหลังการเปลี่ยนผานไปสูแพลตฟอรม 4.0 ผลกระทบตอสถานประกอบการ
ผลกระทบตอครอบครัวและชุมชน
ใน กลุ ม อุ ต สาหกรรมห นั ก ฝรั่ ง เศสป ระสบ ป ญ ห าเรื่ อ งการขาดแคลน แรงงานมากกว า
กลุมอุตสาหกรรมการผลิตอาหาร แปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตร การบริการและทองเที่ยว โดยแนวโนมการเขา
ทํางานของประชาชนในฝรั่งเศสลดลง เนื่องจากงานมีความเสี่ยงมากกวา ชั่วโมงการทํางานถูกกําหนดตายตัว
และมีขอจํากัดมากกวา คาตอบแทนไมคุมคา ทําใหกลุมอุตสาหกรรมดังกลาวมีการนําเขาแรงงานจากประเทศ
ในกลุมยุโรปตะวันออกเขามาทดแทน เชน ฮังการี โปแลนด เบลารุส บัลแกเรีย และยูเครน และดวยสาเหตุดาน
วิกฤตการณแรงงานในอุตสาหกรรมหนักของฝรั่งเศส ทําใหรัฐบาลมีแผนเริ่มการทดแทนแพลตฟอรมการผลิตเดิม
เป นแพลตฟอรม 4.0 เพื่ อ แกป ญ หาแรงงาน ซึ่งถือ เป นนโยบายเรงดว น โดยแรงงานคนในอุตสาหกรรมหนั ก
นอกจากแรงงานระดั บ ล า งซึ่ ง มี สั ด ส ว นลดน อ ยลงจากการทดแทนดว ยเครื่อ งจั ก รกลและระบบดิ จิ ทั ล แล ว
สวนที่เหลื อเปนกลุมของแรงงานทักษะสูง ทําหนาที่ซอมบํารุงและดูแลระบบดิจิทัล วิศวกรระดับสูงที่ทําหนาที่
2-101
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-101


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ควบคุมการผลิตทั้งหมด รวมถึงเจาหนาที่ดานการบริหารงานและการสื่อสาร ซึ่งจากการเริ่มใชระบบเครื่องจักร


และระบบควบคุม การทํ า งานด ว ยดิ จิ ทัล แรงงานคนในระบบอุ ต สาหกรรมหนั ก ของฝรั่ งเศสลดลงประมาณ
รอยละ 15 ในป พ.ศ.2560
รัฐบาลฝรั่งเศสไดออกนโยบายที่เรียกวา บัญชีกิจกรรมรายบุคคล (Compte Personnel d’activite,
CPA) สํ าหรับ ประชาชนที่มีอายุม ากกวา 16 ปขึ้น ไปโดยมีวัตถุป ระสงคเพื่อ ให สะดวกแกภ าครัฐในการติดตาม
สถานภาพการทํางานของผูถือบัญชีโดยเฉพาะในกลุมสาขาอาชีพที่มีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว นอกจากนี้ผูถือบัญชี
และมีสถานภาพทํางานยังไดแตมสะสมในบัญ ชีเพื่อรับสิทธิและสวัสดิการจากรัฐเพิ่มเติม อาทิ การจัดฝกอบรม
เปนตน นอกจากบัญชีกิจกรรมรายบุคคลแลว รัฐบาลฝรั่งเศสไดออกนโยบายบัญชีการศึกษาสวนบุคคล (Personal
Education Account) และบั ญ ชีป อ งกั น อัน ตรายจากการประกอบอาชี พ (Compte Prevention Penibilite)
กอนลวงหนาที่ CPA จะมีการบังคับใช เชนเดียวกับ ผูถือบัญชีการศึกษาสวนบุคคลและมีสถานภาพศึกษาอยูยังได
แตมสะสมในบัญชีเพื่อรับสิทธิและสวัสดิการจากรัฐเพิ่มเติม (Grass & Weber, 2016)
สํ า หรับ ภาวะการจ างงานในอนาคตนั้ น สถาบั น วิ จั ย ของประเทศฝรั่ง เศสคาดการณ วา จํ า นวน
ผูประกอบอาชีพที่ไมสามารถทดแทนไดดวยหุนยนตจะมีจํานวนสูงขึ้น มีเพียงภาคบริการซึ่งอาจทดแทนดวยระบบ
หุนยนตหรือระบบอัตโนมัติไดคิดเปนรอยละ 13 ของการจางงานทั้งหมด อยางไรก็ดี จากการศึกษาพบวา หุนยนต
หรือ ระบบอั ต โนมั ติ ไมส ามารถก อ ให เกิ ด ภาวะตกงานได อ ย า งเฉี ย บพลั น ในทางกลั บ กั น จะสามารถช ว ยลด
กระบวนการทํางานบางอยางไดดี และผลักดันใหลูกจางหันไปทําอาชีพหรือหนาที่อื่นที่ไมสามารถใชระบบอัตโนมัติ
ทําแทนได โดยแนวโนม การจางงานในอนาคตจนถึงป พ.ศ.2565 จะมีสูงขึ้น โดยเฉพาะในกลุมอาชีพ ที่ตองใช
ความชํานาญในการควบคุมระบบหุนยนตและระบบคอมพิวเตอร อาทิ กลุมบริหารจัดการสาธารณสุข กลุมจัดการ
การศึกษา เปน ต น ในขณะที่การจางงานของกลุมอุตสาหกรรมกอสรางและภาครัฐจะคงที่ สําหรับ การจางงาน
ในภาคอุตสาหกรรมเกษตรนั้นมีแนวโนมที่จะลดลง
แนวทางพัฒนาฝมือแรงงาน
ภาคอุ ต สาหกรรมต า ง ๆ ของฝรั่ ง เศส มี แ นวทางการพั ฒ นาฝ มื อ แรงงานไปในทิ ศ ทางต า ง ๆ
ตามลักษณะงานที่ทํา ทั้งนี้ รัฐบาลมีนโยบายใหความชวยเหลือแรงงานทั้งในและนอกระบบทุกคน ผานรัฐบาล
ท อ งถิ่ น ในแต ล ะแคว น ซึ่ ง แรงงานสามารถติ ด ต อ หน ว ยงานให ค วามช ว ยเหลื อ ใกล กั บ สถานที่ ทํ า งาน
ได โดย กระทรวงแรงงาน สวัสดิการสังคม ครอบครัว และความสัมพันธของฝรั่งเศส มีบทบาทและหนาที่หลัก
ในการดําเนินนโยบายและบังคับใช

2-102
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-102 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แรงงานในภาคอุตสาหกรรมทุกกลุม สามารถเลือกงานไดตามความพึงพอใจ หรือหากพบวาตนเอง


ขาดทักษะที่จะเขาทํางานในอาชีพที่สนใจ แรงงานสามารถติดตอผานนายจางหรือติดตอผานหนวยงานของรัฐบาล
ท องถิ่ น ซึ่ งกํ ากับ ดูแ ลสถานประกอบการไดโดยตรง ซึ่งรัฐ บาลใหก ารสนับ สนุน งบประมาณในการพั ฒ นาฝมือ
และทักษะ
ยกตัวอยางการพั ฒ นาฝมือแรงงานในกลุมอุตสาหกรรมหนัก แรงงานฝรั่งเศสจํานวนมากไดเลือก
ลาออกและยายเขาสูภาคการผลิตอาหาร ภาคการเกษตร การบริการและการทองเที่ยว ซึ่งรัฐไดจัดบุคลากรและ
ผูเชี่ยวชาญใหความชวยเหลือ เชน การฝกอบรมการผลิตและแปรรูปอาหาร การดูแลและซอมบํารุงเครื่องจักรกล
การเกษตร การฝก อบรมและสอบภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ สําหรับ ภาคบริการและการทองเที่ยว
เปนตน ทั้งนี้ หากแรงงานพบวาถูกเลือกปฏิบัติหรือถูกบีบบังคับใหทํางาน นายจางไมยอมใหลาออก หรือเหนี่ยวรั้ง
แรงงานไวไมใหไดรับความสะดวกในการยายงาน เมื่อรัฐพิจารณาและพบวากระทําผิดจริง สถานประกอบการ
หรือนายจางนั้นตองชําระคาปรับตามที่รัฐตัดสินและอาจถูกพิจารณายกเลิกการตอสัญญาสถานประกอบการได
ตัวอยางที่สอง แรงงานตองการยายตําแหนง เชนแรงงานระดับลาง ซึ่งเปนแรงงานไรทักษะในกลุม
อุ ต สาหกรรมหนั ก ตอ งการย า ยไปทํ า งานที่ตอ งอาศัย ทั ก ษะ โดยอาจมาจากเหตุ ผ ลการทดแทนแรงงานคน
ด ว ยเครื่ อ งจั ก รกลและระบบดิ จิ ทั ล หรื อ มาจากความสมั ค รใจของแรงงานเอง แรงงานมี สิ ท ธิ ส มั ค รเข า รั บ
การฝ ก อบรมจากรัฐ เพื่ อเพิ่ ม ทัก ษะ เช น ประกาศนี ย บั ต รการซอ มบํ า รุงไฟฟ า อุ ป กรณ ดิ จิทัล ระบบสื่อ สาร
โทรคมนาคม เพื่อยายตําแหนงจากแรงงานไรทักษะไปสูตําแหนงแรงงานที่ตองใชทักษะ หรือเปนตําแหนงเฉพาะ
ที่ตองอาศัยความสามารถของคนเปนผูควบคุมและสั่งการ
แนวทางการพัฒนาฝมือแรงงานของฝรั่งเศส ในภาพรวมไมตางจากประเทศอื่น ๆ ในกลุมสหภาพ
ยุโรป แตฝรั่งเศสมีรายละเอียดปลีกยอยที่รัฐตองใหความสนใจเปนพิเศษ เนื่องจากฝรั่งเศสมีคาเฉลี่ยของชั่วโมง
การทํ า งานที่ น อย เมื่อ เที ย บกั บ คา เฉลี่ ยของประเทศอื่น อีก ทั้ งอายุ การเกษี ย ณของฝรั่งเศสถือ มีค าเฉลี่ ย ที่ต่ํ า
เนื่องจากประชาชนจํ านวนมากคิดว าสวั สดิการที่รัฐจัดใหสามารถดํารงชีวิตอยูไดโดยไมตองทํางาน จึงตัดสินใจ
เกษี ย ณอายุ ก อ นกํ าหนดเป น จํ า นวนมาก ด ว ยเหตุ ผ ลดั งกล าว รั ฐ บาลฝรั่ งเศสจึ งจํ า เป น ต อ งดํ า เนิ น นโยบาย
ทางดานการเปลี่ยนแปลงแพลตฟอรมไปสูอุตสาหกรรม 4.0 อยางเรงดวน โดยเริ่มในกลุมอุตสาหกรรมหนักกอน
เปนลําดับแรก พรอมทั้งสงเสริมการขยายอายุการทํางาน การพัฒนาฝมือแรงงานควบคูกันไปดวย เพื่อคงจํานวน
แรงงานใหอยูระบบการจางงานใหมากที่สุด
รัฐบาลฝรั่งเศสมีระบบการจัดเก็บภาษีเพื่อสนับสนุนการฝกฝนอาชีพที่เรียกวา Apprenticeship tax
(“Taxe d’apprentissage”) และ Training tax (“Formation professionnelle continue”) โดยน ายจ า ง
ตองจายภาษีดังกลาวใหแกรัฐเปนรายป และสามารถระบุสถานฝกอบรมที่ตองการจายภาษีให นอกจากนี้ รัฐบาล
2-103
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-103


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

จะจัดสรรงบประมาณ รวมกับสหภาพแรงงานในการอุดหนุนคาใชจายที่เกี่ยวกับการฝกอบรมเพิ่มเติม ซึ่งคาใชจาย


ในการพัฒนาฝมือแรงงานนั้นรวมเปนเงินประมาณ 32,000 ลานยูโรตอป โดยรวมถึง คาใชจายอุดหนุนแรงงาน
ที่ตกงานจากการแทนที่ดวยเครื่อ งจักร คาใชจายในการสนับ สนุน อุป กรณ ของสถานฝกอบรมและพัฒ นาฝมือ
แรงงานในแต ละพื้น ที่ (Plucinska, 2016) อาทิ การติดตั้งเครื่องพิมพส ามมิติ (3 D Printer) การกอ สรางศูน ย
คอมพิ วเตอร การกอตั้งศูนยการเรีย นรูก ารใชเครื่องจัก รขั้น สูง เปนตน ปจ จุบั นระบบการพั ฒ นาฝมือแรงงาน
(Vocational Training) สามารถแบงได ดังนี้
1) ระบบการพัฒ นาฝมือแรงงานประจําปภ ายในองคกร ซึ่งเปนรูป แบบการอบรมและพัฒนาฝมือ
ที่จําเปนในการทํางานภายในองคกร โดยเกิดจากการเจรจาตอรองระหวางนายจางและลูกจ าง ทั้งนี้น ายจา ง
จะเปนผูรับผิดชอบคาใชจายทั้งหมด และลูกจางตองเขารวมการอบรมดังกลาว
2) ระบบการพัฒ นาฝ มือแรงงานของรัฐ ซึ่งสามารถเขารวมอบรมไดผานบัญ ชีกิจกรรมรายบุคคล
ซึ่งตองเขารวมการอบรมอยางนอย 24 ชั่วโมงตอป
อยางไรก็ดี รัฐบาลฝรั่งเศสไดเสนอใหมีการปฏิรูประบบการพัฒ นาฝมือแรงงานโดยเฉพาะรูปแบบ
การพัฒนาฝมือแรงงานของรัฐ (Smith-Vidal, 2018) โดยเปลี่ยนรูปแบบขอบังคับการอบรมในลักษณะหนวยของ
ชั่วโมงเป นหนวยของเงิน อาทิ แรงงานในระบบทุกคนจะมีจํานวนเงินเริ่มตน 500 ยูโรตอปที่สามารถใชเขารว ม
การฝก อบรมได พั ฒ นาระบบการติด ตามบั ญ ชี กิ จ กรรมรายบุ ค คลผ า นโทรศั พ ท มื อ ถื อ โดยแรงงานสามารถ
เปรียบเทียบรูปแบบการฝกอบรมที่เหมาะสมในแตละที่ แตละโครงการได ตลอดจนกําหนดระเบียบการบริห าร
จัดการโครงการดังกลาวใหมีประสิทธิภาพสูงสุด

2-104
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-104 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5.3 ประเทศญี่ปุน
กระแสโลกาภิ วั ต น แ ละการแพร ห ลายด า น Internet of Things ระบบฐานข อ มู ล ขนาดใหญ
(Big Data) และปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence: AI) ทําใหรัฐบาลประเทศญี่ปุนตองทบทวน แกไขแผน
ยุทธศาสตรดานอุตสาหกรรมโดยตั้งชื่อแผนดังกลาววา ยุทธศาสตรคืนชีพญี่ปุน (Japan Revitalization Strategy)
ในป พ.ศ.2558 โดยพิจ ารณาศึกษารูปแบบการปฏิ รูป อุตสาหกรรมที่เหมาะสม การขยายโอกาสในการแขงขัน
ของภาคอุ ตสาหกรรมและบทบาทหน า ที่ ข องภาครั ฐ และภาคเอกชนในการดํ า เนิ น การปฏิ รูป (Ministry of
Economy, Trade and Industry, 2016)
การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4. 0
ป พ.ศ.2558 รั ฐ บาลญี่ ปุ น ได แ ต ง ตั้ ง คณะกรรมโครงสรา งอุ ต สาหกรรมใหม (New Industrial
Structure Committee) ในการศึกษาแนวทางการเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0 รวมกับ
กระทรวงที่เกี่ยวของ และจัดทํารายงานขอเสนอแนะเชิงนโยบายแบบบูรณาการโดยมิไดเปนเพียงการตอบสนอง
ตอกระแสอุตสาหกรรม 4.0 เทานั้น แตยังชวยตอบสนองตอโครงสรางทางสังคมประชากรที่เปลี่ยนไปในอนาคต
ดวย โดยแนวการปฏิรูปดังกลาวนั้น สรุปได ดังนี้
1. พั ฒ นาระบบการรองรับ ขอมู ลและตลาดทุติ ย ภูมิ สําหรับ ฐานขอมูล (Development of data
platforms and creation of a secondary market for data) สนับ สนุนใหมีการใชร ะบบฐานขอมูลในระดับ
องค ก รและอุ ต สาหกรรมทั้ งระบบรวมถึ ง อุ ต สาหกรรมต น น้ํ า และอุ ต สาหกรรมปลายน้ํ า ในห ว งโซ ก ารผลิ ต
เพื่ อประโยชนในการพัฒ นาโครงสรางการผลิตและให บริการ อาทิ การจัดทําฐานขอมูลรวมระหวางการจัดซื้อ
จัดจ าง การจัดสงและกระจายสินคาและการขายสินคาแกผูบริโภครายสุดทาย เปนตน นอกจากนี้รัฐบาลตองมี
มาตรการทางกฎหมายในการรักษาความปลอดภัย ใหสิทธืในการถือครองและใชขอมูลแกผูจัดเก็บ และควบคุม
การใชขอมูลอยางถูกตอง
2. พัฒนาการใชระบบฐานขอมูลสวนบุคคล (Promotion of personal data utilization) สงเสริม
ใหประชาชนรูจักใชระบบฐานขอมูลของรัฐ สรางความมั่นใจในการใหขอมูลแกรัฐผานระบบรักษาความปลอดภัย
ที่นาเชื่อถือ มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ
3. สรางสภาพแวดลอมใหเกื้อหนุนกับระบบรักษาดานเทคโนโลยีและความปลอดภัยของขอมูลบุคคล
( Development of ecosystem that produces security technologies and human resource for
security) พั ฒ นาระบบการบริหารจัดการฐานขอมูลและการรักษาความปลอดภัย ทางไซเบอร วิจัยและพัฒ นา

2-105
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-105


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ระบบรักษาความปลอดภั ย ติดตามภัย คุกคามทางอิน เตอรเน็ต อาทิ การเจาะคนขอมูลผูบริโภคหรือบุคลากร


ในองคกร เปนตน ตลอดจนรางกฎหมายเพื่อคุมครองขอมูลและกระบวนการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
4. ปรับ ปรุงกฎหมายทรัพ ยสินทางปญ ญาใหส อดคลองกับ สภาพอุตสาหกรรม 4.0 (Intellectual
property policies in the face of Fourth Industrial Revolution) พัฒนาระบบคุมครองทรัพยสินทางปญญา
ใหหมายรวมถึงผลิตภัณฑและนวัตกรรมดานเทคโนโลยีที่จับตองไมได อาทิ ระบบฐานขอมูล รูปแบบการใช AI เปนตน
5. ปรับปรุงกฎหมายทางการคาใหสอดคลองกับสภาพอุตสาหกรรม 4.0 (Modality of new rules)
ปรับ ปรุงกฎหมายทางการคาให ทันสมัยและเหมาะกับ อุตสาหกรรม 4.0 สนับ สนุน การแขงขันอย างเปนธรรม
และปองกันการผูกขาด
6. พั ฒ นาระบบการศึ ก ษาให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการ (Development of an educational
system encompassing new needs) พั ฒ น าห ลั ก สู ต รการศึ ก ษ าทุ กระดั บ ตั้ ง แต ป ระถมศึ ก ษาจน ถึ ง
ระดั บ อุ ดมศึ กษาใหทันสมัย มีก ารบูรณาการระหวางสาขาวิช า บรรจุการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในหลักสูตร
อาทิ การเขียนโปรแกรม เปนตน โดยเฉพาะการปรับหลักสูตรในระดับอุดมศึกษาใหสอดคลองกับอุปสงคของตลาด
อยางแทจริง นอกจากนี้
7. เร ง พั ฒ น าน วั ต กรรม แ ละการพั ฒ น าด า น เท คโน โลยี (Accelerating Innovation and
Technology Development) ส ง เสริ ม การพั ฒ นานวั ต กรรมโดยสนั บ สนุ น การวิ จั ย และพั ฒ นาระหว า ง
สถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรมตลอดจนความรวมมือระหวางประเทศ สรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสม
แก ก ารลงทุ น ด า นเทคโนโลยี แ ละการตั้ งกิ จ การเริ่ ม ต น ที่ มี แ นวโน ม จะเติ บ โตสูง (Start-Ups) จั ด ตั้ง ศูน ย วิ จั ย
และพัฒนาดาน IoT Big Data และ AI
8. สนั บ สนุ น ด า นการเงิ น (Fortifying financial functions) อํ า นวยความสะดวกแก ก ลุ ม ธุ ร กิ จ
ที่ประยุกตใชเทคโนโลยีเขามาทําใหการบริการที่เกี่ยวของกับการเงินและการลงทุน (FinTech) ธุรกิจเงินรวมลงทุน
(Venture Capital) และการจัดการหุนนอกตลาด (Private Equity) เพื่อใหเกิดการหมุนเวียนเงินทุน สนับ สนุน
Startups ตลอดจนการจัดตั้งกองทุนระหวางภาครัฐและภาคเอกชน

2-106
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-106 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรม 4.0 สู สังคม 5.0


ญี่ปุนตั้งเปาหมายการพัฒนาและเปลี่ยนผานแพลตฟอรมอุตสาหกรรมและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ด ว ยดิ จิ ทั ล เช น เดี ย วกั บ ประเทศอื่ น ขณะเดี ย วกั น ก็ ตระหนั ก ถึง ป ญ หาผูสู ง อายุ ในประเทศซึ่ ง ถื อ เป น ป ญ หา
ที่มีผลกระทบตอเศรษฐกิจและกําลังการผลิตของประเทศ จึงกําหนดทิศทางการพัฒนาและปรับเปลี่ยนประเทศ
ในลักษณะของสังคม 5.0 หรือ Society 5.0
การพั ฒ นาประเทศไปสู สั ง คม 5.0 ของญี่ ปุ น อยู บ นพื้ น ฐานหลั ก ของการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ
ดวยเทคโนโลยี ขณะเดียวกันญี่ปุนมองวา การพัฒนาทางดานเทคโนโลยีเพียงอยางเดียว ไมสามารถตอบสนอง
ตอปญหาในประเทศได และไมกอใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน จึงวางแผนการพัฒนาประเทศโดยใชแพลตฟอรม
4.0 เป น หลั ก เช น เดี ยวกับ ประเทศอื่น แต ตอ ยอดแพลตฟอรม 4.0 ให เกิ ดสั งคม 5.0 เพื่ อ แก ป ญ หาที่ เกิ ดจาก
การขยายตั ว ของผู สู งอายุ ป ญ หาขาดแคลนแรงงานในภาคการผลิ ต จากการลดลงของประชากรในประเทศ
ป ญ หาแรงงานที่ มี คุ ณ ภาพไม ทํ า งานอยู ในระบบ ป ญ หาความมั่ น คงทางด า นพลั งงาน และป ญ หาภั ย พิ บั ติ
จากธรรมชาติ
สังคม 5.0 ของญี่ ปุน ประกอบไปดว ย 2 สว น ไดแกพื้ น ที่ ไซเบอร (Cyber space) และพื้ นที่ จริง
(Physical Space) ซึ่งพื้นที่จริง หมายถึง สวนของที่อยูอาศัย สังคม ที่มนุษยจับตองได
องคประกอบของสังคม 5.0 เปนการใชเทคโนโลยีเขามาพัฒนาและอํานวยความสะดวกใหกับ คน
มีการวิ เคราะห ขอมูลผานเซนเซอรและระบบเก็บขอมูลอัจฉริยะซึ่งเก็บ บันทึกจาก Physical Space เพื่อสงตอ
ขอมูลไปยังสวนบันทึกและวิเคราะหผลในรูปแบบของ Big data ใน Cyber space ซึ่งมีการวิเคราะหผลดวยระบบ
AI หรื อ ป ญ ญาประดิ ษ ฐ เมื่ อ AI วิ เคราะห ข อ มู ล เรี ย บร อ ยแล ว จะส ง สั ญ ญาณกลั บ มายั ง Physical Space
หรื อ พื้ น ที่ จ ริ งที่ ม นุษ ย อ าศัย โดยผา นหุ น ยนตห รือ อุป กรณ อิ เล็ ก ทรอนิก สต าง ๆ เชน 3D-Printing หรือ ระบบ
คอมพิ วเตอรสั่งการตาง ๆ ทั้งนี้ขอ มูลที่ห มุน เวีย นระหว าง Cyber space และ Physical Space จะหมุน เวีย น
และรับสงกันดวย Internet of Things (IoT)
ลั ก ษณะการเปลี่ ย นผ านแพลตฟอรม ของญี่ ปุ น จึ งมี ค วามแตกต างจากประเทศอื่ น ๆ ที่ มุ งเน น
อุ ต สาหกรรม 4.0 เนื่ องจากญี่ ปุน ตอ งเตรีย มความพรอ มในการส งมอบข อมู ล ในภาคอุต สาหกรรมที่ ยั งพึ่ งพา
เครื่องจักรกลและคนเปนหลักในปจจุบัน ไปสูการพึ่งพาระบบดิจิทัลในการควบคุมและสั่งการแทนคนพรอม ๆ กับ
การพัฒนาสังคมใหกาวไปสูแพลตฟอรม 5.0 บนพื้นฐานของ 4.0
การดํ าเนิน นโยบายของรัฐบาลญี่ ปุ น เพื่ อ ขับ เคลื่อ นประเทศไปตามแผนสังคม 5.0 จึ งตอ งอาศัย
ความรว มมื อจากหลายฝ าย ทั้ งภาครัฐ ที่ ตอ งอํ านวยความสะดวกและกําหนดทิศทางและนโยบายเอื้อ ให เกิ ด
การพัฒนาและสรางสรรคสังคมใหดําเนินไปในทิศทางของการใชเทคโนโลยีแทนการสั่งงานโดยคน ขณะเดียวกัน
2-107
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-107


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคการศึกษาก็ตองเตรียมความพรอมรับมือกับความเปลี่ยนแปลงดังกลาว และสวนภาคเอกชน โดยเฉพาะสวน


ของการพัฒนาและวิจัยที่ตองอาศัยความรูความสามารถและความเชี่ยวชาญระดับสูงจากหลายฝาย เพื่อทดสอบ
ระบบให มี ค วามพร อ มและสามารถใช ง านได จ ริ ง และภาครั ฐ เองก็ ต อ งศึ ก ษาถึ ง ผลกระทบทางด า นสั ง คม
จากการพึ่ งพาเทคโนโลยีซึ่งเขามาเปนสวนหนึ่งของชีวิต และมนุษย มีสัดสวนการพึ่งพาเทคโนโลยีมากกวายุค
สมัยใด ๆ กอนหนา
ญี่ปุนมี การทดสอบระบบสังคม 5.0 ในระดับบุคคล ครัวเรือนและชุมชน โดยศึกษาจากการจําลอง
เหตุการณเสมือนจริง เชน การใชระบบเซนเซอรอัจฉริยะที่ติดอุปกรณไวกับคน เพื่อเก็บขอมูลสงตอใหกับระบบ AI
วิ เคราะห ผ ล เช น เก็ บ อั ต ราการเต น ของหั ว ใจขณะผู ท ดสอบเดิ น ทางไปทํ า งาน เก็ บ ข อ มู ล ความดั น โลหิ ต
ขณะผูทดสอบใชชีวิตประจําวัน ทํางานและทํากิจกรรมตาง ๆ รวมถึงเก็บจํานวนกาวที่ผูทดสอบเดินในแตละวัน
ทั้ ง นี้ AI จะนํ า ข อ มู ล ไปสู Cyber space เพื่ อ วิ เคราะห ผ ล ก อ นสั่ ง การให ร ะบบ robots หรื อ 3D-Printing
ใน Physical Space ทําหนาที่ตอ เชน การเตรียมพื้นที่ทํางานใหกับผูทดสอบ การเตรียมเครื่องดื่ม หรือยา ซึ่ง AI
ไดทําการวิเคราะหและสงผลมาสั่งการไวลวงหนา
สังคม 5.0 ของญี่ปุน จะชวยใหผูสูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความปลอดภัยในชีวิต สามารถเรียก
หรือติ ดตอ โรงพยาบาลไดเร็วขึ้น และสะดวกขึ้น ชว ยใหสังคมมีความสะดวกสบาย ลดขอจํากัดของการทํางาน
และสั่ งการโดยมนุษ ย เนื่องจากระบบ AI สามารถทํางานไดตลอดเวลาโดยไมพัก พรอมกัน นี้ ดว ยการทํางาน
บนแพลตฟอร ม 4.0 ของสั ง คม 5.0 จะทํ า ให เกิ ด การพั ฒ นาศั ก ยภาพของระบบดิ จิ ทั ล อย า งเต็ ม รู ป แบบ
นอกจากระบบดิจิทัลจะเขามามีบทบาทในการผลิตและภาคอุตสาหกรรมตาง ๆ แลว ยังมีบทบาทรวมกับระบบ AI
และเขามาเปนสวนหนึ่งของชีวิตมนุษยอยางเต็มรูปแบบ
นโยบายดานแรงงานและการจางงานในอุตสาหกรรม 4.0
ญี่ปุ นประสบปญ หาขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมการผลิต ทั้งชิ้นสวนยานยนต การประกอบ
รถยนต อิเล็กทรอนิกส โลหะ กอสราง การบริการ และแรงงานภาคการเกษตร รัฐบาลญี่ปุนแกไขปญหาดวยการ
สงเสริมการลงทุน ในตางประเทศ ซึ่งเป นแหลงทรัพ ยากรทางดานแรงงาน ขณะที่อุตสาหกรรมในประเทศ เชน
การบริ ก าร ภาคการเกษตร รัฐ บาลได อ นุ ญ าตการนํ า เข า แรงงานจากต า งประเทศเขา มาทดแทนอั ต รากํ า ลั ง
ที่หาย อีกทั้งสนับสนุนการจางงานในสาขาอาชีพที่คนญี่ปุนไมนิยมทํา
สํ า หรั บ แรงงานสั ญ ชาติ ญี่ ปุ น รั ฐ บาลพยายามขยายการทํ า งานโดยเพิ่ ม อายุ ก ารเกษี ย ณ
และจัดสวัสดิการ ทั้งเงินบํานาญและความชวยดานตาง ๆ เพื่อจูงใจใหแรงงานมีกําลังใจในการทํางาน และไมคิด
ลาออก นอกจากนี้แรงงานสูงอายุที่ลาออกจากงานกอนกําหนดหรือแรงงานที่เกษียณอายุไปแลว สามารถกลับเขา

2-108
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-108 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ทํางานใหมได โดยสามารถสมัครเขาทํางานในบริษัทเดิมหรือเปลี่ยนไปสมัครงานกับบริษัทใหมไดตามความพอใจ
หรือผู สูงอายุอายุที่ไมตองการขอผูกมัด สามารถเลือกทํางานแบบเลือกคาจางเปนรายสัปดาห รายวัน หรือราย
ชั่วโมงได โดยงานประเภทนี้ สวนใหญเปนตําแหนงงานในภาคการบริการ
จากที่ ก ล า วไปข า งต น จะเห็ น ได ว า ญี่ ปุ น ประสบกั บ ป ญ หาวิ ก ฤตทางด า นแรงงานอย า งหนั ก
อันเนื่ องมาจากการขยายตัว ของสังคมสูงอายุ อัตราการเกิดของทารกที่ลดลง อีกทั้งอายุขัยเฉลี่ยของประชากร
ในประเทศกลับสูงขึ้น ทําใหรัฐตองจัดสรรเงินสําหรับใชจายดานสุขภาพ สถานฟนฟูสมรรถนะผูสูงอายุ สถานพักพิง
คนชรา และใชจายเงินสําหรับสวัสดิการผูสูงอายุ และการสรางสิ่งอํานวยความสะดวกตอสังคมสูงอายุ ซึ่งเปนเงิน
ที่ มี มู ล ค า สู งมาก ใช ง บประมาณแผ น ดิ น มหาศาล รั ฐ บาลญี่ ปุ น จึ ง กํ า หนดนโนบายการต อ อายุ ก ารทํ า งาน
ของผูสูงอายุ การสงเสริมใหผูสูงอายุมีงานทํา ไมวาจะเปนงานประจําหรืองานนอกเวลา เพื่อใหผูสูงอายุมีรายได
และยังคงแรงงานใหอยูในระบบใหมากที่สุด
อุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบสูงสุดจากปญหาแรงงานในญี่ปุน ไดแกอุตสาหกรรมเกษตร เนื่องจาก
ขาดแคลนแรงงานหนุ มสาว ซึ่ง เป น กํ า ลัง หลัก ในการทํ า งานภาคเกษตร รั ฐ บาลจึ งมี แ นวคิ ด ให ค นหนุ ม สาว
ที่ไมตองการใชชีวิตในเมือง กลับไปเปนเกษตรกรเพื่อพัฒนาทองถิ่น โดยรัฐบาลใหเงินสนับสนุนในลักษณะการกูยืม
เงินดอกเบี้ยต่ํา และรัฐบาลสนับสนุนสินคาและผลิตภัณฑเกษตร ดวยการประกันราคาและออกมาตรการอุดหนุน
สินคาเกษตรที่ผลิตในประเทศเพื่อคุมครองเกษตรกรใหมีรายไดที่มั่นคง
สํ า หรั บ เกษตรกรที่ เป น ผู สู ง อายุ รั ฐ บาลได ใ ช เทคโนโลยี เข า มาสนั บ สนุ น เช น เครื่อ งจั ก รกล
ในการเกษตร ตั้งแต การเพาะเมล็ดพันธุพืชผัก ขาว เครื่องจักรในการปลูก หวานเมล็ด ปกดํากลา ไปจนสิ้นสุด
กระบวนการผลิตที่ใชเครื่องจักรกลมาเก็บเกี่ยวผลผลิต ทําใหเกษตรกรไดรับความสะดวกสบาย ผูสูงอายุสามารถ
ทํางานไดดวยตนเอง โดยมีเครื่องจักรกลเปนผูชวย
นโยบายดานแรงงานเพื่อตอบสนองการปฏิรูปอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0 ของประเทศญี่ปุน
จะมุ งเน น การปฏิ รู ป การศึ ก ษา การเป ด รั บ แรงงานต า งชาติ การผ อ นปรนระเบี ย บและสร า งความยื ด หยุ น
ในตลาดแรงงาน ตลอดจนการสรางความหลากหลายในสถานที่ทํางาน โดยรายละเอียดสรุปได ดังนี้
1. การปฏิรูประบบการศึกษา รัฐ บาลวางแผนจะให ส ถานศึก ษารว มกั บ ภาคเอกชนปฏิ รูป ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียนและมหาวิทยาลัย ปรับหลักสูตรโดยมุงเนนทักษะในการใชเทคโนโลยีประยุกต
ในทุกสาขาวิชา และการปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงผานการฝกฝนระบบการคิดอยางสรางสรรค และบรรจุ
การเขี ยนโปรแกรมเปนวิชาบังคับตั้งแตระดับประถมศึกษา นอกจากนี้กระทรวงศึกษาจะกําหนดแผนหลักสูตร
การศึกษาในแตละระดับชั้นโดยเชิญ แผนกทรัพยากรมนุษยของบริษัทชั้นนําเขารวมการปฏิรูประบบการศึกษา
ดังกลาว
2-109
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-109


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. การเป ด รั บ แรงงานต า งชาติ การเปลี่ ย นผ า นจากอุ ต สาหกรรมเดิ ม สู อุ ต สาหกรรม 4.0
มีความจําเปน ตองใชแรงงานตางชาติเพื่อใหเพียงพอตอการพัฒนาอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ผูเชี่ยวชาญ
ทั้งระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ โดยรัฐบาลจะพิจารณาผอนผันหลักเกณฑการจางงานของแรงงานตางดาว
และอํานวยความสะดวกในการขอเปนผูอยูอาศัยถาวร (Permanent Residence)
3. การผ อ นปรนระเบี ย บและสร า งความยื ด หยุ น ในตลาดแรงงาน รั ฐ บาลมี ค วามประสงค
จะปรับปรุงใหเกิดความยืดหยุนในการเคลื่อนยายแรงงานในตลาด กลาวคือ ใหแรงงานมีอิสระในการยายองคกร
มากขึ้น โดยพิจารณาปรับเปลี่ยนสิทธิประโยชนของรูปแบบประกันสังคมเพื่อกระตุนใหแรงงานยายงานกันมากขึ้น
และใหระบบการกําหนดผลประโยชนตอบแทนหรือคาจางเปนไปตามผลิตภาพ (Productivity)
4. การสรางความหลากหลายในสถานที่ทํางาน รัฐบาลประเทศญี่ปุนมีความตองการสงเสริมใหเกิด
ความหลากหลายในสถานที่ทํางาน เพื่อใหสอดคลองกับวัฒนธรรมการทํางานในยุคโลกาภิวัตน และใหภาคเอกชน
ได มี ก ารปรับ เปลี่ยนโครงสรา งองคก รไปตามหลัก สากล ทั้งนี้ สภาพตลาดแรงงานซึ่งมีแ นวโน มจะขาดแคลน
ในอนาคตจะแรงผลักดันใหโครงสรางบุคลากรของบริษัทมีความหลากหลาย ไดแก ความแตกตางทางเพศ อายุ
และเชื้อชาติ
จากการวิเคราะหของกระทรวงเศรษฐกิจการคาและอุตสาหกรรม (Ministry of Economy, Trade
and Industry) พบวา การใชงานระบบอัตโนมัติหรือหุนยนตจะสามารถแทนแรงงานทักษะปานกลาง (Middle-
Skill) ได ส ว นหนึ่ ง อยางไรก็ดี การผลักดัน ไปสูอุตสาหกรรม 4.0 จะสามารถสรา งอาชีพใหมซึ่งแรงงานทักษะ
ปานกลางสามารถย ายไปได สงผลให อัตราการจางงานทั้งประเทศลดลงประมาณรอยละ 0.2 โดยผลกระทบ
ตออาชีพแตละสาขานั้น สรุปได ดังนี้
1) อาชีพการบริหารจัดการ: จะมีการจางงานเพิ่มขึ้น เนื่องจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมใหม
และการต อ งการทํ า การตลาด การวางแผนผลิ ต ภั ณ ฑ ตลอดจนการบริ ห ารธุ ร กิ จ รูป แบบใหม ให ส อดคลอ ง
กับตลาดโลก
2) อาชี พ ภาคการผลิ ต และจัด ซื้อ จัด จ า ง: จะมีก ารจา งงานลดลง เนื่ อ งจากมีก ารใชงานระบบ
อัตโนมัติและระบบอินเตอรเน็ตมาชวยในการผลิตและติดตามผลิตผลมากขึ้น นอกจากนี้จะมีการใชระบบอัตโนมัติ
เขามาชวยในการวางแผนขนสงสินคาและจัดรูปแบบการขนสงใหมีประสิทธิภาพสูงสุดมากขึ้น
3) อาชีพ การขาย: การจางงานจะลดลงในแผนกขายของสินคาที่ผ ลิตไดงาย หรือพนักงานขาย
ในรานสะดวกซื้อหรือหางสรรพสามิต ซึ่งเปนการขายที่ไมมีความซับซอน ในขณะที่การจางงานจะเพิ่มขึ้นในแผนก
ขายของสินคาที่มีความซับซอนซึ่งระบอัตโนมัติไมสามารถอธิบายหรือดําเนินการขายได อาทิ การขายผลิตภัณฑ
ทางการเงิน การขายสินคาเทคโนโลยี เปนตน
2-110
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-110 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4) อาชีพในภาคบริการ: เชนเดียวกับอาชีพการขาย การจางงานในภาคบริการที่ไมมีความซับซอน


จะลดลง เช น บริ ก ร พนั ก งานรั บ โทรศั พ ท พนั ก งานรับ โอนเงิ น ในธนาคาร เป น ต น ในขณะที่ ก ารจ า งงาน
ในภาคบริการที่มีความซับ ซอนและตอ งอาศัย ความสามารถในการดูแลอยางใกลชิดจะเพิ่ มขึ้น เชน พนั กงาน
ใหบริการในสถานพยาบาล พนักงานในโรงแรมราคาแพง เปนตน
5) อาชี พ ในภาคเทคโนโลยี ส ารสนเทศ: จะมี ก ารจ า งงานเพิ่ ม ขึ้ น เนื่ อ งมาจากความต อ งการ
ของบุคลากรในสาขานี้ของทุกอุตสาหกรรม
6) อาชีพในการสนับสนุนและวิเคราะหขอมูล (Back Office): จะมีการจางงานลดลงเนื่องจาก
ถูกแทนที่ดวยระบบ Big Data และ AI ตลอดจนการจางหนวยงานภายนอกดําเนินการแทน

แนวทางพัฒนาฝมือแรงงาน
นอกเหนื อ จากการปฏิ รูป การศึ ก ษาเพื่ อ สรา งพื้ น ฐานความรู ด า นเทคโนโลยี ตั้ งแตวั ย เด็ ก จนถึ ง
ระดับอุดมศึกษา ทิศทางการกําหนดนโยบายเพื่อพัฒนาฝมือแรงงานของประเทศญี่ปุนจะยังคงมุงเนนการพัฒนา
ทักษะดานเทคโนโลยีสารสนเทศเปนหลัก โดยมองภาพรวมขององคกรทั้งระบบและแบงนโยบายการพัฒนาความรู
ความสามารถดานเทคโนโลยีเปนทั้งหมด 3 ประเภท ดังนี้
1. การพัฒนาทักษะแกบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ
พัฒ นาบุคลากรที่มีความสามารถใหมีทัก ษะการคิดอยางสรางสรรค และพัฒ นาใหเกิดนวัตกรรม
โดยภาครัฐจะจัดโครงการอบรมเพื่อพัฒ นาบุคลากรเหลานี้ผานโครงการตาง ๆ อาทิ โครงการ MITOU เปนตน
นอกจากนี้ รัฐบาลยังสนับ สนุนให เกิด ความรว มมือระหวางตัว บุคลากรกับ สถานศึกษาเพื่อ ให เกิดความรว มมือ
ในการวิจัย และพั ฒ นารว มกั น ระหว างรัฐ และเอกชน ตลอดจนสนั บ สนุ น ให เกิ ด ปฏิ รูป การศึก ษาควบคู กัน ไป
อยางเปนระบบ
2. การพัฒนาทักษะบุคลากรในภาคเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัฒ นาบุคลากรในภาคเทคโนโลยี สารสนเทศใหมีความรูใหมเพิ่มเติมอยางสม่ําเสมอ โดยภาครัฐ
จะตองกํ าหนดมาตรฐานพื้ น ฐานสําหรับ บุ คลากรในภาคดั งกล า วให เหมาะสมกั บ แต ล ะอุ ตสาหกรรม และจั ด
ประเมินผลใหองคกรรายงานผลตอหนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งนี้เมื่อป พ.ศ. 2560 METI รวมกับกระทรวงแรงงาน
ไดรวมกันพิจารณาสิทธิประโยชนและการใหอํานาจในการออกใบประกาศนียบัตรรับรองหลักสูตรที่เกี่ยวของกับ
IoT Big Data และ AI เป น ใบประกาศนี ย บั ต รรั บ รองหลั ก สู ต รทั ก ษะที่ จํ า เป น สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรม 4.0
ใหแกสถาบันการศึกษาหรือบริษัทที่ฝกจัดอบรม ซึ่งปจจุบันไดรับการรับรองแลวทั้งสิ้น 16 สถาบัน 23 หลักสูตร

2-111
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-111


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. การพัฒนาทักษะบุคลากรทั่วไปที่มีความรูขั้นพื้นฐาน
พัฒนาทักษะบุคลากรทั่วไป โดยขอความรวมมือแกสถานศึกษาใหจัดเปดอบรมหลักสูตรเทคโนโลยี
สารสนเทศเบื้องตนสําหรับการทํางาน เพื่อใหลูกจางหรือแรงงานมีมาตรฐานดานการใชเทคโนโลยีรูปแบบเดียวกัน
ญี่ปุ นมีศูนยพัฒนาฝมือแรงงานในทุกจังหวัดในรูปแบบของการจัดฝกอบรมทั้งระยะสั้น และระยะ
กลาง โดยมีหลายหลักสูตรให เลือกตามความสนใจ เชน งานฝมือ งานเสริมสวยตัดแตงทรงผม ทําเล็บ การฝก
ประกอบอาหารและการทํ าเบเกอรี่ และมีห ลัก สูตรพั ฒ นาฝมือและทักษะการออกแบบและพั ฒ นาผลิตภั ณ ฑ
ตามพื้นที่ โดยมุงเนนใหผูเรียนใชวัตถุดิบในทองถิ่น
สํ าหรับ ผูสูงอายุ รัฐจัด Silver Human Resources Center (SHRC) หรือศูนยทรัพยากรผูสูงอายุ
โดยทํ าหนาที่ประสานงานกับแตละจังหวัดใหตั้งหนวยงานยอยขึ้นมาติดตามและดูแลผูสูงอายุในทองถิ่นใหความ
ชว ยเหลื อ เรื่ อ งการทํ างานทั้งระยะสั้ นและระยะยาว ศูน ย ดังกล าว ทํ า หนา ที่ ติด ตามและดูแ ลแรงงานสูงอายุ
โดยเฉพาะ

ภาพที่ 2.11 แนวทางการพัฒนาฝมือของบุคลากรในองคกรทั้งระบบเพื่อเตรียมความพรอมสูอุตสาหกรรม 4.0

ที่มา: Ministry of Economy, Trade and Industry

2-112
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-112 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5.4 ประเทศเกาหลีใต
ประเทศเกาหลีใตถือเปนหนึ่งในประเทศอุตสาหกรรมใหมที่มีอิทธิพ ลอยางมากในภูมิภ าคเอเชีย
ด ว ยการเป น ผู นํ า ด า นการผลิ ต ชิ้ น ส ว นรถยนต อุ ป กรณ อิ เล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละตลาดสิ น ค า เทคโนโลยี ข องโลก
จึงจําเปนตองมีการปรับ ตัวภาคอุตสาหกรรมให สอดคลองกับ สถานการณข องโลกและการแพรห ลายของ IoT
และ Big Data เมื่อป พ.ศ.2558 รัฐบาลประเทศเกาหลีจึงไดเสนอแผน นวัตกรรมการผลิต 3.0 (Manufacturing
Innovation 3.0) เพื่อ สงเสริม ใหเกิดโครงสรางการผลิตที่เชื่อมโยงกันดวยระบบดิจิทัล สรางความมีสวนรว ม
ของผูประกอบการ SMEs และสรางสรรคนวัตกรรมเพื่อสงเสริมใหเกิดการผลิตอยางมีประสิทธิภาพสูงที่สุด
การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูนวัตกรรมการผลิต 3.0
นวัตกรรมการผลิต 3.0 มีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดการประยุกตใชเทคโนโลยีเขากับกระบวนการผลิต
สรางอุตสาหกรรมหลักเพื่อเปนรายไดหลักใหกับประเทศใหม 9 อุตสาหกรรม ไดแก 1) รถยนตอัจฉริยะ (Smart
Car) 2) ระบบสื่อสาร โทรศัพทไรสายแบบ 5 G (5 G Mobile Communication) 3) โรงงานกลางทะเล (Deep
Sea Offshore Plant) 4) อุ ต สาหกรรมด า นการดู แ ลสุ ข ภาพโดยเฉพาะ (Customized Wellness Care)
5) อุตสาหกรรมเครื่องมืออัจฉริยะพกพา (Wearable Smart Devices) 6) หุนยนตอัจฉริยะ (Intelligent Robot)
7) ระบบบริ ห ารจั ดการภั ย พิ บั ติอั จ ฉริย ะ (Disaster Safety Management Smart System) 8) ระบบจั ด การ
ขอมูลและการแสดงผลเสมือนจริง (Realistic Contents) และ 9) ระบบจัดการพลังงานใหมและพลังงานทดแทน
(New and Renewable Energy Hybrid System)
สถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แห ง ชาติ แ ห งประเทศไทย (Thailand Productivity Institute: TPI) (2018)
กระทรวงอุตสาหกรรมไดรวบรวมขอมูลนวัตกรรมการผลิต 3.0 ของประเทศเกาหลีสรุปได ดังนี้
ยุ ท ธศาสตรก ารพั ฒ นา SMEs ให มี ผ ลิ ต ภาพ ภายใต โครงการนวั ต กรรมการผลิ ต 3.0 รัฐ บาล
ประเทศเกาหลีใตไดกําหนดยุทธศาสตรไว 3 ดาน ไดแก
1) บูรณาการเพื่อสรางอุตสาหกรรมใหม โดยสนับสนุนใหเกิดการสรางนวัตกรรมในกระบวนการผลิต
และสงเสริมความรวมมือภายในและภายนอกอุตสาหกรรมเพื่อเปนกลไกขับเคลื่อนเชิงบูรณาการ
2) เสริมสมรรถนะที่เปนจุดแข็งของอุตสาหกรรมหลัก และ
3) วางโครงสรางสําหรับรองรับการผลิตขั้นสูงในอนาคต โดยจัดตั้งศูนยวิจัยและพัฒนา และจัดหา
แรงงานใหตรงกับความตองการของแตละพื้นที่
การดํา เนิน การและผลการดํา เนินการ ภายใตโครงการนวั ตกรรมการผลิต 3.0 รัฐ บาลประเทศ
เกาหลี ใ ต ไ ด พ ยายามบู ร ณาการอุ ต สาหกรรมที่ เ ดิ ม ร ว มกั บ กั บ การพั ฒ นาระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ

2-113
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-113


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

และอิ น เตอร เน็ ต โดยมุ ง เน น การสร า งโรงงานอั จ ฉริ ย ะ (Smart Factory) โดยรั ฐ บาลได ว างแผนให บ ริ ษั ท
ทั้งขนาดเล็ก กลาง และใหญ พยายามพัฒนาลักษณะของโรงงานอัจฉริยะซึ่งมีการใชเทคโนโลยีอยางเต็มรูปแบบ
และดํ า เนิ น การสนับ สนุ น ในดา นตาง ๆ (Eun Ha, 2015) อาทิ จั ด ตั้งศู น ย วิจั ย และพั ฒ นา ส งเสริม การลงทุ น
เพื่ อ พั ฒ นาผลิ ตภาพการผลิตในอุตสาหกรรมหลัก สนับ สนุน การจัดตั้ง Start up ผลักดั นใหเกิด ความรว มมื อ
ของหวงโซการผลิตในระดับภูมิภาค แกไขกฎหมายใหสอดคลองกับสภาวะปจจุบัน ปรับเปลี่ยนมาตรฐานการผลิต
ใหมีการประยุกตใชเทคโนโลยีมากขึ้น เปนตน
จากการดําเนินการตามโครงการนวัตกรรมการผลิต 3.0 พบวา บริษัทขนาดใหญสามารถประยุกต
ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาโรงงานอัจฉริยะสําเร็จได เชน IoT ระบบฐานขอมูลดิจิทัล (Cloud Computing) เปนตน
อย า งไรก็ ดี ผู ป ระกอบการ SMEs ประสบป ญ หาดานคา ใชจายในการลงทุ นและการขาดแรงงานที่ มีศักยภาพ
ดังนั้ น กระทรวงการคา อุตสาหกรรม และพลังงาน (Ministry of Trade, industry and Energy) ภายใตรัฐบาล
เกาหลี ใต จึ ง ตั ด สิ น ใจผลั ก ดั น โครงการขั บ เคลื่ อ นนวั ต กรรมทางอุ ต สาหกรรม 3.0 (Industrial Innovation
Movement 3.0) ใหเปนโครงการขับ เคลื่อนหลัก ภายใตยุทธศาสตรการบูรณาการเพื่อสรางอุต สาหกรรมใหม
โดยตั้ งเป าพั ฒ นาศัก ยภาพกระบวนการผลิตของ SMEs จํานวน 10,000 แหงใหเป นโรงงานอัจ ฉริย ะภายในป
ค.ศ.2020 ทั้งนี้ โครงการดังกลาวจะดําเนินการโดยหอการคาและอุตสาหกรรมเกาหลีใต (Korea Chamber of
Commerce and Industry) และใช เ งิ น ทุ น สนั บ สนุ น จากมู ล นิ ธิ Large & Small Business Cooperation
Foundation โดยตั้ ง แต เ ริ่ ม โครงการมาจนถึ ง ป พ.ศ.2560 พบว า บริ ษั ท ส ว นใหญ ที่ เ ข า ร ว มโครงการมี
ผลการดําเนินการที่ดีขึ้น เชน สามารถลดอัตราของเสียลง เกิดการจางพนักงานใหม เกิดการลงทุนใหม เปนตน
การเปลี่ยนโครงสรางนวัตกรรมการผลิต 3.0
เกาหลีใตเปนประเทศที่มีการตื่นตัวตอการพัฒนาระบบดิจิทัลเพื่อเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ทั้งในสวน
ของรัฐ บาล เอกชนและภาคประชาชน โดยจะเห็ น ได จ ากการที่ เกาหลี ใ ต ป ระกาศแผนยุ ท ธศาสตรเ ชิ ง รุ ก
ผานกระทรวงการคา อุตสาหกรรมและพลังงาน (Ministry of Trade, Industry and Energy) สําหรับการกําหนด
ทิศทางของประเทศไปในแนวทางอุตสาหกรรม 4.0
เกาหลีใตเริ่มพัฒ นาเทคโนโลยีดิจิทัลครั้งแรกในกลุมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิก ส ซึ่งมีบ ริษัทผลิต
เครื่อ งใชไฟฟ าและอิเล็กทรอนิกสขนาดใหญเปน ผูพั ฒ นาและวิจัย เทคโนโลยี พรอมกันนั้น รัฐบาลยังมีแนวคิด
การพัฒนาเมืองหลักของเกาหลีใตซึ่งประกอบไปดวย โซล ปูซาน อินช็อน แทกู แทจ็อน ใหเปนเมืองอิเล็กทรอนิกส
ทั้ งส ว นของสนามบิ น ถนน ระบบขนส งมวลชน มี ก ารใช ร ะบบเซนเซอร อั จ ฉริ ย ะ ระบบสั ญ ญาณดาวเที ย ม
เพื่อเชื่อมตอและแจงพิกัดผูใชงาน รวมถึงการเชื่อมตออินเทอรเน็ตไปในทุกอุปกรณและทุกยานพาหนะ ซึ่งระบบ

2-114
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-114 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อิเล็ กทรอนิกสจะเชื่อมโยงการสื่อสารไรสายเขากับอุปกรณสวนบุคคล เพื่ออํานวยความสะดวก ทั้งการเดินทาง


การทองเที่ยวและการใชชีวิตประจําวัน
เกาหลี ใ ต เ ริ่ ม แนวคิ ด การพั ฒ นาเมื อ งและพั ฒ นาประเทศหลั ง จากงาน Hanover Messess
ป พ.ศ.2554 โดยหลังจากนั้น 4 ป เกาหลีใตไดประกาศยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและขับเคลื่อนอุตสาหกรรม
4.0 ฉบั บแรก เพื่อดําเนินการในสวนของภาครัฐ มีการจัดตั้งและขยายสวนงานใหเขามารับผิดชอบการกําหนด
นโยบายและการเชื่ อ มต อ กั บ ภาคเอกชน ทั้ ง นี้ กลุ ม เทคโนโลยี ที่ เกาหลี ใต ให ค วามสนใจเป น พิ เศษ ได แ ก
1. IoT (Internet of Things) 2. Devices and Network 3. Interoperability and Security 4. เทคโนโลยีฐาน
(Platform) ซึ่งเปนองคประกอบหลักของอุตสาหกรรมและสังคม 4.0
ในป พ.ศ.2558 เกาหลีใตไดจัดทํา roadmap ขึ้นมาเพื่อใชกําหนดทิศทางการพัฒนาและใหกําเนิด
อุปกรณและระบบตาง ๆ ที่เปนหัวใจของอุตสาหกรรม 4.0 ไดแก
1. Smart sensor, data collecting and data processing technologies เซ็ น เซอร อั จ ฉริ ย ะ
ที่ทําหนาที่เก็บและบันทึกขอมูลเพื่อนําไปใชวิเคราะหในขั้นตอนตอไป
2. Software-integrated operating techniques การควบคุ ม การผลิต ด ว ยซอฟแวรแ ละระบบ
ดิจิทัลแทนแรงงานคน
3. IoT platform standard การนํ า เอา Internet of Things มาใช เป น แพลตฟอร ม มาตรฐาน
ในการผลิตและบริการ
4. Flexible design technology การออกแบบเทคโนโลยีที่มีความยืดหยุน สามารถปรับเปลี่ยน
รูปแบบการทํางานไดตามความเหมาะสม มีความเปนอิสระและชาญฉลาด
5. Technology to sort out defective products การใชดิจิทัลเขามาคัดกรองและกําจัดของเสีย
ในระบบการผลิต ซึ่งทําใหเกิดแมนยํามากกวาใชคนตรวจสอบ
6. Industrial standard การสรางมาตรฐานอุตสาหกรรมของเกาหลีใตใหเกิดการยอมรับทั่วโลก
แนวทาง 6 ขอขางตน ถือเปนทิศทางการทํางานของรัฐบาลและเอกชนเกาหลีใตในการเคลื่อนยาย
แพลตฟอรมเดิมไปสูแพลตฟอรมดิจิทัล ทําใหคุณภาพของสินคา บริการ และคุณภาพชีวิตของคนดีขึ้น มีมาตรฐาน
สูงขึ้น และเปนการพัฒนาประเทศใหทันสมัย เกิดเปนเมืองสรางสรรคและเมืองเทคโนโลยีที่มีชื่อเสียง
นอกจากนี้ รัฐบาลยังสงเสริมการทดสอบระบบดิจิทัลบนพื้นฐานของ Cyber and Physical System
(CPS) ซึ่งมี ความคลายคลึงกับ ระบบสังคม 5.0 ในประเทศญี่ ปุน ซึ่งทํางานดวย Internet of Things รับ ขอ มูล
จากเซ็นเซอรในสวนของ Physical system หรือโลกจริง เชน บาน ถนน ที่ทํางาน สถานที่ทอ งเที่ยว ไปยัง Cyber

2-115
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-115


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

system ซึ่งเปนสวนพื้นที่วิเคราะหขอมูลดวยดิจิทัลของ AI เพื่อสั่งการอุปกรณตาง ๆ รอบตัวผูใชงานใหตอบรับกับ


ความตองการไดโดยอัตโนมัติ
นโยบายดานแรงงานและการจางงานในอุตสาหกรรม 4. 0
เกาหลีใตประสบปญหาแรงงานเชนเดียวกับประเทศพัฒนาแลวอื่น ๆ เนื่องจากแรงงานในประเทศ
ไม ส นใจทํ า งานในบางอุ ต สาหกรรม เช น การเกษตร การบริก าร พนั ก งานทํ า ความสะอาด การก อ สร า ง
ทําใหอุตสาหกรรมในเกาหลีใตพบกับวิกฤต บางอุตสาหกรรม ผูประกอบการตองปดสถานประกอบการชั่วคราว
เนื่องจากไมมีแรงงาน รัฐบาลเกาหลีใตจําเปนตองรับแรงงานตางชาติเขามาทํางานทดแทน สวนใหญเปนแรงงาน
จากประเทศในอาเซียน เชน ไทย เวียดนาม อินโดนีเซีย ฟลิปปนส
อยางไรก็ตาม เนื่องจากเกาหลีใตงดเวนวีซาใหกับหลายประเทศในอาเซียนเพื่อกระตุนอุตสาหกรรม
ทองเที่ยว ทําใหแรงงานสวนหนึ่งลักลอบเขามาอยางผิดกฎหมายผานชองทางนักทองเที่ยว เมื่อรัฐบาลตรวจพบ
ก็จะสงไปทําประวัติและสงตัวกลับประเทศทันที บางสวนที่ผานดานตรวจคนเขาเมืองมาไดและอยูเกินเวลาที่วีซา
กําหนด แรงงานจะลักลอบทํางานแบบผิดกฎหมายและอยูอยางหลบ ๆ ซอน ๆ
ป ญ หาดั ง กล า ว เป น ผลพวงมาจากวิ ก ฤตการณ ข าดแคลนแรงงานอย า งหนั ก ในเกาหลี ใ ต
โดยในกรุงโซลและเมืองอินชอนซึ่งเนนอุตสาหกรรมบริการ จะมีแรงงานบางสวนจากตางประเทศเขามาทํางานแทน
แรงงานสั ญ ชาติ เกาหลีใต และอุต สาหกรรมอื่น ๆ ซึ่งอยูนอกเขตเมือ งหลวง เชนการผลิตเคมีภั ณ ฑ การผลิ ต
และแปรรูป ผลิต ภั ณ ฑ ท างการเกษตร เช น การปลู ก พื ช ผั ก ผลไม ในฤดู ร อ น และเก็ บ เกี่ ย วในฤดู ห นาว รวมถึ ง
การแปรรูปอาหารและเครื่องดื่มตาง ๆ เชนการหมักดองพืชผักที่เก็บเกี่ยวไดเปนอาหารหมักดอง เชน กิมจิ การหมัก
เครื่องปรุงรส การแปรรูปอาหารทะเล ซึ่งตองใชแรงงานคนจํานวนมากและรับแรงงานอยางไมจํากัดเพื่อเรงการผลิต
ใหทันตอความตองการของผูบริโภค
คาจางแรงงานในเกาหลีใตสูงกวาหลายประเทศในอาเซียน ทําใหเปนแรงจูงใจสําคัญ ในการเขามา
เป น แรงงาน อย างไรก็ตาม แรงงานบางสว นไมผานการฝกอบรมและฝกภาษาตามที่ รัฐ บาลเกาหลีใตกํา หนด
ทําใหเกิดการลักลอบทํางานอยางผิดกฎหมาย ซึ่งเปนปญหาที่รัฐบาลเกาหลีใตกําลังเผชิญในชวงหลายปที่ผานมา
เกาหลีใตมีระบบรัฐสวัสดิการที่เขมแข็ง มีการตรวจสอบสถานประกอบการและนายจางที่ละเมิด
กฎหมายแรงงาน ซึ่ ง หากพบการลั ก ลอบทํ า งานผิ ด กฎหมายหรื อ กดขี่ แ รงงาน เลื อ กปฎิ บั ติ ต อ แรงงาน
สถานประกอบการและนายจ างนั้น อาจถู กเตื อนในสถานเบาและยึด ใบอนุญ าตการเป ด สถานประกอบการ
ในสถานหนัก

2-116
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-116 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

นอกจากการจางแรงงานจากอาเซียนเขามาทดแทนแรงงานในประเทศแลว เกาหลีใตยังมีมาตรการ
กระตุนการทํางานตอเนื่องของผูสูงอายุ โดยการเพิ่มสวัสดิการตาง ๆ ใหกับผูสูงอายุ และกําหนดใหผูประกอบการ
ปรับปรุงสถานที่ทํางานใหนาอยู มีระเบียบ มีความปลอดภัย เพื่อสรางแรงจูงใจใหกับ แรงงาน อีกทั้งกระตุนให
แรงงานสูงอายุมีความคิดในการตออายุการทํางานและขยายอายุการเกษียณออกไป
ภายใตโครงการขับ เคลื่อ นนวัต กรรมทางอุตสาหกรรม 3.0 รัฐบาลประเทศเกาหลีใตไดพ ยายาม
ผลักดันใหสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาปรับปรุงหลักสูตรที่มีการประยุกตใชเทคโนโลยีและใหมีการบูรณาการ
ความรูจากหลากหลายสาขา นอกจากนี้ไดวางแผนที่จะสรางนวัตกรรมดานแรงงาน โดยเฉพาะการเพิ่มจํานวน
นั ก วิ จั ย ด า นเทคโนโลยี ที่ เป น ผู ห ญิ ง ตลอดจนการสร า งกลไกที่ เอื้ อ ต อ การทํ า งานของผู ห ญิ ง มากขึ้ น อาทิ
การกํ า หนดเวลาทํ า งานที่ ยื ด หยุ น การขยายจํ า นวนศู น ย เลี้ ย งเด็ ก ในเขตอุ ต สาหกรรม เป น ต น นอกจากนี้
ดวยความสําเร็จของโครงการขับ เคลื่อนนวั ตกรรมทางอุตสาหกรรม 3.0 ระยะแรก ทําใหรัฐบาลเพิ่มเปาหมาย
โครงการเปนการสรางโรงงานอัจฉริยะจํานวน 30,000 แหง ภายในป พ.ศ.2568 และกําหนดใหมีการฝกอบรม
แรงงานจํานวน 40,000 คนใหมีทักษะที่พรอมตอการขยายแผนการสรางโรงงานอัจฉริยะดังกลาว (TPI, 2018)
เมื่อเดือนตุลาคม ป พ.ศ.2560 รัฐบาลเกาหลีใตภายใตการนําของประธานาธิบดี Moon Jae-in ไดมีการจัดตั้ง
คณะกรรมการการปฏิ รู ป อุ ต สาหกรรม 4.0 แห ง ชาติ (The Presidential Fourth Industrial Revolution
Committee) โดยระบุวา การพัฒนาคนเปนกลไกสําคัญของการปฏิรูปอุตสาหกรรมโดยมุงเนนการจัดสิ่งแวดลอม
ที่เหมาะสม 3 ดานไดแก อาชีพและเงินไดที่มั่นคงและยั่งยืน สภาพเศรษฐกิจที่เอื้อตอการสรางสรรคนวัตกรรม
และสภาพเศรษฐกิจที่โปรงใสและเปนธรรม โดยคณะกรรมการดังกลาวอยูระหวางรางแผนการพัฒนาดานแรงงาน
เพื่อใหเอื้อตอการรองรับการเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0 (Korea.Net, 2017) นอกจากนี้
กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สารสนเทศ (Ministry of Science and ICT) ไดรวมกับกระทรวงแรงงาน
และการจางงาน (Ministry of Employment and Labor) ในการพิจารณาสนับสนุนสาขาอาชีพนักวิทยาศาสตร
และวิ ศ วกรในอนาคตโดยทํ า การศึก ษาแนวทางการกํ า หนดหลั ก สู ต รที่ เหมาะสมของแตล ะระดับ การศึ ก ษา
รวมกับมหาวิทยาลัยดานวิศกรรมศาสตรเพื่อใหนักเรียนไดเกิดความรูความสนใจและความเขาใจดานเทคโนโลยี
สารสนเทศตั้งแตป ฐมวัย ตลอดจนวางแผนนโยบายเพื่อสรางสิ่งแวดลอมที่เหมาะสมในการดึงดูดอาชีพนักวิจัย
และสรางสรรคนวัตกรรมดานเทคโนโลยีในอนาคต
สํ า หรั บ ตลาดแรงงานนั้ น The Korea Employment Information Service ได ค าดการณ ว า
ภายในป พ.ศ.2568 แรงงานกวารอยละ 60 จะถูกแทนที่ดวย AI โดยเฉพาะกลุมสาขาอาชีพที่เกี่ยวของกับการผลิต
หรือกระบวนการทํางานที่ตองทําแบบเดิมอยางตอเนื่อง อยางไรก็ดี การปฏิวัติสูอุตสาหกรรม 4.0 จะสามารถสราง
ตลาดของอุตสาหกรรมใหม ขยายความตองการแรงงานและเพิ่มการจางงานขึ้นไดอยางมากเชนเดียวกัน ทั้งนี้
2-117
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-117


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Korea Creative Economy Research Network ไดระบุ ว า ป ญ หาดา นการลดลงของแรงงานและการเขา มา


มีบ ทบาทของ AI ไมใชเรื่องนาเปนหวงและอาจจะไมเกิดขึ้นไดงายเนื่องจากตลาดแรงงานจะปรับตัวใหเขากับ
ความตองการของภาคอุตสาหกรรมเสมอ

แนวทางพัฒนาฝมือแรงงาน
แรงงานในเกาหลีใต มีอ ยูห ลายระดับ ทั้ งแรงงานทั ก ษะสูง แรงงานทั ก ษะต่ํ า ซึ่งแยกส ว นกัน อยู
อยางชัดเจน กลาวคือ แรงงานทักษะสูงของเกาหลีใตสวนใหญทํางานในภาคบริการ การทองเที่ยว ขนสงมวลชน
เชน เจาหนาที่ในสนามบิน โรงแรม หางสรรพสินคา รถไฟฟา ซึ่งหากเปนแรงงานสัญชาติเกาหลีใต จะไดรับคาจาง
ในอัตราที่สูงกวาแรงงานในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ขณะที่แรงงานไรทักษะและแรงงานที่มีทักษะต่ํา สวนใหญทํางาน
ในภาคการเกษตรและแปรรูปอาหารในตางจังหวัด หางจากกรุงโซลและเมืองอินช็อน แรงงานกลุมดังกลาวในเกาหลีใต
มีอยู นอยและขาดแคลนอยางหนั ก จึงมี การลักลอบจางงานอยางผิดกฎหมาย กอใหเกิดปญ หาเรื่องสวัสดิภ าพ
ของแรงงาน เนื่องจากการทํางานแบบผิดกฎหมาย แรงงานจะไมไดรับสิทธิใด ๆ จากรัฐบาลเกาหลีใต และในบาง
สถานการณ แรงงานจะถูกขมขูใหทํางานเกินเวลา นายจางไมจายคาจางตามที่ตกลง มีการกดขี่และทํารายรางกาย
ในรูปแบบตาง ๆ
รั ฐ บาลเกาหลี ใ ต พ ยายามประสานงานกั บ กระทรวงแรงงานของหลายประเทศในอาเซี ย น
ใหประชาสัมพันธใหแรงงานที่เขามาในเกาหลีใต ขออนุญาตและสมัครงานอยางถูกกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อรักษาสิทธิ
และปองกันการถูกกดขี่จากนายจาง
สําหรับแรงงานในประเทศซึ่งมีสัญชาติเกาหลีใต รัฐบาลไดจัดหนวยงานพัฒ นาฝมือแรงงานขึ้นมา
ช ว ยเหลื อ เช น การฝ ก อบรมการใช ภ าษาต า งประเทศ เช น ภาษาอั ง กฤษ จี น กลาง ญี่ ปุ น สํ า หรั บ งาน
ดา นการบริ ก ารและการท อ งเที่ย ว หรือการจัด ฝก อบรมการพั ฒ นาธุ รกิจ รายยอ ย โดยมุ งเน น กลุม คนรุน ใหม
หรือกลุมผูสูงอายุที่เกษียณและไมตองการทํางานในอาชีพเดิม
เมื่ อ เดือ นกุม ภาพั น ธ พ.ศ.2560 กระทรวงแรงงานและการจ างงานได ป ระกาศทดลองโครงการ
ฝกอบรมเพื่อเตรียมความพรอมบุคลากรสูการปฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0 (Project to develop human resources
leading the fourth industrial revolution) และจัดสรรงบประมาณสําหรับโครงการดังกลาว 19 พันลานวอน
(MOEL.go.kr, 2017) โดยร ว มกั บ ภาคอุ ต สาหกรรมและผู เชี่ ย วชาญจากมหาวิท ยาลั ย เพื่ อ ให เกิ ด ความเข า ใจ
ในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ และไดกําหนดหลักสูตรตามตารางที่ 2.18

2-118
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-118 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 2.18 โครงการฝกอบรมเพื่อเตรียมความพรอมบุคลากรสูการปฏิวัติอุตสาหกรรม 4.0


จํานวน
สาขาที่จัดอบรม สถาบันที่รวมการจัดอบรม
หลักสูตร
KCCI(1), Multi Campus(1), Small Business Training Institute
Smart
6 (SBTI)(3), Medical Device Information & Technology
manufacturing
Assistance Center (MDITAC)(1)
Multi Campus(2), Korea Advanced Agency of Convergence
Internet of things
9 Technology (KAACT)(1) Smart Media HRD(2), SNU Big Data
(IoT)
Institute(2), Hewlett Packard Korea(1), ICIA Training Center(1)
Multi Campus(1), SNU Big Data Institute(2),
Big data 6 Smart Media HRD(1), BIT Computer(1),
KAACT(1)
Information Gyeongbuk Industry Vocational Training Institute(1), Hewlett
3
security Packard Korea(1), KAACT(1)
ที่มา: MOEL.go.kr, 2017

ทั้ งนี้ ผูดําเนิ น การจัด อบรมจะเป น ผู คัด เลือ กผู เข า ฝ กอบรมโดยจะทดลองฝ ก อบรมกั บ บุค ลากร
ที่ มี ค วามหลากหลายเพื่ อ ประโยชน ใ นการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์ จ ากการฝ ก อบรม อาทิ บุ ค ลากรจาก
หลายภาคอุ ต สาหกรรม บุ ค ลากรที่ มี พื้ น ฐานและไม มี พื้ น ฐานด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ บุ ค ลากรจากภาค
วิทยาศาสตรและสังคมศาสตร เปนตน โดยผูฝกอบรมจะไดรับการอบรมในหลักสูตรที่ไมเหมือนกันและตองไดรับ
การฝกอบรมเปนจํานวนชั่วโมงรวมกันไมนอยกวา 1,000 ชั่วโมง นอกจากนี้ กระทรวงแรงงานและการจางงาน
จะชวยสนับสนุนคาใชจายตลอดการฝกอบรมตลอดจนจัดหางานที่เหมาะสมกับทักษะใหหลักจากสําเร็จการศึกษา

2-119
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-119


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5.5 ประเทศสิงคโปร
การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0
สิ ง คโปร เ ป น ประเทศที่ มี พื้ น เล็ ก ทํ า ให ไม มี อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ที่ ต อ งอาศั ย พื้ นที่ ม าก
และอุตสาหกรรมหนัก ทําใหอุตสาหกรรมหลักของสิงคโปรจะเนนไปในดานของโลจิสติกสจากภูมิศาสตรที่ตั้งอยู
ปลายสุดของคาบสมุทรมลายู เปนชองทางผานของเรือขนสงสินคาระหวางมหาสมุทรแปซิฟกและมหาสมุทรอินเดีย
ทําใหเปน จุดที่ มีเรือขนสงสิน คาแลนผานอยางหนาแนนและคับคั่ง นอกจากนี้สิงคโปรยังเปนศูนยกลางการบิน
ในหลากหลายเสนทาง ทั้งจากยุโรป อเมริกา เอเชียตะวันออก เอเชียกลาง และตะวันออกกลาง รวมถึงซีกโลกใต
อยางออสเตรเลียและนิวซีแลนด
สิ ง คโปร มี ลั ก ษณะของประเทศเป น City-state มี พื้ น ที่ ป ระมาณ 700 ตารางกิ โ ลเมตร ทํ า ให
การเชื่ อ มต อ ระหว า งการขนส ง ทางบก ทางน้ํ า และทางอากาศทํ า ได อ ย า งรวดเร็ว โดยใชเวลาไม เกิ น 1 วั น
และเนื่องจากเปนประเทศเล็กและมีภูมิศาสตรที่ไดเปรียบ ทําใหสิงคโปรเปนศูนยกลางของการซื้อขาย แลกเปลี่ยน
สินคา การกําหนดราคากลางของสินคาเกษตร น้ํามัน ทองคํา
การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางตอเนื่องในชวงทศวรรษที่ผานมาของสิงคโปรทําใหประเทศตองการ
แรงงานจํานวนมาก ทั้งแรงงานไรทักษะและแรงงานมีทักษะ รัฐบาลสิงคโปรทดแทนแรงงานในกลุมอุตสาหกรรม
และอาชีพที่มีความเสี่ยงสูงดวยการนําเขาแรงงานจากตางประเทศ และคงตําแหนงงานและอาชีพเฉพาะไวใหกับ
แรงงานสัญชาติสิงคโปร อยางไรก็ตาม ปญหาสังคมสูงอายุสงผลกระทบอยางหนักตอระบบเศรษฐกิจของประเทศ
รัฐบาลสิงคโปรประกาศนโยบายดานแพลตฟอรม 4.0 เปนประเทศแรก ๆ ในเอเชีย และจากการมี
อุตสาหกรรมการคาเปนอุตสาหกรรมหลักของประเทศ สิงคโปรไดใชนโยบาย Sharing Economy หรือการใช
ระบบออนไลนมาทดแทนการคาขายแบบเดิม อีกทั้งยังเพิ่มชองทางซื้อและขายใหสะดวกมากยิ่งขึ้น ขณะที่นโยบาย
ดา นสิ่ งอํ านวยความสะดวกทางการคา สิงคโปรสงเสริมการใช internet of things ทั้งในระดับ คาปลีก คาสง
ไปจนถึงห วงโซมู ลคาของอุตสาหกรรมทั้งหมด เพื่อลดการพึ่งพาแรงงานคนและชวยเพิ่ มความสะดวกรวดเร็ว
ในการซื้ อ ขาย และผลั ก ดั น ให มี ก ารหลอมรวมระหว า ง cyber and physical platform ในด า นการบริ โ ภค
การผลิต การบริการ
สิ ง คโปร มี ค วามชั ด เจนในด า นนโยบายและการดํ า เนิ น การ เมื่ อ รั ฐ ประกาศแผนการทํ า งาน
และมอบหมายให ภาคสวนตาง ๆ เข ามามีสว นรับ ผิดชอบและทํางานรวมกัน ก็เกิดการขับ เคลื่อนอยางรวดเร็ว
และเห็ น ผลชัดเจน ยกตัวอยางเชน ระบบการทํางานของตลาดกลางสินคาเกษตรที่มีการใชระบบดิจิทัลเขามา
ทดแทนระบบไดอะล็ อ กและและการทํ า งานด ว ยแรงงานคน ทํ าให เกิ ด ความสะดวกและรวดเร็ ว มากยิ่ งขึ้ น

2-120
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-120 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

หรื อ การใช ร ะบบดิ จิ ทั ล และเทคโนโลยี ไร ส ายในอุ ต สาหกรรมการขนส ง โลจิ ส ติ ก ส การตรวจคนเข า เมื อ ง
การอํานวยความสะดวกในสนามบิน ทําใหปจจุบัน สิงคโปรเปนหนึ่งในประเทศที่เห็นผลการผลักดันนโยบายการใช
แพลตฟอรมดิจิทัลชัดเจนที่สุด
อย างไรก็ต าม เนื่อ งจากมีก ารใชระบบแรงงานคนในการตรวจนับ สิ น คา ตรวจนั บ คน ตรวจนั บ
ตู ค อนเทนเนอรม าอย า งยาวนาน ทํ า ให ผู รับ บริ ก ารของสิ ง คโปร บ างราย มี ป ญ หาปรั บ ตั ว ไม ทั น เนื่ อ งจาก
การตรวจนั บ ต อ งมี ค วามพร อ มทั้ ง สองฝ า ย สิ ง คโปร จึ ง มี ก ารลงทุ น ให ผู รั บ บริ ก ารเข า มาทดลองใช ง าน
และจัดเจาหนาที่เขาไปฝกสอนโดยไมคิดคาใชจาย และรัฐบาลพยายามประชาสัมพันธใหผูรับบริการของสิงคโปร
รับ ทราบรายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ การเปลี่ ย นแปลงระบบการทํ างานจากแรงงานคนและเครื่ อ งจั ก ร เป น ระบบ
เครื่องจักรและดิจิทัลควบคุมการทํางาน
ประเทศสิ ง คโปร มิ ได มุ ง เน น เฉพาะการพั ฒ นาระบบซอฟแวร แ ละฮารด แวรเท า นั้ น แต มุ ง เน น
การพัฒนาทรัพยากรมนุษยและคุณภาพชีวิตของประชากรควบคูกันไปดวย โดยรัฐบาลพยายามจัดสรรงบประมาณ
ใหกับประชาชนไดเขาถึงเทคโนโลยีที่ทันสมัย เชน การจัดสายรัดขอมือดิจิทัลใหกับประชาชน เพื่อรับทราบขอมูล
ของประชากรในประเทศ เชนดานสุขภาพ (ผานการเตนของหัวใจ) และเปนชองทางการสื่อสารระหวางประชาชน
กับ รัฐ ซึ่งสายรัดข อมื อดังกลาวจะเชื่อมตอสัญ ญาณเขากับสมารทโฟนสวนตัวและสามารถเขาถึงบริการของรัฐ
ผ านการใช งานสายรัด ขอมือหรือ ผานสมารทโฟนไดอยางสะดวกสบาย นอกจากนี้ รัฐ ไดสื่อสารกับ ประชาชน
ผ านพื้ นที่ ส าธารณะ เชน ปายประกาศดิจิทัลแอลอีดีตามศูนยอาหาร บริเวณแยก ปายรถประจําทาง สถานที่
ราชการ และผานแอพพลิเคชั่น เพื่อแจงขอมูลและขาวสารที่สําคัญ อาทิ แจงเตือนภัยธรรมชาติ แจงเตือนเรื่อง
ภาษี สภาพอากาศ การจราจร เปนตน
นโยบายดานแรงงานและการจางงานในอุตสาหกรรม
รัฐบาลสิงคโปรสงเสริมการจางงานในอุตสาหกรรมทุกประเภท แตกตางกันไปตามความขาดแคลน
ในอุ ตสาหกรรมที่ตองการใชแ รงงานจํานวนมาก สิงคโปรรับ แรงงานจากเอเชีย ใตเขามาทํ างาน เชน แรงงาน
บั ง กลาเทศ เนปาล อิ น เดี ย ในอุ ต สาหกรรมท า เรื อ และขนส ง ทางทะเล แรงงานจากชาติ ส มาชิ ก อาเซี ย น
ในอุตสาหกรรมบริการ เชน โรงแรม รานอาหาร ประชาสัมพันธในโรงพยาบาล รวมถึงบุคลากรทางการแพทย
ในสาขาที่ขาดแคลน สิงคโปรก็มีขอกําหนดแบงแยกออกเปนประเภทและลําดับตาม Tier ตาง ๆ
แรงงานที่รับ เขามาสวนใหญ จะเขามาทํางานในสวนที่แรงงานในประเทศขาดแคลน ซึ่งพบปญ หา
ในอุตสาหกรรมหนักที่ตองใชแรงงานคนจํานวนมาก และอุตสาหกรรมบริการ การขาย การตลาด ซึ่งคนสิงคโปร
มีแนวโนมที่จะประกอบอาชีพในกลุมดังกลาวนอยลง

2-121
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-121


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สําหรับ สาขาอาชีพที่ มีความสําคัญ รัฐบาลยังคงสงวนไวสําหรับคนสัญชาติสิงคโปร อยางไรก็ตาม


หากนายจา งมี ค วามประสงคที่จะรับ แรงงานตางชาติเขามาในในอุตสาหกรรมตา ง ๆ รัฐ บาลไดกําหนดระบบ
ใบอนุ ญ าตให ทํ า งานในประเภท Employment Pass สํ า หรั บ ผู ป ระกอบวิ ช าชี พ ระดั บ Professionals
และ Skilled workers ซึ่ง Employment Pass แบงเปนหลายระดับ ไดแก
- ระดับ P1
- ระดับ P2
- ระดับ Q1
- ระดับ S-Pass
โดยระดับ P1 เปนระดับการจางงานที่ไดรับคาจางสูงสุดและ S - Pass เปนระดับที่ไดรับคาจางต่ําสุด
การออกใบอนุญ าตทํางานในประเภท Employment Pass นั้น หากนายจางสิงคโปรตองการจางผูที่ มีความรู
ความสามารถและเชี่ยวชาญดานตาง ๆ จะสามารถจางไดโดยการสนับสนุนจากรัฐบาล
ใบอนุญาตใหทํางานในประเภท Work permits สําหรับแรงงานกึ่งฝมือ Semi-skilled และแรงงาน
ไร ฝ มื อ Unskilled Workers ที่ มี เ งิน เดื อ นต่ํ า กว า 1,800 เหรีย ญสิ ง คโปร ซึ่ ง มี ก ารควบคุ ม โดยการเก็ บ เงิ น
คาธรรมเนียม (Levy) จากนายจาง และกําหนดจํานวนสัดสวนของแรงงานทองถิ่นขึ้น ซึ่งจําแนกตามประเภท
อุตสาหกรรมตาง ๆ ดังนี้
1. อุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing)
2. การกอสราง (Construction)
3. พาณิชยนาวี (Marine)
4. กระบวนการ (Process)
5. บริการ (Service)
6. เรือยนต (Harbor Craft)
7. งานรับใชในบาน (Domestic Worker)
โดยรัฐบาลสิงคโปรเปนผูกําหนดสัดสวนของแรงงานในประเทศและแรงงานตางประเทศแตกตางกัน
ไปตามกลุมอุตสาหกรรมและอาชีพเพื่อใหสอดคลองกับแรงงานที่มีอยูแลวในประเทศ
นอกจากนี้ สิงคโปรยังพิจารณาอนุญาตใหมีการจางแรงงานตางชาติ สัญชาติตาง ๆ เขามาทํางาน
โดยมีการแบงกลุมประเทศที่อนุญาตใหเขามาทํางานในรูปแบบ Work Permit เปน 3 กลุมประเทศ ไดแก
1. กลุมประเทศ Traditional Sources ( TS ) ไดแก มาเลเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน

2-122
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-122 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. กลุ มประเทศ Non - Traditional Sources ( NTS ) ไดแ ก ไทย อิ นเดี ย บัง กลาเทศ ศรีลั งกา
เมียนมา ฟลิปปนส อินโดนีเซีย และปากีสถาน
3. กลุมประเทศ North Asian Sources (NAS) ไดแก ฮองกง มาเกา เกาหลีใต และไตหวัน
สําหรับแรงงานในประเทศ รัฐบาลจัดสรรตําแหนงงานราชการหรือวิชาชีพเฉพาะที่มีคา ตอบแทนสูงไว
สํ าหรั บ คนสัญ ชาติสิงคโปร พรอมทั้งจัด สรรสวัส ดิการ เชนที่พั ก คาครองชีพเพิ่มเติม คาตอบแทนกรณี มีบุตร
คา เล าเรีย นของบุตร พรอ มทั้งคาตอบแทนในลักษณะของแรงจูงใจในการทํา งาน เนื่องจากพบวาคนสิงคโปร
ที่ไปศึกษายังตางประเทศ ไดสมัครเขาทํางาน ณ ประเทศที่จบการศึกษา ทําใหเกิดภาวะสมองไหล นอกจากนั้น
สิ ง คโปร ยั ง พบป ญ หาแรงงานสู ง อายุ ล าออกจากระบบเป น จํ า นวนมาก โดยให เ หตุ ผ ลเรื่ อ งความกดดั น
จากการทํางานและขอผูกมัดจากสัญญาจาง กรณีดังกลาว รัฐบาลไดออกนโยบายจางงานผูสูงอายุแบบรายชั่วโมง
รายวันและรายเดือนแบบไมมสี ัญญาผูกมัด เพื่อสรางแรงจูงใจใหผูสูงอายุทํางานตอไป
แนวทางพัฒนาฝมือแรงงาน
กระทรวงแรงงานของสิ ง คโปรได อ อกสํ ารวจความตอ งการของแรงงานในสิ งคโปรในกลุ ม อายุ
25 – 70 ป พบวา ชวงอายุที่ตองการความชวยเหลือดานการพัฒนาทักษะและฝมือแรงงานมากที่สุดคือแรงงาน
ในช ว งอายุ 55 – 60 ป เนื่อ งจากเป น ช ว งที่ มี ก ารเกษี ย ณอายุ ม ากที่ สุ ด แรงงานบางสว นต อ งการทํ างานต อ
แต ยายไปทํ างานในอาชีพหรืออุต สาหกรรมอื่น และตองการใหรัฐฝกอบรมและฝก สอนทักษะเพิ่มเติม ซึ่งวิช า
ที่ แ รงงานอายุ 55 – 60 ป ต อ งการให มี ก ารสอนมากที่ สุ ด คื อ การใช ง านสมาร ท โฟนสํ า หรับ ติ ด ต อ สื่ อ สาร
การใชสมารทโฟนสําหรับโฆษณาและสงเสริมการขายออนไลน เชน ชองทางของเฟสบุคและสื่อสังคมออนไลน
จากการวิ เคราะห แ ละฟ ง ข อ คิ ด เห็ น จากแรงงานที่ ล าออกจากงานหลั ง การเกษี ย ณหรื อ ก อ น
การเกษียณพบวา การทํางานในระบบมีความเครียดและความกดดัน โดยเฉพาะเมื่อรัฐบาลประกาศใชนโยบาย
อุตสาหกรรม 4.0 ทําใหสถานประกอบการตองปรับตัวตามไปดวย และเปลี่ยนแพลตฟอรมการทํางาน เนนการใช
เทคโนโลยี แทนการใชแรงงานคน ซึ่งกลุมคนที่ไดรับ ผลกระทบมากที่สุดคือกลุมแรงงานในชวงอายุ 55 – 60 ป
ซึ่งมีทั กษะด านเทคโนโลยีต่ํากวาแรงงานในชว งอายุอื่น ๆ การเขาใจเทคโนโลยีอยางจํากัดของแรงงานสูงอายุ
เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดความเครียดและความกดดันจากงาน ทําใหหลายคนตัดสินใจไมตออายุการทํางาน
แรงงานที่ เกษี ย ณอายุ จ ากงานประจํ า ส วนหนึ่ งต องการทํ างานต อแต เปลี่ย นไปเป น งานบริก าร
เชน เจาหนาที่รัฐแบบจางเหมารายชั่วโมงหรือรายวัน พนักงานขายที่ไมเนนทักษะทางดานเทคโนโลยี เชน งานขาย
ของหนาราน หรืองานประสานงานในบริษัทขนาดเล็กหรือตามมูลนิธิตาง ๆ เปนตน

2-123
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-123


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

จากรายละเอียดที่กลาวไปขางตน แรงงานสูงอายุที่อยูในวัยเกษียณมีทัศนคติที่ดีตอการปรับเปลี่ยน
และทดแทนแรงงานคนไปสู ก ารทํ า งานด ว ยระบบดิ จิ ทั ล เนื่ อ งจากมี ผ ลผลิ ต ที่ ดี แ ละมี คุ ณ ภาพมากกว า
การใช แ รงงานคน แต ทั้ ง นี้ เนื่ อ งจากแรงงานสู ง อายุ มี ข อ จํ า กั ด ด า นการเรี ย นรู เทคโนโลยี หากระบบงาน
มีค วามซับ ซ อนเกิน ไป ก็ เป น สาเหตุ ห นึ่ งที่ ทํา ให แ รงงานไม ต อ อายุ แ ละหั น ไปสายอาชี พ อื่ น แทน รั ฐบาลจึ ง ให
การสงเสริมและฝกสอนการใชแพลตฟอรมดิจิทัลแกแรงงานสูงอายุตามความสนใจ เชน บางรายตองการใชงาน
แพลตฟอร ม ดิ จิ ทั ล สํา หรับ การติด ตอ กับ ครอบครัว และติ ด ตอ กั บ รัฐ ในเรื่อ งของเงิน บํา นาญ ภาษี สวั สดิ ก าร
หลังการเกษียณ บางรายตองการฝกใชงานแพลตฟอรมดิจิทัลเพื่อประโยชนในการสมัครงานในตําแหนงงานใหม
เปนตน

2.5.6 ประเทศมาเลเซีย
ประเทศมาเลเซีย เป น ประเทศในเอเชีย ตะวั น ออกเฉี ย งใตที่ มี ก ารเจริ ญ เติบ โตทางเศรษฐกิ จ สู ง
และมีมูลคาการผลิตในภาคอุตสาหกรรมสูงถึงรอยละ 22 ของผลิตภัณฑมวลรวมทั้งประเทศ อยางไรก็ดี ประเทศ
มาเลเซียมีความกังวลวากําลังจะสูญเสียขอไดเปรียบดานคาแรงต่ําเนื่องจากคาแรงของประเทศกําลังพัฒนาอื่น
มีแนวโนมจะต่ํากวาประเทศมาเลเซีย ประกอบกับการใชเทคโนโลยีในกระบวนการผลิตทําใหตนทุนในการผลิตต่ํา
ลดลงไปอีก ประเทศมาเลเซีย จึงมีความจํ าเปน ตองปรับ เปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0
เพื่ อให รองรับ การลงทุนเพิ่ม เติม ในอนาคตและพัฒ นาภาคอุตสาหกรรมและบริการให ทัดเทียมกับ ประเทศอื่น
โดยรัฐบาลประเทศมาเลเซียไดรวมกับ หนวยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและภาคเอกชนรางแผนกรอบนโยบาย
เพื่ ออุ ตสาหกรรม 4.0 แหงชาติ (Draft National Industry 4.0 Policy Framework) เมื่อ วันที่ 12 กุ มภาพั น ธ
พ.ศ.2560 โดยมี วั ตถุป ระสงคเพื่อ รับ ฟงความคิดเห็นจากภาคธุ รกิจและภาคประชาชนกอนจะนําไปพิจ ารณา
ไปกําหนดเปนยุทธศาสตรแหงชาติตอไป
การเปลี่ยนโครงสรางอุตสาหกรรมเดิมสูอุตสาหกรรม 4.0
รางแผนกรอบนโยบายเพื่ออุตสาหกรรม 4.0 แหงชาติ ไดกําหนดวัตถุประสงคไวดังนี้
1. เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิตแกภ าคอุตสาหกรรมในประเทศ โดยมีเปาหมายใหผลิตภาพเพิ่มขึ้น
รอยละ 30 จากปจจุบัน
2. เพื่อสรางมูลคาเพิ่มโดยมีเปาหมายใหภาคอุตสาหกรรมการผลิตสรางมูลคาแกเศรษฐกิจในประเทศ
จากเดิม 254 พันลานริงกิต เปน 392 พันลานริงกิต

2-124
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-124 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. เพื่ อ เสริม สรา งศั กยภาพในการสรางสรรคน วั ตกรรมและสิน คา ที่ ไดรับ การยอมรับ ระดับ โลก
โดยมีเปาหมายใหดัชนีชี้วัดนวัตกรรมของโลก (Global Innovation Index Ranking) เพิ่มขึ้นจากเดิมลําดับที่ 35
เปนลําดับที่ 30 และ
4. เพื่อ พั ฒ นาฝมือแรงงานใหเป นแรงงานประเภทแรงงานที่มีทักษะสูง (High-Skilled Workers)
โดยตั้งเปาใหแรงงานของภาคการผลิตรอยละ 50 เปนแรงงานประเภทแรงงงานที่มีทักษะสูง
กรอบนโยบายในการดําเนินการที่รางและมีการเสนอเพื่อใหประชาชนพิจารณานั้นไดกําหนดภาพรวม
ของนโยบายภายใต ส โลแกนว า F.I.R.S.T. ซึ่ งย อ มาจากคํ าว า Funding Infrastructure Regulations Skills &
Talent และ Technologies สามารถสรุปแนวทางตามสโลแกนดังกลาวได ดังนี้
1. การอุดหนุน (Funding)
- ใหสิทธิประโยชนทางภาษีและการลงทุนแกผูป ระกอบอุตสาหกรรมที่มีลักษณะเปนอุตสาหกรรม
4.0 โดยเฉพาะผูประกอบการ SMEs
- จั ด ตั้ งกองทุน หรือ ผลิต ภั ณ ฑ ท างการเงิน โดยรัฐเพื่ อ เป น แหล งกู ให แ ก ผูป ระกอบอุ ต สาหกรรม
ที่มีลักษณะเปนอุตสาหกรรม 4.0 โดยเฉพาะผูประกอบการ SMEs
2. การสรางสิ่งแวดลอมที่เอื้อใหเกิดภาคการผลิตที่มีการใชเทคโนโลยีสูง (Infrastructure)
- พัฒนาระบบการเชื่อมโยงแบบดิจิทัลใหครอบคลุมทั่วถึง
- ประยุกตระบบดิจิทัลในการดําเนินงานภาครัฐและสรางความเชื่อมโยงระหวางภาคอุตสาหกรรม
ทั้งระบบในหวงโซมูลคา
- สนับสนุนใหผูใหบริการดานดิจิทัลและเทคโนโลยีเขามามีสวนรวมในการพัฒนาภาคการผลิต
3. ปรับปรุงกฎระเบียบใหเหมาะสมและทันสมัย (Regulations)
- กําหนดมาตรฐานการใชเทคโนโลยีในการผลิตเพื่อสรางความตระหนักรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
แกผูประกอบการ
- อํ า นวยความสะดวกแกผู ป ระกอบอุ ต สาหกรรมที่ มี ลั กษณะเป น อุ ต สาหกรรม 4.0 โดยเฉพาะ
ผูประกอบการ SMEs โดยใหความชวยเหลือดานกฎระเบียบ อาทิ การจดทะเบียน การขอจัดตั้งบริษัท เปนตน
- กําหนดระเบียบในการควบคุมมาตรฐานการใหและการใชขอมูลเพื่อใหการใชงานใหเปนไปอยาง
ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

2-125
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-125


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. พัฒนาฝมือแรงงาน (Skills &Talents)


- พัฒนาความสามารถของแรงงานผานโครงการพัฒนาฝมือแรงงานโดยจัดฝกอบรมทักษะเพิ่มเติม
หรือทักษะใหมแกแรงงานในภาคการผลิต
- ส งเสริมการศึกษาและวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีตลอดจนพัฒ นาหลักสูตรเพื่อพัฒนา
ความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศแกนักเรียนนักศึกษา
5. การสนับสนุนการใชและการเขาถึงเทคโนโลยี (Technologies)
- จัดตั้งศูนยวิจัยดานเทคโนโลยีและดิจิทัลในลักษณะของการรวมลงทุนระหวางภาครัฐและเอกชน
(Public Private Partnerships)
- กํ า หนดมาตรฐานเดีย วกั น ในการใช อุป กรณ เทคโนโลยี ในการผลิ ต และประกอบอุ ต สาหกรรม
ที่มีลักษณะเปนอุตสาหกรรม 4.0
- จัดโครงการเพื่อสงเสริมการวิจัย การสรางสรรคนวัตกรรม การคาและการประกอบกิจการ ใหแก
ผูประกอบการ และจัดกิจกรรมเพื่อใหเกิดความรวมมือและการแลกเปลี่ยนเรียนรูภายในภาคอุตสาหกรรม

นโยบายดานแรงงานและการจางงานในอุตสาหกรรม 4.0 และแนวทางพัฒนาฝมือแรงงาน


การพั ฒ นาฝมือ แรงงานและคุณ ภาพการศึกษาเป น สิ่งที่รัฐ บาลประเทศมาลาเซีย ใหความสําคั ญ
เปนอยางมากและกําหนดใหเปนหนึ่งในหานโยบายหลักของรางแผนกรอบนโยบายเพื่ออุตสาหกรรม 4.0 แหงชาติ
โดยรางแผนปฏิบัติการในสวนที่เกี่ยวของกับนโยบายแรงงานและการพัฒนาฝมือแรงงาน สรุปได ดังนี้
1) จัดตั้งโครงการพัฒนาทักษะเพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขันในตลาดแรงงานของอุตสาหกรรม 4.0
2) กํ า หนดมาตรฐานในการให ป ระกาศนี ย บั ต รในการรั บ รองผู เ ชี่ ย วชาญ ด า นเทคโนโลยี
ในอุตสาหกรรม 4.0
3) พัฒนาโครงการอบรมแรงงานเพื่อใหแรงงานสามารถยายจากการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรม
เดิมไปสูอุตสาหกรรม 4.0 ไดอยางไมลําบาก
4) พั ฒ นาระบบการเรีย นในห อ งเรีย นให ค ลา ยกับ การทํ า งานจริง จากการประยุก ตใช เทคโนโลยี
ความเปนจริงเสมือน (Virtual Reality)
5) จัดทําระบบฐานขอมูลดานแรงงานรวมระหวางภาคการศึกษาในฐานะอุปทานของตลาดแรงงาน
และภาคอุตสาหกรรมในฐานะอุปสงคของตลาดแรงงานเพื่อใหการกําหนดนโยบายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
6) จั ด สรรงบประมาณเพิ่ ม เติ ม ในการสนั บ สนุ น การศึ ก ษาด า นวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี
และการศึกษาอาชีวะ

2-126
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-126 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

7) ปรับ ปรุงหลักสูตรการศึก ษาโดยเนน การประยุ กตใชในการทํา งานไดจ ริง และให เห็น แนวทาง
สายอาชีพที่สามารถประกอบไดหลังจบการศึกษา
8) สรางภาพลักษณที่ดีในภาคการผลิตและแสดงใหเห็นวาภาคการผลิตตองการแรงงานที่มีทักษะสูง
จํานวนมากเพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรม 4.0
9) พั ฒ นาคุ ณ ภาพครู อาจารย แ ละผู ฝ ก อบรมในสาขาที่ เกี่ ย วข อ งกั บ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต

ในภาพรวมของการเกิดขึ้นของการปฏิวัติอุตสาหกรรมมีการกลาวถึงโดยประเทศเยอรมนีเปนประเทศ
แรกในป พ.ศ.2553 โดยมีแนวคิดที่จะสรางรูปแบบของอุตสาหกรรม 4.0 (Industry 4.0 Platform) และในเวลา
ตอมาก็มีประเทศที่ดําเนินนโยบายอุตสาหกรรม 4.0 โดยมีรูปแบบและวัตถุประสงคที่แตกตางกัน (ตามภาพที่ 2.12
และภาพที่ 2.13) เช น ประเทศสหรัฐอเมริกาในป พ.ศ.2554 โดยมีรูปแบบของการผลิตขั้นสูงที่สามารถรวมกัน
กับ 2.0 โดยมีความมุงหมายที่จะเพิ่มความสามารถในการแขงขันของประเทศและการผลิตที่มีคุณภาพสูง ในขณะที่
ประเทศสหราชอาณาจักรไดมีนโยบายในปเดียวกัน โดยมีรูปแบบของการเปนกลไกดีดตัว (Catapult centers)
ใหสงผลตอความเจริญทางเศรษฐกิจ สําหรับประเทศจีนมีการดําเนินนโยบาย Made in China 2025 โดยตองการ
พลิ กประเทศให เป นประเทศที่ มีค วามเขมแข็ งในการผลิต โดยใชเทคโนโลยี ดิจิทั ลและอุ ตสาหกรรมสมัย ใหม
10 อุตสาหกรรม ในป พ.ศ.2558 มีประเทศที่ก ลาวถึงการปรับตัวนี้ 3 ประเทศ ไดแ ก ประเทศญี่ ปุน ประเทศ
เกาหลี ใต และประเทศฝรั่งเศส โดยที่ ป ระเทศญี่ ปุ น มีรูป แบบของการเพิ่ มผลิต ภาพของอุต สาหกรรมบริก าร
และการใช หุ นยนตอ ยางมีนั ย สําคัญ ในป ค.ศ.2020 ในขณะที่ ป ระเทศเกาหลีใตมีก ารผลิตดว ยนวัต กรรม 3.0
(Manufacturing Innovation 3.0) มีการสรางสภาพแวดลอมในการผลิตที่มีฐานของเทคโนโลยีใหม และกระตุน
ใหเกิดการพัฒนาโรงงานอัจฉริยะ สําหรับประเทศฝรั่งเศศมีนโยบายอุตสาหกรรมแหงอนาคต (Industry of the
future) โดยเปนการสนับสนุนการพัฒนาผลผลิตที่มีความเฉพาะเจาะจง เชน รถยนตที่มีประสิทธิภาพ อากาศยาน
ไฟฟา เปนตน

2-127
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-127


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 2.12 แนวคิดของการเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ของแตละประเทศ

นอกจากนี้หากแบงตามหลักเหตุผลของการเกิดขึ้นของอุตสาหกรรม 4.0 ในแตละประเทศ อาจจําแนก


สาเหตุของการเกิดขึ้นตามวัตถุประสงค ไดแก
1) การสรางมูลคาเพิ่มและการสรางความสามารถในการแขงขัน โดยเปนการลดความไหวตัวดานแรงงาน
สรางการแขงขัน และสรางเครื่องกีดกันการแขงขัน (เชน ประเทศเยอรมนี ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และจีน)

2-128
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-128 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2) การเป น ธุ ร กิ จ เริ่ ม ต น และสร า งตั ว แบบทางธุ ร กิ จ ใหม ๆ เป น รู ป แบบของการสร า งผลผลิ ต


เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการส ว นบุ ค คล (Personalized products) ภายใต ต น ทุ น แบบเดี ย วกั บ การผลิ ต
แบบจํานวนมาก (Mass production) (เชน ประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุน และสหรัฐอเมริกา)
3) การเปน ผูนํ าของการให บ ริการดาน 4.0 (4.0 Solution) เปน การทํา ให ป ระเทศเปน ผูนํ าของธุรกิ จ
การใหบริการและธุรกิจที่เกี่ยวของกับการพัฒนาตามแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 ใหกับภาคธุรกิจหรือองคกรที่มี
การพัฒนาสูอุตสาหกรรม 4.0 มีการพัฒนามาตรฐาน เทคโนโลยี และสงออกเทคโนโลยีหรือการกําหนดมาตรฐาน
ในรูปแบบของสินคาและบริการ (เชน ประเทศเยอรมนี เกาหลีใต และจีน)
4) การบริห ารจัด การภายในและการบริห ารความเสี่ย ง เป นการใชเทคโนโลยีเพื่อ การจัดการบริห าร
ความเสี่ยงขององคกรดวยการสรางความยืดหยุนในการผลิตเพื่อทําใหการผลิตและความตองการมีความสมดุล
ลดการใช ต น ทุ น ที่ เ กิ น กว า ความจํ า เป น จากการขยายการผลิ ต เชิ ง กายภาพ เช น การตั้ ง โรงงานใหม
ขยายสายการผลิต ทั้งที่สามารถบริหารจัดการไดดวยขอมูลสารสนเทศหรือมีการใชการบริหารจัดการผลิตรูปแบบ
ใหม ๆ เปนตน (เชน ประเทศเยอรมนี ญี่ปุน เกาหลีใต และจีน)
5) การสร า ง Digital Start-ups และระบบนิ เวศที่ เหมาะสมต อ การพั ฒ นา เพื่ อ ให เกิ ด การพั ฒ นา
และเร งกระบวนการสรา งนวั ต กรรมของประเทศ ผ า นระบบการบ ม เพาะความสามารถและคลั ส เตอร ข อง
อุตสาหกรรมเปาหมาย (เชน ประเทศฝรั่งเศส จีน และสหรัฐอเมริกา)
6) การสรางความพอใจของแรงงานในการทํางาน เปนการอํานวยความสะดวกในการทํางานมากขึ้น และ
มุ ง หวั ง ผลสู คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ในการทํ า งานของแรงงาน สามารถนํ า เทคโนโลยี ม าช ว ยแรงงานในการผลิ ต
(เชน ประเทศฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุน)
7) การสรางความยั่งยืนและผลทางภาพลักษณ เปนการผลิตเพื่อการลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ และ
การพัฒนาภาพลักษณของอุตสาหกรรม (เชน ประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุน)
สํ าหรับ ประเทศไทย หากประเมิน จากวัต ถุป ระสงคของการเกิ ดอุต สาหกรรม 4.0 ทั้ ง 7 ขอจะพบว า
การเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ของประเทศไทยนาจะมีวัตถุป ระสงคที่สําคัญ คือ การสรางมูล คาเพิ่มและการสราง
ความสามารถในการแขงขันของประเทศ ดังนั้นรูปแบบของการพัฒนาควรใชรูปแบบของประเทศเยอรมนี ญี่ปุน
สหรัฐ อเมริกา และจีน มาเปนตนแบบของการพัฒ นา ในขณะที่วัตถุป ระสงครองอาจไดแก อุตสาหกรรม 4.0
2-129
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2-129


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

พัฒ นาเพื่ อ การบริห ารจั ดการภายในและการบริห ารความเสี่ย ง เป น การใชเทคโนโลยีเพื่ อการจัดการบริห าร


ความเสี่ ยงขององคกร โดยมีตัวอยางจากประเทศเยอรมนี ญี่ปุน เกาหลีใต และจีน เปนตนแบบ อยางไรก็ตาม
ประเทศไทยยั ง ส ง เสริ ม ให เ กิ ด การพั ฒ นานวั ต กรรมเพื่ อ เป น ธุ ร กิ จ Start-Ups และสร า งสภาพแวดล อ ม
ใหเกิดนวัตกรรม รวมทั้งการตอยอดอุตสาหกรรมเดิมและการเตรียมการเพื่อสรางอุตสาหกรรมใหม ๆ
ภาพที่ 2.13 รูปแบบและเหตุผลในการเกิดอุตสาหกรรม 4.0 ของแตละประเทศ

2-130
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

2-130 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

บทที่ 3
กรอบแนวคิดของการศึกษาและวิธีการศึกษา
ในการศึกษานี้เปนการศึกษาที่ป ระกอบดวยวิธีผสมผสาน (Mixed methodology) ประกอบดวย
การศึกษาดวยวิธีการศึกษาหลากหลายวิธีประกอบดวย การศึกษาจากเอกสาร การศึกษาจากการใชขอมูลทุติยภูมิ
การศึกษาจากการสัมภาษณเชิงลึก เพื่อนําผลของการศึกษาในแตละสวนมาประมวล วิเคราะหเพื่อใหเห็นภาพรวม
ของการจางงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคตภายใตกรอบอุตสาหกรรม 4.0 รวมถึงมีการศึกษายอนหลังไปในประเด็นที่
เกี่ยวกับการพัฒนาอุตสาหกรรมในแตละชวงเวลา และมีการทบทวนยุทธศาสตร แผนงานของประเทศที่เกี่ยวของ
กับการพัฒนาอุตสาหกรรม ดังนั้น การกําหนดกรอบแนวคิดของการศึกษาใหมีความสอดคลองกันจึงมีความจําเปน
และเปนปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จของการศึกษานี้ โดยในกรอบแนวคิดของการศึกษาและวิธีการศึกษาแบงเปน
ขั้นตอนไดดังนี้

3.1 การกําหนดนิยาม กรอบแนวความคิดของการศึกษา


ในการศึกษานี้เปนการศึกษาแนวคิ ดและรูป แบบของการจางงานภายใตอุตสาหกรรม 4.0 ดังนั้น
ในเบื้องตนของการศึกษาจําเปนตองมีการกําหนดแนวคิดที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรม 4.0 และการพัฒนาประเทศ
เพื่อใหมีความสอดคลองและเปนการจัดสภาพแวดลอมเพื่อรองรับกับอุตสาหกรรม 4.0 และสงผลตออุตสาหกรรม
ที่จะเกิดขึ้นหรือมีการปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงรูปแบบ รวมถึงนําไปสูรูปแบบของการจางงานในอนาคต ทั้งนี้ หลักคิด
สําคัญของการศึกษา คือ
ก. การจางแรงงานเปนสถานการณท่ีความตองการแรงงานของนายจาง (หรืออุป สงคตอแรงงาน)
สามารถจับ คูไดกับความตอ งการขายแรงงานของลูก จาง (หรืออุป ทานของแรงงาน) ภายใตคาจางและเงื่อนไข
ตาง ๆ ที่เปนขอตกลงรวมกันระหวางผูจางและลูกจาง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัวตามอุตสาหกรรม อาชีพ และประเภท
งาน
ข. อุป สงคตอแรงงาน เปนความตองการแรงงานที่สืบเนื่องมาจากความตองการสินคาและบริการ
(Derived demand) ที่ถูกกําหนดจากโครงสรางตลาดของสินคาแตละประเภท และปริมาณความตองการสินคา
นอกจากนี้ ความตอ งการแรงงานยังขึ้น กั บ ความสามารถของแรงงาน ประเภทงานที่ ตอ งการ ทั ก ษะแรงงาน
และผลิตภาพที่แรงงานสามารถทําใหนายจาง โดยมีความคุมคากับคาจางที่นายจางจาย และนายจางยังสามารถได
กําไรปกติจากการดําเนินงาน (Normal profit)
ค. อุป ทานของแรงงาน เปนความตองการขายแรงงานของแรงงาน ที่มีเงื่อนไขของทักษะ ความรู
ความสามารถ ที่จะกอใหเกิดผลผลิตตอนายจาง ภายใตคาตอบแทนที่ลูกจางรับได ซึ่งเปนสถานการณที่คาจางที่ถูก
เสนอจากนายจางสูงกวาคาจางที่เปนอัตราที่ตองการเปนอยางนอย (Offered wage rate > reservation wage

3-1
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3-1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

rate) ซึ่งในดานของการพัฒนาทรัพยากรมนุษ ยและการสรางความสามารถใหแรงงานจะเขาสูตลาดแรงงานได


คือ กระบวนการพัฒนาทักษะของแรงงานทั้งสวนที่ผานระบบการศึกษาและการฝกอบรม
ง. สถานการณ การขาดแคลนแรงงานและสถานการณก ารมีแรงงานสวนเกิน (Excess demand
and excess supply) ภายใตระดั บ ค าจ างหนึ่ ง ๆ อาจเกิด ขึ้ น จากปริม าณความต อ งการแรงงานไม ส มดุ ล กั บ
ปริมาณความตองการขายแรงงาน ซึ่งปจจัยที่กําหนดการขาดแคลนแรงงานหรือการมีแรงงานสวนเกิน มาจาก
เงื่อ นไขที่ห ลากหลายและมีค วามแตกตางกัน เนื่ องจากตลาดแรงงานมี ก ารแยกส ว นและมี ค วามหลากหลาย
ทั้งในดานรูปแบบของอุตสาหกรรม ประเภทงานและอาชีพ วิธีหรือเงื่อนไขในการจางงาน และทักษะของแรงงาน
เปนตน
จ. แนวโนม ของการทํ างานในอนาคตจะมี รูป แบบที่แ ตกตา งจากปจจุ บัน ดวยผลของเทคโนโลยี
และนวัตกรรม การมีตนทุนทางเทคโนโลยีบ างประเภทที่ล ดลงอยางรวดเร็ว การคาดการณ ดวยการพยากรณ
ดวยวิธีทางสถิติอาจไมใช คําตอบที่ส มบู รณ เนื่อ งจากการเปลี่ย นแปลงเปน การเปลี่ย นแปลงเชิ งโครงสราง ที่ มี
รูปแบบตางจากเดิมในอดีต

3.2 การศึกษาโดยเอกสาร
งานศึกษาในสวนนี้จะเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญในการที่จะทําใหเกิดการเลือกอุตสาหกรรมเปาหมาย
ที่จะอยูในกลุมสํารวจดวยการสัมภาษณเชิงลึกไดอยางรอบคอบมากขึ้น โดยเปนการศึกษาเพื่อเชื่อมโยงองคความรู
ดานประวัติศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยที่เชื่อมโยงสูระบบการจางงานของประเทศตามแนวทาง
ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 ถึง ฉบับที่ 11 และการศึกษาตองมีการพิจารณาถึงอนาคต
ตามกรอบยุทธศาสตรประเทศระยะ 20 ป รวมกับแผนขับเคลื่อนยุทธศาสตรฉบับแรก คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 มาประกอบรวมกับบริบทของประเทศ ภูมิภาค และทิศทางการพัฒนาอุตสาหกรรม
ของตางประเทศ ซึ่งการศึกษาประกอบดวย
ก. ศึกษาเอกสารเกี่ย วกับ แนวทางการพั ฒ นาอุตสาหกรรม แนวโน ม การจางงาน และแนวทาง
การพัฒ นาทักษะฝมือในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ของตางประเทศอยางนอย 5 ประเทศ โดยตองการระบุแนวทาง
ของตางประเทศที่มีการปรับตัวเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ประเภทของอุตสาหกรรมและการจางงาน ปจจัยที่ทําให
แตละประเทศประสบความสํา เร็จหรืออุป สรรคในชวงของการปรับ ตัว เพื่ อนํามาลดระยะเวลาของการปรับ ตัว
ให กับ ประเทศไทย (เรียนรูจากความสํา เร็จและความผิ ดพลาด) รวมถึงการศึ กษา Roadmap ของการพัฒ นา
ทรัพ ยากรมนุ ษ ย เพื่ อ ไปสู อุ ต สาหกรรม 4.0 อย า งเต็ ม รูป แบบ ทั้ งนี้ ประเทศที่ นํ ามาศึ ก ษา 6 ประเทศ ได แ ก
เยอรมนี ฝรั่ ง เศส ญี่ ปุ น เกาหลี ใ ต สิ ง คโปร และมาเลเซี ย โดยหลั ก เกณฑ แ ละเหตุ ผ ลในการเลื อ ก ได แ ก
ประสบการณ ข องการปรับ รูป แบบ (Platform) ของประเทศสูก ารเป นอุต สาหกรรม 4.0 และการดูผ ลกระทบ
ที่ เกิด ขึ้น โดยเฉพาะประเทศเยอรมนี ที่ เป น ประเทศแรกที่ ดํา เนิ น การ (ตั้ งแต ป ค.ศ.2011) ในขณะที่ ป ระเทศ
ฝรั่ง เศสแม จ ะเริ่ม การดํ า เนิ น การในป ค.ศ.2015 แต ก็ เป น ประเทศที่ ใช เงิน ลงทุ น มากที่ สุ ด ที่ จ ะปรับ เปลี่ ย น
3-2
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
3-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

platform ของภาคอุตสาหกรรม สํ า หรั บ ประเทศในกลุ มทวี ป เอเชีย คือ สิ งคโปร เกาหลี ใต เป น ประเทศที่ มี
การปฏิ รูป อุ ต สาหกรรมแบบค อยเป น ค อ ยไปและมี ก ารผสมผสานระหว า งอุ ต สาหกรรมแบบดั้ ง เดิ ม มาเป น
อุตสาหกรรมแบบใหม และมีแนวทางการพัฒนาแรงงาน/ทรัพยากรมนุษยอยางเปนระบบ
ข. ศึกษาเอกสารเกี่ย วกั บระบบอุตสาหกรรมและการจางงานของประเทศไทย ตั้งแตแผนพัฒ นา
เศรษฐกิ จ และสังคมแห ง ชาติ ฉบับ ที่ 1 ถึ ง ฉบั บ ที่ 12 รวมถึ งนโยบายที่ เกี่ ย วของกั บ การพั ฒ นาประเทศด าน
อุตสาหกรรม เชน ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ความเชื่อมโยงระหวางนโยบายของประเทศที่เกี่ยวของ
กับนวัตกรรมและนําไปสูการพัฒนาอุตสาหกรรม
ค. ศึก ษาขอมูลประเภทอุตสาหกรรมของประเทศไทยในป จจุบัน โดยแบงเป นอุตสาหกรรม 1.0
อุตสาหกรรม 2.0 อุ ตสาหกรรม 3.0 และอุต สาหกรรม 4.0 การศึ กษาสวนนี้ เป นการจัดกลุ มอุตสาหกรรมที่ มี
ในปจจุบันวา กระบวนการผลิตสอดคลองกับนิยามของอุตสาหกรรมในยุคใดมากที่สุด โดยมีการกําหนดเกณฑของ
การจัดกลุมอุตสาหกรรมและเชื่อมโยงกับการจัดกลุมอุตสาหกรรมที่มีหนวยงานตาง ๆ ดําเนินการ การศึกษานี้อาจ
ทํ า ให เห็ น ช อ งวา งของการจั ด กลุ ม อุ ต สาหกรรมในอดี ต และเชื่อ มโยงไปสู ก ารระบบจ า งงานและการพั ฒ นา
ความสามารถของแรงงานที่พึงประสงค
ง. ศึ ก ษาเอกสารที่ เกี่ ย วกับ ทิ ศ ทาง แนวโน ม การจ างงาน ความต อ งการแรงงาน และแนวทาง
การพัฒ นาทักษะฝมือแรงงานในยุคอุตสาหกรรม 4.0 โดยศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับ ทิศทางของอุตสาหกรรม
ที่ มีก ารปรับ ตัวสู อุต สาหกรรม 4.0 การจางงาน ทัก ษะของแรงงานที่ ตอ งการ รวมถึง การพั ฒ นาฝ มือแรงงาน
รวมกับการศึกษาความสามารถของสถาบันการศึกษาในการตอบสนองตอการพัฒนาความรูและทักษะของแรงงาน
ที่ ต อ งการในอุ ต สาหกรรม 4.0 ซึ่ ง ผลของการศึ ก ษาในส ว นนี้ อ าจทํ า ให เห็ น ช อ งว า ง (Gap) ของการเตรีย ม
ความพรอมของภาคอุตสาหกรรมในดานแรงงาน
ผลของการศึ กษาเอกสารในกลุมนี้จะทําใหคณะผูวิจัย เห็ นภาพรวมของอุ ตสาหกรรม 4.0 ทิ ศทาง
และอุตสาหกรรมเปาหมาย รูปแบบของการจางงานและทิศทางการจางงานในอนาคต

3.3 การคัดเลือกกลุมอุตสาหกรรมและผูใหสัมภาษณ
จากการศึกษาในขอ 3.2 คณะผูวิจัยจะนําขอมูลมากําหนดเกณฑเพื่อใชในการคัดเลือกอุตสาหกรรม
ที่จะสัมภาษณเชิงลึก ซึ่งนอกเหนือจากทิศทางและศักยภาพของอุตสาหกรรมที่กําหนดจากนโยบาย คณะผูวิจัย
ประเมิ น ถึ ง ความสามารถในการแข งขั น ของประเทศ ขนาดของอุ ต สาหกรรม จํา นวนผู ป ระกอบการ มู ล ค า
การลงทุ น จํ า นวนแรงงานที่ อ ยู ในอุ ต สาหกรรม จะเป น ป จ จั ย ที่ นํ า มาพิ จ ารณาเพื่ อ ใช ในการคั ด เลื อ ก
10 อุ ต สาหกรรมเป า หมาย ร ว มกั บ การพิ จ ารณาการจั ด รหั ส อุ ต สาหกรรมที่ จั ด ตามกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ
และมีการศึกษารวมกับ 3.2 (ง) เปนเกณฑ และเลือก 5 อุตสาหกรรมเปาหมายมาศึกษาอยางละเอียด

3-3
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3-3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

3.4 การศึกษาโดยการสัมภาษณ
การศึก ษาสวนนี้เปนการสัมภาษณ การประชุมกลุมยอยเพื่อระดมสมอง และการเผยแพรผลงาน
เพื่อการรับฟงความคิดเห็น โดยเปนการใชชองทางการสัมภาษณผานสมาคมกลุมอุตสาหกรรม สภาหอการคา และ
สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ในการสัมภาษณเชิงลึกทั้งรูปแบบบุคคลและหมูคณะเพื่อนําผลจากการศึกษา
ในสวนแรกไปทดสอบวาทิศทางและแนวโนมของอุตสาหกรรมในภาคปฏิบัติเปนไปอยางถูกตองและเหมาะสม
หรือไม โดยในการสัมภาษณประกอบดวย
ก. การสัมภาษณเชิงลึกผูป ระกอบการ/ผูบริหาร ของสถานประกอบการในกลุม 10 อุตสาหกรรม
เปาหมาย 5 อุตสาหกรรม จํานวนตัวอยางไมนอยกวา 30 แหง ตามเกณฑที่มีการคัดเลือกกลุมอุตสาหกรรมและ
ผูให สั ม ภาษณ เพื่ อ ทราบข อ มู ล เกี่ ย วกั บ แนวทางการพั ฒ นาอุต สาหกรรม ทิ ศ ทางและแนวโน มการจ า งงาน
ความตองการแรงงาน และแนวทางการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน ใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน
ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 โดยคณะผูวิจัยกําหนดกรอบการสัมภาษณและประเด็นคําถามรวมกับคณะกรรมการกํากับ
งานวิจัยของกระทรวงแรงงาน
ข. การสัมภาษณ เชิงลึกผูบ ริหาร ขององคก รภาครัฐและภาคเอกชน และนักวิชาการ ที่มีความรู
และประสบการณเกี่ยวกับอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อทราบความเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม ทิศทาง
และแนวโน มการจางงาน ความตองการแรงงาน และแนวทางการพั ฒ นาทั กษะฝมือ แรงงานใหส อดคลอ งกั บ
ความตองการของตลาดแรงงานในยุคอุตสาหกรรม 4.0 ประกอบดวย ผูบริการของหนวยงานดานการกําหนด
นโยบายอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ไดแ ก กระทรวงแรงงาน สํา นั กงานนวัตกรรมแหงชาติ (NIA) สํานักงาน
คณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) สํานั กบริห ารยุทธศาสตร กรมสงเสริมอุตสาหกรรม โครงการสนับ สนุน
การพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (iTAP) ผูแทนสภาหอการคาแหงประเทศไทย ผูแทนสภาอุตสาหกรรม
แหงประเทศไทย นักวิชาการดานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและดานแรงงาน เปนตน โดยในตารางที่ 3.1 เปนรายชื่อ
หนวยงาน และบุคคล ทีเ่ ปนกลุมตัวอยางของการสัมภาษณเชิงลึก

3-4
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
3-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 3.1 รายชื่อหนวยงาน สมาคม บุคคล ที่ดําเนินการสัมภาษณเชิงลึก


มิ.ย. ก.ค. ส.ค.
ชื่อหนวยงาน ประเภท
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
1. สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
2. กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
3. สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และนักวิชาการ
4. สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
5. สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
6. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและนวัตกรรม กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
แหงชาติ (สวทน.) และนักวิชาการ
7. กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3-5
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3-5
3-6
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

มิ.ย. ก.ค. ส.ค.


ชื่อหนวยงาน ประเภท
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
8. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
9. สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (NIA) กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
10. สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
11. สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) และนักวิชาการ
12. อุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือ กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
13. สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA) กลุมหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผูบริหาร
และนักวิชาการ
14. โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรมแปร อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

รูปการเกษตรในภูมิภาค (OPOAI)
15. บริษัท ไทยยูเนี่ยน กรุป จํากัด (มหาชน) (TU) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร

3-6
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

มิ.ย. ก.ค. ส.ค.


ชื่อหนวยงาน ประเภท
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
16. บริษัท ศูนยวิทยาศาสตรเบทาโกร จํากัด อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
17. บริษัท อายิโนะโมะโตะ(ประเทศไทย) จํากัด อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
18. บริษัท ไบโอฟูด อินดัสตรี จํากัด อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
19. บริษัท กรีน อินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จํากัด อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
20. บริษัท ชอคูน เรมีดี้ จํากัด อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
21 สมาคมยานยนตไฟฟาไทย (Electric Vehicle Association of อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม
Thailand – EVAT)
22. สมาคมอุตสาหกรรมยานยนตไทย (TAIA) อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม
23. บริษัท ไทยซัมมิท โอโตพารท อินดัสตรี จํากัด อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม
24. บริษัท ชิปปอป จํากัด อุตสาหกรรมดิจิทัล
25. บริษัท คอมพิวเตอรโลจี จํากัด อุตสาหกรรมดิจิทัล
26. บริษัท โปร-ทอยส จํากัด อุตสาหกรรมดิจิทัล
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3-7
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3-7
3-8
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

มิ.ย. ก.ค. ส.ค.


ชื่อหนวยงาน ประเภท
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
27. บริษัท ซีคด็อก จํากัด อุตสาหกรรมดิจิทัล
28. สถาบันไทย-เยอรมัน หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม
29. บริษัทซีที เอเชีย โรโบติกส จํากัด หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม
30. บริษัท อารเอสที โรโบติกส จํากัด หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม
31. บริษัท โรบอท เมคเกอร จํากัด หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม
32. กรมการบินพลเรือน อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
33. บริษัท อุตสาหกรรมการบิน จํากัด (TAI) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
34. สถาบันการบินแหงมหาวิทยาลัยราชมงคลกรุงเทพ อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
35. การทาอากาศยานแหงประเทศไทย อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

36. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย อุตสาหกรรมทองเที่ยวรายไดดี


37. สมาคมโรงแรมไทย อุตสาหกรรมทองเที่ยวรายไดดี

3-8
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

มิ.ย. ก.ค. ส.ค.


ชื่อหนวยงาน ประเภท
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
38. สมาคมมัคคุเทศกอาชีพแหงประเทศไทย อุตสาหกรรมทองเที่ยวรายไดดี
39. วิทยาลัยดุสิตธานี อุตสาหกรรมทองเที่ยวรายไดดี
40. โรงแรมคุมภูคํา เชียงใหม อุตสาหกรรมทองเที่ยวรายไดดี
41. บริษัท ทรายรี ฮัท รีสอรท จํากัด อุตสาหกรรมทองเที่ยวรายไดดี
42. บริษัท จัดการอากาศอัด จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
43. บริษัท พี แอนด เอส ดีไซน จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
44. บริษัท เอ็นเนอรย่ี คอนเซอรเวชั่น ซิสเต็มส (ประเทศไทย) จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
45. บริษัท ไดนิชิ คัลเลอร จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
46. บริษัท เมจิก แพค ซันไรส จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
47. บริษัท คอทโก พลาสติกส จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
48. บริษัท เค.อินเตอรเนชั่นแนล แพคเก็ตจิ้ง จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3-9
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

3-9
3-10
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหอุตสาหกรรม 4.0

มิ.ย. ก.ค. ส.ค.


ชื่อหนวยงาน ประเภท
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4
49. บริษัท แปซิฟก คอนเทนเนอร จํากัด อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
50. บริษัท ไทยอินโนวา รับเบอร จํากัด อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
51. บริษัท 42 เนเจอรัล รับเบอร จํากัด อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
52. บริษัท ยุทธชัยอุตสาหกรรมยางเเทง จํากัด อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
53. บริษัท มนัส รับเบอร จํากัด อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
54. บริษัท ไทยชวนรับเบอร จํากัด อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
55. บริษัท หาดใหญชุมพลดีเวลลอปเมนท จํากัด อุตสาหกรรมอื่นๆ
ที่มา : คณะผูวิจัย
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3-10
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
(1) สถานการณอุตสาหกรรมในปจจุบัน ระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่ชัดเจน
(ประมาณ 2 - 3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของอุตสาหกรรมในอนาคต
(2) สอบถามถึง Roadmap ของอุตสาหกรรม (โดยสมาคม หนวยงานรัฐฯ) (ถามี)
(3) ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไม
อยางไร ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ และ แนวทางในการแกปญหา
(4) ป จ จุบั นผู สํา เร็จการศึ กษาเขา สูต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ตอ งการหรือ ไม ถ า ไม มี หรื อมี ไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
(5) อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือ ระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอย
เพียงใด
(6) สาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
(7) ทักษะของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนา
เศรษฐกิจประเทศไทย

STRENGTH WEAKNESS

OPPORTUNITY THREAT

3-11
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3-11
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรม ของใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลางน้ํา
และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทักษะที่จําเปนตอการผลิต ไมใชแ รงงานทั่วๆ ไป เชน เจาหนาที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือ สาขาวิชา]

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา สัดสวน


(สามารถระบุตําแหนงที่ (สาขาวิชา) (โปรด
ชัดเจน เชน วิศวกรยาน ระบุ
ยนต หรือ ประเภทแรงงาน คราวๆ)
กวางๆ เชน ชางเทคนิค)
อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
1. วิศวกรการบินระดับสูง (ชื่อตําแหนง บงบอกทักษะอยูแลว) 1. ปริญญาโท-เอก 1%
2. วิศวกรการบิน 2. ปริญญาตรี 9%
3. ชางเทคนิค  มีความรูดา นเครื่องยนต ปวช/ปวส (ชางยนต) 90%
 มีความรูดา นการเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
4. 
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
5. 

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

3-12
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
3-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ค. จัดการประชุม Focus groups เพื่อ รับ ฟงความคิดเห็นจากกลุมนั กวิชาการ ผูแ ทนองค กร


ภาครัฐ ภาคเอกชน และผูแทนองคกรลูกจา งจํานวน 1 ครั้ง มีผูเขารวมประชุม จํานวนไมนอ ยกวา 30 คน
(คณะที่ ป รึ ก ษาขอเพิ่ ม เป น การจั ด Focus Group เป น 2 ครั้ ง ) เพื่ อ ให มี ก ารแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น
และนําขอมูลทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติมาปรับปรุงผลงานใหสมบูรณขึ้น ประเด็นที่ใชเพื่อการจัดประชุม
Focus groups นอกจากเปน การนํ า เสนอข อมู ล จากการสํ า รวจงานด า นเอกสาร จะเป น การศึ ก ษาขอ มู ล
ที่เกิดขึ้น เมื่อเทียบกับการประมาณการดวยการศึกษาจากเอกสาร ตลอดจนไดทราบถึงปญ หาและขอจํากัด
ในการพัฒนาอุตสาหกรรมและการจางงานตามรูปแบบของอุตสาหกรรม 4.0
ง. การจั ด ทํ า แบบสํ า รวจผู ป ระกอบการตั ว อย า งในกลุ ม อุ ต สาหกรรมเป า หมาย เพื่ อ เป น
การขยายผลของการสํารวจใหเกิดความครอบคลุมมากขึ้น โดยเปนการสํารวจดวยแบบสอบถามผานทางสภา
หอการคาและสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สมาคมบริษัทจดทะเบียนหลักทรัพย (ในกลุมอุตสาหกรรม
เป า หมาย และอาจไม ได อ ยู ในกลุ ม ที่ มี ก ารสั ม ภาษณ เชิ งลึ ก ) เพื่ อ ให เกิ ด การรั บ รูแ ละได รับ ข อ เสนอแนะ
ที่มีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น
จ. จั ด ประชุ ม เพื่ อ นํ า เสนอผลการศึ ก ษา และรั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น จากทุ ก ภาคส ว น 1 ครั้ ง
มีผูเขารวมประชุมจํานวนไมนอยกกวา 100 คน โดยกําหนดใหมีกลุมผูเกี่ยวของไดแก ผูแทนสมาคม/สหภาพ/
สหพั น ธของนายจาง สมาคมของผู ป ระกอบการ สมาคม/สหภาพ/สหพัน ธข องลูก จา ง สถาบั นการศึ ก ษา
หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของกับการพัฒนาอุตสาหกรรม/การพัฒนาแรงงาน เจาหนาที่ของกระทรวงแรงงาน
ที่เกี่ยวของ
3.5 การประมวลขอมูลและนําเสนอผลการศึกษา
งานสวนนี้นําผลการศึกษาในสวนการศึกษาเอกสารและการศึกษาดวยการสัมภาษณมาประมวล
ร ว มกั น มี ก ารสั ง เคราะห ค วามรู เชื่ อ มโยงเหตุ ผ ลในรายประเด็ น เพื่ อ ประเมิ น ข อ เหมื อ นหรื อ แตกต า ง
เช น ในกรณี ข องการพั ฒ นาทั ก ษะของแรงงานเพื่ อ รองรั บ ต อ อุ ต สาหกรรม 4.0 ในรายอุ ต สาหกรรม
มีการพัฒนาทักษะแรงงานที่เปนทักษะรวมทั่วไป (Common skill) ที่แรงงานไมวาอุตสาหกรรมใดก็ตองไดรับ
การพัฒนา และทักษะเฉพาะ (Specific skill) ที่เปนทักษะเฉพาะที่จําเปนในแตละอุตสาหกรรม เพื่อใหเห็น
ภาพเส น ทางอุ ต สาหกรรม (Industry roadmap) และทั ก ษะแรงงาน (Skill roadmap) รว มกั น รวมถึ ง
การหาปจจัยที่มีผลตอการขับเคลื่อนในภาคอุตสาหกรรมนั้น (Enabling factors) นอกจากนี้ คณะผูวิจัยจะนํา
การศึกษาดวยการสัมภาษณเชิงลึกในสวนที่เปนขอจํากัดในการพัฒนาอุตสาหกรรมและแรงงานมาเปนขอเสนอ
เพื่อการเตรียมการในอนาคต

3-13
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3-13
3-14
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุค
อุตสาหกรรม 4.0
ภาพที่ 3.1 กรอบภาพรวมของการศึกษา
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3-14
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุค
อุตสาหกรรม 4.0
ตารางที่ 3.2 ตารางการทํางานและภาระงานของนักวิจัยหลัก
เดือน ภาระงานนักวิจัย
แกว ธันย
กิจกรรม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ศุภชัย ขวัญ อนิณ บูรณ
สงมอบแผนการดําเนินงาน S L
การศึกษานโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย L X
การศึกษาแผนและนโยบายที่เกีย่ วของ และแผน 1 - 12 X L
การศึกษา 5 ประเทศ X L X
การศึกษาขอมูลประเภทอุตสาหกรรม 1.0 - 4.0 L X

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การศึกษาทิศทาง แนวโนมการจางงาน L X X
การคัดเลือกอุตสาหกรรม และผูใหสัมภาษณ X L X X
S
สงมอบรายงานความกาวหนา ครั้งที่ 1 1 X X X X
การสัมภาษณเชิงลึกผูประกอบการ X X X L
การสัมภาษณผบู ริการ วิชาการ ภาครัฐ/เอกชน L X X X
การจัด Focus Group X X X L
การจัดทําการสอบถามกลุมผูประกอบการ X L X
การประมวลผลการศึกษาและการจัดทําแผนพัฒนาฯ X X X X
S
สงมอบรายงานความกาวหนาครั้งที่ 2 2 X X X X
การวิเคราะหแผน ทิศทาง L X X
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3-15
3-15
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
3-16
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุค
อุตสาหกรรม 4.0
เดือน ภาระงานนักวิจัย
แกว ธันย
กิจกรรม 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ศุภชัย ขวัญ อนิณ บูรณ
การจัดประชุมเผยแพรผลงาน รับฟงความคิดเห็น L X X
การพัฒนาปรับปรุงรายงาน X X X
S
การสงมอบรางรายงานฉบับสมบูรณ 3 X X X
การแกไขรางรายงาน ตรวจสอบความถูกตอง L
S
การสงมอบรายงานฉบับสมบูรณ 4 L
Man - Month Allocation 5 4 4 3
หมายเหตุ X คือภาระงานของนักวิจัย โดยมี L เปน leader ในแตละงาน ในกรณีที่ไมมี L เปนการทํางานรวมกัน
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3-16
สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บทที่ 4
ประเภทอุตสาหกรรม และสถานการณการจางงาน
4.1 ขอมูลการมีงานทําจําแนกรายอุตสาหกรรม (กิจกรรมทางเศรษฐกิจ)
ขอมูลการมีงานทําจําแนกรายอุตสาหกรรม (กิจกรรมทางเศรษฐกิจ) และระดับการศึกษาป พ.ศ.2560
2555 2550 และ 2545 โดยที่ ก ารจั ด หมวดหมู อุ ต สาหกรรมในป พ.ศ.2560 และ พ.ศ.2555 จะไม แ ตกต า งกั น
และป พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2545 จะเหมือนกัน ตามการจัดหมวดหมูอุตสาหกรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงในป พ.ศ.2552
สําหรับป พ.ศ.2560 โดยสวนใหญผูมีงานทํามีการศึกษาต่ํากวามัธยมศึกษาตอนตน (รวมประมาณรอยละ
61.8 ของจํานวนผูมีงานทําทั้งหมด) และในขณะที่กลุมมัธยมศึกษาตอนปลาย (รอยละ 16.3 ของจํานวนผูมีงานทํา)
และระดั บ อุ ด มศึก ษามี ป ระมาณรอ ยละ 20 ของจํ า นวนผู มี ง านทํ า ทั้ ง หมด ในด า นการจํ า แนกรายอุ ต สาหกรรม
ออกเปน 22 กลุมอุตสาหกรรมตามการจัดหมวดหมูอุตสาหกรรม พบวา มีผูมีงานทําประมาณ 12.55 ลานคนอยูใน
อุตสาหกรรมเกษตรกรรม การปาไม และการประมง คิดเปนรอยละ 33.35 ของจํานวนผูมีงานทําทั้งหมด ผูมีงานทํา
สวนใหญมีการศึกษาต่ํากวาระดับมัธยมศึกษาตอนตน การจางงานในอุตสาหกรรมที่รองลงมา คือ การขายสง ขายปลีก
การซอมจักรยานยนต ที่มีผูมีงานทํารวมประมาณ 6.18 ลานคน คิดเปนรอยละ 16.42 ของจํานวนผูมีงานทําทั้งหมด
ลําดับที่สามคืออุตสาหกรรมการผลิตมีผูมีงานทําจํานวนประมาณ 5.99 ลานคน คิดเปนรอยละ 15.91 ของผูมีงานทํา
ทั้งหมด ซึ่งจํานวนผูมีงานทําตามอุตสาหกรรมและสัดสว นของผูมีง านทําจําแนกตามอุตสาหกรรมและการศึ ก ษา
ระหว า งป 2555 และ 2560 มี โ ครงสร า งที่ ไ ม แ ตกต า งกั น จากข อ มู ล นี้ ยั ง บ ง ชี้ ถึ ง การเป น สั ง คมเกษตรกรรม
และมีโครงสรางของแรงงานอยูในอุตสาหกรรมที่เปนภาคเกษตรกรรม อยางไรก็ตาม เมื่อเทียบโครงสรางของจํานวน
ผูมีงานทําในรายอุตสาหกรรม ไปจนถึงป 2550 และ 2545 จะพบวา สัดสวนของผูมีงานทําในภาคการเกษตรกรรม
มีจํานวนที่ลดลง ในขณะที่อุตสาหกรรมการผลิตและการบริการมีสัดสวนผูมีงานทําในอุตสาหกรรมที่มากขึ้น
จากขอมูลดังกลาวบงชี้ถึงการเปลี่ยนแปลงโครงสรางอุตสาหกรรมและการจางงานในระดับประเทศ
ตามชวงเวลาของการพัฒนาที่ผานมา ซึ่งในการศึกษาตอไปจะมีการลงรายละเอียดดวยการใชหมวดหมูอุตสาหกรรม
ในการประเมินจํานวนผูมีงานทําตามอุตสาหกรรมใหมที่มีการคัดเลือก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-1

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-1


4-2
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.1 จํานวนผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 พ.ศ.2560 (หนวย : พันคน)


มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
1. เกษตรกรรม การปาไม และการประมง 508.4 4,612.0 3,840.0 1,799.8 1,117.5 178.0 0.3 210.2 215.2 45.0 7.8 22.1 12,556.2 33.35
2. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน 0.7 12.1 15.6 12.3 7.8 2.4 - 8.0 6.3 0.1 - - 65.4 0.17
3. การผลิต 259.0 630.8 1,100.5 1,293.4 999.2 304.6 0.2 757.9 474.7 31.8 73.7 64.5 5,990.4 15.91
4. ไฟฟา กาซ ไอน้ําและระบบปรับอากาศ - 3.6 11.0 15.7 8.3 8.8 - 55.9 25.6 0.6 - 0.2 129.7 0.34
5. การจัดหาน้าํ การจัดการและการบําบัด
2.0 17.8 22.2 15.7 10.5 6.3 - 21.7 9.9 2.4 - 0.7 109.3 0.29
น้ําเสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล
6. การกอสราง 73.0 349.8 674.9 426.9 180.4 76.3 - 144.5 77.6 3.3 2.3 10.2 2,019.4 5.36
7. การขายสง และการขายปลีก การซอม
120.4 839.6 1,077.7 1,175.3 1,000.4 366.1 0.2 1,036.5 459.7 74.1 7.3 25.4 6,182.4 16.42
ยานยนต
8. การขนสง และสถานที่เก็บสินคา 7.0 128.6 245.8 275.5 173.6 59.4 - 179.5 87.0 6.2 1.4 4.2 1,168.3 3.10
9. ที่พักแรมและบริการดานอาหาร 67.1 421.4 603.6 575.7 428.7 143.9 - 284.7 150.3 20.1 1.0 20.4 2,716.7 7.22
10. ขอมูลขาวสารและการสื่อสาร - 2.0 2.7 20.7 15.4 6.1 - 126.1 17.6 4.3 - 1.0 195.8 0.52
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

11. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย - 7.3 11.1 30.2 38.9 24.9 - 377.0 42.3 8.0 - 1.3 540.9 1.44
12. กิจกรรมอสังหาริมทรัพย 3.3 17.3 34.8 19.2 16.3 9.9 - 77.5 19.4 2.7 - 1.6 201.8 0.54
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร และ
0.6 4.9 11.0 12.6 25.5 16.9 0.4 235.8 42.1 1.3 - 1.5 352.5 0.94
เทคนิค

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-2
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
14. กิจกรรมการบริหารและการบริการ
6.3 70.6 140.5 135.9 86.0 23.7 - 87.9 25.6 7.0 0.1 1.9 585.4 1.55
สนับสนุน
15. การบริหารราชการ การปองกันประเทศ
3.2 82.3 126.5 145.4 249.0 90.2 0.0 668.7 147.6 50.3 - 3.7 1,566.8 4.16
การประกันสังคม
16. การศึกษา 1.9 37.9 38.5 41.8 51.4 18.4 0.6 445.3 34.7 471.1 2.0 2.1 1,145.7 3.04
17. กิจกรรมดานสุขภาพและงานสังคม
2.5 22.7 30.7 54.0 113.1 24.4 - 242.9 164.9 32.6 0.4 1.8 689.9 1.83
สงเคราะห
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 3.8 31.1 55.5 45.9 48.1 10.5 - 44.9 14.9 4.2 - 1.8 260.6 0.69

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
19. กิจกรรมบริการดานอื่น ๆ 14.2 129.0 233.4 181.6 137.1 29.2 1.0 61.3 35.1 2.9 0.6 7.1 832.6 2.21
20. กิจกรรมการจางงานในครัวเรือนสวนบุคคล
การผลิตสินคาและบริการที่ทําขึ้นเองเพื่อ 22.7 52.2 66.3 34.5 25.4 3.6 - 1.9 4.8 0.3 0.2 6.7 218.7 0.58
ใชในครัวเรือน
21. กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ 0.6 - 0.1 - - - - 2.2 0.1 - 0.6 - 3.6 0.01
22. ไมทราบ - 1.7 1.4 9.8 10.0 3.7 - 71.4 11.6 1.6 - 3.3 114.7 0.30

ยอดรวม 1,096.7 7,474.6 8,343.7 6,322.1 4,742.6 1,407.2 2.8 5,141.8 2,066.9 769.8 97.3 181.3 37,646.8 100.00

รอยละ 2.9 19.9 22.2 16.8 12.6 3.7 0.0 13.7 5.5 2.0 0.3 0.5 100.0

ที่มา: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากรไทย สํานักงานสถิติแหงชาติ


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-3
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-3
4-4
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.2 จํานวนผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 พ.ศ.2555 (หนวย : พันคน)


มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
1. เกษตรกรรม การปาไม และการประมง 768.2 6,416.4 4,801.1 2,565.0 1,382.9 209.8 1.8 191.4 278.0 29.1 7.8 12.1 16,663.5 42.10
2.การทําเหมืองแร และเหมืองหิน 3.7 8.7 15.9 6.8 4.5 3.1 - 10.7 9.1 - - 0.8 63.4 0.16
3. การผลิต 179.2 794.0 1,107.1 1,147.7 797.0 265.9 3.6 497.6 426.9 24.9 9.0 31.2 5,284.1 13.35
4. ไฟฟา กาซ ไอน้ําและระบบปรับอากาศ 0.1 2.4 7.0 14.0 6.1 6.8 - 33.5 24.0 1.2 - 0.1 95.1 0.24
5. การจัดหาน้าํ การจัดการและการบําบัด
0.3 9.0 6.5 10.6 6.1 2.2 - 11.9 8.9 0.1 - 0.0 55.5 0.14
น้ําเสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล
6. การกอสราง 74.9 584.4 786.6 418.5 202.2 62.3 0.6 119.4 74.9 4.2 2.1 9.7 2,339.9 5.91
7. การขายสง และการขายปลีก การซอม
122.5 1,112.9 1,072.3 1,061.2 858.7 329.2 2.6 722.1 446.6 46.4 4.0 29.3 5,807.7 14.67
ยานยนต
8. การขนสง และสถานที่เก็บสินคา 15.0 205.9 182.3 200.3 138.2 43.5 0.0 99.3 66.2 1.3 0.1 10.4 962.3 2.43
9. ที่พักแรมและบริการดานอาหาร 79.9 509.6 491.8 500.3 317.7 93.4 0.9 169.8 116.9 19.3 1.8 17.4 2,318.9 5.86
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

10. ขอมูลขาวสารและการสื่อสาร - 3.5 3.5 10.8 22.4 13.3 0.4 126.6 27.9 3.9 - 1.4 213.6 0.54
11. กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 0.5 8.8 9.0 16.1 30.1 17.0 - 246.3 52.2 5.8 - 0.2 385.9 0.97
12. กิจกรรมอสังหาริมทรัพย 2.0 15.3 23.2 11.4 13.9 8.8 - 41.8 13.4 1.5 - 0.3 131.7 0.33
13. กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร และเทคนิค - 12.6 10.9 17.2 20.8 13.5 - 131.6 24.8 4.5 - 1.1 236.9 0.60
14. กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน 5.1 66.4 83.0 77.3 40.9 18.7 - 62.7 19.7 4.0 - 3.2 381.0 0.96

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-4
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
15. การบริหารราชการ การปองกันประเทศ การ
4.3 125.3 115.7 171.5 247.5 115.3 0.6 616.9 207.9 45.3 - 7.1 1,657.4 4.19
ประกันสังคม
16. การศึกษา 3.1 44.7 32.6 44.6 64.4 17.6 1.8 450.4 65.0 450.7 0.3 2.2 1,177.3 2.97
17. กิจกรรมดานสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห 2.2 30.4 23.5 51.9 112.3 29.6 1.9 195.9 182.7 21.5 - 2.1 653.9 1.65
18. ศิลปะ ความบันเทิง และนันทนาการ 3.7 32.3 57.3 45.1 36.3 4.6 - 21.6 14.5 4.8 - 3.9 223.9 0.57
19. กิจกรรมบริการดานอื่น ๆ 13.1 115.9 143.6 146.0 87.8 32.3 0.1 49.1 39.5 3.9 0.7 3.6 635.5 1.61
20. กิ จ กรรมการจา งงานในครั ว เรือ นสว นบุคคล

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การผลิตสินคาและบริการที่ทําขึ้นเองเพื่อใชใน 23.2 83.9 72.0 40.3 18.4 4.1 - 1.1 1.7 0.3 0.8 1.0 246.9 0.62
ครัวเรือน
21. กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ 0.1 - - 0.2 0.6 0.0 - 4.8 - 0.5 - - 6.1 0.02
22. ไมทราบ - 0.4 0.2 1.7 1.9 1.8 - 17.0 6.3 4.8 - 3.8 37.9 0.10

ยอดรวม 1,301.1 10,182.8 9,044.9 6,558.4 4,410.6 1,292.6 14.3 3,821.4 2,107.0 677.8 26.6 140.8 39,578.3 100.00

รอยละ 3.3 25.7 22.9 16.6 11.1 3.3 0.0 9.7 5.3 1.7 0.1 0.4 100.0

ที่มา: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากรไทย สํานักงานสถิติแหงชาติ


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-5
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-5
4-6
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.3 จํานวนผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 พ.ศ.2550 (หนวย : พันคน)


มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
1. เกษตรกรรม การลาสัตว การปาไม 780.3 6,995.3 4,234.5 1,773.3 855.3 145.9 1.1 78.9 164.7 31.6 16.9 4.1 15,081.8 40.63
2. การประมง 30.7 173.8 107.7 49.3 26.2 5.2 - 7.3 6.7 1.2 1.0 0.9 410.0 1.10
3. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน 0.8 14.7 13.0 9.6 7.1 1.4 - 2.4 4.2 0.7 - - 53.9 0.15
4. การผลิต 120.9 1,055.2 1,345.4 1,209.4 782.1 256.0 2.4 413.4 348.8 23.1 7.0 29.3 5,593.0 15.07
5. ไฟฟา กาซ ไอน้ําและระบบปรับอากาศ - 9.5 11.6 16.4 11.7 11.6 0.6 22.8 19.7 0.3 - 0.6 104.9 0.28
6. การกอสราง 59.4 631.5 595.9 314.8 114.0 50.9 0.9 94.3 63.0 7.3 0.5 6.2 1,938.7 5.22
7. การขายสง และการขายปลีก การซอ ม
137.4 1,367.2 1,047.4 963.5 660.4 300.9 2.8 584.6 379.4 50.0 8.4 23.4 5,525.4 14.88
ยานยนต
8. โรงแรม และภัตตาคาร 60.8 717.5 499.7 407.5 263.0 123.4 0.7 101.0 94.4 14.7 1.0 18.9 2,302.4 6.20
9. การขนส ง และสถานที่เก็ บ สิน ค า และ
16.2 229.3 200.7 188.3 116.0 51.3 0.8 144.6 60.2 10.5 0.2 8.5 1,026.5 2.77
การคมนาคม
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

10. การเปนสื่อกลางทางการเงิน 0.1 10.1 11.6 10.4 18.4 18.6 - 226.4 45.5 8.3 - 0.7 350.2 0.94
11. กิจการดานอสังหาริมทรัพย การใหเชา
7.7 117.7 89.1 106.4 59.4 32.4 0.1 215.4 70.6 11.4 0.0 7.3 717.4 1.93
และกิจกรรมทางธุรกิจ
12. การบริหารราชการ การปองกันประเทศ
2.0 107.2 70.2 151.0 158.8 148.7 1.0 454.6 151.8 38.2 - 3.4 1,286.9 3.47
การประกันสังคมภาคบังคับ
13. การศึกษา 4.1 50.6 33.0 37.5 45.3 13.9 1.8 286.6 50.3 557.1 0.4 4.6 1,085.0 2.92

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-6
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
14. งานดานสุขภาพ และงานสังคม
8.0 65.2 31.3 62.3 114.4 30.9 0.3 122.0 186.8 22.2 0.6 3.4 647.2 1.74
สงเคราะห
15. กิจกรรมดานบริการชุมชน สังคม และ
20.2 204.2 143.3 120.5 114.6 33.0 0.1 53.9 19.9 6.7 0.6 1.0 717.9 1.93
การบริการ
16. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล 17.3 87.7 65.3 26.4 20.9 4.0 - 2.5 1.2 0.1 0.5 3.5 229.2 0.62
17. กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ - 0.1 0.1 0.5 - - - 0.2 - - 0.2 - 1.2 0.00
18. ไมทราบ 0.2 1.4 4.7 5.1 4.7 4.7 - 22.9 3.9 - - 2.9 50.6 0.14

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รวม 1,266.2 11,838.3 8,504.4 5,451.8 3,372.2 1,232.8 12.4 2,833.7 1,671.2 783.2 37.2 118.5 37,122.0 100.00
รอยละ 3.4 31.9 22.9 14.7 9.1 3.3 0.0 7.6 4.5 2.1 0.1 0.3 100.0

ที่มา: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากรไทย สํานักงานสถิติแหงชาติ


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-7
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-7
4-8
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.4 จํานวนผูมีงานทําจําแนกตามระดับการศึกษา และอุตสาหกรรม ไตรมาสที่ 3 พ.ศ.2545 (หนวย : พันคน)


มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
1. เกษตรกรรม การลาสัตว การปาไม 757.9 8,143.1 4,009.9 1,502.0 617.4 115.2 1.7 46.8 88.6 19.2 1.2 8.2 15,311.3 44.69
2. การประมง 20.7 227.4 143.9 56.1 19.7 6.0 - 6.0 6.9 0.9 0.3 0.7 488.6 1.43
3. การทําเหมืองแร และเหมืองหิน 0.3 13.2 8.1 5.4 3.2 1.7 - 2.9 1.8 0.2 - - 36.8 0.11
4. การผลิต 99.7 1,250.1 1,374.5 978.2 535.0 215.7 1.1 269.1 272.2 19.6 9.5 15.1 5,039.7 14.71
5. ไฟฟา กาซ ไอน้ําและระบบปรับอากาศ - 7.8 12.5 13.7 9.7 20.0 - 11.3 18.7 1.6 - 0.2 95.4 0.28
6. การกอสราง 38.7 649.6 455.7 210.0 73.3 50.3 0.2 75.8 57.9 5.1 0.6 2.3 1,619.4 4.73
7. การขายสง และการขายปลีก การซอมยานยนต 126.6 1,503.2 857.5 760.5 489.0 267.3 2.6 387.9 282.3 42.7 1.2 18.4 4,739.3 13.83
8. โรงแรม และภัตตาคาร 60.4 769.7 397.1 342.6 184.4 76.2 1.3 69.2 63.3 16.0 3.0 4.9 1,988.1 5.80
9. การขนส ง และสถานที่ เ ก็ บ สิ น ค า และการ
7.8 324.4 190.7 159.3 75.1 61.0 0.1 91.3 44.9 4.5 0.7 5.1 964.6 2.82
คมนาคม
10. การเปนสื่อกลางทางการเงิน 0.1 10.1 9.9 16.8 22.2 22.1 0.0 142.8 31.0 7.1 0.1 1.0 263.1 0.77
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

11. กิจ การดานอสั งหาริมทรัพ ย การใหเชา และ


4.4 97.6 66.9 66.8 48.3 31.9 0.1 129.4 45.8 5.5 - 2.0 498.6 1.46
กิจกรรมทางธุรกิจ
12. การบริหารราชการ การปองกันประเทศ การ
0.1 81.8 42.3 114.0 73.1 150.6 1.1 334.2 103.4 49.6 - 6.5 956.7 2.79
ประกันสังคมภาคบังคับ
13. การศึกษา 1.9 54.7 27.7 37.0 43.2 11.3 7.2 188.2 30.0 543.0 0.1 2.4 946.6 2.76

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-8
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา
ไมมี ต่ํากวา มัธยมศึกษา สาย
อุตสาหกรรม ประถมศึกษา สาย สาย สาย สาย
สาย อื่นๆ* ไม รวม รอยละ
การศึกษา ประถมศึกษา ตอนตน วิชาการ วิชาการ ทราบ
สามัญ อาชีวศึกษา วิชาการ วิชาชีพ
ศึกษา ศึกษา
14. งานดานสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห 3.5 57.4 22.1 47.7 76.3 21.9 1.0 71.7 154.6 14.6 - 0.5 471.3 1.38
15. กิจกรรมดานบริการชุมชน สังคม และการ
16.8 205.6 128.7 102.6 58.5 25.3 0.5 31.6 20.9 6.3 5.0 0.3 602.2 1.76
บริการ
16. ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล 12.0 92.9 76.6 22.3 10.8 0.4 - - 1.7 - 0.1 4.8 221.5 0.65
17. กิจกรรมขององคการระหวางประเทศ - 0.3 0.9 - - - - 2.4 - - - 1.3 4.8 0.01
18. ไมทราบ - 0.9 0.5 2.0 2.5 1.9 - 5.4 0.8 - - 0.4 14.5 0.04

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รวม 1,151.0 13,489.8 7,825.4 4,437.0 2,341.6 1,078.9 16.8 1,866.0 1,224.8 735.7 21.8 73.8 34,262.4 100.00
รอยละ 3.4 39.4 22.8 12.9 6.8 3.1 0.0 5.4 3.6 2.1 0.1 0.2 100.0

ที่มา: การสํารวจภาวะการทํางานของประชากรไทย สํานักงานสถิติแหงชาติ


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-9
สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-9
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4.2 การจัดนิยามหมวดหมูอตุ สาหกรรมเพื่อรองรับอุตสาหกรรมใหม


การจั ด ประเภทมาตรฐานอุ ต สาหกรรมประเทศไทย เดิ ม เป น ภารกิ จ ของกรมแรงงาน
กระทรวงมหาดไทย จัดพิมพครั้งแรกเมื่อป พ.ศ.2515 โดยใชหลักเกณฑการจัดแบงหมวดหมูและการกําหนดรหัส
ตามการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล (International Standard Industrial Classification of All
Economic Activities 1968 : ISIC) ขององคการสหประชาชาติ (United Nations) ตั้งแตป พ.ศ.2536 เปนตนมา
การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย เปนภารกิจของกระทรวงแรงงาน โดยกรมการจัดหางาน
เปนหนวยงานหลักในการดําเนินการจัดทําขอมูลและกําหนดรหัสหมวดหมูอุตสาหกรรม ตามหลักเกณฑเดียวกัน
กั บ การจั ดประเภทมาตรฐานอุ ต สาหกรรมสากล (ISIC) และไดดํา เนิ น การปรั บ ปรุ ง มาตรฐานอุ ต สาหกรรม
ครั้งที่ 2 ป พ.ศ 2544
ในป พ.ศ.2549 องคการสหประชาชาติไดดําเนินการปรับปรุงมาตรฐานอุตสาหกรรมสากลขึ้นใหม
เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจไดเปลี่ยนแปลงไป และสืบเนื่องจากการประชุมของกลุมประเทศสมาชิกอาเซียนไดรวมกัน
ผลั กดั น ให มีการปรับ ปรุงการจั ดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมเพื่อ ใหเ ปนแนวทางเดีย วกันภายในประเทศ
กลุมสมาชิก โดยนําโครงสรางของการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล ป พ.ศ.2549 (International
Standard Industrial Classification) ISIC Rev.4 มาเป นแนวทางในการจัด ทํา ASEAN Common Industrial
Classification (ACIC) และใหแตละประเทศไดนํา ไปปรับขอ มูลอุตสาหกรรมใหสอดคลอ งกับ ACIC และ ISIC
Rev.4 (การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย, 2552)
โครงสรางของการจัดหมวดหมูอุตสาหกรรมตาม TSIC-Rev4 จัดกลุมอุตสาหกรรมเปน 4 รูปแบบ คือ
หมวดใหญ หมวดยอย หมูใหญ และหมูยอย และการจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมสากล (ISIC) จะจําแนก
ประเภทไวถึงหมูยอยเทานั้น การจัดประเภทในระดับที่เล็กลงจากหมูยอย องคการสหประชาชาติใหเปนหนาที่ของ
แตละประเทศ ในการพิจารณาจัดจําแนกรายละเอียดตัวอุตสาหกรรมตามโครงสรางเศรษฐกิจของแตละประเทศ
โดยที่
หมวดใหญ (Section) เปน กลุม อุตสาหกรรมที่ใหญที่สุด แบงเป น 21 หมวดใหญ แทนดว ยตัว
ตัวอักษร 1 ตัว คือ A - U
หมวดยอย (Division) จําแนกยอยจากหมวดใหญ แทนดวยเลขรหัสตัวที่ 2 – 1
หมูใหญ (Group) จําแนกยอยจากหมวดยอยแทนดวยเลขรหัสตัวที่ 3 – 1
หมูยอย (Class) จําแนกยอยจากหมูใหญแทนดวยเลขรหัสตัวที่ 4 – 1

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-10

4-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตัวอุตสาหกรรม (Industry) เปนหนวยที่เล็กที่สุดที่แตละประเทศจัดขึ้นเอง โดยจําแนกจากหมูยอย


แทนดวยเลขรหัสตัวที่ 5 – 1
กรมการจัด หางาน กระทรวงแรงงาน และสํา นักงานคณะกรรมการการอาชีว ศึ กษา กระทรวง
ศึกษาธิการ มีการบูรณาการเพื่อกําหนดกลุมอุตสาหกรรมใหสอดคลองกับหลักสูตรของสํานักงานคณะกรรมการ
การอาชี ว ศึ กษา ไดมีการจัดหมวดหมูของอุต สาหกรรม เพื่อ ใหมีความสอดคลอ ง กับ อุต สาหกรรมเปาหมาย
10 อุ ต สาหรรม จากรหั ส มาตรฐานอุ ต สาหกรรม (Thailand Standard Industrial Classification; TSIC)
ตามภาคผนวกแนบทายบทที่ 4
เมื่อมีการจําแนกรหัสของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยการใชหลักการของกระทรวงแรงงานรวมกับ
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาใชประมวลขอมูลการสํารวจภาวะการมีงานทํา
ของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ.2555 – 2560 และมี ก ารใช คา น้ํ า หนั ก การสุ ม
ประชากรที่จัดทําโดยสํานักงานสถิติแหงชาติ ผลที่ไดตามที่เสนอในตารางที่ 4.5 และสอบทานเทียบเคียงจํานวนกับ
ผู มีงานทํากับ การประมวลขอมูลของสํานักงานสถิติแหงชาติ (จํานวนผูมีงานทํามีจํานวนที่เทากันและตามการ
จําแนก 22 อุตสาหกรรมเทากัน) พบวา ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 มีผูมีงานทําประมาณ 39,578,344 คน โดยอยู
ในอุตสาหกรรม 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย จํานวน 20,525,160 คน คิดเปนรอยละ 51.86 ของจํานวนผูมีงานทํา
ทั้งนี้ ในภาพรวมรอยละของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมตอจํานวนผูมีงานทํามีแนวโนมที่ลดลงอยางตอเนื่อง (จาก
รอยละ 62.34 ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2555 เปนรอยละ 51.86 ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560) หรือลดลงโดยเฉลี่ย
รอยละ 2.51 ตอป
ทั้ ง นี้ เ มื่อ เทีย บในราย 10 อุ ต สาหกรรมเป า หมาย พบว า อุ ต สาหกรรมป โ ตรเคมี แ ละเคมี ภั ณ ฑ
เชื้อเพลิง ชีวภาพ เปนอุตสาหกรรมที่มีการเพิ่มขึ้นของการจางงานมากที่สุด คือ โดยเฉลี่ยประมาณรอยละ 25 ตอป
รองลงมา คือ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร โดยเฉลี่ยรอยละ 5.71 ตอป และ อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
โดยเฉลี่ยประมาณร อยละ 4.28 ตอป สําหรับอุตสาหกรรมเปาหมายที่มีอัต ราการลดลงของผูทํา งานมากที่สุด
สามลําดับแรก คือ เกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ ลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 4.86 ตอป รองลงมาคือ อุตสาหกรรม
ดิจิทัล ลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 1.53 ตอป และ อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ ลดลงโดยเฉลี่ยรอยละ 0.78
ตอป ตามลําดับ อยางไรก็ตาม จํานวนของผูมีงานทําใน 10 อุตสาหกรรมอาจมีจํานวนที่มากกวาความเปนจริง
และในทางปฏิบัติยังมีลักษณะเปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใตสมมติฐานของอุตสาหกรรมในรูปแบบเดิม แตเปน
การเลือกกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีความเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมใหม 10 อุตสาหกรรม ดังนั้นแนวโนมของจํานวน
ผู มี ง านทํ า ยั ง คงอยู ใ นอุ ตสาหกรรมเกษตรและเทคโนโลยี ชี ว ภาพ อุ ต สาหกรรมการท อ งเที่ ย วกลุ มรายได ดี
และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพและการแปรรูปอาหาร ตามลําดับ (ในความเปนจริง หากอุตสาหกรรมใหมเกิดขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-11

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-11


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การจําแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจจะไดจํานวนผูมีงานทําในแตละอุตสาหกรรมใหมลดลง เนื่องจากมีความจําเพาะ
เจาะจงมากขึ้น)
ในการประมวลขอมูลมีการจัดทํา ตารางที่ป ระกอบดวยเงิน เดือ นเฉลี่ย คามากที่สุด และคา นอ ยที่สุด
และคา Percentile ที่ระดับ 25 50 และ 75 รวมถึงคาสวนเบี่ยงมาตรฐาน โดยที่คา Percentile ที่ 50 ซึ่งจะมีคา
เทากับคามัธยฐาน โดยมีการจําแนกตามอุตสาหกรรมเปาหมายทั้ง 10 อุตสาหกรรมและมีการเทียบเคียงกับกรณี
ของการจางงานนอกอุตสาหกรรมเปาหมาย และทายสุดเทียบกับการจางงานรวม (ตารางที่ 4.6)
จากข อมูลบงชี้วา เงินเดือนเฉลี่ยของผูมีงานทําโดยรวมอยูที่ประมาณ 13,878 บาทตอเดือน โดยมีคา
มัธยฐานที่ 10,000 บาทตอเดือน ทั้งนี้เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมนอกกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม
พบวา เงินเดือนของอุตสาหกรรมนอกกลุมเปาหมายโดยเฉลี่ยยังมีคาสูงกวาคาเฉลี่ยของเงินเดือนของผูมีงานทํา
สําหรับการเปรียบเทียบกับอุตสาหกรรมเปาหมาย พบวา อุตสาหกรรมที่มีคาเฉลี่ยของเงินเดือนต่ํากวาคาเฉลี่ย
ของประเทศ คือ อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ (เฉลี่ย 11,570 บาท
ตอเดื อน) อุ ตสาหกรรมการแปรรูป อาหาร (เฉลี่ย 10,581 บาทตอเดือน) และ อุต สาหกรรมการเกษตรและ
เทคโนโลยีชีวภาพ (เฉลี่ย 6,186 บาทตอเดือน) ในขณะที่อุต สาหกรรมอื่นๆที่อยูในเปาหมายมีเงินเดือ นเฉลี่ย
ที่สูงกวาคาเฉลี่ยของประเทศ ซึ่งอุตสาหกรรมทั้ง 3 กลุมนี้เปนกลุมอุตสาหกรรมที่มีความเปนฐานเดิมของการผลิต
ของประเทศที่พึ่งทรัพยากรทางธรรมชาติและการเกษตรของประเทศ และยังเปนอุตสาหกรรมที่มีสัดสวนจํานวน
ผูมีงานทําที่สูงเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่น ๆ
ในกรณี ข องเงินเดือนอุตสาหกรรมเป าหมายที่สูงสุดสามลําดับ แรกประกอบดวย อุตสาหกรรมดิจิทัล
(เฉลี่ย 29,224 บาทตอเดือน) รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (เฉลี่ย 25,393 บาท
ต อ เดื อ น) และอุ ต สาหกรรมการแพทย ค รบวงจร (เฉลี่ย 19,014 บาทต อ เดื อ น) ตามลํ า ดั บ ในการประเมิ น
อาจพิ จ ารณาการกระจายตัวของเงินเดือ น พบวา ในอุตสาหกรรมที่มีการกระจายตัว ของเงินเดื อนที่สูง ที่ สุด
คือ อุตสาหกรรมดิจิทัล (เฉลี่ย 29,224 บาทตอเดือน) รองลงมาคือ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
และอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร คือ ความแตกตางของเงินเดือนของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมเหลานี้มีมาก
เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ซึ่งเปนการสรุปโดยการวัดจากคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตารางที่ 4.7 แสดงถึ งสถานภาพการทํางานของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม
โดยอุ ต สาหกรรมยานยนต ส มั ย ใหม อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อั จ ฉริ ย ะ อุ ต สาหกรรมการแปรรู ป อาหาร
อุต สาหกรรมเชื้ อ เพลิงชีว ภาพและเคมีชีว ภาพ และอุต สาหกรรมดิ จิทั ล ผูมีงานทํา เกื อบทั้ง หมดอยู ในระบบ
ของลู ก จ า งเอกชน สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วกลุ ม รายได ดี แ ละการท อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ อุ ต สาหกรรม
การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ มีผูมีงานทําสวนมากเปนการทําธุรกิจสวนตัว (ไมมีลูกจาง) และอุตสาหกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-12

4-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การบินและโลจิสติกสจะมีสถานภาพของผูมีงานทําแบงเปนสองกลุมจํานวนไมแตกตางกันมาก คือ การทําธุรกิจ


ส ว นตั ว (ไม มีลูกจา ง) ซึ่งเปนธุร กิจ การขนสง โลจิส ติกสที่เปนรายยอ ย และการเปนลูก จางเอกชน ในขณะที่
อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจรมีผูมีงานทําในลักษณะของการเปนลูกจางรัฐบาล
ตารางที่ 4.8 แสดงถึงลักษณะอาชีพที่จัดแบงตามมาตรฐานอาชีพของสํานักงานสถิติแหงชาติ เพื่อให
เห็นถึงอาชีพของผูมีงานทําในแตละอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม และสงผลตอการพัฒนาทักษะแรงงาน
ตามสายอาชี พ นอกจากนี้ ก ารกระจายตั ว ของผู มี ง านทํ า ตามอาขี พ ยั ง ทํ า ให เ ห็ น โครงสร า งของการทํ า งาน
ในแตละอุตสาหกรรมวามีองคประกอบของอาชีพใดบางและมีอยูมากนอยเพียงใด นอกจากนี้เมื่อใชประกอบกับ
ตารางที่ 4.9 ที่เปนการจําแนกผูมีงานทํา ตามระดับ การศึกษา จะทําใหเห็นถึงคุณภาพของแรงงานไดเ พิ่ มเติม
มากขึ้น เชน กรณีของอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ มีผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับ
ที่ ไ ม เ กิ น มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต น ดั ง นั้ น การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมนี้ แ บบก า วกระโดดอาจทํ า ได ย าก เนื่ อ งจาก
ความสามารถของการรับเทคโนโลยีข องผูมีงานทํา ในกลุมผูมีก ารศึกษาในระดับ ที่ต่ํา กวามัธยมศึกษาตอนตน
อาจทํ า ได ย าก ซึ่ ง กรณี นี้ อ าจมีค วามแตกตา งจากอุ ต สาหกรรมการแพทย ค รบวงจร ที่ มีผูมี ง านทํ า ส ว นมาก
มีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป ซึ่งจะมีความสามารถเฉพาะทาง และมีความสามารถเชิงวิชาชีพ (ประกอบกับ
ตารางที่ 4.8 ที่อาชีพสวนใหญเปนกลุมวิชาชีพ) ซึ่งการพัฒนาทักษะก็จะสามารถประยุกตใชเทคโนโลยีในระดับขั้น
สูงขึ้นไดดกี วา เปนตน
นอกจากนี้ในภาพที่ 4.1 – 4.10 เปนการแสดงใหเห็นถึงโครงสรางอายุของผูมีงานทําในแตละอุตสาหกรรม
เปาหมาย โดยเปนการแสดงจํานวนของผูมีงานทํา (แสดงโดยกราฟแทงและอานคาจากแกนซาย) และเงินเดือน
เฉลี่ยตามอายุ (แสดงโดยกราฟเสนและอานคาจากแกนขวา) เพื่อชี้ใหเห็นถึงการทดแทนแรงงานและคาตอบแทน
ของแตละชวงอายุ โดยมีขอสังเกต คือ ในแตละอุตสาหกรรม การใชแกนขวามือเพื่อแสดงโครงสรางคาจางตามอายุ
ของแต ล ะอุ ต สาหกรรมจะมี ก ารใชเ สกลที่ แ ตกต า งซึ่ ง แสดงถึ ง ธรรมชาติ ข องแต ล ะอุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารจา ย
คาตอบแทนที่ตางกัน ซึ่งจะสอดคลองกับภาพรวมที่มีการเสนอในเรื่องคาตอบแทนของตารางที่ 4.6
จากภาพที่นํามาแสดงมีขอที่นาสนใจและอาจใชเปนตัวอยางของการวิเคราะห คือ อุตสาหกรรมการเกษตร
และเทคโนโลยี ชี ว ภาพ ที่ มี แ นวโน ม ของผู มี ง านทํ า อยู ใ นกลุ ม ของผู มี อ ายุ ตั้ ง แต 45 ป ขึ้ น ไปในสั ด ส ว นที่ สู ง
ซึ่ ง อาจต อ งมี ก ารพิ จ ารณาถึ ง การทดแทนกํ า ลั ง แรงงานในอนาคตรวมถึ ง การถ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารผลิต
ให เ หมาะสมเพื่ อ ให รั ก ษาความสามารถในการผลิ ต ไดอ ย า งต อ เนื่ อ ง ในขณะที่อ ุต สาหกรรมหุน ยนตยั ง เป ็น
อุตสาหกรรมใหม มีการจางงานที่นอย ดังนั้น กลุมตัวอยางอาจยังมีการกระจายตัวของผูมึงานทําตามชวงอายุที่ยัง
ไมตอเนื่อง และคาตอบแทนอาจยังเปนตัวแทนของขอมูลที่ไมชัดเจนนัก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-13

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-13


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สําหรับรูปแผนภาพการกระจายตัวของผูมีงานทําโดยการใชแผนที่ประเทศไทย เปนเครื่องมือเพื่อพิจารณา
การกระจุกหรือการกระจายตัวของแรงงานในแตละอุตสาหกรรม ซึ่งในบางอุตสาหกรรมจะมีการกระจายตัวอยูทุก
จังหวัดของประเทศไทย (สังเกตจากคามากที่สุดและนอยสุดที่เปนแถบสีบนแผนที่) และบางอุตสาหกรรมที่ไมมี
การจ า งงานในบางจั ง หวั ด (แสดงค า เริ่ ม ต น เป น 0) ทั้ ง นี้ ก ารกระจายตั ว ของแรงงานยั ง มี ก ารกระจุ ก ตั ว
ตามสถานประกอบการและนโยบายการส ง เสริ ม การลงทุ น ของภาครั ฐ โดยจั ง หวั ด ที่ มี ก ารกระจุ ก ตั ว
ของอุตสาหกรรมเปาหมายใหม ๆ ไดแก กรุงเทพและปริมณฑล เขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) และบางกลุม
มีการกระจายตัวตามจังหวัดที่มนี ิคมอุตสาหกรรม และสําหรับอุตสาหกรกรมดั้งเดิมมีการกระจายตัวทั่วทั้งประเทศ
เปนตน ซึ่งการใชแผนภาพนี้เปนเครื่องมือชวยในการกําหนดมาตรการและนโยบายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาฝมือ
แรงงาน การจางงานแรงงานตางดาว และการแกไขปญหาดานแรงงานในอนาคต
สํ า หรั บ แผนภาพถั ด มาเป น การแสดงถึ ง การจ า งงานว า มี ส ถานะเป น แรงงานในระบบ (มี น ายจ า ง
และมีการสงสมทบตามมาตรา 33 ของระบบประกันสังคม) และแรงงานนอกระบบ (ไมมีนายจาง เปนแรงงาน
อิสระ ไมมีการสงสมทบตามมาตรา 33 ของระบบประกันสังคม) เพื่อแสดงถึงรูปแบบของการทํางานและความ
คุมครองตามระบบประกันสังคม โดยในบางอุตสาหกรรมมีจํานวนของแรงงานสวนมากนอกระบบประกันสังคม ทํา
ให ข าดความคุ มครองดา นการประกันสังคม และรูป แบบของการพัฒ นาฝมือแรงงานอาจอยูใ นระดับ ที่ จํ า กั ด
แตกตางจากกรณีที่มีนายจางหรือมีการทํางานในรูปแบบของบริษัทที่มีระบบการพัฒนาฝมือแรงงานที่ชัดเจนกวา
นอกจากนี้เมื่อใชประกอบกับโครงสรางตามอายุจะทําใหเห็นภาพของการทดแทนแรงงานและความยืดหยุนของ
การใชแรงงานในแตละอุตสาหกรรมระหวางในและนอกระบบ
ทั้งนี้ ทิศทางที่สําคัญของการใชขอมูลอุตสาหกรรมกลุมใหม ใชเปนเพียงแนวทางเพื่อใหเห็นสถานการณ
ของอุตสาหกรรมและกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวของ อยางไรก็ตามการใชขอมูลอาจตองมีการคํานึงถึงการจัด
ประเภทกิจกรรมที่อาจตองใหมีความสอดคลองกับอุตสาหกรรมใหมที่จะเกิดขึ้นมากยิ่งขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-14

4-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.5 จํานวนการจางงานรายอุตสาหกรรมใหม ตามการจําแนกรหัสของกรมการจัดหางาน ไตรมาส 3 ป 2555 - 2560


อุตสาหกรรม 2555 2556 2557 2558 2559 2560
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 490,209 425,527 553,078 584,930 572,716 555,529
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 417,714 390,510 459,246 464,523 440,413 401,478
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดแี ละการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 2,785,021 2,654,750 3,043,746 3,119,544 3,321,917 3,253,425
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 16,744,014 16,510,584 13,644,774 13,139,150 12,805,486 12,673,906
อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 1,174,404 1,236,398 1,495,718 1,482,329 1,480,318 1,509,546
อุตสาหกรรมหุนยนต 5,003 3,274 473 1,234 4,641 5,199

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 962,565 900,958 1,158,331 1,223,472 1,134,120 1,168,318
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชวี ภาพ 24,448 49,422 63,045 84,913 78,332 55,141
อุตสาหกรรมดิจิทัล 195,248 185,170 247,039 229,381 195,311 180,283
อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 669,064 687,889 710,865 671,526 719,397 722,335
รวม 10 อุตสาหกรรม 23,467,690 23,044,482 21,376,315 21,001,003 20,752,651 20,525,160
จํานวนผูมีงานทํา 37,646,884 38,263,172 38,330,419 38,420,993 39,112,400 39,578,344
รอยละ 62.34 60.23 55.77 54.66 53.06 51.86

ที่มา: การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ. 2555 – 2560 โดยการใชการจําแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
โดยกระทรวงแรงงานรวมกับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-15
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-15
4-16
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.6 คาตอบแทนตอเดือนของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม


สวนเบี่ยงเบน
อุตสาหกรรม คาเฉลี่ย คานอยที่สุด Percentile25 Percentile50 Percentile75 คามากที่สุด
มาตรฐาน
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 14,788 5,000 9,100 12,000 15,000 200,000 11,228
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 14,408 5,040 9,000 12,000 15,000 200,000 11,715
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดแี ละการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 11,570 1,000 7,800 9,100 12,000 250,000 8,630
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 6,186 300 4,000 5,500 7,500 100,000 4,666
อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 10,581 400 7,930 8,370 11,000 110,000 7,070
อุตสาหกรรมหุนยนต 19,477 15,000 15,000 18,000 18,000 30,000 6,389
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 17,274 1,000 10,000 13,000 20,000 100,000 12,982
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชวี ภาพ 25,393 5,000 12,000 18,000 32,000 100,000 19,103
อุตสาหกรรมดิจิทัล 29,224 4,700 15,000 23,000 35,000 200,000 24,198
อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 19,014 1,500 10,000 15,000 24,000 150,000 13,868
นอกอุตสาหกรรมเปาหมาย 14,816 400 8,008 10,400 17,000 285,570 12,294
รวมทุกอุตสาหกรรม 13,878 300 7,800 10,000 15,000 285,570 12,005
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ที่มา: การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560 โดยการใชการจําแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจโดยกระทรวง


แรงงานรวมกับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-16
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.7 สถานภาพการทํางานของผูทํางานใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย


ธุรกิจสวนตัว ธุรกิจครัวเรือน ลูกจาง ลูกจาง ลูกจาง ผูรับจางทํางาน การ
อุตสาหกรรม นายจาง รวม
(ไมมีลูกจาง) (ไมไดรับคาจาง) รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ เอกชน หลายเจา รวมกลุม
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 585 3,143 1,108 1,314 - 549,266 112 - 555,528
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 2,529 3,327 1,313 - - 394,308 - - 401,477
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดี
108,218 1,418,180 568,611 6,042 131 1,143,692 7,078 1,474 3,253,427
และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ 177,291 6,291,143 4,381,287 43,001 3,651 1,144,319 629,130 4,086 12,700,000

อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 28,786 238,762 168,350 553 - 1,058,930 9,659 4,503 1,509,545

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อุตสาหกรรมหุนยนต - 329 240 - - 4,630 - - 5,199
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 12,502 505,117 13,408 6,945 126,991 500,181 2,813 363 1,168,319
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ
601 214 - - 15,841 37,160 1,324 - 55,140
และเคมีชีวภาพ
อุตสาหกรรมดิจิทัล 3,687 13,972 1,063 2,217 27,860 131,463 20 - 180,283
อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 5,241 27,647 2,560 489,933 - 196,720 177 57 722,336

ที่มา: การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-17
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-17
4-18
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.8 อาชีพของของผูทํางานใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย


ผูจัดการ ผูปฏิบตั งิ านที่มี
ผูประกอบ ชางฝมือและ ผูปฏิบตั กิ าร
ขาราชการระดับ เจาหนาที่ พนักงาน ฝมือในดาน ผูประกอบอาชีพ
อุตสาหกรรม วิชาชีพดาน เสมียน ผูปฏิบตั งิ านที่ เครื่องจักรโรงงาน อื่น ๆ รวม
อาวุโส และผู เทคนิค บริการ การเกษตร ปา งานพื้นฐาน
ตางๆ เกี่ยวของ และเครื่องจักร
บัญญัตกิ ฎหมาย ไม และประมง
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 23,885 21,737 46,873 45,953 9,255 1,057 83,002 290,258 30,907 2,601 555,528
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 14,364 21,956 42,553 18,482 3,635 - 33,945 249,884 15,161 1,497 401,477
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดี
106,621 74,640 99,059 94,662 2,527,139 19,245 43,056 50,807 238,197 - 3,253,427
และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
อุตสาหกรรมการเกษตรและ
18,007 17,695 18,778 15,503 7,320 11,500,000 22,042 113,899 924,954 - 12,700,000
เทคโนโลยีชีวภาพ
อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 39,689 24,383 66,382 73,284 85,332 4,043 602,859 327,734 285,838 - 1,509,545
อุตสาหกรรมหุนยนต - - 958 - - - 4,241 - - - 5,199
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 40,157 20,983 61,712 143,252 54,815 741 27,303 755,010 63,790 555 1,168,319
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมี
6,001 13,071 8,931 3,746 1,188 431 6,352 10,614 4,806 - 55,140
ชีวภาพ
อุตสาหกรรมดิจิทัล 19,472 58,257 43,712 18,618 15,191 - 16,468 6,051 2,513 - 180,283
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 15,679 266,199 165,990 60,743 139,892 3,719 19,153 18,112 32,705 143 722,336

ที่มา: การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-18
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.9 การศึกษาของผูมีงานทําใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย


อุตสาหกรรมการ
อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม
ทองเที่ยวกลุม อุตสาหกรรมการ
การศึกษา ยานยนต อิเล็กทรอนิกส การเกษตรและ
รายไดดีและการ แปรรูปอาหาร
สมัยใหม อัจฉริยะ เทคโนโลยีชีวภาพ
ทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
ไมมีการศึกษา 14,046 1,464 73,685 515,551 106,315
ต่ํากวาประถมศึกษา 10,618 3,995 472,167 4,615,682 219,090
ประถมศึกษา 44,279 10,006 710,168 3,854,679 305,940
ม.ตน 135,424 90,964 692,508 1,815,563 297,080
ม.ปลาย (สายสามัญ) 142,779 127,229 537,638 1,143,291 196,380
ม.ปลาย (สายอาชีวะ) 51,809 25,696 162,244 184,829 61,801
ม.ปลาย (สายวิชาการศึกษา) - - - 315 233
อนุปริญญา (สายสามัญ) 243 - 2,563 7,369 1,868
อนุปริญญา (สายอาชีวะ) 72,040 52,391 165,154 217,158 89,884
อนุปริญญา (สายวิชาการศึกษา) - - 2,419 6,128 1,536
ปริญญาตรี (วิชาการ) 66,926 73,706 348,520 219,095 136,993
ปริญญาตรี (วิชาชีพ) 2,115 3,402 11,185 9,631 6,863
ปริญญาตรี (วิชาการศึกษา) 3,858 904 24,129 39,828 5,495
ปริญญาโท 3,227 6,460 25,050 11,013 13,515
ปริญญาเอก - - 1,391 1,733 735
การศึกษาอื่นๆ - - 1,725 9,404 38,422
ไมทราบระดับการศึกษา 8,167 5,260 22,883 22,637 27,396
รวม 555,528 401,477 3,253,427 12,700,000 1,509,545
ที่มา: การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-19

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-19


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 4.9 การศึกษาของผูมีงานทําใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย (ตอ)


อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม อุตสาหกรรม
การศึกษา หุนยนต การบินและ เชื้อเพลิงชีวภาพและ ดิจิทัล การแพทยครบ
โลจิสติกส เคมีชีวภาพ วงจร
ไมมีการศึกษา - 7,015 72 - 2,481
ต่ํากวาประถมศึกษา - 128,637 2,221 2,009 24,462
ประถมศึกษา 495 245,764 5,616 2,108 34,049
ม.ตน - 275,491 4,962 15,280 59,972
ม.ปลาย (สายสามัญ) - 173,572 3,629 12,002 120,747
ม.ปลาย (สายอาชีวะ) 1,055 59,424 3,377 6,086 26,738
ม.ปลาย (สายวิชาการศึกษา) - - - - -
อนุปริญญา (สายสามัญ) - 2,483 - 188 2,852
อนุปริญญา (สายอาชีวะ) - 84,610 9,324 11,497 54,390
อนุปริญญา (สายวิชาการศึกษา) - 454 - - 2,284
ปริญญาตรี (วิชาการ) 3,409 157,094 20,254 100,137 211,466
ปริญญาตรี (วิชาชีพ) - 2,412 2,282 4,457 111,292
ปริญญาตรี (วิชาการศึกษา) - 5,791 210 3,754 30,814
ปริญญาโท 240 19,624 3,193 20,946 37,918
ปริญญาเอก - 318 - 845 712
การศึกษาอื่นๆ - 1,390 - - 404
ไมทราบระดับการศึกษา - 4,243 - 974 1,756
รวม 5,199 1,168,319 55,140 180,283 722,336

ที่มา: การสํารวจภาวะการมีงานทําของประชากรไทย (Labor Force Survey) ไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-20

4-20 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-1 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมยานยนต สมัยใหม

การจ้ างงานและค่าตอบแทนอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
40,000 100,000
35,000 90,000
80,000
30,000
70,000
25,000 60,000
20,000 50,000
15,000 40,000
30,000
10,000
20,000
5,000 10,000
0 0
15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49 51 53 55 57 59 61 63 65

ยานยนต์สมัยใหม่ ค่าเฉลีย� ของค่าจ้ าง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-21
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-21
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม
40000
35000
30000
25000
20000
15000
10000
5000
0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมยานยนตส มัยใหม มีผูมีงานทํากระจายตัวตามชวงอายุในกลุม อายุ


25 – 40 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 14,788 บาทตอเดือนขึ้นไปและเปนไปตามโครงสรางอายุ
โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ 12,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจาง
เอกชน และมี อ าชี พ ผูป ฏิ บั ติ ก ารเครื่ อ งจั ก รโรงงานและเครื่ อ งจั ก ร รองลงมาเป น กลุ ม ชา งฝมือ และ
เจ าหน า ที่ ผู ป ฏิ บัติ ง านที่เ กี่ ย วข อ ง ผูมีงานทํา สว นใหญ มี ก ารศึ ก ษาในระดับ มัธ ยมศึ ก ษา อนุป ริญ ญา
(สายอาชีวศึกษา) การจางงานกระจุกตัวในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และภาคตะวันออก โดยการจางงาน
เปนรูปแบบของการจางงานในระบบมากกวานอกระบบ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-22
4-22 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-2 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอจั ฉริยะ
30,000 70,000

25,000 60,000

50,000
20,000
40,000
15,000
30,000
10,000
20,000
5,000 10,000

0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-23
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-23
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ
30000

25000

20000

15000

10000

5000

0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ มีผูมีงานทํากระจายตัวตามชวงอายุในกลุมอายุ
23 – 35 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 14,408 บาทตอเดือนขึ้นไปและเปนไปตามโครงสรางอายุ
โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ 12,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจาง
เอกชน และมีอาชีพผูป ฏิบัติการเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร รองลงมาเปนกลุมเจาหนาที่เทคนิค
ผู มี ง านทํ า สว นใหญมี ก ารศึก ษาในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษา ปริ ญ ญาตรี (สายวิ ช าการ) อนุ ป ริ ญ ญา (สาย
อาชี วศึ กษา) การจ างงานกระจุ กตัว ในเขตกรุง เทพและปริ มณฑล จั งหวัดนครราชสีมา และจัง หวั ด
ที่มีนิคมอุตสาหกรรม เชน ลําพูน ปราจีนบุรี โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบมากกวา
นอกระบบ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-24
4-24 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-3 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุม


รายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดี
และการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
120,000 25,000
100,000 20,000
80,000
15,000
60,000
10,000
40,000
20,000 5,000

0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

การทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-25
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-25
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
120000

100000

80000

60000

40000

20000

0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ มีผูมีงานทํา
กระจายตั ว ตลอดทุ ก ช ว งอายุ และมี ค า ตอบแทนเฉลี่ ย ประมาณ 11,570 บาทต อ เดื อ นขึ้ น ไป
และเปนไปตามโครงสรางอายุ โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ 9,100 บาทตอเดือน การจางงาน
ส ว นใหญ เ ปนรูป แบบของธุ ร กิจ สว นตั ว (ไมมีลูก จา ง) รองลงมาคือ ลูกจ างเอกชน และมีอ าชี พ หลั ก
คือ พนักงานบริการ รองลงมาเปนผูประกอบอาชีพงานพื้นฐาน ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับ
มั ธ ยมศึ กษาลงมา การจา งงานกระจายตัว ทั่ว ทั้ งประเทศโดยเฉพาะในจัง หวั ดใหญ โดยการจา งงาน
เปนรูปแบบของการจางงานนอกระบบมากกวาในระบบ โดยชว งอายุ 15 – 25 ป มีจํานวนผูมีงานทํา
ในระบบมากกวานอกระบบ และเมื่ออายุหลัง 25 ป มีจํานวนผูมีงานทํานอกระบบมากกวาในระบบ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-26
4-26 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-4 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการเกษตรและ


เทคโนโลยีชีวภาพ

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
450,000 9,000
400,000 8,000
350,000 7,000
300,000 6,000
250,000 5,000
200,000 4,000
150,000 3,000
100,000 2,000
50,000 1,000
0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-27
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-27
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชวี ภาพ
450000
400000
350000
300000
250000
200000
150000
100000
50000
0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ มีผูมีงานทํากระจายตัวสวนใหญ
อายุมากกวา 40 ขนึ้ ไป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 6,186 บาทตอเดือน และเปนไปตามโครงสราง
อายุ โดยมีคามัธยฐานของรายไดป ระมาณ 5,500 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของ
ธุ ร กิ จ ส วนตัว (ไมมีลูกจา ง) รองลงมาคือ ธุ รกิจ ครัว เรือน (โดยไมไดรับ คาจา ง) และมีอ าชีพหลัก คือ
ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร ปาไม และประมง รองลงมาเปนผูประกอบอาชีพงานพื้นฐาน ผูมี
งานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับประถมศึกษา การจางงานกระจายตัวทั่วทั้งประเทศ โดยการจางงาน
เปนรูปแบบของการจางงานนอกระบบ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-28
4-28 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-5 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
60,000 20,000

50,000
15,000
40,000

30,000 10,000

20,000
5,000
10,000

0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

การแปรรูปอาหาร คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-29
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-29
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
60000
50000
40000
30000
20000
10000
0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร มีผูมีงานทํากระจายตัวสวนใหญอยูชวงอายุมากกวา
23 – 40 ป และมี ค า ตอบแทนเฉลี่ ยประมาณ 10,581 บาทต อ เดื อ น และเป น ไปตามโครงสร า งอายุ
โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ 8,370 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจาง
เอกชน รองลงมาคือธุรกิจครัวเรือน (โดยไมไดรับคาจาง) และมีอาชีพหลัก คือ ชางฝมือและผูปฏิบัติงาน
ที่เกี่ยวของ รองลงมาเปนผูปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษา
ในระดับประถมศึกษา การจางงานกระจายตัวทั่วทั้งประเทศ โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงาน
ในระบบมากกวา นอกระบบ และเริ่มเปนนอกระบบมากกวาในชวงอายุท่ีมากขึ้นใกลกับชว งการเปน
ผูสูงอายุ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-30
4-30 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-6 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมหุนยนต

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมหุนยนต
2,500 40,000
2,000 30,000
1,500
20,000
1,000
500 10,000

0 0
15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49 51 53 55 57 59 61 63 65
หุนยนต คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-31
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-31
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมหุน่ ยนต์
2500

2000

1500

1000

500

0
15 17 19 21 23 25 27 29 31 33 35 37 39 41 43 45 47 49 51 53 55 57 59 61 63 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานอุตสาหกรรมหุนยนต การใชตัวเลขเชิงปริมาณดานการกระจายตัวตามชวงอายุอาจให
ภาพที่ไมชัดเจนเนื่องจากกลุมตัวอยางมีจํานวนที่นอย

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-32
4-32 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4.7 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
60,000 45,000
40,000
50,000
35,000
40,000 30,000
25,000
30,000
20,000
20,000 15,000
10,000
10,000
5,000
0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

การบินและโลจิสติกส คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-33
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-33
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
60000

50000

40000

30000

20000

10000

0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุ ป การจ า งงานในอุต สาหกรรมการบิ น และโลจิส ติ ก ส มีผูมีงานทํา กระจายตัว ตลอดทุกช ว งอายุ


และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 17,274 บาทตอเดือนขึ้นไปและเปนไปตามโครงสรา งอายุ โดยมีคา
มัธยฐานของรายไดประมาณ 13,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางเอกชน
รองลงมา คือ ธุร กิจ สวนตัว (ไมมีลูกจา ง) และมีอาชีพ หลั ก คือ ผูป ฏิบัติก ารเครื่อ งจั กรโรงงานและ
เครื่องจักร รองลงมาเปนเสมียน (งานเอกสาร) ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาลงมา
การจางงานกระจายตัวทั่ว ทั้ง ประเทศ โดยการจางงานเปนรูป แบบของการจา งงานในระบบมากกว า
นอกระบบ และหลังจากอายุ 55 ป มีจํานวนผูมีงานทํานอกระบบมากกวาในระบบ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-34
4-34 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4.8 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ


และเคมีชีวภาพ

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
6,000 100,000

5,000 80,000
4,000
60,000
3,000
40,000
2,000

1,000 20,000

0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

เชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-35
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-35
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
6000

5000

4000

3000

2000

1000

0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ มีผูมีงานทํากระจายตัวตามชวงอายุ
25 – 40 ป และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 25,393 บาทตอเดือนขึ้นไปและเปนไปตามโครงสรางอายุ
โดยมีคามัธยฐานของรายไดประมาณ 18,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจาง
เอกชน และมีอาชีพผูประกอบอาชีพวิชาชีพ รองลงมาเปนผูปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงงานและเครื่องจักร
ผู มีงานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับมัธ ยมศึกษา ปริญญาตรี (สายวิชาการ) การจางงานกระจุกตัว
ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล และภาคตะวันออก โดยการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบ
เกือบทั้งหมด

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-36
4-36 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-9 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมดิจิทัล

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมดิจิทัล
12,000 100,000

10,000 80,000
8,000
60,000
6,000
40,000
4,000

2,000 20,000

0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

ดิจิทัล คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-37
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-37
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมดิจิทัล
12000

10000

8000

6000

4000

2000

0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมดิจิทัล มีผูมีงานทํากระจายตัวตามชวงอายุ 25 – 35 ป มีคาตอบแทน


เฉลี่ยประมาณ 29,224 บาทตอเดือนขึ้นไปและเปนไปตามโครงสรางอายุ โดยมีคามัธยฐานของรายได
ประมาณ 23,000 บาทต อ เดื อ น การจ า งงานส ว นใหญ เ ป น รู ป แบบของลู ก จ า งเอกชน และมี อ าชี พ
ผูประกอบอาชีพวิชาชีพตาง ๆ รองลงมาเปนจาหนาที่เทคนิค ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับ
มั ธ ยมศึ ก ษา ปริ ญ ญาตรี (สายวิ ช าการ) และปริ ญ ญาโท การจ า งงานกระจุ ก ตั ว ในเขตกรุ ง เทพ
และสวนใหญเปนการจางงานเปนรูปแบบของการจางงานในระบบ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-38
4-38 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 4-10 การจางงานรายอายุ และการกระจายตัวของแรงงาน อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร

การจางงานและคาตอบแทนอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร
40,000 45,000
35,000 40,000
30,000 35,000
30,000
25,000
25,000
20,000
20,000
15,000
15,000
10,000 10,000
5,000 5,000
0 0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

การแพทยครบวงจร คาเฉลี่ยของคาจาง

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-39
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-39
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร
40000

35000

30000

25000

20000

15000

10000

5000

0
15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 63 64 65

รวม ในระบบ นอกระบบ

สรุปการจางงานในอุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร มีผูมีงานทํากระจายตัวตามกลุมอายุ 25 – 40 ป
และมีคาตอบแทนเฉลี่ยประมาณ 19,014 บาทตอเดือนขึ้นไปและเปนไปตามโครงสรา งอายุ โดยมีคา
มัธยฐานของรายไดประมาณ 10,000 บาทตอเดือน การจางงานสวนใหญเปนรูปแบบของลูกจางรัฐบาล
รองลงมาเปนลูกจางเอกชน และมีอาชีพผูประกอบอาชีพวิชาชีพตาง ๆ รองลงมาเปนเจาหนาที่เทคนิค
ผูมีงานทําสวนใหญมีการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ปริญญาตรีขึ้นไป การจางงานกระจายตัวทั่วประเทศ
แต มีจํา นวนมากในพื้น ที่จั ง หวัด ใหญ ๆ ที่เ ปนศูนยกลางทางเศรษฐกิ จ ของภู มิภ าค โดยการจา งงาน
เปนรูปแบบของการจางงานในระบบเกือบทั้งหมด

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-40
4-40 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4.3 การศึกษาการตอยอดอุตสาหกรรม 4.0


การศึกษาในสวนนี้เปนการประเมินถึงความตองการแรงงานในอุตสาหกรรม 4.0 จากงานศึกษา
ที่ มีม าก อ นหน า เพื่ อ ให เ ห็ น ถึ ง ทิ ศ ทางและความต อ งการแรงงาน โดยงานศึ ก ษาของกองเศรษฐกิ จ
การแรงงาน สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (2560) ไดมีการระบุอุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติมในแตละ
อุตสาหกรรมโดยสรุปไดดงั นี้
ตารางที่ 4.10 อุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติมตามขอแนะนําของการศึกษาในอดีต
อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติม
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม การเปนการประกอบรว มกับ ผูผลิต OEM และมีก ารขยายตัว ดวย
การทํ า ต นแบบการผลิ ต การส ง เสริ ม อุ ต สาหกรรมในรู ป แบบที่มี
ประสิทธิภาพ มีความแมนยําสูง การผลิตชิ้นสวน ระบบสงกําลังตาม
มาตรฐานโลก และการผลิตจักรยานยนต (ที่สูงกวา 248CC) โดยการ
ขึ้นรูปชิ้นสวน
อุ ต สาหกรรมอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส การผลิตวงจรรวมที่มีความซับซอนมากขึ้น การสรางฐานการผลิต
อัจฉริยะ ระบบอิเ ล็กทรอนิก สที่ใชในยานยนต สงเสริมการออกแบบระบบ
ที่อยูอาศัยอัจฉริยะ เครื่องใชไฟฟาอัจฉริยะที่สามารถเชื่อมตอระบบ
เครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต อุ ป กรณ ส วมใส การออกแบบระบบ
อิเล็กทรอนิกสแบบฝงตัว
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุม การยกระดับประสบการณทองเที่ยว การจัดระเบียบและการสงเสริม
รายได ดีแ ละการท อ งเที่ ย วเชิ ง ให มีกิ จ กรรมที่ห ลากหลายตามสถานที่ ท อ งเที่ ย วเพื่ อ คุณ ค า และ
สุขภาพ ประสบการณ การสนับสนุนธุรกิจการฟนฟูทางการแพทยและศูนย
ฟ น ฟู สุ ข ภาพและการเป น ศู น ย ร วมของการแสดงสิ น ค า และ
นิทรรศการระดับนานาชาติ

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-41
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-41
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติม
อุ ต สาหกรรมการเกษตรและ การสงเสริมผูป ระกอบการที่ให คําปรึกษาและบริก ารเกี่ย วกับ การเกษตร
เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีขั้นสูงหรือผูประกอบการที่ใชเทคโนโลยีการเกษตร การใชเทคนิค
การวิเคราะหขอมูลระดับสูง การสงเสริมการวิจัยและลงทุนทางเทคโนโลยี
ชีว ภาพ อุตสาหกรรมการคัดคุณภาพ การบรรจุ การรักษาพืช ผลไมที่ใ ช
เทคโนโลยีขั้นสูง ศูนยกลางการคาสินคาเกษตร การผลิตผลิตภัณฑจากยาง
ธรรมชาติเพื่อเกิดสินคามูลคาเพิ่มตาง ๆ
อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร อุตสาหกรรมการเพิ่มมาตรฐานดานการตรวจสอบยอนกลับในกฎระเบียบ
ความปลอดภัยดานอาหาร การสงเสริมกลุมอุตสาหกรรมการวิจัยและผลิต
โภชนาการเพื่อสุขภาพ การสงเสริมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑอาหารแปรรูป
ที่ใชโปรตีนจากแหลงทางเลือก
อุตสาหกรรมหุนยนต หุ น ยนต เ พื่ อ ใช ใ นอุ ต สาหกรรมยานยนต แขนหุ น ยนต ที่ มี แ กนเคลื่ อ นที่
แบบหมุ น หุ น ยนต เ พื่ อ ใช ใ นกระบวนการผลิ ต ฉี ด พลาสติ ก หุ น ยนต ที่ มี
ความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
อุตสาหกรรมการบินและ กิจ การสาธารณูป โภคเพื่ อการขนสง ศูนยร วมกิจ การโลจิสติกสท่ีทันสมัย
โลจิสติกส การบริการซอมบํารุงอากาศยานรวมถึง การผลิตชิ้นสวนอากาศยาน การ
พั ฒ นาพื้ น ที่ ร อบท า อากาศยานสํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ที่ มี มู ล ค า สู ง การให บ ริ ก าร
ฝกอบรมนักบินและลูกเรือและบุคลากรดานเทคนิค
อุ ต สาหกรรมเชื้ อ เพลิ ง ชี ว ภาพ อุตสาหกรรมเคมีชีวภาพครบวงจร โดยเฉพาะอุตสาหกรรมกลางน้ํา การ
และเคมีชีวภาพ ยกระดับอุตสาหกรรมเชื้อ เพลิงชีวภาพที่มีอยูในปจจุบันและเพิ่มการวิจัย
และพัฒนา

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-42
4-42 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมยอยเพิ่มเติม
อุตสาหกรรมดิจิทัล อุตสาหกรรมดิจิทัลที่เกิดจากความตองการของรัฐบาล ธุรกิจและผูบริโภค
เพื่ อ เป น กลไกการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ เช น การพั ฒ นาธุ ร กิ จ ซอฟต แ วร
พาณิชอิเล็กทรอนิกส ศูนยรวบรวมขอมูลและวิเคราะหผูบริโภค หนวยงาน
การจัดเก็บขอมูลและประมวลผลออนไลน การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
การพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมจากจุ ด แข็ ง เช น อุ ต สาหกรรมสื่ อ สร า งสรรค
และแอนนิเมชั่น ศูนยนวัตกรรม วิจัยและการออกแบบยานยนตอนาคต
อุตสาหกรรมการแพทยครบ การใหบ ริการดานการแพทยผานอิน เตอรเ น็ต และสมารทโฟน การผลิต
วงจร อุปกรณทางการแพทยเพื่อการวินิจฉัยและติดตามผลระยะไกล การสงเสริม
การวิจัยยา และการผลิตยาที่ทันสมัย การสงเสริมการวิจัยและผลิตชีววัตถุ
คลายคลึง

ที่มา: สรุปจากกองเศรษฐกิจการแรงงาน สํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน (2560)

สํานักงานศูนยวิจยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-43
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 4-43
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-44
ภาคผนวกทายบทที่ 4
ตาราง 4.11 การจําแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามอุตสาหกรรมเปาหมาย 10 อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
อุตสาหกรรมยาน C: การผลิต 2211 การผลิตยางนอกและยางใน 22111, 22112 ควรมีการพิจารณาถึงกิจกรรมที่
ยนตสมัยใหม การหลอดอกยางและการซอมสรางยาง เกี่ยวของกับวัสดุศาสตรที่ตองมี
2720 การผลิตแบตเตอรี่และหมอ 27200 น้ําหนักที่เบารองรับการเปน
สะสมไฟฟา ยานยนตไฟฟาที่จะเปน
2814 การผลิตตลับลูกปน เกียร และ 28140 อุตสาหกรรมใหมในอนาคต
อุปกรณที่ใชขับเคลื่อน
291 การผลิตยานยนต 29101, 29102, 29103,
29104, 29109
292 การผลิตตัวถังยานยนต การผลิต 29201, 29202, 29203
รถพวงและรถกึ่งพวง
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

293 การผลิตชิ้นสวนและอุปกรณเสริม 29301, 29302, 29309


สําหรับยานยนต
301 การตอเรือ 30110, 30120
302 การผลิตหัวรถจักรและตูสําหรับ 30200
ขนสงทางรถไฟและรถราง

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-44
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
304 การผลิต ยานยนตท างการทหาร 30400
เพื่อใชในการสูรบ
309 การผลิตอุปกรณขนสง ซึ่งมิไดจัด 30911, 30912, 30921,
ประเภทไวในที่อื่น 30922, 30990

อุตสาหกรรม C: การผลิต 261 การผลิ ต ชิ้ น ส ว นและแผ น วงจร 26101, 26102, 26103,
อิเล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนิกส 26104, 26109

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อัจฉริยะ 262 การผลิตคอมพิวเตอรและอุปกรณ 26201, 26202, 26203,
ตอพวง 26209
263 การผลิตอุปกรณสื่อสาร 26301, 26302, 26303,
26309
264 การผลิต เครื่ อ งใช อิ เล็ ก ทรอนิกส 26401, 26402, 26403,
ชนิดใชในครัวเรือน 26409
265 การผลิตเครื่องอุปกรณที่ใชในการ 26511, 26512, 26521,
วัด การทดสอบ การนํารอง และการ 26529
ควบคุม รวมถึง
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

นาฬิกา

4-45
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-45
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-46
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
266 การผลิ ต เครื่ อ งฉายรั ง สี เครื่ อ ง 26600
ไ ฟ ฟ า ท า ง ก า ร แ พ ท ย แ ล ะ ท า ง
กายภาพบําบัด
267 การผลิตอุป กรณที่ใชในทางทัศน 26701, 26702, 26703
ศาสตรและอุปกรณถายภาพ
268 การผลิ ต สื่ อ แม เ หล็ ก และสื่ อ เชิ ง 26800
แสง
อุตสาหกรรมการ I : ที่พักแรมและ 5011 การขนสงผูโดยสารทางทะเลและ 50111, 50112, 50119
ทองเที่ยวกลุม บริการดานอาหาร ตามแนวชายฝงทะเล
รายไดดีและการ 5021 การขนสงผูโดยสารทางน้ํา 50211, 50212, 50219
ทองเที่ยวเชิง ภายในประเทศ
สุขภาพ 551 ที่พักแรมระยะสั้น 55101, 55102, 55103,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

55109
552 ลานตั้งคายพักแรม ที่จอดรถพวง 55200
และที่ตั้งที่พักแบบเคลื่อนที่
559 ที่พักแรมประเภทอื่นๆ 55901, 55909
561 การบริการอาหาร 56101, 56102, 56103

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-46
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
562 การบริ ก ารจั ด เลี้ ย งนอกสถานที่ 56210, 56291, 56292,
และการบริการอาหารประเภทอื่นๆ 56299
563 การบริการเครื่องดื่ม 56301, 56302, 56303,
56304
N: กิจกรรมการ 791 กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ตั ว แ ท น ธุ ร กิ จ 79110, 79120
บริหาร และบริการ ทองเที่ยวและการจัดนําเที่ยว
สนับสนุนอื่นๆ 799 กิจ กรรมบริการสํา รองอื่น ๆ และ 79901, 79909

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กิจกรรมที่เกี่ยวของ
823 การจัดการประชุมและการแสดง 82301, 82302
สินคา
R: ศิลปะ ความ 900 กิจกรรมการสรางสรรคศิลปะและ 90001, 90002 อาจมีการเชื่อมโยงกับ
บันเทิง และ ความบันเทิง อุตสาหกรรมดิจิทัลในดาน
นันทนาการ 931 กิจกรรมดานการกีฬา 93111, 93112, 93120, content และการนําเสนอ
93191, 93192, 93199 เศรษฐกิจสรางสรรคที่เชื่อมโยง
932 กิจกรรมดานความบันเทิงและการ 93210, 93291, 93292, การทองเที่ยว
นันทนาการอื่นๆ 93293, 93299
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-47
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-47
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-48
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
S: กิ จ ก ร ร ม ก า ร 961 กิ จ กรรมบริ ก ารเพื่ อ เสริ ม สร า ง 96101, 96102, 96103,
บริการดานอื่นๆ สุข ภาพรางกาย (ยกเวน กิจ กรรมดา น 91604, 91609
การกีฬา)
อุตสาหกรรม A: เกษตรกรรม การ 011 การปลูกพืชลมลุก 01111, 01112, 01113,
การเกษตรและ ป า ไ ม แ ล ะ ก า ร 01114, 01115, 01121,
เทคโนโลยีชีวภาพ ประมง 01122, 01131, 01131,
01132, 01133, 01134,
01135, 01136, 01139,
01140, 01150, 01161,
01169, 01191, 01192,
01193, 01194, 01199
012 การปลูกพืชยืนตน 01210, 01221, 01222,
01223, 01224, 01225,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

01226, 01227, 01228,


01229, 01231, 01239,
01231, 01239, 01241,
01249, 01251, 01252,

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
01259, 01261, 01262,

สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-48
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
01269. 01271, 01272
01279, 01281, 01282,
01289, 01291, 01292,
01299
013 การทํ า สวนไม ป ระดั บ และการ 01301, 01302
ขยายพันธุพืช
014 การเลี้ยงสัตว 01411, 01412, 01419,

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
01420, 01430, 01441,
01442, 01450, 01461m
01462, 01463, 01469,
01491, 01492, 01493,
01494, 01495, 01496,
01499
015 การทําฟารมผสมผสาน 01500
016 กิ จ กรรมที่ ส นั บ สนุ น การเกษตร 01611, 01612, 01619,
และกิจกรรมหลังการเก็บเกี่ยว 01621. 01629, 01630,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

01640, 016700

4-49
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-49
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-50
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
017 การลาสัตว การดักสัตว และ 01700
กิจกรรมบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
021 วนวัฒนวิทยา และกิจกรรมอื่นๆ ที่ 02100
เกี่ยวกับปาไม
022 การทําไม 02200
023 การเก็บหาของปา 02300
024 การบริการที่สนับสนุนการปาไม 02400
031 การประมง 03111, 03112, 03113,
03114, 03115, 03119,
03121, 03122, 03129
032 การเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา 03211, 03212, 03213,
03214, 03219, 03221,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

03222, 03223, 03224,


03225, 03229
C: การผลิต 2219 การผลิตผลิตภัณฑยางอื่นๆ 22191, 22192, 22193,
22199

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-50
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
M: กิจกรรมวิชาชีพ 7210 การวิจัยและพัฒนาเชิงทดลอง 72101, 72102, 72109
และกิจกรรมทาง ดานวิทยาศาสตรธรรมชาติและ
วิชาการ วิศวกรรม
อุตสาหกรรมการ C: การผลิต 101 การแปรรูปและการถนอมเนื้อสัตว 10111, 10112, 10120,
แปรรูปอาหาร 10131, 10132, 10133,
10134, 10139
102 การแปรรูปและการถนอมสัตวน้ํา 10211, 10212, 10221,

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
10222, 10291, 10292,
10293, 10294, 10295,
10299
103 การแปรรู ป และการถนอมผลไม 10301, 10302, 10303,
และผัก 10304, 10305, 10306,
10307, 10309
104 การผลิตน้ํา มันและไขมั นจากพื ช 10411, 10412, 10413,
และสัตว 10414, 10419, 10420,
10491, 10499
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-51
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-51
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-52
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
105 การผลิตผลิตภัณฑนม 10501, 10502, 10503,
10504, 10505, 10509
106 การผลิตผลิตภัณฑที่ไดจากการโม- 10611, 10612, 10613,
สีธัญพืช สตารชและผลิตภัณฑจาก 10614, 10615, 10616,
สตารช 10617, 10619, 10621,
10622, 10623, 10629
107 การผลิตผลิตภัณฑอาหารอื่นๆ 10711, 10712, 10713,
10721, 10722, 10723,
10731, 10732, 10733,
10734, 10739, 10741,
10742, 10743, 10749,
10751, 10752, 10761,
10762, 10769, 10771,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

10772, 10773, 10774,


10775, 10779, 10791,
10792, 10793, 10794,
10795, 10796, 10799

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
108 การผลิตอาหารสัตวสําเร็จรูป 10801, 10802

สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-52
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
110 การผลิตเครื่องดื่ม 11011, 11012, 11021,
11022, 11029, 11030,
11041, 11042, 11043,
11044, 11049
2825 การผลิตเครื่องจักรที่ใชในการ 28250
ผลิตอาหาร เครื่องดื่ม และยาสูบ
อุตสาหกรรม C: การผลิต 2829 การผลิตเครื่องจักรที่ใชในงาน 28291, 28292, 28299 อาจตองมีการเพิ่ม หมวดยอยและ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หุนยนต เฉพาะอยางอื่นๆ หมูยอยของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ของอุตสาหกรรมหุนยนต
อุตสาหกรรมการ C: การผลิต 303 การผลิตอากาศยาน ยานอวกาศ 30300
บินและโลจิสติกส และเครื่องจักรที่เกี่ยวของ
H: ก า ร ข น ส ง แ ล ะ 491 การขนสงทางรถไฟ 49110, 49120
สถานที่เก็บสินคา 492 การขนสงผูโดยสารทางรถโดยสาร 49201, 49202, 49203,
ประจําทาง 49204, 49209
493 การขนสงทางบกอื่นๆ 49310, 49321, 49322,
49329, 49331, 49332,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

49333, 49334, 49339

4-53
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-53
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-54
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
494 การขนสงทางทอลําเลียง 49400
501 การขนสงทางทะเลและตามแนว 50111, 50112, 50119,
ชายฝงทะเล 50121, 50122
502 การขนสงทางน้ําภายในประเทศ 50211, 50212, 50219,
50221, 50222
511 การขนสงผูโดยสารทางอากาศ 51101, 51102
512 การขนสงสินคาทางอากาศ 51201, 51202
521 กิจกรรมคลังสินคาและการจัดเก็บ 52101, 52102, 52109
สินคา
522 กิจกรรมที่สนับสนุนการขนสง 52211, 52212, 52213,
52214, 52219, 52221,
52229, 52231, 52239,
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

52241, 52242, 52291,


52292, 52293, 52299
531 กิ จ กรรมไปรษณี ย แ ละการรับ สง 53100
พัสดุภัณฑของรัฐ

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-54
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
532 กิ จ กรรมไปรษณีย แ ละการรับ สง 53200
พัสดุภัณฑที่มิใชของรัฐ
อุตสาหกรรม C: การผลิต 192 การผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด จ ากการ 19201, 19202, 19209
เชื้อเพลิงชีวภาพ กลั่นปโตรเลียม
และเคมีชีวภาพ 2011 การผลิตเคมีภัณฑขั้นมูลฐาน
20111, 20112, 20113,
20114, 20115
D: ไฟฟา กาซ ไอน้ํา 3520 การผลิตกา ซ การจา ยเชื้อเพลิง 35201, 35202

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และระบบปรับ กาซผานทอหลัก
อากาศ
อุตสาหกรรมดิจิทัล J: ขอมูลขาวสารและ 58113 การจั ดพิ ม พ จํ า ห น า ย ห รื อ 58113
การสื่อสาร เผยแพรหนังสือออนไลน
58122 การจัดพิมพจําหนายหรือ 58122
เผยแพรนามานุกรมและรายการชื่อ-ที่
อยูทางไปรษณียผาน
ทางออนไลน
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-55
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-55
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-56
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
58133 การจัดพิมพจําหนายหรือ 58133
เผยแพรหนังสือพิมพ วารสาร และ
นิตยสาร ออนไลน
58192 การจัดพิมพจําหนายหรือ 58192
เผยแพรงานอื่นๆ ผานทางออนไลน
5820 การจัดทําซอฟตแวรสําเร็จรูป 58201, 58202, 58203
591 กิจกรรมที่เกี่ยวของกับภาพยนตร
59111, 59112, 59121,
วีดิทัศน และรายการโทรทัศน 59122, 59129, 59131,
59132, 59140
592 การบันทึกเสียงลงบนสื่อและการ 59201, 59202, 59203
จัดพิมพจําหนายหรือเผยแพรดนตรี
601 การออกอากาศทาง 60101, 60102
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

วิทยุกระจายเสียง
602 การจั ด ผั ง รายการและการแพร 60201, 60202, 60203
ภาพกระจายเสียงทางโทรทัศน
611 การโทรคมนาคมแบบใชสาย 61101, 61102, 61109
612 การโทรคมนาคมแบบไรสาย 61201, 61202, 61209

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-56
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม


เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
613 การโทรคมนาคมผานดาวเทียม 61301, 61302
619 การโทรคมนาคมอื่นๆ 61900
620 การจัดทําโปรแกรมคอมพิวเตอร 62011, 62012, 62021,
การใหคําปรึกษาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 62022, 62023, 62090
และกิจกรรมที่เกี่ยวของ
631 การประมวลผลขอมูล การจัดการ 63111, 63112, 63120
และการใหเชาพื้นที่บนเครื่องแมขาย

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และกิจกรรมที่เกี่ยวของ รวมถึงเวบทา
639 การบริการสารสนเทศอื่นๆ 63911, 63912, 63990
อุตสาหกรรม C: การผลิต 3250 การผลิ ตเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ 32501, 32502
การแพทยครบ ในทางการแพทยและทางทันตกรรม
วงจร Q: กิจกรรมดาน 861 กิจกรรมโรงพยาบาล 86101, 86102
สุขภาพและสังคม 862 กิจกรรมทางการแพทยและ 86201, 86202, 86203
สงเคราะห ทันตกรรม
869 กิจกรรมอื่นๆ ดานสุขภาพมนุษย 86901, 86902, 86903,
86909
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-57
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-57
รายงานศึกษาวิจยั ทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4-58
อุตสาหกรรม หมวดใหญ หมวดยอย/หมูใหญ/หมูยอย รหัส Indus ของสํานักงาน เพิ่มเติม
เปาหมาย รายการกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สถิติแหงชาติ
871 สถานบริการดานการพยาบาล 87100
ที่ใหที่พัก
872 กิจกรรมการใหการดูแลที่ใหที่พัก 87201, 87202, 87203
แกผูพิการทางสติปญญา ผูมีปญหา
สุขภาพจิต และผูติดยาเสพติด
873 กิจกรรมการใหการดูแลที่ใหที่พัก 87301, 87302, 87303
แกผูสูงอายุและผูพิการ
879 กิจกรรมการใหการดูแลที่ใหที่พัก 87901, 87902, 87909
แกบุคคลอื่นๆ
881 กิจกรรมสังคมสงเคราะหที่ไมใหที่ 88101, 88102
พักแกผูสูงอายุและผูพิการ
889 กิจ กรรมสังคมสงเคราะหอื่ น ๆ ที่ 88901, 88909
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ไมใหที่พัก
ที่มา กระทรวงแรงงานรวมกับสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และเพิ่มเติมโดยคณะผูวิจยั

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สํานักงานศูนยวจิ ยั และใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
4-58
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บทที่ 5
ผลการศึกษา บทวิเคราะห
ในบทนี้จะเปนการเสนอถึงผลการศึกษาโดยมีสวนที่เปนการสรุปทิศทางจากตางประเทศ ผลการศึกษา
จากขอมูลสถิติ และจากการสัมภาษณ ดังนี้

5.1 สถานการณการจางงานในอุตสาหกรรมเปาหมาย
ทิศทางที่สําคัญของการใชขอมูลอุตสาหกรรมกลุมใหม ใชเปนเพียงแนวทางเพื่อใหเห็นสถานการณ
ของอุ ต สาหกรรมและกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ที่ เ กี่ ย วข อ งอย า งไรก็ ต ามการใช ข อ มู ล อาจต อ งมี ก ารคํ า นึ ง ถึ ง
การจัดประเภทกิจกรรมที่อาจตองใหมีความสอดคลองกับอุตสาหกรรมใหมที่จะเกิดขึ้นมากยิ่งขึ้น
ในไตรมาส 3 ป พ.ศ. 2560 มีจํานวนผูมีงานทําประมาณ 39,578,344 คน โดยอยูในอุตสาหกรรม
10 อุตสาหกรรมเปาหมาย จํานวน 20,525,160 คน คิดเปนรอยละ 51.86 ของจํานวนผูมีงานทํา ทั้งนี้ในภาพรวม
พบวา รอยละของผูมีงานทําในอุตสาหกรรมตอ จํา นวนผูมีงานทํามีแนวโนมที่ลดลงอยางตอเนื่อง (จากรอยละ
62.34 ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2555 เปนรอยละ 51.86 ในไตรมาส 3 ป พ.ศ.2560) หรือลดงลงโดยเฉลี่ยรอยละ
2.51 ตอป ทั้งนี้เมื่อเทียบในราบอุตสาหกรรมใหม พบวา อุตสาหกรรมปโตรเคมีและเคมีภัณฑ เชื้อเพลิง ชีวภาพ
เปนอุตสาหกรรมที่มีการเพิ่มขึ้นของการจางงานมากที่สุด คือ โดยเฉลี่ยประมาณรอยละ 25 ตอป รองลงมาคือ
อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหาร โดยเฉลี่ยร อยละ 5.71 ตอป และ อุ ตสาหกรรมการบินและโลจิสติก ส โดยเฉลี่ย
ประมาณร อ ยละ 4.28 ต อ ป สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรมใหม ที่ มี อั ต ราการลดลงของผู ทํ า งานมากที่ สุ ด สามลํ า ดั บ
คือ เกษตรและเทคโนโลยีชีว ภาพ ลดลงโดยเฉลี่ย รอ ยละ 4.86 ต อป รองลงมาคือ อุตสาหกรรมดิจิทั ลลดลง
โดยเฉลี่ยร อยละ 1.53 ต อป และ อุต สาหกรรม อิเล็ก ทรอนิ กส ลดลงโดยเฉลี่ยร อยละ 0.78 ตอ ป ตามลําดับ
โดยเมื่ อ พิ จ ารณาจากการกระจายตั ว ของการจ า งงานเชิ ง พื้ น ที่ แ ละอายุ ใ นรายอุ ต สาหกรรม จะพบว า
ในบางอุตสาหกรรมเปน อุตสาหกรรมที่ใชกํา ลังแรงงานที่คอนข างกระจุก ตัวในช วงอายุ 25 – 40 ป ในขณะที่
อุตสาหกรรมดั้งเดิมอยางการเกษตรมีการจางงานแรงงานที่อยูในชวงอายุ 50 ปขึ้นไปในสัดสวนที่สูง นอกจากนี้
ในการศึ ก ษานี้ ยั ง พิ จ ารณาถึ ง โครงสร า งของรายได ต อ เดื อ นตามช ว งอายุ และการเป น แรงงานในระบบ
และนอกระบบที่สงผลตอการไดรับความคุมครองตามระบบประกันสังคม รวมถึงการจําแนกผูมีงานทําตามระดับ
การศึกษา เพื่อชี้ใหเห็นถึง ทัก ษะและความสามารถในการปรับตั วของแรงงานในแตละอุตสาหกรรมเปา หมาย
รวมถึงแนวทางในการพัฒนาทักษะของแรงงานในกลุมนี้
คณะผูวิจัยไดประเมินการจางงานดวยวิธีการทางเศรษฐมิติ โดยใชขอมูลเชิงพื้นที่รายจังหวัดเปนฐาน
ของการประมาณเนื่องจากจํานวนปของขอมูลมีนอย การหาแนวโนมโดยตรงอาจทําไดยากและการเปลี่ยนเปน
อุตสาหกรรม 4.0 เปนการเปลี่ยนเชิงโครงสราง การหาแนวโนมภายใตอนุกรมเวลาจึงอาจมีขอจํากัด ดังนั้น การใช
ตัวแบบทางเศรษฐมิติเพื่อหาปจจัยกําหนดจํานวนผูมีงานทํารายจังหวัดในลักษณะเปนขอมูลแบบ Panel และรวม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-1
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

จํ า นวนผู มี ง านทํ า ทุ ก จั ง หวั ด มาเป น จํ า นวนรวมของทั้ ง ประเทศอาจเป น วิ ธี ก ารหนึ่ ง ที่ ใ ช เ พื่ อ การประเมิ น
และมีการประเมินไปขางหนาดวยการตั้งขอสมมติฐานวาหากปจจัยอื่น ๆ คงที่ การเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑมวลรวม
จังหวัด (Gross Provincial Product; GPP) รอยละ 5 จะสงผลอยางไรตอจํานวนผูมีงานทํา และหากมีการเพิ่มขึ้น
ปละรอยละ 5 เปนเวลา 5 ป จะสงผลกระทบตอผูมีงานทําอยางไร โดยรายละเอียดของการประเมินแบบ Panel
แสดงในภาคผนวก จ.
แนวโนมของการจางงานในอุตสาหกรรมเปาหมายที่ประเมินไดอาจมีขอจํากัดบางประการโดยขึ้นกับขอมูล
เริ่มตนซึ่งคือการจําแนกกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ยังคงมีการรวมอุตสาหกรรมดั้งเดิมไวอยูดวย จากการประเมิน
โดยใช ฐ านการประมาณจากการสํ า รวจ LFS ผลเป น ตามตารางที่ 5.1 ในสดมภ ที่ 2 ซึ่ ง จะสอดคล อ งกั บ
การประมาณผู มีง านทํา ในแต ล ะอุ ต สาหกรรมในบทที่ 4 และการประมาณด ว ยตั ว แบบเชิ ง พื้ น ที่จ ะแสดงใน
สดมภที่ 3 กรณีของการเติมโตของ GPP รอยละ 5 แสดงในสดมภที่ 4 กรณีของการเติมโตของ GPP รอยละ 5
ตอเนื่องเปนเวลา 5 ป แสดงในสดมภที่ 5 และสดมภที่ 6 และ 7 เปนจํานวนผูมีงานทําที่ตองเพิ่มขึ้น (หรือ ลดลง)
จากกระณีที่เพิ่มรอยละ 5 และรอยละ 5 เปนเวลา 5 ป โดยผลการประมาณนี้ยังคงมีขอจํากัดและอาจไมสอดคลอง
กับขอมูลเชิงคุณภาพในดานการปรับโครงสรางอุตสาหกรรมแบบกาวกระโดด เพราะจํานวนการจางงานที่คํานวณ
ไดจะขึ้นกับตัวแปรตนที่กําหนดไวในตัวแบบ และจํานวนผูมีงานทําที่เปนฐานเริ่มตน และ GPP ของแตละจังหวัด
ทั้งนี้ รายละเอียดของการประมาณนําเสนอในภาคผนวก จ.
จากผลการประมาณการ พบวา การเพิ่ มขึ้ นของ GPP จะสง ผลกระทบในระดั บ สู งต ออุ ต สาหกรรม
ยานยนตสมัยใหม อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร และอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยว
เชิงสุขภาพ มากที่สุดเปน 3 ลําดับแรก สําหรับอุตสาหกรรมที่ไดรับผลกระทบนอยที่สุดจากการเปลี่ยนแปลงนี้
คื อ อุต สาหกรรมหุ น ยนต (เปลี่ ย นในทิ ศ ทางที่ จํ า นวนผู มี ง านทํา ลดลง) อุ ตสาหกรรมการบิน และโลจิ ส ติก ส
และอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ อยางไรก็ตามในทางปฏิบัติเมื่อมีอุตสาหกรรมใหมเกิดขึ้นจะมี
ผู มี ง านทํ า จากอุ ต สาหกรรมเดิ ม ที่ ถู ก ทดแทนโดยอุ ต สาหกรรมใหม ส ง ผลต อ การจ า งงานทางตรง ซึ่ ง จะมี
การเคลื่อ นยา ยระหว างกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ เชน การย ายภายในห วงโซ การผลิ ต หรือมีก ารย า ยออกจาก
อุตสาหกรรมไปสูอุตสาหกรรมใหม หรือมีการออกจากการจางงานโดยนายจางไปสูงานอิสระ ในขณะที่แรงงาน
ที่สามารถพัฒนาทักษะความสามารถก็อาจจะอยูในอุตสาหกรรมเดิม และมีการตอยอดไปสูอุตสาหกรรมใหมได
ทั้ ง นี้ ก ารเคลื่ อ นย า ยแรงงานจะยั ง มี ภ าพไม ป รากฎชั ด จากการมี น โยบายประเทศไทย 4.0 แต ส ถานการณ
การทดแทนแรงงานดวยหุนยนต และเครื่องจักรอัตโนมัติเปนสถานการณที่เกิดจากกระบวนการพัฒนาเทคโนโลยี
ซึ่งเปนปจจัยภายนอกที่เปนกระแสของโลก และมีการนําระบบปญญาประดิษฐเขามาทํางานวิเคราะหทดแทนคน
ซึ่งทําใหรูปแบบของอาชีพมีการเปลี่ยนแปลงไป

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-2
5-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 5.1 การประมาณความตองการแรงงานจากตัวแบบเชิงพื้นที่

GPP ตองการ ตองการ


ประมาณ ตัวแบบเชิง GPP เติบโต 5% แรงงานเพิ่ม แรงงานเพิ่ม
อุตสาหกรรม จาก LFS พื้นที่ เติบโต 5% ระยะ 5 ป (กรณี 5%) (กรณี 5% 5 ป)
27,870 153,998
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม 555,528 573,658 583,398 709,526 (5.02) (5.54)
9,593 53,010
อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ 401,477 410,291 411,070 454,487 (2.39) (2.64)
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและ
128,260 708,714
การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
3,253,426 3,322,803 3,381,686 3,962,140 (3.94) (4.36)
อุตสาหกรรมการเกษตรและ 262,193 1,448,802
เทคโนโลยีชีวภาพ 12,673,907 12,934,776 12,936,100 14,122,709 (2.07) (2.29)
43,627 241,072
อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร 1,509,545 1,583,012 1,553,172 1,750,617 (2.89) (3.19)
- 53 - 291
อุตสาหกรรมหุนยนต 5,199 5,550 5,146 4,908 (-1.02) (-1.12)
225 1,243
อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส 1,168,319 1,204,029 1,168,544 1,169,562 (0.02) (0.02)
อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมี 225 1,243
ชีวภาพ 55,140 53,067 55,365 56,383 (0.41) (0.45)
629 3,477
อุตสาหกรรมดิจิทัล 180,283 168,227 180,912 183,760 (0.35) (0.39)
34,846 192,547
อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร 722,336 747,806 757,182 914,883 (4.82) (5.33)
507,415 2,803,815
รวม 10 อุตสาหกรรม 20,525,160 21,003,219 21,032,575 23,328,975 (2.47) (2.73)

ที่มา ประมาณโดยคณะผูวิจัย
หมายเหตุ ตั วเลขในวงเล็บ บรรทัด ที่ส องในสองสดมภสุดทา ย เปนอั ตราการเพิ่มขึ้น (หรือลดลง กรณีติดลบ)
ของจํานวนผูมีงานทํา (ตอป)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-3

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-3


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

5.2 สถานการณรายอุตสาหกรรม
5.2.1 อุตสาหกรรมรถยนตแหงอนาคต
5.2.1.1 แนวโนมอุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคต
อุ ต สาหกรรมยานยนต เ ป น หนึ่ ง อุ ต สาหกรรมหลั ก ของประเทศที่ ไ ด รั บ การสง เสริ ม จากภาครั ฐ
มาอยาง ตอเนื่อง นับจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 2 เปนตนมา ปจจุบันประเทศไทยภายใต
การนําของรัฐบาลไดกําหนดโมเดลพัฒนาเศรษฐกิจประเทศไทย 4.0 ขึ้นเพื่อที่ปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ ให
เขาสูยุคการขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหมจึงเปน 1 ใน 10 อุตสาหกรรม เปาหมาย ที่
จะไดรับการสงเสริม การมุงเนนอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม สอดคลองกับแนวทางและการพัฒนาอุตสาหกรรม
ยานยนตระดับโลก
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม (Next-Generation Automotive) มี 4 ประเภท ไดแก
1) ยานยนตไฟฟาไฮบริด (Hybrid Electric Vehicles: HEV) มีการนําแบตเตอรี่ขนาดเล็กมาบรรจุ
อยูในตัวรถยนตโดยเมื่อรถยนตมีการเบรค พลังงานจะถูกนําไปเก็บไวในแบตเตอรี่และสามารถนํามาใชในมอเตอร
ไฟฟาซึ่งจะชวยเสริมการขับเคลื่อนรถยนตดวยพลังงานน้ํามัน
2) ยานยนตปลั๊กอินไฮบริด หรือเรียกวา รถยนตไฮบริด“ แบบเสียบปลั๊ก) ”Plug-in Hybrid Electric
Vehicles: PHEV) จะมีการนําแบตเตอรี่ขนาดกลางไปบรรจุไวในตัวรถยนต รถยนต PHEV สามารถขับเคลื่อนดวย
พลั ง งานไฟฟ า โดยไม จํ า เป น ต อ งมี น้ํ า มั น เมื่ อ แบตเตอรี่ ห มด ระบบจะทํ า งานคล า ยกั บ HEV คื อ พลั ง งาน
จากการเบรคที่อยูในแบตเตอรี่จะถูกนําไปเปนสวนเสริมการขับเคลื่อนดวยน้ํามัน
3) รถยนต ไ ฟฟ า ที่ ใช แ บตเตอรี่ (Battery Electric Vehicles: BEV) มี ค วามคลา ยคลึ ง กั บ PHEVs
แตจะมีขนาดของแบตเตอรี่ที่ใหญกวา สิ่งที่แตกตางจาก PHEVs คือ เมื่อแบตเตอรี่หมดจําเปนจะตองชารตแบต
เพื่อเพิ่มพลังงานไฟฟาเพื่อใหรถสามารถขับเคลื่อนตอไปไดเทานั้น
4) รถยนตเซลลเชื้อเพลิง (Fuel Cell Electric Vehicles: FCEV) รถยนตที่ใชเครื่องยนตแบบสันดาป
ภายใน (Conventional Vehicles: CV) หรื อ Internal Combustion Engine (ICE) เป น รถยนต ท่ี มี ก ารผลิ ต
และการใชมากที่สุดในปจจุบัน โดยใชพลังงาน น้ํามัน กาซธรรมชาติ หรือเชือ้ เพลิงฟอสซิล

คุณลัก ษณะที่สําคัญของยานยนตสมั ยใหม ประกอบดวย 1) Electrified คื อ ใชพ ลังงานไฟฟา ซึ่ งเป น


คุณสมบัติที่สําคัญที่สุดของยานยนตสมัยใหมซึ่งแตกตางจากยานยนตดั้งเดิมที่ขับเคลื่อนโดยใชพลังงานจากน้ํามัน
หรื อ เชื้ อ เพลิ ง ฟอสซิล 2) Autonomous มี ก ารนํา เทคโนโลยี เ กี่ ย วกั บ A.I. และ Machine learning มาใช ใ น
อุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม การควบคุมยานยนตโดยมนุษยมีแนวโนมที่จะลดลง เขาถึงการใชยานยนตจะทําได
งายขึ้น 3) Shared รูปแบบของการบริหารจัดการเมืองใหญจะมีการสนับสนุนการนําระบบ Car-sharing มาใช
ซึ่งจะชวยลดตนทุนของการเดินทางไดเปนจํานวนมาก 4) Connected รถยนตสมัยใหมจะมีลักษณะการเชื่อมตอ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-4
5-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กับ รถยนตคันอื่น หรือ Car2Car communication และจะมีการเชื่อมตอ กับ โครงสรา งพื้น ฐานดา นการจราจร
สามารถใชขอมูลการเชื่อมตอมาใชเพื่ออํานวยความสะดวกดานเสนทาง และเปนกลไกในการแลกเปลี่ยนขอมูล
ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในระหว า งการเดิ น ทางและมี ก ารเชื่ อ มต อ กั บ ระบบพิ กั ด GPS ผ า นการเชื่ อ มต อ โทรศั พ ท มื อ ถื อ
5) Yearly updated ดวยคุณลักษณะ 4 ประการขางตนและตนทุนของเทคโนโลยีถูกลงเรื่อย ๆ สงผลใหรถยนต
สมัยใหมจะมีการพัฒนาอยางรวดเร็ว รอบอายุของรุน (Model) จะลดลง การผลิตจึงตองคํานึงถึงความคุ มค า
ของผูซื้อในชวงระยะเวลาที่สั้นกวาเดิม
จุด เปลี่ ยนที่สําคั ญ จากการผลิ ตชิ้น ส วนเครื่ องยนตสั นดาปเชิ งกลที่ เ ปน จุด แข็ง ของประเทศไทย
มากกวา 20 ป ตองปรับเปลี่ยนสายการผลิตจากเทคโนโลยีเดิมไปสูเทคโนโลยียานยนตไฟฟาซึ่งเปนพัฒนาการ
ของยานยนต ในระดั บ โลก อนุก รรมการเร งรั ด นโยบายเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ คลัส เตอร ย านยนตแ ละชิ้ น ส ว น
หรือ Super Cluster ของกระทรวงอุ ตสาหกรรม จัดทํา แผนพั ฒ นาโครงสรา งพื้น ฐานดา นไฟฟ า เพื่ อรองรั บ
ยานยนตไฟฟาของประเทศไทยและเรงดํา เนินการจัดทํามาตรฐานของรถยนตนั่ง ไฟฟา การกําหนดมาตรฐาน
ของขนาดสายไฟ เบรกเกอร หมอแปลงที่เหมาะสมเพื่อใหเกิดความปลอดภัย ในการชารจแบตเตอรี่ของรถยนต
ไฟฟ า ในบ า น การพิ จ ารณามาตรการสนั บ สนุ น ให ห น ว ยงานภาครั ฐ สามารถจั ด ซื้ อ รถยนต ไ ฟฟ า มาใช ง าน
ในหนวยราชการ รวมทั้งการพิจารณา มาตรการรองรับดานสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการกําจัดซากของแบตเตอรี่
อีกดวย
5.2.1.2 ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต ป พ.ศ.2560 – 2564
สถาบันยานยนตไดกําหนดวิสยั ทัศนของการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนตไววา ฐานการวิจัยและพัฒนา
ยานยนตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมระดับโลก ซึ่งจะสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับระบบเศรษฐกิจ โดยอาศัยการผลิต
ยานยนตแหงอนาคต โดยมีแผนผังยุทธศาสตร สรุปไดตามแผนภาพที่ 5.1

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-5

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-5


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 5.1 ผังยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมรถยนต

5.2.1.3 แนวทางการสงเสริมอุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคต
บทบาทของรัฐบาลที่มีตออุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม คือ รัฐไดมีนโยบายและมาตรการสงเสริม
และสนับสนุนการผลิตรถยนตไฟฟาในประเทศไทย (Motor Driven Vehicle) ใหมีการดําเนินงานอยางบูรณาการ
ครอบคลุ ม ทุ ก ด า น ทั้ ง มาตรการส ง เสริ ม การลงทุ น เพื่ อ สร า งอุ ป ทาน (Supply) มาตรการกระตุ น ตลาด
ภายในประเทศ (Demand) การเตรีย มความพร อมของโครงสรา งพื้น ฐาน การจัดทํามาตรฐานรถยนต ไ ฟฟา
การบริหารจัดการแบตเตอรี่ใชแลว และมาตรการสนับสนุนอื่นๆ โดยเฉพาะในสวนของการพัฒนากําลังแรงงาน
ในอุ ต สาหกรรมยานยนต แ ละชิ้ น ส ว นที่ ไ ด จั ด ตั้ ง สถาบั น พั ฒ นาบุ ค ลากรขึ้ น ภายใต ก รมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
กระทรวงแรงงาน
ในวันที่ 28 มีนาคม 2560 ประชุมคณะรัฐมนตรีไดมีการพิจารณาเรื่อง มาตรการ สนับสนุนการผลิต
รถยนตที่ขับ เคลื่อนดวย พลังงานไฟฟา ในประเทศไทย (Motor Driven Vehicle) ในประเทศไทย โดยที่ป ระชุม
ไดมีมติเห็นชอบมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนตที่ขับเคลื่อนดวยพลังงานไฟฟาในประเทศไทย และมอบหมาย
ใหหนวยงานต า งๆ ดํ าเนินการ ออกมาตรการเพื่อ สนั บสนุน การผลิต รถยนต ที่ขั บเคลื่อ นดวยพลังงานไฟฟ า
ในประเทศ ซึ่งมี 6 มาตรการ ดังนี้

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-6
5-6 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1) มาตรการสงเสริมการลงทุนเพื่อสรางอุปทาน สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ)


เปด การส ง เสริ ม การลงทุน ในกิจการผลิ ตรถยนต ไ ฟฟ า และชิ้นส ว นของรถยนต รวมถึงสถานี อัดประจุ ไ ฟฟา
โดยกําหนดเงื่อนไข สิทธิประโยชนตามประเภทของรถยนตไฟฟา 3 แบบ คือ รถยนตไฟฟาแบบผสมที่ใชพลังงาน
เชื้อเพลิง และพลังงานไฟฟา (Hybrid Electric Vehicle: HEV) รถยนตไฟฟาแบบผสมเสียบปลั๊ก (Plug-In Hybrid
Electric Vehicle: PHEV) แ ล ะ รถย น ต ไ ฟ ฟ า ที่ ใ ช แ บ ต เต อ รี่ ( Battery Electric Vehicle: BEV) แ ล ะ
กรมสรรพสามิตจัดเก็บภาษีพิเศษโดย HEV และ PHEV ลดจากอัตราปกติ (คิดตามปริมาณการปลอยกาซ CO2)
ลงกึ่งหนึ่ง (รอยละ 50) สวน BEV ลดจากอัตราปกติลงเหลือรอยละ 2 โดยตองผานการอนุมัติโครงการจากบีโอไอ
กอน
2) มาตรการกระตุนตลาดภายในประเทศ สํานักงบประมาณใหสวนราชการและรัฐวิสาหกิจสามารถ
ซื้อรถยนตไฟฟาแบบแบตเตอรี่ได โดยมีเปาหมายใหมีสัดสวนการใชงบประมาณรอยละ 20 ของรถยนตใหมทั้งหมด
ที่หนวยงานจัดซื้อ
3) มาตรการเตรียมความพรอมของโครงสรางพื้นฐาน กระทรวงพลังงานและกระทรวงคมนาคม
ร ว มกั น ศึ ก ษาแผนการติด ตั้ง สถานี อั ด ประจุ ไ ฟฟ า ในพื้ น ที่ เ ป า หมายและถนนหลั ก ที่ เชื่ อ มต อ พื้ น ที่ เป า หมาย
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเรงดําเนินโครงการ (สมอ.) ศูนยทดสอบยานยนต และยางลอแหงชาติ
รวมทั้งพิจารณาจัดหาเครื่องมือ อุปกรณ และจัดเตรียมความพรอมดานบุคลากรเพื่อรองรับการทดสอบรถยนต
หรือชิ้นสวนยานยนตท่ขี ับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาตอไป
4) การจัดทํา มาตรฐานรถยนตไฟฟา สมอ. ดํา เนิ นการจัดทํา มาตรฐานรถยนต ไฟฟา ใหครบถ วน
4 ประเภทหลัก ไดแ ก ระบบการประจุไฟฟาของรถไฟฟา ความเขากันไดทางแมเหล็กไฟฟา แบตเตอรี่สําหรับ
ยานยนตไฟฟา และมิเตอรกระแสตรงเพื่อใชในการจําหนายไฟฟา
5) การบริหารจัดการแบตเตอรี่ใชแลว มอบหมายใหกรมโรงงานบริหารและจัดการแบตเตอรี่ใชแลว
รวมทั้งจัดทํา แผนการบริ หาร และกําจัดซากแบตเตอรี่รถยนต กรมควบคุมมลพิษกํา หนดผลิต ภัณฑแบตเตอรี่
รถยนตไฟฟา ไวในพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสและซากผลิตภัณฑ
อื่นๆ
6) มาตรการอื่นๆ อาทิ มอบหมายใหสถาบันยานยนตดําเนินโครงการเพิ่มผลิตภาพ เนนการพัฒนา
ระบบรับรองความสามารถบุคลากร ระยะเวลา 5 ปแบบตอเนื่อง เพื่อรองรับอุตสาหกรรมยานยนตแหงอนาคตได

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-7

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-7


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

5.2.2 หุนยนตเพื่ออุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ
5.2.2.1 แนวโนมของหุนยนตเพื่ออุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ
ประเทศไทยติ ดอั น ดั บ 1 ในกลุ ม อาเซีย น ที่มี อั ตราการเติบ โตของอุ ต สาหกรรมหุ น ยนต สู ง สุ ด
โดยตัวเลขประมาณการจากสหพันธหุนยนตนานาชาติ (International Federation of Robotics) ระบุวา ตั้งแต
ป พ.ศ.2561 - 2563 ประเทศไทยจะมีอัตราการเติบโตของหุนยนตเพื่ออุตสาหกรรมเฉลี่ยปละ 19% เนื่องจากป
พ.ศ.2559 ไทยผลิตหุนยนตได 2,646 หนวย และจะเพิ่มขึ้นเปน 5,000 หนวย ในป พ.ศ. 2563 ซึ่งเติบโตสูงสุดเปน
อันดับ 1 ในอาเซียน ทั้งหุนยนตและระบบอัตโนมัติในยุค INDUSTRY 4.0 และ SMEs 4.0 กําลังไดรับความสนใจ
อย า งมาก โรงงานต า ง ๆ พยายามหาหุ น ยนต แ ละแขนกลมาในโรงงาน เพื่ อ ทดแทนแรงงานที่ ข าดแคลน
ขณะเดีย วกันสามารถลดตนทุนการผลิตไดอีกด วย จากนโยบายของภาครัฐและการรวมมือ กันของหน วยงาน
ราชการ หุนยนตและระบบอัตโนมัติจะถูกนํามาใชในภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น
เมื่อผูประกอบการตางหันมาใชหุนยนตในการผลิตมากขึ้นทําใหแรงงานไทย ทําใหแรงงานที่เปน
มนุษยบางกลุมอาจจะถูกทดแทนดวยหุนยนตมากยิ่งขึ้น เนื่องจากหุนยนตสามารถทํางานไดมากกวา รวดเร็วกวา
และแมนยํากวามนุษยหลายเทา (อุตสาหกรรมสาร ฉบับเดือน พ.ค.-มิ.ย. 2561) ดังนั้นในยุคที่มีการแขงขันสูงและ
รุนแรง ผูประกอบการจึงเลือกที่จะใชหุนยนตเขามาชวยผลิต ทําใหผูประกอบการมั่นใจไดวาผลผลิตที่ออกมา
มีความแมนยํา รวดเร็ว บวกกับประสิทธิภาพของสินคาที่มีมากกวา และการลดคาใชจายในการจางแรงงาน
อย า งไรก็ ดี งานที่ ต อ งใช ทั ก ษะด า นความคิ ด สร า งสรรค ยั ง ต อ งพึ่ ง พาแรงงานที่ เ ป น มนุ ษ ย อ ยู
โดย Economic Intelligence Center ของธนาคารไทยพาณิชย คาดวาอุตสาหกรรมในประเทศไทยจะมีแนวโนม
การใชหุนยนตที่ทวีคูณเพิ่มขึ้น สงผลใหแรงงานกวา 6 แสนคนหรือคิดเปนรอยละ 15 ของจํานวนแรงงานทั้งหมด
ในภาคการผลิตของไทยจะถูก ทดแทนการทํา งานดวยหุนยนตภายในป 2030 ซึ่งกลุม อุตสาหกรรมที่แ รงงาน
มี โ อกาสถู ก แทนที่ คื อ อุ ต สาหกรรมที่ ใ ช แ รงงานอยา งอุต สาหกรรมยานยนต อุต สาหกรรมอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส
และอุตสาหกรรมเครื่องดื่ม ดังนั้นแรงงานไทยจําเปนตองหมั่นฝกฝนทักษะฝมือใหกับตัวเอง เพื่อใหมีความสามารถ
มากกวา หุนยนตห รือเทคโนโลยีตา งๆ ที่กําลังจะเขา มาในขณะนี้และในอนาคต (อุตสาหกรรมสาร ฉบับ เดือ น
พ.ค.-มิ.ย. 2561) กระทรวงอุตสาหกรรมไดเรงผลักดันมาตรการสงเสริมการลงทุน และนโยบายในการสนับ สนุน
อุต สาหกรรมหุ นยนต แ ละระบบอั ต โนมั ติ เพื่อ เพิ่ ม ผลิ ต ภาพการผลิต (Productivity) ของประเทศและเป น
การสนับสนุนอุตสาหกรรมอนาคต (First S-Curve และ New S-Curve) อื่นๆ อีก 9 อุตสาหกรรม เพื่อใหสอดรับ
กับ แนวคิดประเทศไทย 4.0 ที่มุงเนนการขั บเคลื่อ นเศรษฐกิ จ ไทยดวยนวัต กรรม (Value-Based Economy)
และเปลี่ย นโครงสร า งเศรษฐกิ จจากการพึ่ ง พาแรงงานไปสู ก ารผลิตสมัย ใหม ด วยองคความรูก ารผลิ ตขั้ นสู ง
ที่มีมูลคาเพิ่ม
ทั้ ง นี้ ได กํ า หนดให อุ ต สาหกรรมหุ น ยนต แ ละระบบอั ต โนมั ติ เ ป น อุ ต สาหกรรมสนั บ สนุ น
ใหกับ อุตสาหกรรมเป า หมายอื่น ในเขตเศรษฐกิจ พิเ ศษภาคตะวัน ออก (EEC) ซึ่ง ในป จจุบัน อุต สาหกรรมไทย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-8
5-8 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ส ว นใหญ ยั ง ใช ร ะบบ Manual (ไม มี ร ะบบอั ต โนมั ติ ) คิ ด เป น สั ด ส ว นร อ ยละ 85 ของโรงงานที่ สํ า รวจ
โดยอุตสาหกรรมสวนใหญมีแผนที่จะลงทุนเปลี่ยนเปนหุนยนตและระบบอัตโนมัติภายใน 1 – 3 ป ถึงรอยละ 50
กระทรวงอุตสาหกรรมจึงตั้งเปาหมายใหปนี้มีการลงทุนในอุตสาหกรรมหุนยนต และระบบอัตโนมัติไมนอยกวา
12,000 ลานบาท และภายใน 3 ป ไมนอยกวา 100,000 ลานบาท
นอกจากนี้ อุตสาหกรรมหุนยนต และระบบอัตโนมัติจะชวยยกระดับเทคโนโลยีและประสิทธิภาพการ
ผลิตในภาคอุตสาหกรรม รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาประเทศในดานตางๆ เชน ดานการเกษตรโดยจะสงเสริมไปสู
Smart Farming และพั ฒ นาไปสู ก ารทํ า เกษตรแปลงใหญ ด า นการแพทย ด า นโลจิ ส ติ ก ส การท อ งเที่ ย ว
และการบริการอื่นๆ นอกจากนี้ อุตสาหกรรมหุนยนตยังชวยยกระดับแรงงานในภาคอุตสาหกรรม รองรับปญหา
การขาดแคลนแรงงานที่คาดวาจะรุนแรงขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ ภาคอุตสาหกรรมจะมอบให Center of Robotic
Excellence (CoRE) เป น หน ว ยงานหลั ก ในการพั ฒ นาบุ ค ลากร และยกระดั บ แรงงานให มี ทั ก ษะที่ สู ง ขึ้ น
(Retain/Reskill) เพื่อเตรียมความพรอมรองรับการเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ใหมีความยั่งยืนและเกิดประโยชนสูงสุด
5.2.2.2 เปาหมายของอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติ
สํ าหรับ เปา หมายการพัฒ นาอุ ตสาหกรรมหุ นยนต และระบบอัตโนมั ติ ตามมติ ครม. เมื่อ วั น ที่
29 สิงหาคม 2560 สามารถแบงไดเปน 3 ระยะ คือ
มาตรการระยะสั้น 1 ป (2560) เปนการกระตุนตลาดหุนยนตภายในประเทศ โดยจะมีการลงทุน
12,000 ลานบาท เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 50
มาตรการระยะกลาง 5 ป (2564) เปนการยกระดับเทคโนโลยีการผลิตหุนยนตและระบบอัตโนมัติ
ที่ มีค วามซับ ซอ นและมี มู ล ค า เพิ่ม สูง ขึ้น ซึ่ ง คาดว า จะมีก ารลงทุ นขยายตั ว 200,000 ล า นบาท เพื่ อ ทดแทน
การนําเขารอยละ 30 และในภาพรวมจะมีการใชหุนยนตในโรงงานอุตสาหกรรมมากกวารอยละ 50 ขณะเดียวกัน
ก็เปนการเพิ่มจํานวนผูประกอบการ System Integrator (SI) จากเดิมที่มีอยูประมาณ 200 ราย เปน 1,400 ราย
ใหไดภายในระยะเวลา 5 ป
มาตรการระยะยาว 10 ป (2569) ตั้ง เป า ประเทศไทยเปน ผูนํ า ในการผลิ ต และการใช หุ น ยนต
และระบบอั ต โนมัติ ใ นภูมิ ภ าคอาเซี ย น โดยมีเ ทคโนโลยี เป น ของตนเอง เพื่ อก า วสู ก ารเป น ผู ส ง ออกหุน ยนต
เพื่ออุตสาหกรรมในอนาคต
อยางไรก็ตาม การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติในประเทศไทยภายใตมาตรการ
สนับสนุนการใชหุนยนตและระบบอัตโนมัติท่ผี ลิตภายในประเทศ จะตองดําเนินการสนับสนุน System Integrator
(SI) ควบคูไปกับการตอยอดงานวิจัยสูการผลิตเชิงพาณิชย เพื่อใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาอุตสาหกรรมหุนยนต
และระบบอัตโนมัติที่ตั้งไวดวย โดยกําหนดใหมีความรวมมือในการผลักดันมาตรการพัฒนาอุตสาหกรรมหุนยนต
และระบบอัตโนมัติใหเกิดผลอยางเปนรูปธรรม การพัฒนาบุคลากรและพัฒนาเทคโนโลยีดานหุนยนตและระบบ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-9

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-9


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อัตโนมัติ การสรา งและพัฒนาระบบนิเวศน (Ecosystem) เพื่ อดึงดูด ใหเกิดการลงทุนดา นหุนยนตแ ละระบบ


อัตโนมัติในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
5.2.2.3 นโยบายสงเสริมหุนยนตเพื่ออุตสาหกรรมและระบบอัตโนมัติ
ป จจุบันภาครั ฐไดมีมาตรการขับ เคลื่อ นคลัสเตอร หุนยนต โดยคณะอนุกรรมการเรง รั ดนโยบาย
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษคลัสเตอรหุนยนตกระทรวงอุตสาหกรรม ซึ่งมีประเด็นหลักในการผลักดันในเรื่องตาง ๆ
ไดแก การปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมไทยเปนระบบอัตโนมัติและหุนยนต มูลคานําเขาสงออก
ระบบอัตโนมัติ การเชื่อมโยงกันของคลัสเตอรอุตสาหกรรมผลิตหุนยนตและระบบอัตโนมัติ มาตรการสนับสนุน
การพัฒนาคลัสเตอรหุนยนตและมาตรการเรงดวน และโครงการนํารองตางๆ รวมทั้งการกําหนดวิสัยทัศนและ
กลยุทธการพัฒนาของคลัสเตอรหุนยนตไว ดังนี้
1. มีความพรอมของโครงสรางพื้นฐานในดานวิทยาการหุนยนตและระบบอัตโนมัติ
2. มีศักยภาพทางดานการวิจัย ดานพัฒนา และประยุกตใชวิทยาการหุนยนตและระบบอัตโนมัติ
ไดอยางเหมาะสมกับความตองการของประเทศ
3 มี ค วามสามารถทางการแข ง ขั น ทางด า นการวิ จั ย พั ฒ นา การประยุ ก ต ใ ช วิ ท ยาการหุ น ยนต
และระบบอัตโนมัตกิ ับนานาประเทศ
คณะรัฐมนตรีไดมีมติใหความเห็นชอบมาตรการ พัฒ นาอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมั ติ
ตามที่ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมเสนอ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และพั ฒ นาภาคอุ ต สาหกรรมไทยไปสู
อุ ต สาหกรรม 4.0 และมอบหมายให ก ระทรวงอุ ต สาหกรรมดํ า เนิ น การขั บ เคลื่ อ นมาตรการให เ กิ ด ผล
อยางเปนรูปธรรม โดยมี Roadmap และ มาตรการพัฒนาอุตสาหกรรมในแนวประชารัฐ 3 สวนหลัก คือ
1. การกระตุนอุปสงค โดยสนับสนุนใหอุตสาหกรรมการผลิตและบริการภายในประเทศนําหุนยนต
และระบบอัตโนมัติมาใชเพื่อปรับ ปรุงประสิท ธิภาพ ซึ่ งจะกระตุนใหเกิด การลงทุน ผลิต อุตสาหกรรมหุน ยนต
และระบบอัตโนมัติใหเกิดการลงทุนใชหุนยนต 12,000 ลานบาทในปแรก ผานมาตรการของ BOI โดยลดหยอน
ภาษีเงินไดนิติบุคคลรอยละ 50 สําหรับกิจการที่นําหุนยนตและระบบอัตโนมัติมาใชปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
และบริการโดยขยายใหครอบคลุมประเภทกิจการที่ ใชเทคโนโลยีไมสูงมากนัก ซึ่งเดิมไมอยูในขอบขายการให
การส ง เสริ ม กระทรวงการคลั ง จะยกเว น ภาษี เ งิ น ได 300% เพื่ อ การวิ จั ย หุ น ยนต แ ละระบบอั ต โนมั ติ
สํานักงบประมาณสนับสนุนการจัดซื้อจัดจางหุนยนตและระบบอัตโนมัติเพื่อการบริการประชาชน และกระทรวง
อุตสาหกรรมสนับสนุนเงินกูดอกเบี้ยต่ําใหกับ SME เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต โดยใชหุนยนตและระบบ
อัตโนมัติ ผานกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีฯ และกองทุนอื่นๆ
2. การสนับสนุนอุปทาน โดยเพิ่มขีดความสามารถของอุตสาหกรรมหุนยนตและระบบอัตโนมัติ
ในประเทศ โดยเฉพาะอยา งยิ่ง System Integrator (SI) ผูทําหนาที่ออกแบบติดตั้งระบบอัตโนมัติ โดยตั้ง เปา
ที่จะเพิ่ม จํ านวน SI จาก 200 ราย เปน 1,400 ราย ภายใน 5 ป โดย BOI จะใหสิท ธิ ป ระโยชน กั บ SI สู งสุด

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-10
5-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ขณะที่กระทรวงการคลังจะยกเวนอากรนําเขาชิ้นสวน/อุปกรณที่นํามาผลิตหุนยนตและระบบอัตโนมัติ เพื่อแกไข
ปญหาความลักลั่นทางภาษี
3. การพัฒนาบุคลากรและยกระดับเทคโนโลยีหุนยนตและระบบอัตโนมัติ ไปสูการผลิตหุนยนต
ประเภทอื่นๆ ที่มีความซับซอน โดยจัดตั้ง Center of Robotic Excellence (CoRE) เปนเครือขายความรวมมือ
ของ 8 หนว ยงานนํา ร องทั้ ง ในกรุง เทพฯ เชีย งใหม ขอนแก น และหน วยงานเอกชนชั้ นนํา จากต า งประเทศ
เพื่อทําหนาที่หลักในการพัฒนาหุนยนตตนแบบ ถายทอดเทคโนโลยีใหกับผูประกอบการ และทําการฝกอบรม
บุคลากร โดยมีเปาหมายภายใน 5 ป จะพัฒนาหุนยนตตนแบบอยางนอย 150 ผลิตภัณฑ ถายทอดเทคโนโลยี
หุนยนตชั้นสูงใหแกผูประกอบการจํานวน 200 ราย และฝกอบรมบุคลากรไมนอยกวา 25,000 คน

5.2.3 อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
5.2.3.1 แนวโนมของอุตสาหกรรมทองเที่ยว
อุตสาหกรรมการทองเที่ยวไทยยัง คงมีแนวโนมเติบโตอยางตอเนื่ อง ดวยศักยภาพของทํา เลที่ตั้ ง
ความหลากหลายของทรั พ ยากรท อ งเที่ ย วและความเป น ไทย ประเทศไทยยั ง คงมี ศั ก ยภาพและโอกาส
ทางการท อ งเที่ ย วมากมาย ทั้ ง ด า นทํ า เลที่ตั้ ง ในการเป น จุ ด ศู น ย ก ลางของภู มิ ภาคเอเชี ยตะวั น ออกเฉี ย งใต
ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีที่เปนเอกลักษณ อัธยาศัยไมตรีของคนไทย
โดยในป พ.ศ. 2560 World Economic Forum: WEF ได จั ด อั นดั บ ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ด า นการ
ทองเที่ยวของประเทศไทย อยูในอันดับที่ 34 จาก 136 ประเทศทั่วโลก เปนอันดับ ที่ 8 ของเอเชีย นอกจากนี้
การทองเที่ยวของประเทศไทย ยังไดรับการคัดเลือกใหเปนที่สุดดานการทองเที่ยวของโลก สําหรับการจัดอันดับ
ระดับนานาชาติ เชน กรุงเทพมหานคร ไดรับเลือกเปนเมืองทองเที่ยวที่ดีที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟก ในป 2560
โดย Master Card และประเทศไทยไดรับรางวัลดานการทองเที่ยว Grand Travel Award จากนิตยสาร Travel
News นิตยสารธุรกิจท องเที่ยวชื่อดังจากภูมิภาคสแกนดิ เนเวีย ในป 2554 ติดตอกันเปนเวลา 9 ป เนื่องจาก
ความมีเอกลักษณทางวัฒนธรรมและความหลากหลายของสถานที่ทองเที่ยว ทั้งหมดนี้แสดงใหเห็นถึงศักยภาพ
และขีดความสามารถของประเทศไทย ในการเปนแหลงทองเที่ยวยอดนิยมระดับโลก
แนวโนมการเปลี่ยนแปลงในตลาดโลก ไดสรางโอกาสทางการตลาดใหกับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
ของไทย การพัฒนาการทองเที่ยวตองมีความสอดคลองกับแนวโนมการทองเที่ยวที่เปลี่ยนแปลงไป อาทิ การเติบโต
ของชนชั้นกลางที่มีความสามารถในการจับจายใชสอยเพื่อการทองเที่ยวเพิ่มมากขึ้น การเติบโตของสายการบิน
ตนทุนต่ํา ที่ทํา ใหก ารเดินทางเปนไปไดส ะดวกและมีคา ใชจา ยที่ลดลง การเพิ่มขึ้น ของกลุมผูสูงอายุที่ตอ งการ
สิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อเขาถึงสถานที่ทองเที่ยวตางๆ และการเพิ่มขึ้นของการใชเทคโนโลยีในชีวิตประจํา วัน
เปน โอกาสให อุตสาหกรรมทอ งเที่ย วสามารถเขา ถึง นัก ทอ งเที่ ยวโดยตรงไดมากขึ้น ความตองการทอ งเที่ ย ว
เพื่อเพิ่มประสบการณท่ีสูงขึ้นทํา ใหหลายประเทศไดพัฒนา สินคา บริการ และเสนทางทองเที่ยวเพื่อตอบสนอง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-11

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-11


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตอความตองการดังกลาว และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนักทองเที่ยวทําใหมีกลุมสาขาการทองเที่ยวเติบโต
ใหม มากมาย อีก ทั้งหลายประเทศหั นมาเพิ่มความหลากหลายของการท อ งเที่ย วเพื่อ ใหส ามารถตอบรั บ กั บ
ความตองการที่หลากหลายไดมากขึ้น
5.2.3.2 แผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ พ.ศ. 2560 - 2564
คณะกรรมการนโยบายการท องเที่ยวแหงชาติ (ท.ท.ช.) มีอํ านาจและหนา ที่ห ลัก ในการสง เสริม
การบริ หารและพัฒ นาการท อ งเที่ย ว รวมทั้ ง จัด ทํ าแผนพัฒ นาการท องเที่ย วแหงชาติ เ สนอตอคณะรั ฐ มนตรี
เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ซึ่ ง ที่ ผ า นมา ได มี ก ารจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาฉบั บ แรกของประเทศไปแล ว คื อ แผนพั ฒ นา
การท อ งเที่ ย วแห ง ชาติ พ.ศ. 2555 - 2559 เพื่อ ใชเ ป นกรอบและแนวทางในการขั บ เคลื่ อ นการท อ งเที่ ย ว
ของประเทศในระยะ 5 ป ซึ่ งผลการดํา เนิน งานในระยะที่ผานมา แมจะประสบผลสํา เร็ จ ในการเพิ่ม จํ า นวน
และรายไดจากการทองเที่ยว แตจากการดําเนินการตามแผนดังกลาวยังประสบปญหาและอุปสรรคสําคัญหลาย
ประการ ประกอบกับสภาพและบริบ ทตา งๆ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งปจจัยภายใน เชน สถานการณ
การเมืองของประเทศ นโยบายของภาครัฐ การปรับตัวของภาคเอกชน และปจจัยภายนอก เชน สภาวะการแขงขัน
ในอุตสาหกรรมทองเที่ยว การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและความคาดหวังของนักทองเที่ยว แนวโนมการพัฒ นา
เทคโนโลยีและนวัตกรรม ความรวมมือและความสัมพันธระหวางประเทศ คณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยว
แหงชาติ จึงไดกําหนดวิสัยทัศนการพัฒนาการทองเที่ยว 20 ป และแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ ฉบับที่ 2
(พ.ศ. 2560 -2564) ใหสอดคลองกับสถานการณและกาวทันการเปลี่ยนแปลงดังกลาว เพื่อใหการทองเที่ยวไทย
ยังคงบทบาทการเปนสาขาหลักในการรักษาเสถียรภาพ และขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ก. วิสยั ทัศน และเปาประสงค

คณะกรรมการนโยบายการทองเที่ยวแหงชาติไดกําหนดวิสัยทัศนการทองเที่ยวไทย พ.ศ.2579 ไววา


“ประเทศไทยเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพชั้นนําของโลกที่เติบโตอยางมีดุลยภาพบนพื้นฐานความเปนไทย เพื่อ
สงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายไดสูประชาชนทุกภาคสวนอยางยั่งยืน” โดยมีแนวคิด หลัก
ในการพัฒนาตามองคประกอบ 5 ประการ ดังนี้
1. ประเทศไทยเปน แหลง ท อ งเที่ย วคุ ณภาพชั้น นํา ของโลก ดวยการยกระดั บ คุ ณ ภาพและเพิ่ ม
ความหลากหลายของสินคา และบริการดานการทองเที่ยวใหมีมาตรฐานเปนที่ยอมรับในระดับสากล มุงเพิ่มรายได
จากการทองเที่ยวโดยเนนการเพิ่มคาใชจายและวันพักตอครั้งของการเดินทางของนักทองเที่ยว และเสริมสราง
ขีดความสามารถในการแขงขันดานการทองเที่ยวของประเทศ
2. การเติบ โตอย า งมี ดุล ยภาพ โดยสง เสริ มดุ ล ยภาพการเติ บ โตของการท องเที่ ย วระหว า งกลุ ม
นักทองเที่ยว เชน ระหวางนักทองเที่ยวชาวไทยและชาวตางชาติ ระหวางนักทองเที่ยวตามถิ่นที่อยู และระหวาง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-12
5-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมนักทองเที่ยวทั่วไปและนักทองเที่ยวที่มีความสนใจเฉพาะ สงเสริมดุลยภาพการเติบโตระหวางพื้นที่ทองเที่ยว
โดยเนนการกระจายการพัฒนาการทอ งเที่ย วในเมือ งทองเที่ย วรองและพื้นที่ชุมชนทองถิ่น สงเสริมดุล ยภาพ
การเติบโตระหวางชวงเวลาและฤดูกาล โดยเนนสงเสริมการทองเที่ยวในชวงเดือนมิถุนายน – กันยายน รวมทั้ง
สงเสริมการทองเที่ยวรูปแบบตางๆ ที่ประเทศไทยมีศักยภาพหรือรูปแบบที่ควรพัฒนา
3. การเติบ โตบนพื้น ฐานความเป นไทยโดยเนน การพัฒ นาสิ น ค า และบริ ก ารดานการทอ งเที่ ย ว
และแหลงทองเที่ยวใหสอดคลองกับอัตลักษณและวิถีไทย เสริมสรางความเขาใจแกนักทองเที่ยวและประชาชน
ถึง อัตลัก ษณ ความเปน ไทย และเสริมสรา งความภาคภูมิใ จในความเปนไทยและการเปน เจา บา นที่ดี สํ า หรั บ
ประชาชนในทุกระดับ
4. การสงเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และกระจายรายไดสูประชาชนทุกภาคสวน โดยมุงพัฒนา
การท อ งเที่ ย วใหเป นแหล ง เพิ่ม รายไดแ ละกระจายรายได แ ก ป ระเทศพั ฒ นาการท อ งเที่ย วให เ ป นกลไกหนึ่ ง
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของประเทศ เเละสรางโอกาสเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของชาติ พัฒนาการทองเที่ยวในภูมิภาคและเขตพัฒนาการทองเที่ยว (ปจจุบันไดมีการออกกฎกระทรวงกําหนด
เขตพัฒนาการทองเที่ยวไปแลวรวม 8 เขต ประกอบดวย เขตพัฒนาการทองเที่ยวฝงทะเลตะวันตก เขตพัฒนา
การทองเที่ยวฝงทะเลตะวันออก เขตพัฒนาการทองเที่ยวอันดามัน เขตพัฒนาการทองเที่ยวอารยธรรมลานนา
เขตพั ฒ นาการท อ งเที่ ย วอารยธรรมอี ส านใต เขตพั ฒ นาการท อ งเที่ย วมรดกโลกด า นวัฒ นธรรม เขตพัฒ นา
การทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําโขง และเขตพัฒนาการทองเที่ยววิถีชีวิตลุมแมน้ําเจาพระยาตอนกลาง) โดยเฉพาะ
พื้นที่เมืองรองและชนบท และสนับสนุนภาคเอกชนลงทุนในอุตสาหกรรม ทองเที่ยวและอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
5. การพัฒ นาอยา งยั่ง ยืน ดวยการสงเสริมความยั่ง ยืนของทรั พยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดลอ ม
โดยการอนุ รัก ษ แ ละฟ น ฟู แ หลง ท อ งเที่ย วที่เสี่ ย งต อการเสื่ อ มโทรม การบริห ารความสามารถในการรองรั บ
นั ก ท อ งเที่ ย ว และการปลู ก ฝ ง จิ ต สํ า นึ ก ความเป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ส ง เสริ ม ความยั่ ง ยื น ของวั ฒ นธรรม
โดยการเชิดชูและรักษาไวซึ่งเอกลักษณของไทย คุณคาดั้งเดิม และภูมิปญญาทองถิ่น
5.2.3.3 ยุทธศาสตรการพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยวในแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ
ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560-2564)
การพัฒนาบุคคลากรดานการทองเที่ยวไดถูกกําหนดไวในยุทธศาสตรที่ 3 ของแผนพัฒนาการทองเที่ยว
แหงชาติ ฉบับที่ 2 โดยมีกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬาเปนหนวยงานรับผิดชอบหลัก และมีหนวยงานสนับสนุน
ได แ ก กระทรวงแรงงาน กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร กระทรวงวั ฒ นธรรม และองค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น
โดยมีเปาหมายในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการท องเที่ยวทั้งระบบใหมีขีดความสามารถในการแขงขัน
สอดคลอง กับมาตรฐานสากลและเพียงพอตอความตองการของตลาด โดยการสงเสริมความรวมมือระหวางภาครัฐ
ภาคเอกชน และชุมชนในการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรที่เกี่ยวของกับ การพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยว

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-13

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-13


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ที่สอดคลองความตอ งการของตลาดแรงงาน สรางแรงจูง ใจใหผูป ระกอบการอุตสาหกรรมดานการท องเที่ย ว


สนั บ สนุ น บุค ลากรให มีส มรรถนะขั้น พื้ น ฐานตามตํา แหน ง งาน และได รับ การฝ ก อบรมที่ ไ ด ม าตรฐานสากล
ซึ่งมีเปาประสงคและตัวชี้วัดดังตอไปนี้
ก. เปาประสงค
1. แรงงานไทยมี ศั ก ยภาพสู ง ขึ้ น ทั้ ง ในด า นคุ ณ ภาพ ความรู ค วามสามารถระดั บ ทั ก ษะทั่ ว ไป
ทั ก ษะการบริ ห ารเเละทั ก ษะเฉพาะทางเพื่ อ รองรั บ ความต อ งการบุ ค ลากรในอุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วที่ มี
ความซับซอนและหลากหลายมากขึ้น อันจะสรางประสบการณที่ดีใหกับนักทองเที่ยว สนับสนุนการพัฒนาประเทศ
ไทยเปนเเหลงทองเที่ยวคุณภาพ และเพิ่มจํานวนบุคลากรที่มีคุณภาพสูง
2. เเรงงานไทยมี จํา นวนเพีย งพอต อความตองการของอุตสาหกรรมทอ งเที่ ย ว เพื่อ เปน การลด
การพึ่งพาการจางเเรงงานตางชาติ
ข. ตัวชี้วัด
1. ระดับความพึงพอใจของนักทองเที่ยวในดานคุณภาพของบุคลากรในอุตสาหกรรมทองเที่ยวเพิ่มขึ้น
2. อั น ดั บ ขี ด ความสามารถในการแข ง ขั น ด า นการอบรมพนั ก งานในอุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย ว
(Extent of Staff Training) อยูในอันดับ 1 ใน 30 ของโลก (เทียบกับอันดับที่ 37 จาก 141 ประเทศทั่วโลกในป
พ.ศ.2558)
3. อัน ดั บขีดความสามารถในการแขงขันด านการให บริการลูก คา (Treatment of Customers)
อยูในอันดับ 1 ใน 10 ของโลก (เทียบกับอันดับที่ 17 จาก 141 ประเทศทั่วโลก ในป พ.ศ.2558)
4. จํานวนบุคลากรไทยในอุตสาหกรรมทองเที่ยวไดรับรองมาตรฐาน MRA (Mutual Recognition
Arrangement) ของ ASEAN เพิ่มขึ้น
โดยไดกําหนดแนวทางในการพัฒนายุทธศาสตรดานบุคลากรการทองเที่ยว ไวดังตอไปนี้

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-14
5-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ตารางที่ 5.2 แนวทางการพัฒนาบุคลากรดานการทองเที่ยวตามแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติฉบับที่ 2


แนวทางการพัฒนาในระยะสั้น (2560-2561) แนวทางการพัฒนาในระยะยาว (2562-2564)
1. ปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รการศึ ก ษาชาติ เ พื่ อ พั ฒ นา 1. ส ง เสริ ม การเข า ร ว มอบรมและการร ว มพั ฒ นา
ศักยภาพบุค ลากรและสร า งจิตสํานึก ประชาชนเพื่ อ หลักสูตรอบรมทักษะพื้นฐานของบุคลากรในสายงาน
สนับสนุน การทองเที่ยว ดานการทองเที่ยวในภาคเอกชนและชุมชน (ตอเนื่อง)
2. พัฒนาหลักสูตรอบรมทักษะพื้นฐาน ทักษะเฉพาะ 2. ส ง เสริ ม การเข า ร ว มอบรมและการร ว มพั ฒ นา
กลุ ม การท อ งเที่ ย ว ทั ก ษะด า นการบริ ห ารจั ด การ หลั ก สูต ร อบรมทั ก ษะเฉพาะกลุ มการทอ งเที่ ย วใน
รวมถึงเพิ่มชองทางในการฝกอบรมใหครอบคลุมและ ภาคเอกชน และชุ ม ชน รวมถึ ง ส ง เสริ ม การจั ด ตั้ ง
เหมาะสม สถาบันเฉพาะ (ตอเนื่อง)
3. ปรั บ ปรุง มาตรฐานทั ก ษะอาชี พ ของบุ ค ลการใน 3. ส ง เสริ ม การเข า ร ว มอบรมและการร ว มพั ฒ นา
ธุรกิจ การท องเที่ย วให ครอบคลุมความตอ งการของ หลักสูตร อบรมทักษะดานการบริหารจัดการเพื่อ การ
อุตสาหกรรมและสอดคลองกับมาตรฐานสากล ทองเที่ยว ในภาคเอกชนและชุมชน (ตอเนื่อง)
4. ส ง เสริ ม ความร ว มมื อ กั บ ผู ป ระกอบการในการ 4. สรางการรับรูในมาตรฐานทักษะอาชีพของบุคลากร
ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพตํ า แหน ง งานในอุ ต สาหกรรม ในธุรกิจการทองเที่ยวในทุกภาคสวน รวมถึงสง เสริม
ทองเที่ยว การปฏิบัติตาม (ตอเนื่อง)
5. แกไขปญหาการขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรม 5. สง เสริมความร วมมือ ระหวา งผูป ระกอบการและ
ท อ งเที่ ย ว โดยกระตุ น ให ค นในท อ งถิ่ น เข า สู ต ลาด สถาบั น ศึ ก ษาในการพั ฒ นาความรู ค วามเข า ใจใน
แรงงานภาคการทองเที่ยวมากขึ้น อุตสาหกรรม ทองเที่ยวเพื่อกระตุนการเขารวมแรงงาน
ในภาคการทองเที่ยว (ตอเนื่อง)
6. ปรับ ปรุงภาพลัก ษณแ ละสรา งความภาคภู มิใจใน
งาน บริการและงานอื่นๆ ในอุตสาหกรรมทองเที่ย ว
เพื่อกระตุนการเขารวมแรงงานในภาคการทองเที่ย ว
(ตอเนื่อง)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-15

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-15


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

รูปที่ 5.2 แผนที่เขตพัฒนาการทองเที่ยวเมืองตองหาม….พลาด และเมืองชายแดน

5.2.4 อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
5.2.4.1 แนวโนมของอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
แนวโนมความตองการบริโภคผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มมากขึ้นตามการขยายตัวของประชากร
ดั ง นั้ น การทํ า การเกษตรในอนาคตจํ า เป น ต อ งนํ า เอาเทคโนโลยี มาใช ในภาคการเกษตรเพื่ อ ช ว ยเพิ่ ม มู ล ค า
ใหกับผลผลิตทางการเกษตร ซึ่งถือไดวาเปนโอกาสของอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปของไทยที่มีแนวโนมการเติบโต
ของภาคอุ ต สาหกรรมอยา งต อ เนื่ อ ง สามารถขยายตั ว ได ร อ ยละ 3.8 เมื่อ เทีย บกั บ ช ว งเดี ย วกั น ของป ก อ น
ดังนั้น รัฐบาลไดกําหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปในหลายดาน เชน การตลาด
นํ า การผลิ ต การลดต น ทุ น การผลิ ต การใช เ ทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรม รวมถึ ง การน อ มนํ า หลั ก การทรงงาน
และเกษตรทฤษฎี ใหมมาใชในการพั ฒ นาดานกระบวนการทางการเกษตรที่ สํา คัญ ตา ง ๆ รวมถึง การพั ฒ นา
เกษตรกรสูการเปน Smart Farmer การพัฒนาคุณภาพสินคาเกษตรใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด รวมทั้ง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-16
5-16 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การวางแผนกระบวนการผลิ ตใหสอดคลอ งกับ ความตองการของตลาด ตลอดจนแนวทางการบริ หารจั ด การ


อยางเปนระบบ
อุ ตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ของไทย นับ เปน 1 ใน 10 อุต สาหกรรมเปา หมายที่ รัฐบาลที่ นั บ วา
มี ความพร อ มในดา นของปริม าณผลผลิ ต และวัต ถุดิบ ที่ เพีย งพอต อความตอ งการของตลาด ดั งนั้น การสร า ง
มู ล ค า เพิ่ ม สิ น ค า เกษตรด ว ยการแปรรู ป เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ เชื่ อ มโยงการผลิ ต ทั้ ง ระบบตั้ ง แต ต น น้ํ า กลางน้ํ า
และปลายน้ํา จะชวยใหสินคาเกษตรหลุดพนจากปญหาผลผลิตลนตลาดและราคาตกต่ําได ซึ่งรัฐบาลยังคงเดินหนา
สงเสริมอุตสาหกรรมแปรรูปในทุกมิติ ใหภาคอุตสาหกรรมมีการใชวัตถุดิบและนวัตกรรมใหม ลดการใชพลังงาน
รวมไปถึงการหาชองทางตลาดใหมๆ
5.2.4.2 ยุทธศาสตรการเกษตร ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579)
กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดจัดทํายุทธศาสตรเกษตรและสหกรณ ระยะ 20 ป (พ.ศ.2560
– 2579) เพื่อเป นกรอบการดํา เนิน งานในการพัฒ นาภาคการเกษตรใหส ามารถดํา เนิ นการได อ ย า งตอ เนื่ อ ง
และมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลองกับยุทธศาสตรและแผนพัฒนาที่สําคัญ ไดแก ยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560
- 2579) ทั้ง 6 ยุทธศาสตร แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับ ที่ 12 แผนปฏิรูป ของสภาขับเคลื่อน
การปฏิรูปประเทศ (สปท.) และยังสอดคลองกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ซึ่งเปน เปาหมายการพัฒนา
ในระดับโลกขององคการสหประชาชาติ
ยุท ธศาสตร เกษตรและสหกรณ ระยะ 20 ป (พ.ศ.2560 - 2579) มุ ง ในการแกไ ขจุ ด อ อ น
และเสริ ม จุ ด แข็ ง ให เ อื้ อ ต อ การพั ฒ นาภาคการเกษตรในระยะยาว เพื่ อ บรรลุ วิ สั ย ทั ศ น “เกษตรกรมั่ น คง
ภาคการเกษตร มั่งคั่ง ทรัพยากรการเกษตรยั่งยืน” มีเปาหมายเพื่อ ให 1) เกษตรกรมีค วามสามารถในอาชี พ
ของตนเอง (Smart Farmers) 2) สถาบั น เกษตรกรมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการดํ า เนิ น งาน (Smart Agricultural
Groups) 3) สินคาเกษตรมีคุณภาพมาตรฐานตรงตามความตองการของตลาด (Smart Agricultural Products)
4) พื้นที่เกษตรและภาคการเกษตรมีศักยภาพ (Smart Area/Agriculture) โดยมีแนวยุทธศาสตร 5 ประการ ไดแก
ยุทธศาสตรที่ 1 สรางความเขมแข็ง ให กับ เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ยุทธศาสตรที่ 2 เพิ่มประสิท ธิ ภาพ
การผลิ ต และยกระดั บ มาตรฐานสิ น ค า ยุ ท ธศาสตร ที่ 3 เพิ่ ม ความสามารถในการแข ง ขั น ภาคการเกษตร
ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุทธศาสตรที่ 4 บริหารจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลและ
ยั่ง ยืน และ ยุท ธศาสตรที่ 5 พั ฒนาระบบบริห ารจัดการภาครัฐ โดยในยุทธศาสตรท่ี 3 มีแ นวทางการพัฒ นา
คือ 1. พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการขับเคลื่อนเกษตรใหสอดคลองกับไทยแลนด 4.0 2. บริหารจัดการ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเกษตร 3. พัฒนางานวิจัยและสารสนเทศใหไปสูเชิงพาณิชย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-17

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-17


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

5.2.4.3. นวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมการเกษตร
การพัฒนาทางดานเทคโนโลยีดานการสื่อสาร และ การประมวลผลขอมูลขนาดใหญทําให เกิด
นวัตกรรมในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยเฉพาะอยา งยิ่ง การทําการเกษตรแบบแมนยํา เป นรู ปแบบ
การทําการเกษตรที่ตองควบคุมปจจัยการผลิตใหถูกที่ถูกเวลาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว
โดยสามารถใชเทคโนโลยีสมองกลเพื่อควบคุมการใชปจจัยการผลิตใหเหมาะสม โดยระบบจะทําการเก็บ ขอมูล
ดานการเกษตรแบบ real time เชน ความชื้นในดิน อุณหภูมิในอากาศ และปริมาณแสงอาทิตย พรอมนําขอมูล
ตางๆ มาวิเคราะห และแสดงผลขึ้นไปยังแอปพลิเคชันบนอุปกรณอัจฉริยะ เพื่อใหเกษตรกรสามารถทําการเกษตร
ไดอยางแมนยํา เชน เมื่อพบวาความชื้นต่ําเกินไปตองรดน้ํา เพิ่มหรือเปดสปริงเกอร เปนตน ซึ่งสามารถเพิ่มผลผลิต
ตอไร เกษตรกรจึงควรนําเทคโนโลยีมาใชในการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจที่สําคัญ ตัวอยางเชน การเพาะปลูกขาว
ภาครัฐควรส งเสริม และใหความรูแกเกษตรกรและรวมมือกับผูป ระกอบการเพื่อ วิจัย และพัฒ นา
นวัตกรรมทางการเกษตร ในปจจุบันเกษตรกรมีจํานวนลดลงเรื่อยๆ และสวนใหญยังไมสามารถเขาถึงเทคโนโลยี
ใหมๆ โดยยังคงใชองคความรูที่ถูกสงผานจากรุนสูรุน อีกทั้งยังขาดความชํานาญในการใชเครื่องมือ และเทคโนโลยี
ใหม ๆ ภาครัฐจึง ควรสงเสริม ให กลุมเกษตรกรรุน ใหม รูจั ก ใชเทคโนโลยีในการเพาะปลูก อยางมีป ระสิท ธิ ภาพ
นอกจากนี้ ภาครัฐควรรวมกับผูประกอบการเทคโนโลยี เพื่อทดลอง วิจัย และคิดคนนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ที่เหมาะสมตอการทําการเกษตรในไทย เพื่อเพิ่มผลผลิต ควบคุมคุณภาพ และลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
ไทย

5.2.5 อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
5.2.5.1 แนวโนมของอุตสาหกรรมการบิน
นโยบายการพัฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จพิ เศษภาคตะวั น ออก หรื อ Eastern Economic Corridor
(EEC) เพื่อดึงดูดและรองรับการลงทุนในกลุมอุตสาหกรรมเปาหมาย โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่มีการใชเทคโนโลยี
ชั้นสูงอยางอุตสาหกรรมการบินนั้นรัฐบาลจําเปนตองใหความสําคัญในการผลักเพื่อใหอุตสาหกรรมการบินเติบโต
ไดตามเปา หมาย รัฐบาลไดป ระกาศกําหนดพื้ นที่ทาอากาศยานอู ตะเภาเปน “เขตสงเสริมระเบีย งเศรษฐกิ จ
ภาคตะวัน ออก: เมื อ งการบิน ภาคตะวั น ออก (Special EEC Zone : Eastern Airport City) ครอบคลุ ม พื้ น ที่
6,500 ไร รอบบริเ วณทา อากาศยานอูต ะเภา เพื่อให ทา อากาศยานอูต ะเภาใหทํ า หนา ที่ส นับ สนุ นศูน ย ก ลาง
ทางการบิน ของภูมิภ าค โดยเชื่ อมตอ เป น คลัส เตอร ก ารบิน กับ ท า อากาศยานสุ วรรณภูมิ และทา อากาศยาน
ดอนเมือง
โครงสรางพื้นฐานของทาอากาศยานอูตะเภาประกอบดวย ทางวิ่ง 1 ทางมาตรฐาน สามารถรองรับ
เครื่องบินขนาดใหญได อาคารผูโดยสาร 2 หลัง สามารถรองรับผูโดยสารได 3.7 ลานคนตอป และศูนยซอมบํารุง
อากาศยานของ บริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) มีโรงซอมเครื่องบินขนาด 24,000 ตารางเมตร สามารถซอม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-18
5-18 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อากาศยานได 3 ลําพรอมกัน โดยมีแผนการพัฒนา 3 ระยะ ไดแก ระยะที่ 1 ภายใน 5 ป รองรับผูโดยสาร 15 ลาน


คน ระยะที่ 2 ภายใน 10 ป รองรับผูโดยสาร 30 ลานคน และระยะที่ 3 ภายใน 15 ป รองรับผูโดยสาร 60 ลานคน
โดยมีแผนการพัฒนาหลัก 3 สวน ไดแก 1) แผนการพัฒนาสนามบินอูตะเภาเพื่อเปน ทาอากาศยานเชิงพาณิชย
แหงที่ 3 เพื่อรองรับผูโดยสาร 60 ลานคนภายใน 15 ป 2) แผนการลงทุนในธุรกิจหลัก 5 กลุม ไดแก กลุมธุรกิจ
ซอ มเครื่อ งบิ น กลุ มอาคารผู โ ดยสารและการคา กลุม ผู ผลิ ตชิ้ นส ว นเครื่ อ งบิ น กลุ มธุรกิ จ ขนส ง ทางอากาศ
กลุ มศูนยฝก อบรมบุค ลากรอากาศยานและธุร กิจ การบิ น และ 3) ธุรกิจเพิ่มเติม ในอนาคตอีก 3 ธุรกิจ ไดแ ก
กลุ มธุรกิจทา เรือพาณิ ชย กลุมศูนย การแพทยเฉพาะดา น และ กลุมอุต สาหกรรมเทคโนโลยี ปอ งกั นประเทศ
ซึ่ง การพั ฒ นาเหลา นี้ นอกจากจะยกระดับ ใหสนามบินอู ตะเภาเป นศู นยกลางของอุ ตสาหกรรมการบิ น แล ว
ยังจะสรางความเปนเมือง (urbanization) ภายในรัศมี 20 - 30 กิโลเมตรจากสนามบินอีกดวย

ภาพที่ 5.3 แผนพัฒนาทาอากาศยานอูตะเภา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-19

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-19


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

5.2.5.2 ศูนยซอมบํารุงอากาศยาน
การขยายตัว ทางเศรษฐกิ จ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย สร า งความต อ งการในการเดิ นทางทางอากาศ
เพื่อทําธุรกิจและการทองเที่ยวเพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลถึงความตอ งการการซอมบํา รุงอากาศยานมากขึ้นตามไปด วย
อยา งไรก็ดีอุตสาหกรรมซอมบํารุง อากาศยาน (Maintenance Repair and Overhaul: MRO) ในประเทศไทย
มีสวนแบงตลาดคอ นขา งต่ําเมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศตา ง ๆ ในเอเชีย แปซิฟก และสวนใหญมุ งเนนเฉพาะ
การซอมบํา รุงอากาศยานใหกับสายการบินของตนเองเทานั้น อีกทั้งยังประสบปญ หาและขอ จํา กัดหลายดา น
ทั้งขอจํากัดกฎระเบียบ เชน การกําหนดสัดสวนผูถือหุนตางชาติที่ตองการลงทุนในหนวยซอมบํารุงอากาศยาน
ความไม ชั ด เจนของนโยบายด า นอุ ต สาหกรรมอากาศยานที่ จ ะสามารถสร า งความเชื่ อ มั่ น ให นั ก ลงทุ น
และการขาดแคลนแรงงานที่มีฝมือในอุตสาหกรรม ซึ่งลวนแลวแตสงผลลบตอมูลคาการเติบโตของอุตสาหกรรม
ทั้งสิ้น ดังนั้นการจัดตั้งโครงการ EEC ศูนยกลางอุตสาหกรรมการบินโลกจึงเปนโอกาสสําคัญ ของอุตสาหกรรม
MRO ในประเทศ ที่จะชวยลดข อจํา กั ด ที่ ก ลา วมาผ า นทางการผ อนคลายกฎระเบี ย บภาครั ฐ และการให สิ ท ธิ
ประโยชนท างด า นภาษี เ พิ่ ม เติ ม แก นั ก ลงทุ น ที่ป ระกอบการในเขตส ง เสริ ม รวมทั้ งการจั ด ตั้ ง ศู น ย ฝ ก อบรม
ดานการบิน (Aviation Training) ที่จะชวยแกปญหาการขาดแคลนแรงงานที่มีฝมือในอุตสาหกรรม การจัดตั้งศูนย
ซ อ มบํ า รุ ง อากาศยานที่ ท า อากาศยานอู ต ะเภาจะเป น การกระตุ น อุ ต สาหกรรมการซ อ มบํ า รุ ง อากาศ
ยานภายในประเทศไทย และลดการสู ญ เสี ย รายได ใ นการส ง อากาศยานไปซ อ มบํ า รุ ง ต า งประเทศ ทั้ ง ยั ง
เปนการดึงดูดผูประกอบการตางชาติใหเขามาลงทุนโดยการลดขอจํากัดเรื่องสัดสวนผูถือหุนตางชาติที่ตอ งการ
ลงทุนในประเทศไทย

5.2.5.3 อุตสาหกรรมการผลิตอากาศยานและชิ้นสวน
หวงโซอุปทานการผลิตเครื่องบิน (aircraft supply chain) สามารถแบงเปน 5 กลุม ใหญ ไดแก
OEMs คือผูผลิตเครื่องบินและผูผลิตเครื่องยนตเครื่องบิน เชน Airbus, Boeing, Rolls-Royce และผูประกอบการ
ใน tier 1 ถึง tier 4 ดังรายละเอียดตอไปนี้ Tier 1 คือผูผลิตและวางระบบตางๆ ในอากาศยาน เชน ระบบไฟฟา
และอิเล็กทรอนิกสในอากาศยาน (avionics) ระบบนําทาง ระบบเชื้อเพลิง Tier 2 คือผูผลิตและประกอบชิ้นสวน
หลัก เชน ปกเครื่องบิน (airfoil) ปกโครงสราง (ribs) ใบพัดอัดอากาศ (compressor blade) Tier 3 คือผูผลิต
เฉพาะชิ้นสวนรอง เชน เกียร น็อต สกรู สายไฟ และชิ้นสวนที่ทําดวยเหล็ก และ Tier 4 คือผูผลิต/จําหนายวัตถุดิบ
ในการผลิตชิ้นสวนอากาศยาน เชน อะลูมิเนียม ไทเทเนียม เหล็ก พลาสติก
สํา หรั บการผลิ ตชิ้ นส ว นอากาศยานของไทย พบวา โอกาสของผู ป ระกอบการไทยจะอยู ใ น
การผลิต ในขั้น tier 2 และ tier 3 ของหวงโซอุปทานการผลิตอากาศยาน (aircraft supply chain) เนื่อ งจาก
ในสวนของ OEMs และ tier 1 ซึ่งเปนชิ้นสวนที่ใชเทคโนโลยีและมีความซับซอนสูงยังคงผลิตโดยบริ ษัทผูผลิต

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-20
5-20 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ต า งชาติ ร ายใหญ ที่ เ ป น เจ า ของเทคโนโลยี ขณะที่ ช้ิ น ส ว นที่ อ ยู ใ น tier 2 และ tier 3 จะเป น โอกาสของ
ผู ป ระกอบการไทยมากกว า เนื่ อ งจากใช เ ทคโนโลยี ใ นการผลิ ต ที่ ไ ม ซั บ ซ อ นมาก อี ก ทั้ ง ยั ง สามารถต อ ยอด
จากฐานการผลิตอุตสาหกรรมรถยนตในไทยไดอีกดวย
5.2.5.4 บุคลากรเพื่อรองรับอุตสาหกรรมการบิน
บุ คลากรด า นการบิ น ยั ง คงเป น ประเด็ น สํ า คั ญ ที่ ภ าครั ฐ จะต อ งเร ง พั ฒ นาเพื่ อ ให ส อดคล อ ง
กั บ ความต อ งการที่ ค าดว า จะปรั บ เพิ่ ม ขึ้ น อย า งมากในอนาคต ซึ่ ง ความต อ งการบุ ค ลากรด า นการบิ น
จะมีอยางหลากหลาย เชน ชางซอมบํารุง ชางอิเล็กทรอนิกส วิศวกรการบิน นักบิน พนักงานตอนรับบนเครื่องบิน
เปนตน ในปจจุบัน ประเทศไทยสามารถผลิตชางซอมบํารุงและนักบินไดไมเพียงพอ อีกทั้งยังขาดแคลนศูนยสอบ
ชางซอมบํารุงที่ไดรับการรับรองจาก EASA (European Aviation Safety Agency) ซึ่งขณะนี้ในอาเซียนมีอยู ใน
ประเทศมาเลเซียเพียงแหงเดียวเทานั้น นอกจากนี้ การพัฒนาทักษะดานภาษาก็เปนสิ่งจําเปนไมแพกัน เนื่องจาก
ธุ รกิ จการบิน เป น ธุ ร กิ จ ที่ ติ ดต อ กั บ ชาวต า งชาติ ภาษาจึ ง เป น สิ่ ง สํา คั ญ ในการสื่ อ สาร รวมถึ ง ช า งซ อ มบํ า รุ ง
และ วิศวกรการบินที่ตองผานการทดสอบทักษะอาชีพเปนภาษาอังกฤษกอนเริ่มปฏิบัติงานดวย ปจจุบันสถาบัน
การบิน พลเรือ นเปนสถาบันหลักในการผลิ ตบุคลากรทางดา นการบินไดเตรี ยมลงทุนเพื่ อขยายกํา ลังการผลิต
บุคลากรทางการบิน โดยการกอสรา งอาคารเรีย นเพื่อยกระดับ การผลิต บุค ลากรทางการบิน จาก 1,400 คน
เป น 3,000 คน การขยายศู น ย ฝ ก นั ก บิ น เพื่ อ เพิ่ ม กํ า ลั ง ผลิ ต จาก 80 - 100 คนต อ ป เป น 160 คนต อ ป
และการจัดตั้งศูนยฝกอบรมเพื่อผลิตชางซอมบํารุงอากาศยาน ซึ่งคาดวาจะชวยลดปญหาการขาดแคลนบุคลากร
ดานการบินในอนาคต

5.3 สรุปบทเรียนที่สําคัญของตางประเทศในการเปลี่ยนแปลงสูอุตสาหกรรมใหม
การขับเคลื่อนนโยบายดานการปรับเปลี่ยนแประเทศสูอุตสาหกรรมใหม เพื่อเปนไปตามแนวทาง
ของประเทศไทย 4.0 สามารถนําบทเรียนที่สําคัญ ๆ จากตางประเทศที่มีการทําวรรณกรรมปริทัศนในบทที่ 2
โดยแบงเปนประเด็นของการขับเคลื่อนนโยบาย ระบบการศึกษาและการเรียนการสอน การสรางสภาพแวดลอม
ใหเอื้ออํานวยตอการถายทอดเทคโนโลยี และนโยบายที่เปนการเฉพาะกลุม ไดดังนี้
ก. การขับเคลื่อนนโยบาย
1. การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมในประเทศไปสูแพลตฟอรม 4.0 ควรมีการดําเนินการแบบคอยเปน
คอยไป ตัวอยางในประเทศเยอรมนีซึ่งถือเปนตนแบบสําคัญของโลกในการพัฒนาองคความรูดานอุตสาหกรรม 4.0
ตลอดจนการพัฒนาและวิจัย การตอยอดเพื่อใหอุตสาหกรรมบนแพลตฟอรม 4.0 เกิดความยั่งยืน โดยไมคํานึง
เฉพาะผลผลิตและผลตอบแทนที่ไดรับ แตมีการศึกษาถึงผลกระทบทั้งกับบุคคลและมิติชุมชนและสังคม จึงอาจ
กลาวไดวา เยอรมนีเปนประเทศที่มีความพรอมสูงสุดและเปนตนแบบการพัฒนาการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเขาสู

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-21

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-21


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แพลตฟอรม 4.0 อยางเปนรูปธรรม การเปลี่ยนแปลงนี้ทําใหภาครัฐตองมีการเตรีย มการโดยมีโจทยที่นาศึก ษา


หลายประการที่ควรมีการศึกษาถึงผลกระทบจากการเปลี่ยนผานดังกลาว เชน ชั่วโมงการทํางานที่ลดลงมีผลตอ
ครอบครัวและบุคคลอยางไร มิติทางดานสังคมมีการเปลี่ยนแปลงอยางไร อีกทั้งการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วเกินไป
อาจสง ผลกระทบตอ ห วงโซ อุป ทานภายในประเทศ รัฐบาลควรทํ าการศึ กษาทั้ง กอ นดํา เนิน การและระหว า ง
ดําเนินการ รวมถึงเตรียมรับมือกับสถานการณในอนาคต หากเครื่องจักรกลและระบบควบคุมการทํางานอัตโนมัติ
เขามาทดแทนแรงงานคนในสัดสวนที่สูงมากขึ้นกวาในปจจุบัน
2. การกํา หนดนโยบายแยกออกเปนแตละกลุมอุตสาหกรรมและแบงความตองการใชแรงงานคน
และอัตราการทดแทนแรงงานคน เพื่อใหกําหนดทิศทางการพัฒนาไดอยางถูกตอง ตัวอยางในประเทศฝรั่ง เศส
กลุ มของอุต สาหกรรมการผลิตอาหาร การบริก ารและการท อ งเที่ย ว รัฐ ไดส งเสริม การขยายอายุก ารทํา งาน
ของแรงงานในระบบเพื่อคงจํานวนแรงงานใหอยูในระบบการจางงานใหนานที่สุด พรอมทั้งสรางแรงจูงใจแรงงาน
ที่เกษียณกอนกําหนดใหกลับเขามาทํางาน โดยการสรางมาตรการชวยเหลือแรงงานสูงอายุ เชน การปรับปรุง
สภาพความปลอดภั ย ในการทํ า งาน สวั ส ดิ ก ารที่ รั ฐ และนายจ า งให แ ก ลู ก จ า ง เพื่ อ ให เ กิ ด การจ า งงาน
และมีอัตรากําลังในภาคการผลิตและการบริการอยางเพียงพอ อุตสาหกรรมหนักมีแผนเริ่มการทดแทนแพลตฟอรม
การผลิตเดิม เปนแพลตฟอรม 4.0 เพื่อแกปญหาแรงงานซึ่งถือเปนนโยบายเรงดวน โดยแรงงานคนในอุตสาหกรรม
หนัก นอกจากแรงงานระดับลางซึ่งมีสัดสวนลดนอยลงจากการทดแทนดวยเครื่องจักรกลและระบบดิจิทัล แลว
สวนที่เหลือเปนกลุมของแรงงานทักษะสูง ทําหนาที่ซอมบํารุงและดูแลระบบดิจิทัล วิศวกรระดับสูงที่ทํา หนาที่
ควบคุมการผลิตทั้งหมด รวมถึงเจาหนาที่ดานการบริหารงานและการสื่อสาร ซึ่งจากการเริ่มใชระบบเครื่องจักร
และระบบควบคุมการทํางานดวยดิจิทัล

ข. ระบบการศึกษาและการเรียนการสอน
3. รัฐบาลควรทําการสงเสริมการศึกษาและการวิจัยทางดานการพัฒนาการผลิตโดยพื้นฐานการใช
เครื่ อ งจั ก รกลและระบบอั ต โนมั ติ ผ า นสถาบั น การศึ ก ษาที่ รั บ ผิ ด ชอบด า นการพั ฒ นาและวิ จั ย องค ค วามรู
ดานวิศวกรรมและระบบคอมพิวเตอรอัจฉริยะ โดยเปดสอนการพัฒนาดานดิจิทัลในแพลตฟอรมอุตสาหกรรม
และภาคการผลิตตางๆ ใหกับนักศึกษา ซึ่งนอกจากเปนคลังสมองหลักใหกับประเทศแลว ยังเปนแหลงบมเพาะ
การขับเคลื่อนอุตสาหกรรม 4.0 ใหกับนักศึกษาในระดับตาง ๆ จากหลักสูตรทางดาน Automation และ Basic
tooling สํ า หรั บ กระบวนการผลิ ต โดยเฉพาะ ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให เ กิ ด ความมั่ น ใจว า หลั ก สู ต รสามารถตอบสนอง
ตอความตองการของตลาดแรงงานในอนาคต การจัดการเรียนการสอนและการวิจัยของสถาบันการศึกษาควรเปน
พันธมิตรกับภาคธุรกิจที่จะเปนผูใชแรงงานในอนาคต
4. มีการกําหนดการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยูในหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ สนับสนุนการจัด
อบรมแบบ Dual Vocational Training โดยใหรั ฐบาลกลางและรั ฐ บาลทอ งถิ่ น ประสานงานกับ สถานศึ ก ษา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-22
5-22 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สถาบันวิจัย และภาคอุตสาหกรรม ตัวอยางในประเทศเยอรมนี จัดการอบรมดานเทคโนโลยี ทักษะเฉพาะทาง


และการคิ ด วิ เ คราะห อ ย า งสร า งสรรค ผ า นระบบการอบรมแบบห อ งเรี ย นและให ไ ด ท ดลองปฏิ บั ติ จ ริ ง
(Dual Vocational Training) ทั้งนี้ ควรจัดระบบการอบรมใหไดมีการทํางานเปนทีมแบบคละชวงอายุ
รัฐบาลควรผลักดันใหสถานศึกษาในระดับอุดมศึกษาปรับปรุงหลักสูตรที่มีการประยุกตใชเทคโนโลยี
และใหมีก ารบูรณาการความรู จ ากหลากหลายสาขา นอกจากนี้ไ ดว างแผนที่จ ะสรา งนวัตกรรมด า นแรงงาน
โดยเฉพาะการเพิ่ ม จํา นวนนั กวิจัย ด า นเทคโนโลยีที่ เป นผู ห ญิ ง ตลอดจนการสร า งกลไกที่เ อื้ อ ตอ การทํ า งาน
ของผูหญิงมากขึ้น อาทิ การกําหนดเวลาทํางานที่ยืดหยุน การขยายจํานวนศูนย เลี้ยงเด็ก ในเขตอุตสาหกรรม
เปนตน ตัวอยางในประเทศเกาหลีใต

ค. การสรางสภาพแวดลอมใหเอื้ออํานวยตอการถายทอดเทคโนโลยี
5. การสรางระบบนิเวศนดานการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหเกิดขึ้นกับสังคม เชน ใหความรู
เกี่ ย วกั บ ระบบ Cyber-Physical System (CPS) หรื อ ระบบการทํ า งานที่ เ กิ ด ขึ้ น ในฐานข อ มู ล ดิ จิ ทั ล หรื อ
ในโลกไซเบอร และ Internet of Things and Services (IoTS) หรือ การใชอินเตอรเน็ตเปนสื่อกลางในการทํางาน
ทุกประเภทไม วาจะเปนการผลิตหรือ การบริ การ เรงพัฒนานวัตกรรมและการพัฒนาดานเทคโนโลยี สงเสริม
การพัฒนานวัตกรรมโดยสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาระหวางสถาบันการศึกษาและภาคอุตสาหกรรมตลอดจน
ความรวมมือระหวางประเทศ สรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสมแกการลงทุนดา นเทคโนโลยีและการตั้งกิจการ
เริ่มตนที่มีแนวโนมจะเติบโตสูง (Startups) จัดตั้งศูนยวิจัยและพัฒนาดาน IoT, Big Data และ AI ซึ่งแนวทางนี้
เปนตัวอยางที่เกิดขึ้นในประเทศเยอรมนี สิงคโปร และญี่ปุน รวมถึงมีระบบใหความชวยเหลือออนไลนเพื่อเผยแพร
ทางอินเตอรเน็ตและประชาสัมพันธและใหความรูแกผูประกอบการ SMEs จัดระบบการอบรมออนไลนแกพนักงาน
ที่สนใจ ใชประโยชนจากสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ สรางการมีสวมรวนของลูกจางและพัฒนาทักษะดานเทคโนโลยี
ซึ่งเปนตัวอยางในประเทศเยอรมนี มาเลเซีย สิงคโปร และเกาหลีใต
6. การจั ด การด า นกระบวนการถ า ยทอดเทคโนโลยี โดยมี ก ารกํ า หนดและกล า วถึ ง บทบาท
ของหน ว ยงานตา งๆ ที่ ม าประกอบกั น เช น นอกเหนื อจาก National Research Foundation และ SPRING
Singapore ที่ เ ป น การสนับ สนุ น จากสว นกลาง สถาบั นวิจั ย ของประเทศสิ ง คโปรแ ละมหาวิ ท ยาลั ย ที่ มุ ง เน น
ทางดานงานวิจยั เปนหลักมีกระบวนการถายทอดเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นมาเอง เชน
ก) สิง คโปรโพลีเทคนิคบางแหงไดรับมอบหมายใหมีสวนรวมในกระบวนการถายทอดเทคโนโลยี
เฉพาะทาง ถึงแมวาสิงคโปรโ พลีเทคนิคจะตองไดรับ การปรับตัวทางเทคโลยีที่มากกวา ศูนยนวัต กรรมที่ จัดตั้ง
โพลีเทคนิคในหลายๆ แหง รวมมือกับ SPRING Singapore เพื่อชวยเหลือธุรกิจขนาดยอม (SMEs) ในการเพิ่ ม
ศักยภาพในดานนวัตกรรมทางเทคโนโลยี

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-23

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-23


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ข) หนวยงาน A*STAR บริษัทของภาครัฐ Exploit Technologies Pte Ltd ไดถูกจัดตั้งขึ้นในฐานะ


ธุรกิจทางการคาที่มุงเนนการถายทอดงานวิจัย A*STAR สูอุตสาหกรรมและการจัดการในดานทรัพยสินทางปญญา
กระบวนการจัดการดานทรัพยสินทางปญญาในทุกสถาบันของ A*STAR ถูกใชเปนชองทางและจัดการภายใต
การดูแลของ Exploit Technologies พนักงานของบริษัท Exploit Technologies รวมมือกับนักวิจัยวิทยาศาสตร
ใหคําปรึกษาในเรื่อง IP ในแตละรุน ใหความกระจางกับผลการวิจัยในพื้นที่สาธารณะ การเจรจาตอรองสัญ ญา
ขอ ตกลง นอกจากนี้ ยั งมี ห น า ที่ ที่ สํ า คัญ ซึ่ง ดํา เนิ นการโดยบริ ษัท Research and Innovation ในสถาบัน วิ จั ย
A*STAR และกลุมสถาบันวิจัย อุตสาหกรรม การทํา งานในหองปฏิบั ติก ารเดี ยวกัน จะทํา ใหงา ยตอการเข า ถึ ง
นักวิทยาศาสตรและสามารถสรางความมั่นใจตอบุคคล ทั้งนี้ ในการทํางานรวมกันจําเปนตองไดรับความเห็นชอบ
จาก Exploit Technologies Pte Ltd ในเรื่องของกําหนดการและการตัดสินใจเลือกตลาดที่เฉพาะเจาะจง
7. การมีพื้นที่นวัตกรรมรวมกันระหวางนายจางและกลุมตัวแทนลูกจาง (ตัวอยางในประเทศเยอรมนี)
เพื่ อ ประเมิน ผลความสํ า เร็ จ ของการนํ า เทคโนโลยี แ ละนโยบายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การจา งงานในแต ล ะองค ก ร
อาทิ ทดลองระบบติดตามประสิทธิภาพการทํางาน การทดลองการทํางานนอกสํานักงาน การประเมินผลความรู
ดานเทคโนโลยีของพนักงาน เปนตน ซึ่งนโยบายที่ประสบความสําเร็จจะไดรับการพิจารณาภาครัฐเพื่อขยายผล
และกําหนดเปนนโยบายในระดับทองถิ่นและระดับชาติตอไป ซึ่งสวนนี้เปนการสรางการรับรูและกระบวนการ
เปลี่ยนผานจากระดับบนลงลางใหมีการเริ่มพัฒนาและเขากับเทคโนโลยี
8. การสรางพันธมิตรอุตสาหกรรมสูอนาคต (ตัวอยางในประเทศฝรั่งเศส) โดยการสรางความรวมมือ
ระหวางภาครัฐ ภาคการศึกษา และภาคอุตสาหกรรม เพื่อรวมกันพัฒนานโยบายและขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยเริ่ม
ปรับ เปลี่ ยนกระบวนการผลิตและการบริ ก าร จากระบบเครื่ อ งจั ก รกลและคน ไปสูก ารนํา เทคโนโลยีดิ จิ ทั ล
และการบริหารจัดการระบบขอมูลมาใชควบคุมการผลิตอยางเต็มรูปแบบ โดยมีเปาหมายเพื่อเพิ่มกําลังการผลิต
การลดความสู ญ เสียจากการผลิต และทดแทนแรงงานในกระบวนการผลิต ที่มีความเสี่ย งสูง รวมถึง การสร า ง
ความรวมมือระหวางประเทศ ตัวอยางในประเทศฝรั่งเศส การจัดตั้งสถาบันฝรั่งเศส - เยอรมนี เพื่อการศึกษา
อุตสาหกรรมสําหรับอนาคต (The French - German Institute for Industry of the Future) โดยความรวมมือ
ระหวางรัฐบาลฝรั่งเศส และเยอรมนี
9. สนับ สนุ นดา นการเงิน อํา นวยความสะดวกแกก ลุ มธุรกิจ ที่ป ระยุ กตใชเทคโนโลยีเขา มาทํา ให
การบริการที่เกี่ยวของกับการเงินและการลงทุน ธุรกิจเงินรวมลงทุน และการจัดการหุนนอกตลาด เพื่อใหเกิด
การหมุนเวียนเงินทุนสนับสนุน Start-Ups ตลอดจนการจัดตั้งกองทุนระหวา งภาครัฐและภาคเอกชน ตัวอยาง
นีเ้ กิดขึ้นในประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศส สิงคโปร เกาหลีใต และญี่ปุน
10. สรางสภาพแวดลอมใหเกื้อหนุนกับ ระบบรักษาดานเทคโนโลยีแ ละความปลอดภัยของขอ มูล
บุคคล พัฒนาระบบการบริหารจัดการฐานขอมูลและการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร วิจัยและพัฒนาระบบ
รักษาความปลอดภัย ติดตามภัยคุกคามทางอินเตอรเน็ต อาทิ การเจาะคนขอมูลผูบริโภคหรือบุคลากรในองคกร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-24
5-24 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เปน ต น ตลอดจนรา งกฎหมายเพื่ อคุมครองข อมูล และกระบวนการแกไขปญ หาที่เกิดขึ้น ตัวอยางในประเทศ


เยอรมนี และญี่ปุน

ง. การพัฒนาผูประกอบการและแรงงาน
11. การพัฒนาผูประกอบการใหสามารถปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมใหม (ตัวอยางในประเทศฝรั่งเศส
เยอรมนี สิงคโปร มาเลเซีย และเกาหลีใต) เปนการสนับสนุนผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs)
ให มี ก ารนํ า เทคโนโลยี ม าใช ช ว ยในกระบวนการผลิ ต และพั ฒ นาคุ ณ ภาพผลิต ภั ณ ฑ ผ า นระบบการให กู ยื ม
และมาตรการจูงใจทางภาษี กรณีประเทศมาเลเซียมีการใหสิทธิประโยชนทางภาษีและการลงทุนแกผูประกอบ
อุตสาหกรรมที่มีลักษณะเปนอุตสาหกรรม 4.0 โดยเฉพาะผูประกอบการ SMEs นอกจากนั้นมีการจัดตั้งกองทุน
หรือผลิตภัณฑทางการเงินโดยรัฐเพื่อเปนแหลงกูใหแกผูป ระกอบอุตสาหกรรมที่มีลักษณะเปนอุตสาหกรรม 4.0
โดยเฉพาะผู ป ระกอบการ SMEs และมี ลั ก ษณะของการให เ งิ น กู ยื ม ในระบบที่ เ ป น Fast Track สํ า หรั บ
ผูประกอบการที่มีการใชนวัตกรรมในการผลิต
12. พัฒนาทักษะพนักงาน ตัวอยางในประเทศฝรั่งเศส ญี่ปุน เกาหลีใต และเยอรมนี ไดพยายาม
จัดสรรโครงการพัฒนาฝมือแรงงานโดยเริ่มจากกลุมนักศึกษาเพื่อ ใหรูสภาวะตลาดและทักษะที่จํา เปนสํา หรับ
การทํางานในอุตสาหกรรมยุคใหม

จ. นโยบายเฉพาะกลุม
13. การใชง านระบบอัตโนมัติ ห รือ หุนยนตจ ะสามารถแทนแรงงานทัก ษะปานกลางไดส วนหนึ่ ง
จากกรณีศึกษาประเทศญี่ปุน การผลักดันไปสูอุตสาหกรรม 4.0 จะสามารถสรางอาชีพใหมซึ่งแรงงานที่มีทักษะ
ปานกลางสามารถยายไปได โดยผลกระทบตออาชีพแตละสาขาสรุปได ดังนี้
อาชีพการบริ ห ารจัด การ: จะมีการจา งงานเพิ่ม ขึ้น เนื่ องจากการขยายตัว ของอุ ตสาหกรรมใหม
และการตองการทําการตลาด การวางแผนผลิตภัณ ฑ ตลอดจนการบริหารธุ รกิจรูป แบบใหมใหส อดคลอ งกับ
ตลาดโลก
อาชีพภาคการผลิตและจัดซื้อจัดจาง: จะมีการจางงานลดลงเนื่องจากมีการใชงานระบบอัตโนมัติ
และระบบอิ นเตอร เน็ ต มาชว ยในการผลิ ต และติ ดตามผลิ ต ผลมากขึ้ น นอกจากนี้ จ ะมีก ารใช ระบบอั ต โนมั ติ
เขามาชวยในการวางแผนขนสงสินคาและจัดรูปแบบการขนสงใหมีประสิทธิภาพสูงสุดมากขึ้น
อาชีพการขาย: การจางงานจะลดลงในแผนกขายของสินคาที่ผลิตไดงายหรือพนักงานขายในราน
สะดวกซื้อหรือหางสรรพสินคา ซึ่ง เปน การขายที่ไมมีค วามซับ ซอน ในขณะที่ก ารจางงานจะเพิ่มขึ้น ในแผนก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-25

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-25


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ขายของสินคาที่มีความซับซอนซึ่งระบบอัตโนมัติไมสามารถอธิบายหรือดําเนินการขายได อาทิ การขายผลิตภัณฑ


ทางการเงิน การขายสินคาเทคโนโลยี เปนตน
อาชีพในภาคบริการอื่น: จะมีลักษณะเชนเดียวกับอาชีพการขาย การจางงานในภาคบริการที่ไมมี
ความซับ ซ อ นจะลดลง อาทิ บริก ร พนักงานรั บ โทรศั พ ท พนักงานรั บ โอนเงิน ในธนาคาร เปนตน ในขณะที่
การจา งงานในภาคบริ การที่ มีค วามซั บ ซอ นและต อ งอาศัย ความสามารถในการดู แ ลอย า งใกล ชิ ด จะเพิ่ ม ขึ้ น
อาทิ พนักงานใหบริการในสถานพยาบาล พนักงานในโรงแรมราคาแพง เปนตน
อาชีพในภาคเทคโนโลยีสารสนเทศ: จะมีการจางงานเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากความตองการของบุคลากร
ในสาขานี้ของทุกอุตสาหกรรม
อาชีพในการสนับ สนุนและวิเคราะห ขอมูล: จะมีการจา งงานลดลงเนื่องจากถูกแทนที่ดวยระบบ
Big Data และ AI ตลอดจนการจางหนวยงานภายนอกดําเนินการแทน
14. การสรางสิ่งแวดลอมที่เอื้อใหเกิดภาคการผลิตที่มีการใชเทคโนโลยีสูง เชน การพัฒนาระบบ
การเชื่ อ มโยงแบบดิ จิ ทั ล ให ค รอบคลุ ม ทั่ ว ถึ ง การประยุ ก ต ร ะบบดิ จิ ทั ล ในการดํ า เนิ น งานภาครั ฐ และสร า ง
ความเชื่อ มโยงระหวา งภาคอุต สาหกรรมทั้ง ระบบในหว งโซมูล คา และการสนับสนุน ใหผูใหบ ริ การดา นดิ จิทัล
และเทคโนโลยีเขามามีสวนรวมในการพัฒนาภาคการผลิต ซึ่งเปนตัวอยางของการดําเนินการในประเทศมาเลเซีย
15. การสนับสนุนการใชและการเขา ถึงเทคโนโลยีซึ่งเปนตัวอยางของการดําเนินการในประเทศ
มาเลเซีย เชน การจัดตั้งศูนยวิจัยดานเทคโนโลยีและดิจิทัลในลักษณะของการรวมลงทุนระหวางภาครัฐและเอกชน
การกํา หนดมาตรฐานเดีย วกันในการใชอุป กรณ เทคโนโลยีในการผลิต และประกอบอุต สาหกรรมที่มีลัก ษณะ
เปนอุตสาหกรรม 4.0 การจัดโครงการเพื่อสง เสริมการวิจัย การสรางสรรคนวัตกรรม การคาและการประกอบ
กิ จ การ ให แ ก ผู ป ระกอบการ และจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ ให เ กิ ด ความร ว มมื อ และการแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู ภ ายใน
ภาคอุตสาหกรรม

5.4 ขอเสนอแนะจากการประชุมกลุมยอย
ขอ เสนอประการสํา คัญ จากการประชุ มสัมมนากลุม ยอยเพื่อ ระดมสมองเกี่ย วกับ การจา งงานใน
อุ ต สาหกรรม 4.0 โดยประเด็ น ที่ เ ป น อั ญ หาสํ า คั ญ ของการดํ า เนิ น การ คื อ ความไม แ น น อนของทิ ศ ทาง
และมาตรการจากภาครัฐในเรื่องเกี่ยวกับอุตสาหกรรม 4.0 ซึ่งแมวาภาครัฐจะมีการประชาสัมพันธถึงการเขาสูยุค
อุตสาหกรรม 4.0 และการใชอุตสาหกรรม 4.0 เปนธงนําในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต แตการ
กํา หนดมาตรการและการสนับ สนุนผู ป ระกอบการยั ง มีค วามไมชัดเจนมากนัก สงผลให ผูป ระกอบการยัง รอ
และไมสามารถกําหนดกลยุทธทางธุรกิจที่ชัดเจนของตนเองไดสงผลตอการกําหนดความตองการแรงงานในแตละ
ประเภทของภาคธุรกิจ ปญหาจึงมีลักษณะไกกับไขระหวางการรวบรวมตัวเลขของภาคเอกชนและการวางแผน
กํ า ลั ง คนของภาครั ฐ นอกจากนี้ ก ารให ข อ มู ล ของหน ว ยงานต า ง ๆ ไม ชั ด เจน ไม มี ก ารบู ร ณาการร ว มกั น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-26
5-26 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ขาดการทํางานเชิงรุก สงผลใหการดําเนินการดานการวางแผนกําลังแรงงานในแตละอุตสาหกรรม ประเภทงาน


และทักษะที่ตอ งการ ยังไมสามารถระบุตัวเลขที่มีความชัดเจนตรงกับกับความเปนจริงได
ในดา นของการพัฒนาทัก ษะของแรงงานยังมีปญ หาวา แรงงานในปจ จุบัน พบวามีปญ หาขาดแคลน
แรงงานที่มีทักษะเฉพาะทาง รวมถึงเรื่องทักษะภาษาที่ไมใชแคภาษาอังกฤษเทานั้น ซึ่งสวนหนึ่งเปนผลมาจาก
การที่การผลิต แรงงานจากสถานศึกษาไมตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน โดยแมวาการผลิตบัณ ฑิต
ของสถาบันการศึกษาจะมีองคความรูพื้นฐานในระดับหนึ่ง แตการพัฒนาทักษะเฉพาะที่สามารถทําใหเมื่อเขาสู
ตลาดแรงงานและสามารถทํางานไดจริงยังมีชองวาง ซึ่งผูประกอบการตองมีการพัฒนาทักษะของแรงงานที่เขาใหม
เอง
แนวทางในการแกปญหาที่กลาวมาขางตน คือ การพัฒนาระบบฐานขอมูลของภาครัฐและภาคเอกชน
รวมกัน และการเปด เผยขอ มูลและความตอ งการที่แทจริ ง โดยภาครั ฐและภาคเอกชนควรต องมีความจริ ง ใจ
ในการทํ า งานและแก ป ญ หาร ว มกั น และการบู ร ณาการข อมู ล ระหว า งหน ว ยงานภาครั ฐ ควรมี ลั ก ษณะเป น
หนึ่งเดียวกันเพื่อใหมีแผนที่ชัดเจน มีเปาหมายรวมกันและกําหนดบทบาทของแตละภาคสวนในการทําหรือไมทํา
สิ่งใดไดอยางชัดเจน

5.5 บทสรุปและขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
ก. การศึกษาและการพัฒนาฝมือแรงงานยุค 4.0
การปรับตัวแรงงานเขาสูยุคการขับเคลื่อนดวยนวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือที่เรียกวา “แรงงาน
ยุค 4.0” นั้น รากฐานที่สํ า คั ญ คือ การพั ฒ นาระบบการศึ ก ษา (Education System) ที่ ส ามารถตอบสนอง
ตลาดแรงงานที่เนนการทํางานรวมกันระหวางแรงงานมนุษยกับเทคโนโลยี โดยการเรียนการสอนตั้งแตระดับสามัญ
ศึกษา อาชีวศึกษา จนถึงระดับอุดมศึกษานั้น ควรพัฒนาจากการเรียนการสอนที่ในอดีตเนนการศึกษาเฉพาะดาน
ใดดานหนึ่ง สูการเรียนรูในลักษณะของทักษะที่หลากหลาย อาทิ ทักษะในเรื่องของภาษา การบริหารจัดการทํางาน
รวมกับเทคโนโลยี เพื่อใหเกิดความพรอมจากการทํางานในลักษณะของความชํานาญที่เปนรูปแบบการทํางานซ้ํา
เดิ ม เพี ย งอย า งเดี ย ว สู ก ารหมุ น เวี ย นหน า ที่ ก ารทํ า งาน (From Routine to Rotation Model) ที่ ต อ งการ
ความสามารถในการทํ า งานที่ ห ลากหลายมากยิ่ ง ขึ้ น (Multi-Tasking) หรือ การปรับ เปลี่ ย นจากผู ป ฏิ บั ติ ก าร
(Operator) ในสายการผลิตหนึ่ง สูการเปนผูควบคุม (Controller) การเดินเครื่องจักรแบบอัตโนมัตไิ ดครั้งละหลาย
สายการผลิต หรือเครื่องจักรแบบ PLC (Programmable Logic Controller) ที่ใชการควบคุมผานระบบ RFID
(Radio frequency identification) หรือ IOT (Internet of Thing) ก็ตาม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-27

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-27


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แนวทางที่สําคัญ คือ การเนนการเรียนการสอนที่ป รับจากในอดีตที่เนนภาคทฤษฎีเปนหลักสูลัก ษณะ


ภาคปฏิบัติการทํางานรวมกับสมองกล (AI) และเครื่องจักรที่ทันสมัยมากขึ้น หรือที่เรียกวา “Hybrid Working”
โดยการเพิ่มความสําคัญของหลักสูตรสหกิจศึกษายังสถานประกอบการของผูประกอบการเอกชน และหนวยงาน
ตางๆ เพิ่มมากขึ้นกวาในอดีต เพื่อใหเปนแรงงานที่ผูประกอบการพึงประสงค พรอมที่จะทํางานรวมกับเครื่องจักร
และเทคโนโลยีที่ เปลี่ย นไปสูยุ คดิ จิต อลได ทันที โดยหลัก สูต รและการฝ กงานเป นการทํา งานร ว มกัน ระหว า ง
สถาบันการศึกษาและภาคเอกชนเพื่อใหเกิดการถายทอดองคความรูและตอบสนองตอความตองการของธุรกิจ
ไดอยางแทจริง
ตัวอยางที่เห็นไดชัด ไดแก การทํางานของพนักงานประจํารานคาสะดวกซื้อสมัยใหม ซึ่งในอดีต พนักงาน
หนึ่งคนจะเนนการทํางานเฉพาะดานใดดานหนึ่ง เชน พนักงานแคชเชียรที่สามารถทําไดเฉพาะงานดานการเงิน
เพีย งอยา งเดีย วเทา นั้น แตในปจ จุบัน พนัก งานประจํา ร านคา สะดวกซื้อ ต องสามารถทํา ไดทั้ งงานแคชเชี ย ร
การนั บ สต็อ ก การจัด เรีย งสิน คา การจัดเตรีย มเครื่อ งดื่มและอาหารร วมกับ อุป กรณแ ละเทคโนโลยีสมั ย ใหม
หรือแมกระทั่งการสนทนากับลูกคาตางประเทศดวยภาษาจีนและภาษาอังกฤษเปนพื้นฐาน
โครงสรางในภาพที่ 5.4 เปนรูปแบบของการพัฒนาฝมือของแรงงานในอนาคตโดยมีรากฐาน
มาจากสถานศึกษาที่ตองเนนสหกิจศึกษาและการเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนเชิงทฤษฎีสู Hybrid Working
ตามที่เสนอมากอนหนา และการพัฒนาทักษะแรงงานที่มีการจําแนกตามประเภทการทํางาน ดังนี้
แรงงานในระดั บ ปฏิ บั ติ ก ารเป น แรงงานที่ อ ยู ใ นสายงานการปฏิ บั ติ ก ารโดยตรงหรื อ กลุ ม
“Blue Collar” ซึ่ง นอกเหนือจากความสามารถที่ตองทํางานไดหลายหนาที่ ในแตละหนาที่ยังตองมีความรูเชิงลึก
ที่ จ ะปฏิบั ติ ง านร ว มกับ เครื่อ งจั ก รผ า นระบบควบคุ ม อั ต โนมัติ และทั ก ษะที่ สํ า คั ญ ต อการทํ า งาน คื อ ทั ก ษะ
ในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นหนางาน หรือทักษะการแกไขปญหาเฉพาะหนา ในขณะที่แรงงานในสายบริหารจัดการ
หรื อ “White Collar” จํ า เป น ต อ งมี ทั ก ษะของการมี ค วามยื ด หยุ น ทางความคิ ด (Cognitive Flexibility)
มีความรอบรูในหลากหลายดานเพื่อนํามาใชในการวิเคราะหสถานการณและวางแผนตาง ๆ ที่เฉียบคม สามารถทํา
การวิเคราะหและสั่งการรวมกับสมองกล (AI) พัฒนาทักษะสูการบริหารเชิงวิจัยและพัฒนามากขึ้น และมีทักษะ
ที่สําคัญ คือ ทักษะดานภาษามากกวาสองภาษาขึ้นไป เพื่อเพิ่มความสามารถการสื่อสารทั้งกับบุคคลและอุปกรณ
เทคโนโลยีในยุคดิจิตอลไรพรมแดนมากขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-28
5-28 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาพที่ 5.4 แนวคิดของการพัฒนาฝมือแรงงาน 4.0

“ นวัตกรรมและเทคโนโลยีจะมีผลเขามาทดแทนตอแรงงาน
... ในอุตสาหกรรมใดเร็วชาแคไหน หลักสูตรพัฒนาผูบริหารยังมีความจําเปน
.... ขึ้นกับตนทุนของนวัตกรรมและเทคโนโลยีนั้นเปนสําคั ญ ”  ทักษะเฉพาะทาง ขั้นต่ําตามกฎหมายกําหนด
 เสริ ม สร างความเปน Leadership และ Decision Making
Executive Development ซึ่ง AI ไมสามารถทําไดในปจจุบัน
พัฒนาทักษะใหมีความหลากหลายมากขึ้น : ตองการผูบริหารที่ AI ไมสามารถทดแทนได
 cognitive flexibility มีความรูที่ใชในการ พัฒนาทักษะเชิงลึกมากขึ้น :
วิเคราะหหลายดาน  มีความรูในเชิงลึก สามารถแกไขปญหาหนางานไดดขี ้นึ
White Collar Blue Collar
 Multi-Language Analytic Skill  จากพนักงานปฏิบัติ สูพนั กงานควบคุ ม ทํ างานร วมกับ
 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห ทํางานรวมกับ ปริญญาจะไมเปนตัวกําหนดอีกตอไป ... ประสบการณและ Robot และระบบ Automation
AI ไดดี ความสามารถจะกําหนดผลตอบแทนมากขึ้น
 ปรับตัวสูการเปน R&D ปรับหลักสูตรการศึกษา :
 จากภาคทฤษฎี สูทักษะการทํางาน
เนนสหกิจ ศึ กษามากขึ้น : จาก Education System แบบ Hybrid Workers ทํางาน
ตําราในหองเรียน สูการเรียนรูทํางาน รวมกับหุนยนตและสมองกลมากขึ้น
จริงในสถานประกอบการ ระบบการศึกษาที่สอดคลองกั บตลาดแรงงาน  กา รเ รี ย นรู ใ น ลั ก ษณ ะ Multi-Skill
เพื่อใหสามารถทํางานในลักษณะ Multi
การปรับตัวแรงงานเขาสูยุค Labour 4.0 Tasking

ที่มา: คณะผูวิจัย

ในระดับ ผูบ ริ ห ารระดั บ สู ง ขององคก รเป น อี ก หนึ่ง อาชี พ หรื อ อี ก หนึ่ ง ตํ า แหนง ที่ มี โ อกาสถู ก ทดแทน
ดวยเทคโนโลยี และนวัต กรรม โดยที่หลัก สู ตรการพัฒนาผูบ ริ ห ารยังคงมี ค วามจํ า เป น โดยเฉพาะการพัฒ นา
องคค วามรู เ พื่อ ใหผูบ ริห ารระดั บ สู งสามารถผา นการรับ รองขั้น ต่ํ า ตามที่ ก ฎหมายกํ า หนด ซึ่งขึ้นกับ ประเภท
ของความจํา เปนในแตล ะธุ รกิจและสาขาอุตสาหกรรม ตัวอยา งเชน ผูจัด การสนามบิน แต ละแหงจะตองผาน
การทดสอบใบรับ รองการเปน ผูจัดการสนามบินสาธารณะ เปน ตน และผูบ ริหารระดับ สูง จํา เปนตอ งมีทักษะ
และประสบการณซึ่งสมองกล (AI) ไมสามารถทดแทนได อาทิ ทักษะดานภาวะผูนํา และการตัดสินใจในภาวะ
วิกฤติ
ทั้งนี้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) ไดรับการพัฒนาเพื่อใชทดแทนในงานที่ทําในลักษณะซ้ํา ๆ
แบบเดิม หรือที่เรียกวา “Pattern” เปนหลัก ซึ่งสมองกลจะจดจําและจําแนกออกเปนหลายรูปแบบได (Machine
Learning: ML) ดังนั้น แรงงานที่อยูในตําแหนงหรือมีบทบาทในการทํา งานในลักษณะเดิม อาทิ พนักงานบัญ ชี
พนักงานคอลเซ็นเตอร พนักงานคลังสินคา หรือ อาจารยผูสอนรายวิชาในลักษณะเดิม จะเปนกลุมที่มีโอกาส
ที่จะถูกทดแทนไดโดยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) ไดในระยะสั้นนี้

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-29

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-29


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สํา หรั บ แรงงานกลุ ม อื่ นๆ ที่อ ยูใน 10 กลุมอุ ตสาหกรรม S - Curve ยังคงมีโอกาสที่ ที่จ ะถู ก ทดแทน
โดยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) โดยขึ้นกับ ตนทุนของนวัตกรรมและเทคโนโลยี และประสิทธิภาพ
เชิงเปรียบเทียบกับ แรงงาน และขอจํากัดหรื อขอ กฎหมายที่ใช อยูในปจ จุบัน อาทิ ในอุตสาหกรรมการแพทย
ที่มีขอจํากัดดานกฎหมายที่ยังไมอนุญาตใหแพทยทําการรักษาคนไขเต็มรูปแบบผานชองทางออนไลน จะทําได
เพียงการวินิจฉัยเบื้องตนรวมกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI) ที่วิเคราะหจากประวัติการรักษาเดิมเทานั้น
ทําใหแรงงานกลุมดังกลาวยังไมนาจะถูกทดแทนในระยะอันใกลนี้ เปนตน
อยางไรก็ตาม ชวงเวลาที่แรงงานกลุมดังกลาวยังไมถูกทดแทนโดยนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมองกล (AI)
มีแนวโนมจะสั้นลงกวาที่เคยคาดหมาย เนื่องมาจากแรงกดดันจากสภาวะแวดลอมภายนอก จากสภาวะอากาศ
และสิ่ง แวดล อมที่เปลี่ย นแปลง (Climate Change) อั นส ง ผลกระทบตอ การดํา รงอยูข องมนุ ษ ย ร วดเร็ ว กว า
ที่คาดการณ รวมถึงรูปแบบอุตสาหกรรมดั้งเดิมที่ซึ่งถูกเรงใหเกิดการทดแทนดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม
โดยสิ้นเชิง (Disruptive) โดยมีตนทุนในการผลิตเทคโนโลยีที่ลดลงอยางรวดเร็ว เชน อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต
ที่ใชในน้ํามันเปนเชื้อเพลิงที่กําลังจะไดรับ การทดแทนดวยรถยนตไฟฟาหรือ EV หรือแมกระทั่งในอุตสาหกรรม
เชื้อ เพลิ ง อย า งโรงไฟฟา ในป จ จุ บั น ที่ ใ ช ก ารผลิ ต จากเชื้ อ เพลิ ง ถ า นหิ น เป น หลั ก ที่ กํา ลัง ถู ก ทดแทนการผลิ ต
ดวยพลังงานจากธรรมชาติตาง ๆ ทั้งจากชีวมวล แสงอาทิตย และพลังงานลม โดยอุตสาหกรรมรูป แบบใหม
ดังกลาวสามารถดําเนินธุรกิจไดโดยใชแรงงานนอยมาก มีตนทุนดานเทคโนโลยีและการประกอบการที่ถูกลงมาก
และประสิทธิภาพที่ดีขึ้น ก็จะถูกนํามาใชเพิ่มมากขึ้นและทดแทนแรงงานในอนาคต

ข. ระบบสนับสนุนและสภาพแวดลอม
การพัฒนาแรงงานในใหมีองคความรูและมีทักษะตามที่สถานประกอบการตองการตองมีระบบ
การสนับ สนุนที่ชัดเจนมีส ภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาอุตสาหกรรมและแรงงาน ซึ่งประกอบด วย
ฐานขอมูล การมีระบบเงินที่เอื่ออํานวยตอการพัฒนาทักษะแรงงาน และกระบวนการพัฒนาทักษะแรงงานรวมกัน
- การมีฐานขอมูลที่สามารถระบุความตองการแรงงานในแตละอุตสาหกรรม โดยเปนฐานขอมูล
ที่มีความทันสมัย มีความเชื่อมโยงในหลายๆหนวยงานเพื่อใหเกิดการบูรณาการและแลกเปลี่ยนขอมูลดานแรงงาน
เพื่ อ ใช ใ นการวางแผนและบริ ห ารจั ด การได อ ย า งเป น ระบบ ทั้ ง นี้ ข อ มู ล ควรมี ลั ก ษณะของการกระจายตั ว
ตามอุตสาหกรรม พื้นที่ การศึกษา และลักษณะอื่น ๆ ที่มีความสําคัญตอมาตรการหรือนโยบายเพื่อการพัฒนา
แรงงานในอนาคต ตัวอยางเชน การใชขอมูลจากการศึกษาเพื่อระบุถึงอายุและประภทแรงงาน (ในหรือนอกระบบ)
ในรายอุตสาหกรรมเพื่อใชระบุแนวทางการพัฒนาทักษะ รูปแบบที่ใชเพื่อการพัฒนาทักษะที่แตกตางกันระหวาง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-30
5-30 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แรงงานในระบบการจสางงานที่มีนายจาง และนอกระบบการจางงานที่มีนายจาง รวมถึงการประเมินตามชวงอายุ


เพื่อใหเห็นสภาพของการทดแทนแรงงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
- การมีระบบการเงินที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาทักษะแรงงาน ซึ่งโดยปกติแรงงานในกลุมที่มี
นายจางจะไดรับการพัฒนาทักษะแรงงานผานกระบวนการฝกอบรมขององคกร ในขณะที่การเพิ่มทักษะแรงงาน
กลุ ม ที่ ไ ม มี น ายจ า งต อ งมี ก ารทํ า ด ว ยตนเอง ส ง ผลให พั ฒ นาทั ก ษะของกลุ ม แรงงานนอกระบบไม ต อ เนื่ อ ง
และไมเปนระบบ ดังนั้น การที่ภ าครัฐ เขามาออกแบบกลไกในการพัฒ นาทั ก ษะแรงงานเพื่อ ให ตอยอดไปยั ง
อุตสาหกรรม 4.0 ในบางสาขาอุตสาหกรรม จึงมีความจําเปนที่ต องมีกลไกทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อ ให เกิด
สภาพแวดลอมของการพัฒนาทักษะ เชน การจัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนาทักษะแรงงานที่เปนงานนอกระบบ
(กรณีที่เปนแรงงานที่ไมมีนายจาง) และเปนการรวมจัดทํากองทุนที่มีการสรางสูตรการจายสมทบระหวางนายจาง
ลูกจาง ภาครัฐ (กรณีเปนแรงงานที่มีนายจาง) ในการพัฒนาทักษะของแรงงานเพื่ออุตสาหกรรม 4.0 เปนตน
- ภาครั ฐ ต อ งมี ม าตรการสนั บ สนุ น ให ส ถาบั น การเงิ น ให ป ล อ ยเงิ น กู แ ก ส ถานประกอบการ
และแรงงานที่ตอ งการนําไปใชเพื่อการปรับปรุง การผลิตใหรองรับกั บอุตสาหกรรม 4.0 และการพัฒนาทั กษะ
ใหสอดคลองกับอุตสาหกรรม 4.0 โดยอาจเปนเงินกูดอกเบี้ยต่ํา และตองประเมินติดตามผลเปนระยะ ๆ
- ภาครั ฐต อ งส ง เสริ ม ให มี ร ะบบโครงสร า งการดํ า เนิ น การร ว มกั น ระหวา งนายจ า ง ลู กจ า ง
ในการรว มกันพัฒ นาทัก ษะแรงงาน โดยผา นระบบแรงงานสัมพันธ โดยตอ งเปนกระบวนการเพื่อใหนายจา ง
และลู ก จ า งมี ก ระบวนการออกแบบรู ป แบบของการพั ฒ นาทั ก ษะที่ ส อดคล อ งกั บ กระบวนการผลิ ต
ของสถานประกอบการ ภายใตความสามารถทางการเงินของสถานประกอบการ

ค. บทบาทของกระทรวงแรงงาน
กระทรวงแรงงานเปนหนวยงานที่มีความเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออมตอการพัฒนาทักษะ
ของแรงงานเพื่อรองรับกับการพัฒนาตามแนวทางอุตสาหกรรม 4.0 โดยกระทรวงแรงงานมีบทบาทในการเชื่อมโยง
ระหวางผูป ระกอบการและแรงงานในการยกระดับ ความสามารถของตนเอง ดังนั้นตามภารกิจของหนว ยงาน
อาจมีการดําเนินการตามนี้
- กรมพัฒนาฝมือแรงงาน เปนหนวยงานสนับสนุนและอํานวยความสะดวกเพื่อใหการดําเนินการ
ดานการพัฒนาทักษะแรงงานเปนไปอยา งมีประสิทธิภาพ โดยกรมพัฒนาฝมือแรงงานตองมีการปรับหลัก สูตร
การพัฒนาทักษะฝมือแรงงานใหตรงกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยเปนการทํางานรวมกันระหวางภาครัฐ
ภาคเอกชน (รวมถึงสมาคมวิชาชีพตาง ๆ) และภาคแรงงาน
- รูปแบบของการสนับสนุนภาคเอกชนที่เหมาะสม เชน อาจใชระบบรวมลงทุนกับภาคเอกชน
ในการออกแบบหลักสูตรพัฒนาทักษะแรงงาน และรูปแบบของการพัฒนาทักษะแรงงานในอนาคตตองมีลักษณะ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-31

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-31


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เป น ตามความต อ งการ (Demand driven) โดยให เ อกชนมี ส ว นร ว มในกระบวนการพั ฒ นาทั ก ษะแรงงาน
ใหมากที่สดุ
- กรมการจัดหางาน ควรพัฒนาระบบการจัดหางานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 ทั้งในดานอาชีพ
ประเภทงาน รูปแบบงานใหม ๆ และการใหความรูแกครูแนะแนว เด็ก เยาวชนที่เกี่ยวของกับประเภทงานใหม ๆ
ภายใตอุตสาหกรรม 4.0
- การพัฒนาระบบการประมาณการความตองการแรงงานในอุตสาหกรรมตาง ๆ โดยคํานึงถึงมิติ
ของอุตสาหกรรม อาชีพ ประเภทงาน พื้นที่ และการจางงานแรงงานตางดาว เพื่อใหเปนขอมูลพื้นฐานเพื่อ ใช
วิเคราะห วางแผน ติดตามประเมินผล ที่เกี่ยวของกับการจางงานในอุตสาหกรรม 4.0 และเตรียมแผนความพรอม
เพื่อการรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
- กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ควรประเมิ นถึงแนวทางในการดํา เนินการดานแรงงาน
สัม พั น ธรู ป แบบต า ง ๆ ที่เ หมาะสมต อ การพั ฒ นาอุต สาหกรรม และประเมิ น ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในด า น
ความสัมพันธระหวางนายจางและลูกจางอันเปนผลที่จะเกิดการปรับเปลี่ยนสูอุตสาหกรรม 4.0 เชน กรณีของการ
เกิดขอพิพาทดานแรงงาน ปญหาดานแรงงาน การเลิกจาง เปนตน รวมถึงประเมินและจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง
ที่จะเกิดขึ้น
- สํานักงานประกันสังคม ตองมีการพัฒนาระบบการประกันสังคมเพื่อรองรับการจางงานภายใต
เงื่อนไขของอุตสาหกรรม 4.0 รวมถึงการออกแบบสิทธิประโยชนใหสอดคลองกับรูปแบบการจางงานสมัยใหม และ
ครอบคลุมถึงแรงงานนอกระบบ
- สํ า นัก งานปลั ดกระทรวงแรงงาน เป น หนว ยงานที่ ป ระสานและดํ า เนิ น การด า นนโยบาย
รวมถึงการศึกษาขอมูลทิศทางของการจางงานในภาพรวม การพัฒ นาระบบฐานขอมูลดานแรงงานโดยเฉพาะ
ในอุ ต สาหกรรม 4.0 แบบครบวงจรและเป น การวิ เ คราะห จ ากฐานข อ มู ล ใหญ (Big Data) และบู ร ณาการ
แลกเปลี่ยนขอมูลภายในกระทรวงและภายนอกกระทรวง รวมถึงการเปนหนวยงานสําคัญในการวางแผนกําลังคน
ร ว มกั บ หน วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ ย วขอ ง เช น สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั งคมแห ง ชาติ
กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สภาหอการคาแหงประเทศไทย
เปนตน เพื่อใหเกิดการทํางานรวมกันอยางบูรณาการของภาครัฐและเอกชน

ง. บทบาทของภาครัฐ
- ภาครั ฐ ต อ งมี ก ารกํา หนดทิ ศ ทางและนโยบายของอุต สาหกรรม 4.0 โดยเฉพาะแนวทาง
ในการเปลี่ย นแปลงประเทศ (Transformation) สูอุตสาหกรรม 4.0 อยา งชัดเจน รวมถึงแนวทางของการให
สิทธิประโยชนแกผูประกอบการในการปรับเปลี่ยนสูอุตสาหกรรม 4.0 เพื่อเปนทิศทางสําคัญและสรางความมั่นใจ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-32
5-32 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ใหกับภาคเอกชนในการตัดสินใจทางธุรกิจ ซึ่งจะมีผลตอแนวทางการจางงานและคุณลักษณะแรงงานที่ตองการ
ของภาคเอกชน
- ภาครัฐตองประเมินถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับการจางงานในอุตสาหกรรม 4.0 ในมิติตาง ๆ
รวมถึงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในระบบการจางงานของประเทศ เพื่อเตรียมการและหามาตรการบริหารความเสี่ยง
ที่จะเกิดขึ้น และพิจารณาถึงกลุมแรงงานที่ไมสามารถพัฒนาทักษะและความรู สูอุตสาหกรรม 4.0 ได วาจะมี
วิธีการรองรับอยางไร รวมถึงการที่ภาครัฐตองสรางความรูความเขาใจและทัศนคติที่ถูกตองตอการปรับเปลี่ยน
ประเทศสูอตุ สาหกรรม 4.0 ใหกับทุกกลุมเปาหมาย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
5-33

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 5-33


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บรรณานุกรม
กรมการจัดหางาน (2552). การจัดประเภทมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย (Thailand Standard Industrial
Classification; TSIC)
กระทรวงแรงงาน. (2560). การประกาศใชคาจางขั้นต่ําของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี สืบคนวันที่ 20 พฤษภาคม
2561 จากเว็บไซต http://www.mol.go.th
กระทรวงแรงงาน. (2560). รายงานการศึ ก ษาวิ เคราะห ฐานข อ มู ล แรงงานและความต อ งการแรงงานของ
อุตสาหกรรมเปาหมายในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC). กรุงเทพมหานคร.
กระทรวงอุตสาหกรรม. ยุทธศาสตรการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579)
สรางอนาคตสไตลเกาหลีใต ดวย Manufacturing Innovation 3.0. (2018, May 1). โครงการศูนยขอมูลอัจฉริยะ
ดานผลิตภาพ สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ.
Arirang News. (2016, May 23). Korea to focus R&D efforts on 9 industries in 2017 [Video file].
Retrieved from http:// www.youtube.com/watch?v=v34aL-gq7yc
Birgit, K. (2 01 7, January 24). Germany: Labour Minister Launches White Paper on the future of
work.
Bureau of Science, Technology and Innovation, Cabinet Office. (2016) . Society 5.0 and MEMS.
Tokyo
Center for Research and Development Strategy. (2016 ) . Future Services & Societal Systems in
Society 5.0. Tokyo
Centre des Liaisons Européennes et Internationales de Sécurité Sociale. (2012). The French Social
Security System III – Retirement. สื บ ค น วั น ที่ 1 8 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 1 จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต
http://www.cleiss.fr/docs/regimes/regime_france/an_3.html
Claudia Christ and Rolf Frankenberger. (2017) On the Way to Welfare 4.0 – Digitalisation in France.
politics for europe.
Computer – automation.de. Was hinter Begriffen wie Industrie 4.0 steckt สืบคนวันที่ 22 พฤษภาคม
2 5 6 1 จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต https://www.computer-automation.de /steuerungsebene/steuern-
regeln/artikel/93559/0/
Colliers Radar. (2018). Industry 4.0 - future-proofing Singapore's industrial landscape. Singapore
Industrial Property
Digital Transformation Monitor. (2017). Germany: Industrie 4.0. Europian commission.

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

France, Ministry of International Trade and Industry. (2018, February 9). Draft National Industry 4.0
Policy Framework.Gary Gereffi. (2017). GLOBAL VALUE CHAINS, INDUSTRY 4.0, AND KOREAN
INDUSTRIAL TRANSFORMATION. Duke University, USA
IEEE. (2016) Design Principles for Industrie 4.0 Scenarios สืบคนเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2561 จาก
เว็บไซต https://ieeexplore.ieee.org/document/7427673Industrie 4.0 / industrie du
futur.Paris
Innovation Spaces. (n.d.). Retrieved from http://www.arbeitenviernull.de /experimentierraeume
/info/english.html
Japan’s 5th Science and Technology Basic Plan (2016-2020).
Japan, Ministry of Economy, Trade and Industry. (2016, April 27). Vision of New Industrial
Structure.
Jet P.H. Shu. (2017). Platform Strategies and Industry 4.0. Taipei Tech, Taiwan
JiAe, S. (2017, October 12). President emphasizes ‘people-centered fourth industrial revolution’.
KOREA.net.
Jonathan Gruber and David A. Wise, editors (2010) (p. 119 - 146), Labor Force Participation by
the Elderly and Employment of the Young: The Case of France. University of Chicago
Press
Germany: Industrie 4.0 (Rep.). (2017). European Commission.
Grass, K., & Weber, E. (2016). EU 4.0 – The Debate on Digitalisation and the Labour Market in
Europe (Vol. 39, pp. 32-47, Discussion Paper). Research Institute of the German Federal
Employment Agency.
Keidanren Japan Business Federation. (2016). Toward realization of the new economy and
society. Japan
Klein, P. (2017, October 23). The Future of Work in the Digital Age: A German Perspective [Web
log post].
Korea, Ministry of Employment and Labor. (2017, February 14). MOEL Selects 11 Private Training
Institutions and 24 Training Courses for HRD Project for Fourth Industrial Revolution.
Korean Government to Prepare Future Workforce for the Fourth Industrial Revolution. (2017,
September 29). Korea News Gazette.
ILO, Skill Needs Analysis for “Industry 4.0” Based on Roadmaps for Smart System

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Malaysia, Ministry of International Trade and Industry. (2018, February 9). Draft National Industry
4.0 Policy Framework.
Manpower Employment Outlook Survey Singapore. (2016). SingaporeMarc Gimmy, Munich, and
Claudia Jonath, (2017) Competing in the new Europe: Industrie 4.0/industrie du futur.
Modern work: flexibility, rights, jobs, tax. Mapping European roads to the future.
Ministry of Economy and Finance. (2015, January). First Round of Certification Issued to the
Courses on IT-Skill Training to Meet the Era of the Fourth Industrial Revolution [Press
release]. Retrieved from http://www.meti.go.jp/english /press/2018/0110_001.html
Ministry of Economy and Finance. (2015, May 18). INDUSTRY OF THE FUTURE [Press release].
Retrieved from https://www.economie.gouv.fr/files/files/PDF/pk_industry-of-future.pdf
Ministry of Trade and Industry. (2017). Economic servey Singapore 2016. Government of
Singapore
OECD Observer (2011). France: Jobs and older workers. สืบคนวันที่ 15 พฤษภาคม 2561 จาก
เว็บไซตhttp://oecdobserver.org/news/archivestory.php/aid/1672/France:_Jobs_and_older
_workers.html
Official website of the French Government Tourist Office สืบคนเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2561 จาก
เว็บไซต http://us.france.fr/
Plattform Industrie 4.0. (n.d.). Retrieved from https://www.plattform-i40.de/I40/Navigation
/EN/ThePlatform/PlattformIndustrie40/plattform-industrie-40.html
Plucinska, J. (2016, July 6). France’s digital retraining trap. POLITICO.
PWC. (2016). Global Industry 4.0 Survey.
Section 2 Labor and employment policies under the Fourth Industrial Revolution (Rep.). (2018).
Ministry of Economy, Trade and Industry. Retrieved from
http://www.meti.go.jp/english/report/data/wp2017/pdf/3-4-2.pdf
Shaping the Digital Transformation Within Companies – Examples and Recommendations for
Action Regarding Basic and Further Training(Rep.). (2017). Federal Ministry for Economic
Affairs and Energy (BMWi).
Smith-Vidal, S. (2018, March 9). Vocational Training in France: Heading Toward a 'Big Bang'
Reform? Retrieved from https://www.morganlewis.com/pubs/vocational-training-in-
france-heading-toward-a-big-bang-reform

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Wolfgang, S. (2016). Germany’s Industry 4.0 strategy Rhine capitalism in the age of digitalisation.
Germany
Yuko Harayama (2016). A Living Concept “Society 5.0” And the Role of Universities. Council for
Science, Technology and Innovation Cabinet Office, Japan
Yuko Harayama. (2016). Society 5.0: Aiming for a New Human-centered Society Japan’s Science
and Technology Policies for Addressing Global Social Challenges. Council for Science,
Technology and Innovation, Cabinet Office, Japan

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก ก
สรุปการสัมภาษณหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1. หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ประเด็นคําตอบที่เกี่ยวของกับมิติการดําเนินการของ สศช (ในเชิงนโยบาย) เพื่อใชประกอบโครงการศึกษาวิจัยทิศ
ทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
1. นโยบายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาแรงงานในปจจุบัน
1) รางยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20ป (พ.ศ.2561-2580) ดานการสรางความสามารถในการแขงขันมุงเพิ่ม
บุคคลากรที่มีทักษะและความรูรองรับอุตสาหกรรมและบริการแหงอนาคต สรางและพัฒนาผูประกอบการยุคใหม
ใหมีทักษะและจิตวิญญาณของการเปนผูประกอบการที่มีขีดความสามารถในการแขงขันและมีอัตลักษณของตนเอง
ดานการพัฒนาและสร างเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษ ยให ความสําคัญ กับ การยกระดับ ศักยภาพ ทักษะ และ
สมรรถนะแรงงานอยางตอเนื่องดึงดูดกลุมผูเชี่ยวชาญตางชาติและคนไทยที่ทีความสามารถในตางประเทศใหมา
สรางและพัฒนาเทคโลยีและนวัตกรรมใหกับประเทศ และสงเสริมใหผูสูงอายุเปนพลังในการขับเคลื่อนประเทศ
และดานการสรางโอกาสและความสามารถภาคทางสังคม มุงเพิ่มผลิตภาพและคุมครองแรงงานไทยใหเปนแรงาน
ฝมือที่มีคุณภาพและความคิดริเริ่มสรางสรรค มีความปลอดภัยในการทํางาน รวมถึงสงเสริมใหแรงงานทั้งในระบบ
และนอกระบบเขาสูระบบประกันสังคมอยางทั่วถึง และพัฒนากําลังแรงงานในพื้นที่ใหสอดคลองกับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของกลุมจังหวัด และพัฒนาทักษะอาชีพที่สอดคลองกับบริบทของเมืองทั้งในปจจุบันและ
อนาคต
2) แผนการปฎิรูปประเทศ การปฏิรูปดานสังคม ในการสรางระบบใหคนไทยมีบําเหน็จบํานาญหลังพน
วัยทํางาน การเสริมสรางสรางศักยภาพผูสูงอายุในการทํางาน การปฎิบัติดานเศรษฐกิจ โดยสงเสริมใหแรงงาน
เขาถึงแหลงทุน สรางแรงงานคุณภาพ (super worker) และเชื่อมโยงแรงงานสูตลาดอยางครบวงจร รวมถึงการ
ขยายความคุมครองของกองทุนประกันสังคมใหครอบคลุมกลุมแรงงานนอกระบบและเกษตรกร ทบทวนและ
ยกระดับใหระบบบํานาญตองสนับสนุนการเคลื่อนยายของแรงงาน (labor mobility)
3) แผนพั ฒนาเศรษฐกิจ และสัง คมแหง ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตรท่ี 1 การ
เสริมสรางและพัฒนาศักยภาพมนุษย ที่ใหความสําคัญกับการจัดทํามาตรฐานอาชีพในอุตสาหกรรมเปาหมาย และ
เรงพัฒนาระบบขอมูลความตองการและการผลิตกําลังคน ยุทธศาสตรท่ี2 การสรางความเปนธรรมและลดความ
เหลื่อ มล้ํา ในสั งคม ที่ใหค วามสํา คั ญ กั บ การส ง เสริ มการประกอบอาชี พ ของผูป ระกอบการระดับ ชุ มชน และ
สนับสนุนศูนยฝกอาชีพชุมชน ยุทธศาสตรที่3 การสรางความเขมแข็ง ทางเศรษฐกิจและแขงขันไดอยางยั่งยืน มุง
พัฒนาศักยภาพบุคลากรในภาคอุตสาหกรรมใหมีทักษะขั้นกาวหนาเพื่อตอยอดฐานองคความรเทคโนโลยีเดิมไปสู
การใชและพัฒนาเทคโนโลยีขั้นสูง วางแผนและพัฒนากําลังคนรองรับอุตสาหกรรมอนาคต ลดอุปสรค ขั้นตอนการ
เคลื่อนยายแรงงาน ยุทธศาสตรที่9 การพัฒนาภาค เมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ ใหความสําคัญกับการบริหารจัดการ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ดานสาธารณสุขแรงงานและความมั่นคงในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน เชื่อมโยงระบบจางงานตางดาว การ


ประกันสุขภาพ และการเขาเมือง
2. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
1) การกําหนดแนวทางการพัฒนาทักษะที่สอดคลองกับความตองการในอนาคต ความกาวหนา ทาง
เทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงของบริษัทในมิติอื่นๆ อาทิ การเกิดภาวะโลกรอน การเคลื่อนยายแรงงานไดอยาง
เบ็ดเสร็จนํา ไปสูสั งคมพหุวัฒนธรรมที่สูงขึ้น นํา ไปสูความจํา เปนที่ตองมีทักษะใหมๆ เพื่อใหมนุ ษยกาวทัน การ
เปลี่ยนแปลงและการใชการเปลี่ยนแปลงดังกลาวใหเกิดประโยนชสูงสุดตอตนเองและสังคม ไมวาจะเปนทักษะที่
สามารถทํางานกับคอมพิวเตอรและแอพพลิเคชั่นตางๆ รวมถึงความสามารถในการใหคอมพิวเตอรทําในสิ่งที่เรา
ตองการ ซึ่งลวนเปนรูปแบบหนึ่งของการมี DIGITAL LITERACY และมีความจําเปนอยางยิ่งในอนาคต (ผูจัดการ
ของ Google กลาววางานใหมๆ 9 ใน10 ตองการผูมี digital literacy ไมรูปแบบหนึ่งถึงแมวาจะไมอยูในอาชีพ
computer science ก็ตาม นอกจากนี้ มนุษยไดรับการพัฒนาทักษะทางความคิดมากยิ่งขึ้น อาท ทักษะการแกไข
ป ญ หาที่ซั บ ซ อ น (complex problem solving) ทัก ษะการคิ ด วิ เคราะห (critical thinking) ทั ก ษะความคิ ด
สรางสรรค (creativity) ทักษะการทํางานรวมกัน (coordinating with others) ซึ่งการจะพัฒนาทักษะเหลานี้
จํ า เป น ต อ งปรั บ เปลี่ ย นระบบการศึ ก ษาและระบบการเรี ย นรู พั ฒ นาขนานใหญ โดยเฉพาะระบบที่ เ ป น
mainstream ของประเทศที่เปนอยูในปจจุบันที่ยังมุงเนนการทองจําและการสอบ แตเปดพื้นที่การคิด และการ
เรียนรูด วยตนเองและการทํางานรวมกับผูอนื่ ไมมากเทาที่ควร
2) การกํ า หนดแผนการดํ า เนิ น งานที่ มี ค วามเฉพาะเจาะจงกลุ ม แรงงานเป า หมายที่ ต า งกั น
ความกา วหนา ทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีในปจ จุบั น สง ผลกระทบตอ แรงงานทั้งระบบอย างมีนัยสําคัญ
สําหรับแรงงานในภาคอุตสาหกรรม แบงเปน กลุมผูใชแรงงาน (Blue collar) ซึ่งไดรบั ผลกระทบจากอัตราการจาง
งานที่อาจลดลงจากระบบอัตโนมัติ (Automation) และแรงงานกลุมที่ทํางานตามบริษัทหางราน (white collar)
ซึ่งไดรับผลกระทบหรือถูกแยงงานจากเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ (Artificial Intelligence) ซึ่งสามารถทํางาน
ซับซอนไดดีขึ้นและมีความสามารถในการประมวลผลที่เร็วกวามนุษย อีกทั้ง ยังมีกลุมเกษตรกรซึ่งถือเปนแรงงาน
กลุมใหญที่ตองการสามารถใช ประโยชนจากความกาวหนาดังกลา วใหสูงที่สุด การพัฒนาแรงงาน 3 กลุมหลัก
ดังกลาวตองการมาตรการรองรับที่ยอมตางกัน ตามทุนเดิมที่แรงงานและความตองการที่แตละกลุมมี ดังนั้น การ
กํา หนดนโยบายในอนาคตจึงควรปรับจากการกําหนดในลักษณะงานเหมารวม เปนการคํานึงถึงความตองการ
เฉพาะกลุมใหมากยิ่งขึ้น
3) การปรับเปลี่ยนรูปแบบการใหบริการ การเพิ่มเติมบทบาทภาคเอกชนในฐานะหุนสวนดําเนินการ
โครงการดานการพัฒนาแรงงานในปจจุบันสวนใหญเปนโครงการที่ดาํ เนินการโดยภาครัฐ ซึ่งอาจมีขอจํากัดในหลาย
ดานทําใหอาจไมสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใหบริการ โดยเฉพาะในเรื่องการพัฒนาฝมือแรงงานไดทันทวงที
ทามกลางบริบทที่ทักษะและความรูมีการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วกวาเดิมมา ดังนั้นจึงควรเพิ่มการมีสวนรวมจาก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคเอกชน/ประชาสังคม โดยเฉพาะการถายโอนภารกิจการใหบริการไปสูภาคเอกชนหรือสถานศึกษาที่สามารถ
พัฒนารูปแบบการใหบริการที่ตอบโจทยการเปลี่ยนแปลงและความตองการของกลุมเปาหมายไดมีประสิทธิภาพ
มากกวาระบบราชการ อาทิการดําเนินการในลักษณะ social impact partnership ที่ภาครัฐใหเอกชนดําเนินการ
ใหบริการ และจา ยผลตอบแทนใหเฉพาะโครงการที่เอกชนดํา เนินการไดตามเปาหมาย ซึ่งหลายประเทศเชน
เยอรมันนี อังกฤษ เนเธอรแลนด มีการใชรูปแบบดังกลาวเพื่อใหเอกชนเปนผุดําเนินการดานฝกอาชีพและการจาง
งาน รวมถึงการสรางความรวมมือกับภาคเอกชนในเรื่องการขอสนับสนุนเครื่องมืออุปกรณืทั้งในสถานศึกษาและ
ศูนยฝกอบรมแรงงาน ตลอดจนการจูงใจใหเปดหองทดลองของเอกชนในสถานศึกษา
4) การสรางกลไกลสนับสนุนการพัฒนา/ฝอบรมไปตัวแรงงานโดยตรง ปจจุบันแผนงานในเรื่อ งการ
พัฒนาฝมือแรงงานเนนการสรางแรงจูงใจดวยการเพิ่มประสิทธิประโยชนใหสถานประกอบกิจการที่มีการพัฒนา
ทักษะฝมือใหกับลูกจาง แตปจจุบันการฝกอบรมที่เปนระบบและไดมาตรฐานมีการดําเนินการในบริษัทขนาดใหญ
เทานั้น ขณที่แรงงานสวนใหญทํางานในสถานประกอบการที่มีขนาดนอยกวา 10 คน มากวารอยละ 90 ซึ่งโดยสวน
ใหญไมมีระบบฝกอบรมเนื่องจากขอจํากัดดานเงินทุน ดังนั้น การสงเสริมอาจมุงสนับสนุนไปที่ตัวแรงงานโดยตรง
ผานกลไกตางๆ อาทิ การมี training coupon เพื่อเปนเงินทุนเบื้องตนเพื่อใชในการพัฒนาตนเองในสาขาที่ตรงกับ
ความสนใจและเปนที่ตองการของตลาดแรงงานการสงเสริมหลักสูตรในลักษณะ Degree apprenticeship เพื่อ
เปดโอกาสใหแรงงานที่อาจมีความจําเปนตองออกจากระบบการศึกษากอนกําหนดหรือมีขอจํากัดในการเรียนตอ
อาทิ คุณแมที่ตองออกจากงานเพื่อเลี้ยงลูกผูเรียนที่ออกกลางคัน ใหไดพัฒนาตนเอง โดยไมเสียโอกาสการทํางาน
หรือโอกาสในการกลับมาทํางานอีกครั้ง คือเรียนรวมกับฝกงานและไดรับเงินเดือนจากบริษัทที่เขารวมโครงการโดย
ใชหลักสูตรในลักษณะ blended learning ระหวางการเรียนการสอนรูปแบบเดิมและหลักสูตรออนไลนที่สามารถ
พัฒนาเปนแบบ interactive เปนหลัก เพื่อสรางปติสัมพันธระหวางอาจารย ผูเรียน และ/หรือเพื่อนรวมชั้น ใหการ
เรียนรูมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น ซึ่งนอกจากจะชวยสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต ยังสามารถเพิ่มอัตรามีสวมรวมแรงงาน
ไดดีดวย
5) การพัฒนากลไกการสรางอาชีพอยางยั่งยืน จากการศึกษาของธนาคารโลกและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
พบวาลักษณะของงานและการจางงานสํา หรับ กลุมแรงงานที่มีทักษะไมสู งมากควรเปนงานในระบบ (formal
sector) ที่มสามารถสรางรายไดอยางตอเนื่องผานการสนับสนุนใหเกิด SMEs ซึ่งอาศัยทักษะและทุนไมสูงมากและ
มีก ารกระจายของงานได ทั่ ว ถึ ง มากกว า ที่ จ ะใหก ารสนับ สนุ น แบบเฉพาะราย เช น การให สิน เชื่ อขนาดเล็ ก
(microcredit)ซึ่งธนาคารโลกพบวามีขอจํากัดในการนําไปสูการลดความยากจนไดอยางยั่งยืนเนื่องจากผูรับ เงินกู
ยังคงตองไปแขงขันในตลาด โดยที่ตนมีทุนและสมรรถนะที่เสียเปรียบกวา หลายธุรกิจที่อยูในตลาดอยูแลว ทั้งนี้
กุญแจสําคัญที่ขาดไมไดคือตัวกลางในการบริหารจัดการสมรรถนะสูง ในการทําหนาที่เชื่อมตอใหเกิดการรวมกลุม
การพัฒนาผลิตภาพการผลิตของผูผลิตรายยอยซึ่งสวนใหญขาดทักษะการพัฒนาผลิตภัณฑและระบบตลาด การ
เปนผูจัดการจางงาน/ระบบพัฒนาฝมือแรงงานที่มีคุณภาพสูง ขณะที่การพัฒนากลไกดานการสรางอาชีพของไทย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในปจจุบันยังเปนลักษณะของการฝกอบรมเทานั้น อยางไรก็ตาม งานวิจัยและกรณีศึกษาขางตนใหขอสรุปแลววา


การสรางอาชีพใหกับ แรงงานที่ยั่งยืนเปนงานที่ตองเชื่อมโยงกับองคประกอบ/ผูเลนสํา คัญ อื่นๆ โดยเฉพาะการ
พัฒนาโมเดลที่มีตัวกลางที่มีสมรรถนะในการบริหารจัดการที่เปนเลิศ ใหเขามาชวยบริหารใหกับเครือขายธุรกิจ
ขนาดเล็กในชุมชน เพื่อใหกิจการขนาดเล็กเติบโตและกอใหเกิดการสรางงานใหกับคนในพื้นที่ไดอยางยั่งยืนตอไป
ดังนั้น รูปแบบการพัฒนาแรงงานในอนาคตควรคํานึงถึงโมเดลการพัฒนาในมุมมองที่กวางกวาภารกิจของกระทรวง
แรงงาน และตองมีกลไกเสริมที่เนนการใหภาคสวนที่มีสมรรถนะในการดําเนินการเปนผูใหบริการ สวนภาครัฐควร
ปรับบทบาทเปนผูกํากับดูแล พรอมกับปรับวิธีคิดและกระบวนการประเมินผลที่เนนวัดในระดับผลลัพธใหมากขึ้น
เพื่อประเมินการดําเนินโครงการสูขยายผลโครงการที่ดี และลดโครงการประเภทที่กอใหเกิดผลกระทบทางบวกที่
นอย เพื่อใหการใชงบประมาณมีประสิทธิภาพ

หมายเหตุ
Skills development Scotland ได ริ เ ริ่ ม โครงการ degree apprenticeships คื อ การเรี ย นร ว มกั บ
ฝกงานพรอมกับไดรับเงินเดือนจากบริษัทและไดรับปริญญาหลังจบการศึกษาโดยมีกลุมเปาหมายคือ คนทํางานที่
อาจติดขัดเรื่องเงินทุนเพื่อศึกษาตอ ผูที่ตองการตรงเขาทํางานหลังจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูที่ตองการกลับเขามา
สูตลาดงาน อาทิ คุณแมที่ตองการออกจากงานเพื่อเลี้ยงลูก และพนักงานที่บริษัทเห็นโอกาสการเติบ โตแตตอง
ไดรับการพัฒนาเพิ่มเติม โดยผูไดรับการตอบรับใหเขาศึกษาตอในโปรแกรรมดังกลาว ถือวาเปนพนักงานของบริษัท
นั้ นๆ โดยไดรั บ เงิน เดือ น และใช เวลาหลั ง เลิ ก งานและวั น หยุด ในการศึ ก ษาผ า น online courses ที่ มี ระบบ
สนับสนุนแบบ interactive เพื่อสรางปฎิสัมพันธระหวางอาจารยผเู รียน และ/หรือเพื่อนรวมชั้น โดยจะมีการเรียน
ในมหาวิทยาลัยเดือนละ 1 วันทั้งนี้ คาใชจายในการเรียนทั้งหมดจะไดรับการสนับสนุนจาก Skills development
Scotland ซึ่งจะทําความรวมมือกับบริษัท และเลือกมหาวิทยาลัยที่เสนอหลักสูตรที่นาสนใจตรงกับความตองการ
ของตลาดงานในการใหบ ริการการศึกษา ทั้งนี้ ตั้งเปาหมายผูเขา รวมdegree apprenticeships และ master
apprenticeships ไวที่ 30,000 ราย ภายในป 2020
Aneel karnani (2011). Reducing poverty through employment innovations. Vol.6:2ตั ว อย า ง
ความสําเรจคือกรณีของบริษัท Technoserve ซึ่งเปน มีสํานักงานที่อเมริกา ทําหนาที่บริหารจัดการตลาดและการ
ผลิตใหกับ ผูป ระกอบการขนาดเล็ดที่ยากจนทั่วโลกโดย Technoserve ไดเขาไปชวยกลุมผูผลิตเม็ดมะมว งหิม
พานตโมซัมบิก ซึ่งเปนเอกชนที่ทักษะในการบริหารจัดการที่สูง และยังมีเครือขายกับอาสาสมัครจากประเทศ
เนเธอรแลนดจาก Mckiney & company เพื่อชวยวิเคราะหตลาดเม็ดมะมวงและกําหนดยุทธศาสตร และยังรวม
ทํางานกับ สมาคมผูผลิตเม็ดมะมวงรวมถึ งทํางานรวมกับ รัฐบาลที่กํา หนดนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมเม็ ด
มะมวงหิมพานต อาทิ การใหเงินชวยเหลือ และบทลงดทาเกาตรกรที่ปนทอนความสามารถในการแขงขันของ
อุตสาหกรรมดังกลาวในระยะยาว

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-5
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในประเทศอินเดียมีกรณีศึกษาของ EGMM (Employment Generation& Marketing Mission) ซึ่งมา


ชวยแกปญ หาการวางงานของกลุมเยาวชนซึ่ง เปนปญ หาที่รุนแรงในรัฐ Andhra Pradeshโดยมีโครงสรา งการ
บริหารจัด การที่แยกจากรัฐ แตมีรัฐทําหนาที่กํากับติ ดตาม EGMM ยังมี Job Resource Persons (JRPs) ที่ลง
พื้นที่ เกบขอ มูล ผู วา งงาน มีก ารตั้ง ...ตา งๆรองรั บ ไดแก rural retail academy , rural security academy,
rural engling and soft skills academy, work readiness and computer academy, construction training
center, textile training center ซึ่งเปนหลักสูตรฝกอบรมประมาณ 45 วัน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-6 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. หนวยงาน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม


ผูใหสัมภาษณ คุณภานุวัฒน ตริยางกูรศรี
วันที่ใหสัมภาษณ 17 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุม อุต สาหกรรมเปา หมายภายใต ก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป อุ ต สาหกรรมใดบ า งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
ผูใหสัมภาษณยกตัวอยางอุตสาหกรรมมา 3 ประเภท ไดแก อุตสาหกรรมยานยนตไฟฟา อุตสาหกรรม
ชิ้นสวนอากาศยาน และอุตสาหกรรมเครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ตองการแรงงานที่มีความรูความสามารถหลากหลายและครอบคลุมการทํางาน

2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/


ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ในการพัฒนาอุตสาหกรรมในอนาคต แรงงานจะตองถูกพัฒนาใหเหมาะสมกับรูปแบบอุตสาหกรรม มี
ความรอบรูเกี่ยวกับเทคโนโลยี มีทักษะในการสังเกต ควบคุม และวิเคราะหขอมูลขณะทํางาน
2.3 ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีมุมมองวา ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรียัง เปน ที่ตองการในภาคอุตสาหกรรม ยกตัวอยา งเชน
อุตสาหกรรมชิ้นสวนอากาศยาน มีความตองการผูเชี่ยวชาญแบบ Maintenance Repair Overall (MRO) ซึ่งมี
ทักษะการวิเคราะห สังเคราะห สามารถควบคุมดูแลรักษาทุกชิ้นสวนในอากาศยานได รวมไปถึงผูสําเร็จการศึกษา
ระดับปริญญาตรีนั้นมีองคความรูเพียงพอที่สามารถสอบมีใบ certificate หรือ license ในการควบคุม ซึ่งแรงงาน
ระดับ ปวช. ปวส. ไมสามารถทําได
2.4 อุต สาหกรรมของทานมี แนวโนมที่จะใช เครื่อ งจักร ดิจิต อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มา
แทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ผูใหสัมภาษณยกตัวอยางดังเชน รถไฟฟาความเร็วสูงซึ่งกําลังดําเนินการสรางนั้น จําเปนตองมีการควบคุม
การเดินรถดวยระบบอาณัติสัญญาณที่เสถียรเพื่อความรวดเร็วและแมนยําในการใหบริการ ในสายการผลิตตาง ๆ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-7
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ก็ตอ งมีการเก็บ ข อมูลกระบวนการที่ซ้ํา ๆ แบบ analog มาพัฒนาเปน ระบบอัตโนมัติแ บบ digital เพื่อ ความ
แมนยําและสามารถทดแทนแรงงานมนุษยได
2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ภาษาอัง กฤษสํ า หรั บ การทํา งาน เช น การอ า นคู มื อ manual และการสื่ อ สาร ทั ก ษะการทํ า งานที่
หลากหลายที่จะสามารถเปลี่ยนไปทํางานอื่นที่เกี่ยวของได ทักษะการวิเคราะหขอมูล
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ใหความเห็นวาเหมาะจะเปนอุตสาหกรรมสนับสนุน คือ ศูนยรวมการซอมบํารุงครบวงจร มากกวาการเปน
เจ า ของผลิ ต ภั ณ ฑ แ บรนด ใ หม ที่ มี อ ยู ดั ง นั้ น จึ ง มี น โยบาย สร า งความร ว มมื อ ระหว า งภาคส ว นอื่ น ๆ อาทิ
กระทรวงวิทยาศาสตรในการสราง Transformation center ในการพัฒนา platform สําหรับเพื่อความสามารถ
แรงงานและผูประกอบการ, กระทรวง ICT ในการพัฒนา IoT รองรับการพัฒนาในภาคอุตสาหกรรม, กระทรวง
แรงงานในการกํา หนดมาตรฐานฝ มือ แรงงาน ปรั บเปลี่ย นแกไ ขใหเ หมาะสมกับ ป จ จุ บั นและในอนาคต และ
กระทรวงการคลังในการอํานวยความสะดวกในการทําธุรกรรมดังกลาว รวมไปถึงเอกชนซึ่งไมไดสังกัดกรมสงเสริม
อุตสาหกรรม เชน สมาคมแมพิมพ หลอโลหะ และอื่น ๆที่เกี่ยวของ เขามารับทราบถึงปญหา ศึกษาเรียนรูจาก
ความสําเร็จกอนหนาและนําไปประยุกตใช แตในขณะเดียวกันตองมีการเตรียมพรอมการ Diversified หรือการโยก
ยายแรงงานจากอุตสาหกรรมหนึ่งมาสูอีกอุตสาหกรรมหนึ่งที่ใกลเคียง เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตอง
มีการเตรียมความพรอมใหกบั แรงงาน และการอํานวยความสะดวกจากภาครัฐ
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ควรมีความรวมมือเพิ่มเติมกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยกรมอาชีวศึกษาหรือสถาบันการศึกษาควรจัดให
มีสหกิจศึกษา คือเปนการเรียนรูในโรงงาน จากผูมีประสบการณโดยตรง ทั้งนี้จะตองมีการพัฒนาใหบุคลากรใน
โรงงานนั้นสามารถเปนอาจารยใหไดมากขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-8 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. หนวยงาน สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม


ผูใหสมั ภาษณ คุณอิทธิชัย ปทมาสิรวิ ัฒน
วันที่ใหสัมภาษณ 24 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุมอุ ตสาหกรรมเป า หมายภายใต ก รอบยุท ธศาสตร ช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
ยกตัวอยางอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟา เกษตร อาหาร พลังงานชีวภาพ
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในทุกอุตสาหกรรมจะมีรอยตอของการพัฒนา ตัวอยางเชนอุตสาหกรรมยานยนต ยานยนตไฟฟา
นั้นมีชิ้นสวนเพียบ 1500 ชิ้น ซึ่งนอยกวายานยนตสับดาปภายในซึ่งมี 30,000 ชิ้นโดยประมาณ ความตองการ
รถยนตแบบเกาก็จะคอยๆลดลงเปลี่ยนไปเปนแบบไฟฟา แรงงานในภาคอุตสาหกรรมก็จะไดรับผลกระทบ แตสวน
ใหญบุคลากรที่ทํางานดานยานยนตจะเปนแรงงานดานวิศวกรรม ดานเครื่องกล หรืออื่น ๆที่เกี่ยวของ ซึ่งเหลานี้มี
โอกาสโยกยายไปในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ได เชน ใชทักษะดานกลไกไปทําในดาน machinery หรือใชทักษะการทํา
ชิ้นสวนยานยนตซึ่งตองมีความแมนยําเที่ยงตรงสูง ไปทําดานการผลิตอุปกรณการแพทย
ด านชี วภาพ จากเดิมแบงเปน 2 ทาง คือ ดา นพลัง งาน และดานการเกษตร อาหาร ซึ่งเรามี
อุตสาหกรรมอาหารดั้งเดิมอยูแลว ในอนาคตการเปลี่ยนเปนอุตสาหกรรมอาหารอนาคตก็จะเปนการตอยอดจาก
ของเดิม มีการเพิ่มนวัตกรรมใหม ๆ ลงไป ไมนาจะมีผลตอแรงงาน ดานพลังงานก็เชนกัน แตจะอุตสาหกรรมเกิด
ใหมพวกชีวเคมี ชีวเภสัช เหลานี้ตองการบุคลากรมากขึ้น
ไมนาจะมีอุตสาหกรรมเกาใดหายไปเนื่องจากการเกิดของอุตสาหกรรม s-curve แตจะเปนการ
เปลี่ยนแปลงขยายจากเดิมใหมาเปน หรือเกี่ยวของกับอุตสาหกรรม s-curve มากกวา
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
กลุมแรงงานที่จะไดรับผลกระทบเยอะคือแรงงานระดับลางที่มีอายุเยอะแลว การปรับตัวเขาสู
เทคโนโลยีจะยากกวาคนรุนใหม และอาจไมคมุ กับการลงทุนฝกทักษะ ควรมุงเนนในการพัฒนาคนรุนใหมมากกวา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-9
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจติ อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่


แรงงานมากนอยเพียงใด
Robotic, Automation จะเขาไปแทนที่คนในจุดที่มีความเสี่ยงอันตราย ใกลของเสียจากการผลิต
จุดที่ตองการความแมนยําสูง หรือใชลดเวลาในกระบวนการทํางาน แตก็ข้ึนอยูกับขนาดของโรงงาน ถาโรงงาน
ขนาดใหญ การใช Automation ขนาดใหญทั้งหมดก็จะควบคุมดูแลงายกวา แตถาเปนโรงงานขนาดเล็ก SME
ขนาดเล็กก็อาจไมมีความพรอมพอที่จะนํา Automation มาใชทั้งระบบ รวมถึงพื้นฐานความรูการใชงานระบบ
Automation ซึ่งบางโรงงาน เชน ตามตางจังหวัด อาจยังมีไมเพียงพอ

2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
สําหรับกลุมแรงงานระดับพื้นฐานทั่วไป ตองเนนฝกทักษะดานไอที โปรแกรม เครื่องมือสมัยใหม
ชางตองเรียนรูในเทคโนโลยีในสายงานของตนเองใหม ๆ เชนยานยนตก็ตองเรียนรูชิ้นสวนยานยนตใหม ๆ ที่มี
ระบบอิเล็กทรอนิกสมาผสม data processing, IoT ทางวิศวกรเองก็ตองมีองคความรูใหม ๆ ที่เกี่ยวของการสาย
งานของตนมาพัฒนาเทคโนโลยีใหสูงขึ้น
อนาคต การผลิตจะไมไดเปน Mass production แลว แตจะมีการแบงกลุมการผลิตใหตอบสนอง
กับ ความตอ งการของลูก คา แตล ะกลุ มลูกค า ระบบการผลิ ต ก็จ ะเล็ กลง ยืด หยุ นได คนที่ทํา งานต อ งมี ทั ก ษะ
หลากหลาย มี multi-tasking skills ทํางานหลาย ๆ จุดไดในไลนการผลิตเดียว
ความสามารถดานภาษา ใหสามารถทํางานรวมกับตางชาติไดในกรณีมีการลงทุนจากตางประเทศ

2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
สศอ. มีหนาที่ขบั เคลื่อนอุตสาหกรรม s-curve มีการสงเสริมใหนําเทคโนโลยี Automation และ
Robotic มาใชในจุดที่ตองการ เพราะถาไมทํา ภาคอุตสาหกรรมจะสูญเสียความสามารถในการแขงขันกับประเทศ
อื่น สูญเสีย productivity ของประเทศ มีมาตรการพัฒนาแรงงานใหกับภาคอุตสาหกรรม มีงบประมาณบูรณาการ
อุตสาหกรรมศักยภาพพยายาม เพิ่มหลักสูตรเกี่ยวกับไอที automation การเตรียมบุคลากรที่เรียนจบแลวใหเขาสู
ภาคอุตสาหกรรม มีโปรแกรมเทรนนักศึกษาจบใหมมาเตรียมความพรอมกอนทํางาน เพิ่มทฤษฎี ฝกปฏิบัติ เปน
รวมงานกับกระทรวงแรงงาน กระทรวงศึกษาธิการ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. หนวยงาน สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ
ผูใหสัมภาษณ คุณนันทพร อังอติชาติ
วันที่ใหสัมภาษณ 20 กรกฎาคม 2561

1. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
1.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลาว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
อุสาหกรรมดั้งเดิมที่มีอยูแลวในประเทศจะกระทบมาที่สุด เชน ยานยนต อิเล็กทรอนิกส อาหาร
เนื่องจากทรัพยากรที่มี และ facilities จากภาครัฐอาจยังไมเอื้อเทาที่ควร ภาคอุตสาหกรรมมีทางเลือก 2 ทาง คือ
ต อ งปรั บ ตั ว ให เ ข า กั บ ความต อ งการของโลกและกั บ เทคโนโลยี หรื อ เปลี่ ย นตลาดไปที่ อื่ น ซึ่ ง จะมี น อ ยลง
เรื่อย ๆ
1.2 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
*อาจไมตรงคําถาม แตขอใสไวในคําถามขอนี้*
แรงงาน low skill ในภาคบริการ (เชน งานธนาคาร) คือกลุมที่นาเปนหวงมากกวาแรงงานใน
ภาคอุตสาหกรรม ถาแรงงานเทคนิค ในโรงงานจะถูกทดแทนคือผูป ระกอบการตองเปลี่ยนมาเปน complete
automation ซึ่งลงทุนมหาศาล แตปจ จุบันการทําธุรกรรมตาง ๆ ผานอินเตอรเน็ตเปนเรื่องที่ใคร ๆ ก็ทําได จึงไมมี
ความจําเปนที่ตองมีแรงงานประเภทนี้
1.3 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะที่แรงงานตองมีในอนาคต อางอิงจากบทความของ world economic forum เรื่อง Top 10
skills ที่ควรมีกอน 2020 เชน complex problem solving, creativity, critical thinking
หากจะใหเจาะจง แรงงานระดับปริญญาตรีควรมีทักษะ cognitive flexibility คือ การบูรณาการ
องคความรูหลายๆอยางเขาดวยกันในการแกปญหา หรือพัฒนาสรางสรรคสิ่งใหม สวนแรงงานสายอาชีพ ปวช.
ปวส. ใหเจาะลึกลงไปในทักษะการทํางานที่มีอยูเลย คือใหรลู ึกลงไปในทักษะเฉพาะที่ตนมี
1.4 นโยบาย แผนการรองรับ หรือ Roadmap จากหนวยงานของทา นในการพั ฒนาแรงงาน (ทั้ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติทํา career connect เปน skill matching system เชื่อมขอมูลระหวาง
ความตองการของผูประกอบการใน EEC กับ ฐานขอมูลนักศึกษาที่จบในสาขาที่เกี่ยวของ รวมงานกับ BOI ใน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-11
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

โครงการ Talent center ในการจัดหาผูเชี่ยวชาญจากตางประเทศมาชวยพัฒนาเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรม


ของไทย

อื่นๆ
มีความเห็นวาอุตสาหกรรม 4.0 มีทั้งขอดีขอเสีย ขอดีคือ productivity เพิ่ม แตขอเสียคือมันงายที่จะเริ่ม
ลงทุนเริ่มใหมตั้งแตเริ่ม มากกวาการตอยอดจากของเกา ๆ จึงควรสนใจวาเราจะตอยอดอยางไร อุตสาหกรรมตน
น้ําจะตองปรับตัวอยางไร มากกวาที่จะกังวลวา robotic จะเขามาทดแทนแรงงานคนหรือไม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

5. หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา
1. ใน 10 กลุม อุต สาหกรรมเปา หมายภายใต ก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป อุ ต สาหกรรมใดบ า งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
อุตสาหกรรมเปาหมายยานยนตไฟฟา เกษตรและอาหาร อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ ผลิตภัณทย างและ
พลาสติกเคมีภัณฑชีวภาพและพลาสติกชีวภาพ อุตสาหกรรมสรางสรรค หุนยนตอัตโนมัติ ชิ้นสวนอากาศยาน
เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย พลังงานชีวภาพ
สํา นักงานคณะกรรมการอาชีวศึก ษาเปน หน วยงานที่มี หนา ที่ หลัก ในการผลิตกํ าลัง คนที่มีฝ มือ เข า สู
ตลาดแรงงานในระดับประกาสนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และเทคโนโลยีบัณฑิต(ทล.บ.)
ซึ่ง เกี่ยวเนื่อ งโดยตรงกับ อุ ตสาหกรรมทุกกลุมอุต สาหกรรมเปา หมาย หรือแมในบางกลุมอุตสาหกรรมอาจไม
เกี่ ย วข อ งกั น โดยตรง เช น กลุ ม อุ ต สากรรมเครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ ท างการแพทย ที่ ต อ งใช ค วามรู ท างด า น
วิศวกรรมศาสตร คณิตศาสตร ความรูทงการแพทย และวิทยาศาสตรแขนงตางๆ มาประยุกตใชรวมกัน เปนตน แต
เกี่ยวของในสวนสนับสนุนในการผลิตนักศึกษาเปนตัวปอนใหนักศึกษาในระดับที่สูงชึ้นเพื่อเขาสูกลุมอุตสาหกรรม
หรือในกลุมอุตสาหกรรมตางๆ ก็จะมีตําแหนงงานซึ่งเปนหนวยสนับสนุนในสาขาวิชาชีพ เชน ตําแหนงธุรการ ฝาย
ขาย ฝายบัซญชีและการเงิน การขนสงโลจิสติกส หรือระบบคลังสินคา เปนตน
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
a. ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ดังที่กลาวขางตนวา สํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) มีความกี่ยวของกับทุกกลุมอุตสาหกรรม
เนื่องจากเปนหนวยงานที่ผลิตกําลังคนในสาขาวิชาชีพเขาสูตลาดแรงงาน โดยจําแนกเปนประเภทวิชาตางๆ ไดแก
1 . อุ ต ส า ห ก ร ร ม 2 . เ ก ษ ต ร ก ร ร ม 3 . ป ร ะ ม ง 4 . ค ห ก ร ร ม 5 . พ ณิ ช ย ก ร ร ม / บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ
6.ศิลปกรรม 7. อุตสาหกรรมทองเที่ยว 8. อุตสาหกรรมสิ่งทอ และ 9.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดย
ยกตัวอยางอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของในที่นี้ เชนอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร โดย สอศ.ผลิตผูสําเร็จการศึกษาใน
ระดับ ปวช.และปวส. สาขาวิชาชีพตางๆ ไดแกวิชาเกษตรศาสตร พืชศาสตร สัตวศาสตร สัตวรักษ ชางกลเกษตร
อุตสาหกรรมเกษตร เริ่มตนตั้งแตตนน้ํา คือในขั้นเริ่มตนของอุตสาหกรรมตั้งแตในภาคการผลิตสินคาเกษตรใน
ระดับฟารมระดับกลางน้ําซึ่งสามารถนําผลผลิตมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑตา งๆ จนถึงปลายน้ําที่มีการเนนสินคาและ
ผลิตภัณฑที่เพิ่มมูลคารวมถึงชวยเหลือกลุมเกษตรในการพัฒนาผลิตภัณฑเพื่อใหเปนที่ยอมรับองผูบริโภค เชนการ
ผลิตขาว

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-13
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

b. ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/


ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
เปนที่ทราบทั่วกันวาปญหาการขาดแคลนแรงงานดานการเกษตรเกิดขึ้นอยางตอเนื่อง อันมีผลมาจาก
จํานวนนักศึกษาเกาตรในภาพรวมของประเทศลดจํานวนลงอยางตอเนื่อง ทั้งในระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
สอศ.มีวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี ทั่วประเทศ 48 แหง แตมีจํานวนนักศึกษาใหความสนใจนอยมาก เนื่องจาก
ไมอยากทํางานหนัก สอศ.พยายามที่จะเพิ่มจํานวนผูศึกษาดานเกษตรกรรมในหลายๆดาน ทั้งในรูปแบบการให
ทุนการศึกษาลดคาใชจายผูปกครองดวยการจัดใหมีที่พักและอาหารระหวางเรียน และรูปแบบการศึกษาระบบทวิ
ภาคีโดยศึกษาภาคทฤษฎีและปฎิบัติในสถานประกอบการ ที่ชวยใหนักศึกษามีรายไดระหวางเรียน ซึ่งเปนอีกหนึ่ง
ในแรงจูงใจในการศึกษาอาชีวศึกษาในทุกสาขาวิชา

c. ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ปจจุบันรูปแบบของอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ในการผลิตกําลังคนเขาสูตลาดแรงงานให
ตรงกับความตองการของสถานประกอบการเปนวิสัยทัศน สอศ. โดยมีการเปดโอกาสใหสถานประกอบการเขมามี
สงวนรวมในการปรับปรุงหลักสูตร และใหความสําคัญในการศึกษารูปแบบการศึกษาระบบทวิภาคีโดยศึกษาจาก
ภาคทฤษฎีในสถานศึกษาและฝกปฎิบัติในสถานประกอบการ ซึ่งทําใหสถานประกอบการสามารถฝกใหนักศึกษา
สามารถปฎิบัติงานไดตรงตามความตองการ อีกทั้งสามารถบรรจุนักศึกษาที่จบการศึกษาแลวให เปนพนัก งาน
ประจําไดโดยไมตองเสียเวลาในการสรรหาคัดเลือกพนักงาน

d. อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจติ อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่


แรงงานมากนอยเพียงใด
ในสวนของการจัดการศึกษาอาชีวศึกษานอกจากรูปแบบการศึกษาระบบทวิภาคีแลว สอศ. มีการปรับปรุง
หลักสูตรใหนักศึกษาในทุกสาขาวิชามีความรูและทักษะในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวของกับ วิชาชี พได
อยางเหมาะสม เชน การเรียนรูโปรแกรมควบคุมหุนยนตของแตละประเทศที่ผลิต และระบบอัตโนมัติที่ใชอุปกรณ
เซ็นเซอรและคอนเทรกเกอรในสายการผลิตอัตโนมัติ
e. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของ สอศ. กําหนดไววา คุณภาพของผูสําเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาจะตอง
ประกอบดวย 1.) คุณลักษณะที่พึงประสงค ไดแก ดานคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ดานพฤติกรรม
ลักษณะนิสัย และดานทักษะทางปญญา 2.)ดานสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป และ3.) ดานสมรรถนะวิชาชีพ
ซึ่งเปนปจจัยหลักที่สําคัญของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรมทุกกกลุม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

f. นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ในนโยบายและแผนการปฎิบัติงานของสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) ในทุกๆดานสอดคลอง
กับกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป เพื่อเปนสวนหนึ่งในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ซึ่งภารกิจของ สอศ. คือการ
ผลิตและพัฒนากําลังคนที่มีคุรภาพเปนแรงงานฝมือ เพื่อตอบสนองความตองการกําลังคนของประเทศ (ทั้งระดับ
blue-collar pink-collar green-collar แ ล ะ white-collar) โด ย ได มี กา ร แ ต ง ตั้ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ
คณะอนุกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพื่อผลิตและพัฒนากําลัง คนอาชีวศึกษา (กรอ.อศ.) เปนความรวมมือ
ระหวางกระทรวงศึกษาธิการและภาคเอกชน ในการผลิตกําลังคนอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพสูตลาดแรงงานเพื่อให
สถานประกอบการมีแรงงานทักษะฝมือในการพัฒนาและขับเคลื่อนธุรกิจไดอยางเต็มที่และคุมคา

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar


และ white collar)
ความเขาใจที่ถูกตอง และความรวมมือในทุกภาคสวนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน เปนสิ่งสําคัญ
ในการรวมกันขับเคลื่อน และเตรียมพรอมเพื่อรองรับ อุตสาหกรรม 4.0 ที่เกิดขึ้น โดยสงเสริมดวยเครื่องมือที่มี
เทคโนโลยีที่สถานประกอบการใชในการผลิตสินคาและเจาหนาที่ที่มีความรูความสามารถถายทอดองคกรความรูได
ตามแนวทางโดยครูนิเทศกรวมดําเนินการ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-15
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

6. หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม


แห่ งชาติ (สวทน.)
ผูใหสัมภาษณ ดร. สิริพร พิทยโสภณ, คุณกิตติศักดิ์ กวีกิจมณี ,คุณภาสพงษ อารีรกั ษ
วันที่ใหสัมภาษณ 26 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุ มอุต สาหกรรมเป า หมายภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
ปจจุบัน สวทน. ใหความสําคัญกับ 4 อุตสาหกรรมเปาหมาย ดังนี้ กลุม Bio Economy กลุมทองเที่ยง
เชิงสุขภาพ กลุมทางการแพทย และ กลุมเกษตรอาหาร
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในอุตสาหกรรมทั้ง 4 อุตสาหกรรมเปาหมายที่กลาวมาขางตน ตนมองวาอุตสาหกรรมตนน้ํามีแนวโนม
จะถูกกระทบมากที่สุด ขอยกตัวอยางอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร หากมองในแงเชิงเพาะปลูก อุตสาหกรรม
กลางน้ําและปลายน้ําเปนรูปแบบการแปรรูป และดานเคมิคอล ซึ่งในปจจุบันมีการใหเครื่องจักรเปนปกติอยูแลว
ไมมีแนวโนมจะถูกแทนที่แรงงานใดๆจนถึงขนาดเปนผลกระทบ สวนอุตสาหกรรมตนน้ําซึ่งก็คือคือชาวไร ชาวนา
ชาวสวน มีหนาที่ปลูกพืช ผัก ผลไม ซึ่งสวนตัวตนถือวาเปนงานที่ตนใชแรงงานและจําเจ เชนการเก็บเกี่ยว รดน้ํา
พรวนดิน เติมปุย และหวานเมล็ดพันธุเปนตน จะเห็นไดวาแรงงานดังกลาวสามารถทําเครื่องจักรมาทํางานแทนได
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
หากมองถึงเรื่อ งการขาดแคลนแรงงานในอุ ตสาหกรรมเปา หมานในป จุบั นและอนาคต ณ ปจจุบันนี้
แรงงานดาน SI ทั่วประเทศไทย มีจํานวนประมาณ 200 ราย ถือวายังมีจํานวนนอยมาก และยังเปนที่ตองการมาก
เชนกัน จึงมีแนวโนมที่จะขาดแคลนมากที่สุด เพราะแรงงานที่จะทํางานดาน Big Data , Art Of Data Science
ถือเปนแรงงานสําคัญในการขับเคลื่อนใหอตุ สาหกรรมเปาหมาย แนวทางแกไข ปรับหลักสูตร อาชีวะ ทําหลักสูตร
เปนพี่เลี้ยงจากโรงงานในอุตสาหกรรมใหกับนักศึกษาที่อยูในโรงเรียน โดยรวมมือกับสถาบัน ไทย-เยอรมัน อบรม
และพัฒนาศักยภาพบุคลากร และจัดทํา Data Cafe
2.3 ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-16 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

นั ก วิ ท ยาศาสตร วิ ศ วกร ช า งเทคนิ ค (ในป จ จุบั น ) สามารถผลิ ต นัก วิ ท ยาศาสตร ข อ มูล เชน Data
Engineer ,Data Information ,Analytics Engineer ซึ่งตนมองวายังเปนที่ตองการแตทักษะที่มีแนวโนมจะขาด
แคลนและอยากใหผลิตเพิ่ม คือสาขา นักบริหารจัดการ นักนวัตกรรม Transformations Coach แนวทางแกไข
คือสรางแรงบันดาลใจใหบุคลากรหันมาสนใจวิทยาศาสตรประยุกต และประดิษฐเครื่องมือที่สามารถทดลองได
จริง รวมทั้ง FAB ดานวิศวกรรม
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจติ อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
มี แ นวโน ม ทดแทนแรงงานคนบางกระบวนการผลิ ต เช น การ customize Marketing , Computer
Science, E-Commerce
2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
สาขาวิชา Stat, IT Programmer, Marketing ,วิจัยพัฒนา ชางเทคนิตและวิศวกรรม ดานไฟฟา เครื่องกล
และคอมพิวเตอร เพื่อพัฒนาเปน วิศวกรระบบหุนยนต, Bio Process Engineering
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
จัดทําแผนระยะ 20 ป 2559-2579 โดยทําหองเรียนวิทย เทรนนิ่ง พัฒนานักเรียนทุนทางวิทยาศาตร
Talent Mobility, RDI สรางคนที่มีศักยภาพมากขึ้น
AIMs TH สรางผูจัดการนวัตกรรม

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar


และ white collar)
มีโอกาสพูดคุยกับรองอํานวยการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตองการจัดทํา คนกลางที่มองภาพรวมดานกวาง
ของ 10 อุตสาหกรรมเปาหมายดังกลาว วา อยูในสถานภาพไหน ตองแกไขปญหาดานใดกอน ดู Global Value
Chain เปรียบเทียบกับประเทศมาเลเซีย ที่มี COL Critical Occupations List และรูสกึ วา ใน 10 อุตสาหกรรม
มีความเหลื่อมล้ํากัน สามารถรวมกันได เชน การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ เปนตน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-17
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

7. หนวยงาน กรมสงเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร


1. ใน 10 กลุ มอุต สาหกรรมเป า หมายภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
กลุมเกษตรและอาหาร ซึ่งเปนการใชเทคโนโลยีทางดานการเกษตร (Agritech) เทคโนโลยีอาหาร (Food
tech) เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใชวัตถุดิบจากชีวภาพ หรือมีการแปรรูปวัสดุชีวภาพ ไดแกอุตสาหกรรมอาหาร
และเครื่ อ งดื่ม รวมถึง การเกษตรแปรรู ป ซึ่ง มีก ารใช วิท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี ในการแปรรู ป ผลิ ตผลทาง
การเกษตร เชน การพัฒนาผลิตภัณฑอาหาร การพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ เปนตน
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
a. ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
- ประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุ โดยสัดสวนจํานวนประชากรในวัยทํางานและวัยเด็กลดลงซึ่งการ
เปลี่ยนแปลงนี้นอกจากจะสงผลตอความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศแลว ยังเปนอุปสรรคตอการ
เติบโตทางเศรษฐกิจอยางยั่งยืนในระยะยาว โดยเฉพาะภาคการเกษตรที่จําเปนตองใชแรงงานจํานวนมาก แต
แนวโนมแรงงานภาคเกษตรกลับลดลง เนื่อ งจากแรงงานวัย ทํ างานไมสามารถทดแทนแรงงานที่ก าวเขา สู วั ย
กลางคนและผูสูงอายุไดทัน ประกอบบุตรหลานเกษตรกรที่ไดรับการศึกษาที่ดีขึ้นไมนิยมประกอบอาชีพการเกษตร
เพราะขาดแรงจู งใจและกลัวความไมมั่นคงทางรายได สงผลใหคนรุนใหมเคลื่อนยา ยจากภาคการเกษตรไปสู
ภาคอุตสาหกรรมและบริการเพิ่มขึ้น ซึ่งหากแรงงานภาคเกษตรมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ ยอมสงผลตอปริมาณการ
ผลิตสินคาเกษตรและสงผลกระทบเชื่อมโยงไปยังอุตสาหกรรมเกษตรภาคการสงออกดวย
- กรมสงเสริมการเกษตรมีภารกิจหลักในการสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร ซึ่งเปนผูผลิตสินคาเกษตรให
สามารถผลิตสินคาที่มีคุณภาพและไดมาตรฐาน เปนการผลิตในระดับตนน้ํา เพื่อเขาสูอุตสาหกรรมเกษตรและ
อาหาร อยางไรก็ตาม ในสวนของความตองการใชเเรงงานในภาคเกษตรในอนาคตมีโนมลดลง เนื่องจากมีการใช
เทคโนโลยีสมัยใหมและเครื่องจักรกลทางการเกษตรทดแทนแรงงานมากขึ้น
b. ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
- ลักษณะการจางแรงงานภาคการเกษตร โดยสวนใหญจะเปนประเภทแรงงานไรฝมือ (unskilled labor)
หรือการจางแรงงานตางดาว เนื่องจากมีคาใชจายคอนขางสูง ซึ่งสามารถเคลื่อนยายหรือปรับเปลี่ยนไปสูภาคการ
ผลิตอื่นๆ ไดตลอดเวลา สงผลใหเกิดปญหาการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตร โดยแนวทางในการแกปญหาดังกลาว
นั้น คือ การพัฒนายกระดับฝมือฝมือแรงงานภาคการเกษตร รวมไปถึงการบริหารจัดการแรงงานตางดาวที่เขาสู
ภาคการเกษตร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-18 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

- เกษตรกรสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอย จึงใชแรงงานในครัวเรือนเปนหลัก แตในสภาพรวมของภาค


การเกษตร ยังมีปญหาการขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากลูกหลานเกษตรกรไมสนใจเขาสูอาชีพการเกษตรสําหรับ
การพัฒ นาความรูแ ละทั กษะของเกษตรกรหรือ แรงงานภาคเกษตร กรมสงเสริมการเกษตรไดมีก ารฝก อบรม
ถายทอดความรูแกเกษตรกร รวมทั้งจัดตั้งศูนยเรียนรูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร (ศพก.) ในทุก
อําเภอทั่วประเทศ เพื่อเปนแหลงเรียนรูและฝกอาชีพการเกษตรของเกษตรกรในชุมชน
c. ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึ กษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
- ในปจจุบันกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดมีนโยบายในการสรางและพัฒนาเกษตรกรรุนใหมเขาสูภาค
การเกษตร โดยรวมมือกับสถาบันการศึกษาที่มีหลักสูตรการเรียนการสอนดานการเกษตร การจัดทําหลักสูตร
การศึกษาที่เนนการเรียนรูจากภาคปฎิบัติเพื่อสรางเกษตรกรที่มีความรูและมีความสามารถในการยกระดับการผลิต
แปรรูป การตลาด การบริหารจัดการที่สามารถปรับตัวไดทันตามการเปลี่ยนแปลงของโลก
- ผู สํา เร็จการศึก ษาในดา นเกษตรสว นใหญมีความรู และทัก ษะทางการเกษตร แต มัก จะไมเลือ กที่จ ะ
ประกอบอาชีพการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตรจึงมีนโยบายในการสรางแรงจูงใจใหคนรุนใหมเขาสูภาคเกษตร
มากขึ้น สวนเกษตรที่ยังขาดความรูและทักษะ กรมสงเสริมการเกษตรมีการอบรมใหความรูและสรางเครื อขาย
เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนแปลงเรียนรูรวมกัน อันจะนําไปสูการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร
d. อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจติ อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
- ภาคการเกษตรมีแนวโนวในการนําเทคโนโลยีสมัยใหมและนวัตกรรมดานการเกษตรมาใชเพิ่มมากขึ้น
เพื่อเปนการควบคุมตนทุนการผลิต การใชทรัพยากร และการตลาด โดยใชเทคโนโลยีเขาชวยในการควบคุมการใช
น้ํา การใสปุย การปองกันโรคแมลงศัตรูพืช เทคนิคการผสมพันธุ และการเก็บเกี่ยว เปนตน
- ภาคการเกษตรมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยีขั้นสูง หรือ ระบบAI มาทดแทนแรงงาน
มากขึ้นเนื่องจากจะมีการปรับเขาสูการเกษตรสมัยใหม ซึ่งตองใชเทคโนโลยีชั้นสูง เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
และการจัดการสินคาเกษตร สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคไดมากขึ้น
e. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
- ทักษะและสาขาวิชาแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาภาคเกษตรนั้น ควรเสริมสรางองคกรความรู
เกี่ยวกับการผลิตสินคาเกษตรปลอดภัย การทําเกษตรอินทรีย การปรับปรุงดิน การผลิตพันธุดี (พืช ประมง สัตว)
การใชปุยอินทรียและปุยเคมีอยางถูกตองตามคาวิเคราะหดิน การปองกันและกําจัดศัตรูพืชตามหลักวิชาการ การ
วางแผนการผลิต บริหารจัดการสินคา เกษตร การบริหารจัดการตนทุน การทําบัญชีรายจาย/บัญชีตนทุนอาชีพ
การเพิ่ม ประสิทธิภ าพการผลิตสินคา เกษตรที่สํา คัญ ตามมาตรฐานสิ นคา เกษตร มี การประยุ กตใชเทคโนโลยี
สมัยใหมและภูมิปญญาทองถิ่นในการพัฒนาการผลิตการแปรรูปชั้นตนเพื่อเพิ่มมูลคาสินคาเกษตร รวมถึงเนนให

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-19
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการดานการตลาดแกเกษตรอยางตอเนื่อง เพื่อพัฒนาไปสูผูประกอบธุรกิจเกษตรมือ
อาชีพ(Smart Entrepreneur)
- ทักษะ/สาขาวิชาที่จําเปนตอการพัฒนาภาคการเกษตร คือ ทักษะการเปนผูประกอบการสามารถบริการ
จั ด การสิ น ค า เกษตรตลอดหว งโซก ารผลิ ต โดยใชเ ทคโนโลยี แ ละนวัต กรรม มี การเชื่ อ มโยงตลาด และมี ขี ด
ความสามารถในการแขงขัน รวมทั้งสามารถปรับตัวไดในสถานการณเปลี่ยนแปลงตางๆ
f. นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
- กรมสงเสริมการเกษตรไดดําเนินการตลาดนโยบายรัฐบาลในเรื่องการดูแลลูกหลานของเกษตรโดยการ
พัฒนาและสรางคนรุนใหมเขาสูเกษตรยุคใหม ผลิตเกษตรกรและชาวนารุนใหมใหเรียนรูเ รื่องเทคโนโลยีการใช
เครื่องมือ การบริหารจัดการขับเคลื่อนชุมชน โดยมุงหวังใหคนรุนใหมจบภาคเกษตร มีความรูความสามารถดาน
วิชาการเกษตรทั้งระบบ เพื่อความยั่งยืนในการประกอบอาชีพการเกษตร การพึ่งพาตนเองและการแขงขันทาง
การคาในอนาคต
การสงเสริมและพัฒนาสักยภาพของเกษตรกรรุนใหมใหมีความสามารถในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
โดยมีวัตถุประสงคหลักสงเสริมและพัฒนาเกษตรกรรุนใหมใหมีศักยภาพดานการผลิตและการบริหารจัดการธุรกิจ
ตลอดจนสนับสนุนการรวมกลุมและสรางเครือขายเกษตรกรรุนใหมทั้งระดับจังหวัด เขต และประเทศ ตอมาได
เนนหนักในการพัฒนาเกษตรรุนใหมใหเปน young smart farmer และมีเปาหมายไปสูความเปนเกษตรกรมือ
อาชีพ โดยมุงเนนใหเกษตรกรรุนใหมมีความสําคัญในการเปนศูนยกลางการเรียนรูดวยการออกแบบการเรียนรูดวย
ตนเอง และมีเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเปนผูจัดการเรียนรู เพื่อสนับสนุนและตอบสนองความตองการในการ
พัฒนาตนเองของเกษตรกรรุนใหมตามความจําเปนและความหมาะสม ทั้งนี้เพื่อใหเกษตรกรรุนใหมมีความสามารถ
ในการดํา เนินงานทางการเกษตรทั้ง ในระดับ ของการพึ่ ง พาตนเองและในระดับ ของการแขง ขัน ตลอดจนการ
สนับสนุนการเชื่อมโยงเครือขาย การสงเสริมการมีสวมรวม การสรางกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู ซึ่งจะสงผลให
เกษตรกรรุนใหมมีขีดความสามารถในการเปนเกษตรมืออาชีพในอนาคตสามารถวิเคราะหปญหา กําหนดแนวทาง
ในการแก ไ ขป ญ หา และจั ด การกั บ ทรั พ ยากรในท อ งถิ่ น ได อ ย า งชาญฉลาด จนเป น ผู นํา ด า นการเกษตรที่ มี
ความสําคัญในการพัมนาและขับเคลื่อนงานสงเสริมการเกษตรและองคกรเกษตรกรใหมีความเขมแข็ง และดําเนิน
กิจกรรมที่เกี่ยวของกับการเกษตรไดอยาง มีประสิทธิภาพ จนทําใหชุมชนเติบโตทางเศรษฐกิจจากฐานการเกษตร
ได
- กรมสงเสริมการเกษตรมีน โยบายในการพัฒนาเกาตรกรรุน ใหมใหเปน young smart farmer มีขีด
ความสามารถทางการเกษตร โดยเนนการประยุกตใชเทคโนโลยีสมัยใหมและนวัตกรรม มีความคิดสรางสรรค เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพตลอดหวงโซการผลิต และสามารถตอยอดไปสูการเปนผูประกอบการที่มีศักยภาพ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-20 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar


และ white collar)
- ขอเสนอแนะในการพัฒนาทักษะแรงงานนั้น ควรมีการสงเสริมความรว มมือและพัฒนาการออกแบบ
หลักสูตรอบรมใหเหมาะกับแตละคลัสเตอรของภาคอุตสาหกรรมเพิ่มทักษะบางดาน อาทิ ดานDigital Skill การ
จัดการ Big Data ควบคูกับคุณลักษณะการทํางาน อาทิ การคิดวิเคราะห การผสมผสานระหวางการใชเทคโนโลยี
กับการลงพื้นที่จริงอยางเหมาะสม การคิดสรางสรรค มีความสามารถหลากหลาย ยืดหยุน รูจักการปรับตัว และ
ทักษะการสรางทีม การพัฒนาแรงงานในกลุมตางโดยแบงกลุมเพื่อพัฒนาไดครอบคลุมและเหมาะสมกับศักยภาพ
ทั้งกลุมแรงงานไรฝมือและดอยโอกาส แรงงานสูงอายุ แรงงานภาคเกษตร แรงงานในธุรกิจหรือวิสาหกิจขนาดเล็ก
เพื่อลดผลกระทบและความเหลื่อมล้ําใหกับแรงงานในกลุมเหลานั้น รวมทั้งยังชวยสรางเสริมมูลคาทางเศรษฐกิจ
การวางแผนการผลิต และพัฒ นาคุ ณ ภาพการศึก ษา โดยสร า งความร ว มมือ ระหวา งสถานประกอบการและ
สถานศึกษาทั้งเรื่องการพัฒนาหลักสูตร การสนับสนุนเครื่องจักร อุปกรณ เครื่องมือตางๆ ของธุรกิจเพื่อใชในการ
เรียนการสอน เพื่อใหไดบุคลากรตรงตามความตองการและทํางานไดจริง การพัฒนาคุณภาพดานการศึกษาทั้งใน
ความรูที่เปนแกนหลัก ความสามารถทํางานกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป สามารถคิดวิเคราะห ใชความคิ ด
สรางสรรค ภูมิปญญา (Brain Power) และนวัตกรรม ตลอดจนการสรางคุณลักษณะที่เหมาะสม อาทิ มีทัศนคติที่
ดี อดทน รับผิดชอบทํางานที่มุงผลสัมฤทธิ์
- ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายการเตรียมทักษะของเกษตรกรและแรงงานภาคเกษตร ควรมีการบูรณาการ
ของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย กระทรวงอุตสาหกรรม
สถาบันการศึกษา และสถาบันการเงิน เพื่อใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารอยางครบวงจรตั้งแต
ตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-21
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

8. หนวยงาน สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน
ผูใหสัมภาษณ คุณเสกสรรค เรืองโวหาร
วันที่ใหสัมภาษณ 19 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุม อุต สาหกรรมเปา หมายภายใต ก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป อุ ต สาหกรรมใดบ า งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
ยกตัวอยางอุตสาหกรรมยานยนต ชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกส
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในอดีตนั้นไทยเนนนโยบายใหประเทศเปนฐานการผลิต แตในปจจุบันนั้นเห็นวาเทรนการพัฒนาประเทศ
เปลี่ย นไปในทางการทํ า Research & Development มากกวา เนื่องจากงานการผลิตต า ง ๆ นั้น สามารถใช
เทคโนโลยี AI, Automation มาทดแทนกําลังคนได เมื่อไทยเปลี่ยนเปนเจาของเทคโนโลยีได ฐานการผลิตก็ จะ
กลายเปนะประเทศเพื่อนบานแทน ซึ่งมีความพรอมอยูแลวจากความรวมมือตาง ๆ ความตองการแรงงานจึงเปนไป
ตามขอ 2.2
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
บุคลากรที่ตองการมากในการพัฒนาอุตสาหกรรมเปนดานการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรม
ในกระบวนการผลิต ยังตองการแรงงานปวส. แตสํารวจแลวตองการ specialists ในfield นั้น ๆมากกวา
(ตัวอยาง ดานอากาศยาน software mechatronics)
ในโรงงานตองการแรงงานประเภท hybrid-worker ทํางานกับหุนยนตได
2.3 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
แรงงานที่ถูกทดแทนดวยเทคโนโลยี automation จะตองเพิ่ม skills ของตนในการไปทําสิ่งอื่นที่robotยัง
แทนไมได หรือยายไปสายงานอื่น มีมุมมองวาอุตสาหกรรมทองเที่ยวในไทยยังมีพื้นที่รองรับอยูเยอะ(ภาคการ
บริก าร) เทคโนโลยีจะเขา มาแทนที่ งานสกปรก อันตราย หรื อซับ ซอ น แตยัง ไงก็ทํางานประเภทงานใช ฝมื อ
ความคิดสรางสรรค และงานที่ตองใชความเอาใจใสดูแล (พยาบาล)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-22 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
BOI สนับสนุนดานการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีมากที่สุด (nano, digital, bio, Advanced material)
โดยใหสิทธิพิเศษยกเวนภาษีเงินได 10 ป ไมจํากัดวงเงินลงทุน (ดานอุตสาหกรรมประกอบ/ผลิต ก็ยังใหสิทธิ แต
นอยกวา) รวมถึงการพัฒนาคนตองมีความรวมมือกับทางสถาบันการศึกษาในการพัฒนาบุลากร จะไดสิทธิเพิ่ม
มี Partnership กับหนวยงานอื่น ๆ (สวทช. NIA วช.) ในการคัด กรองบุ คลากรที่เชี่ ย วชาญจากนอก
ประเทศมาชวยพัฒนา + มี Smart VISA อํานวยความสะดวกดานเวลา ครอบครัว

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-23
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

9. หนวยงาน สํานักงานนวัตกรรมแหงชาติ (NIA)


ผูใหสัมภาษณ คุณวิเชียร สุขสรอย
วันที่ใหสัมภาษณ 20 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุ มอุตสาหกรรมเป า หมายภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
Automation และ IOT จะไดรับผลกระทบที่สุด เพราะวาแรงงานงานในปจจุบันของไทยในอุตสาหกรรม
เครื่องจักรกล ยังเปนแรงงานระดับ Un-skill หรือ Labor คอนขางมา
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานในการพัฒนาอุตสาหกรรมปจุบันนั้นตนมองวาเพียงพอแลว แตสิ่งที่ควร
แกไขคือหลักสูตรในมหาวิทยาลัย ยกตัวอยางเชนสาขาวิศวกรรม ดวยความที่ Automation เขามามีบทบาทใน
ประเทศมากขึ้น หลักสูตรที่จะสอนใหวิศกรกรเปน Pure Engineer นั้นคงทําไมไดแลว ควรปรับเปลี่ยนใหนักศึกษา
ไดปฏิบัติทั้งภาคการผลิตอุตสาหกรรมมากขึ้น และเพิ่มภาคบริการเขาไปดวย แนวทางการแกปญหาการจางงานที่
ขาดแคลน และถูก แทนที่ด ว ย AI นั้ น ตนคิด ว า ควรมี Training Center ที่จ ะช ว ยพั ฒ นา Un-skill Labor ให
กลายเปน Hi-Skill Labor สงนตัวตนยัมองวาแรงงานทุกระดับตองการพัฒนาศักยภาพตัวเองอยูแลว เรามีหนาที่
เพียงพัฒนาแรงงานใหตรงกับ Line Production นั้นๆ หรืออีกวิธีคือ ยายแรงงานที่ถูกแทนที่มาอยูในสายการ
บริการ ถือเปนการใหองคความรูบุคลากรเดิมมากขึ้น และทดแทนธุรกิจอื่นใหขาดแคลนนอยลง

2.2 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตอ งการหรือไม ถาไมมหี รือมีไมเพียงพอ มี


นโยบายแกปญหาอยางไร
ถาใหเปรียบเทียบระหวางผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เชนวิศวกร ที่เขาสูตลาดแรงงานเปนจํานวน
มากและตองแขงขันกันเองชิงตําแหนงงานกับปวช และ ปวส ที่ขอบเขตงานใกลเคียงกัน หากถามตนวา เห็นดวย
หรือไมที่อุตสาหกรรมในปจจุบันตองการแรงงานระดับ ปวช. และ ปวส. มากกวาวิศวกรที่มีความรูความสามารถ
มากกวาแตไมมีความชํานาญดานการลงมือปฏิบัติ สวนตัวตนมองวา 2 แรงงานนี้ ขาดแคลนทั้งคู ไมมาสารถแทนที่
กันได และใขความรูความสามารถตางกัน แรงงานระดับ ปวช. ปวส. สามารถเก็บ Coder ไดแตเขียนและสราง
โปรแกรมเหมือนวิศวกรไมได หรือการเขียนภาพรวมของ Agri-Techture ซึ่งเปนภาพกวาง ตองใชวิศวกรเปน
ผูดูแล แต ปวช. และ ปวส. ก็สามารถดูแลการเขียน Coder ที่เฉพาะเจาะจงได ดังนั้นแรงงาน 2 แรงงานนี้สามารถ
ทํางานควบคูไปกันได อยางไรก็ดีจึงสมควรที่จะตองพัฒนาไปดวยกัน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-24 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.3 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่


แรงงานมากนอยเพียงใด
แนวโนมที่ระบบ AI จะมาแทนที่แรงงานคนนั้น สวนตัวตนมองวาเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได แตไมถือวาจะ
แทนที่แรงงานทุกระดับ เสมอไป แรงงานที่ทํางานในแงวิเคราะห ขอมูลรูปแบบซ้ําเดิมและหาขอมูลเชิงลึก คง
จะตองถูกแทนที่ เพราะคุมคาตองบประมาณและความตองการในตลาดมากกวาแรงงานคนที่คาใชจายแพงกวา
และมีความเสี่ยงในขอผิดพลาดมากกวา เชน งานบัญชี งานวิเคราะหขอมูล Call Center เปนตน
2.4 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
แรงงานดาน Processing และ R&D ซึ่งเปนภาคการผลิต
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ปจจุนหน
บั วยงาน NIA พัฒนา Sector Line ใหกับบุคลาการหลายรูปแบบดวยกัน เชน
1. รวมมือกับสภาอุตสาหกรรม และ บริษัทญี่ปุน ทํา Automation เพื่อพัฒนาทักษะของแรงงานใหมีความ
สามาถออกแบบซอฟแวรและนํามาพัฒนาอุตสาหกรรมแตละสาขาได
2. รว มมือกับ สํานักพัฒนาอุตสาหกรรม (กลวยน้ํา ไท) จัด ทํา Training Center และดึง นัก ศึ กษาที่จบ
การศึกษาจากมหาวิทยาลัยทั้งระดับ ป.ตรี และ ป.โท ที่มีความสนใจใหมาเรียนรูและพัฒนาแรงงานดังกลาว
3. จัดทําสถานที่ทดสอบ และ ออกแบบไลนการผลิตที่ทํา Robot ใหทดแทนแรงงานอุตสากรรมที่สนใจ
และสนับสนุนพัฒนาตอยอดบุคลากรไปเปนผูประกอบการตอไป
4. ในอนาคตหนวยงานตนจะเพิ่ม Device ใหมากพอเพื่อเพิ่มบุคลากรดาน IOT ตอไป
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ตนขอเสนอแนะเรื่ อ งของการจั ด ลํ า ดั บ ความสํ า คั ญ ด า นจํ า นวนแรงงานของอุ ต สาหกรรมทั้ ง 10
อุตสาหกรรมวา ควรคํานึกถึงปริมาณการพัฒนาแรงงานวาเพียงพอหรือมากเกินไปหรือไม และที่สําคัญ ทักษะที่จะ
พัฒนามีมากและตอบโจทยกับตลาดดานใด อุตสาหกรรมใดควรไดรับความชวยเหลือกอน เพราะทุกหนวยงาน ไม
สามารถพัฒนาแรงงานทุกสาขาวิชาชีพพรอมกันได

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-25
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

10. หนวยงาน สํานักพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.)


ผูใหสัมภาษณ คุณจุฬารัตน ตันประเสริฐ
วันที่ใหสัมภาษณ 20 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุ มอุต สาหกรรมเป า หมายภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
ยกตัวอยางอุตสาหกรรมยานยนต
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในอดีตนั้นไทยเนนนโยบายใหประเทศเปนฐานการผลิต แตในปจจุบันนั้นเห็นวาเทรนการพัฒนาประเทศ
เปลี่ย นไปในทางการทํ า Research & Development มากกวา เนื่องจากงานการผลิตต า ง ๆ นั้น สามารถใช
เทคโนโลยี AI, Automation มาทดแทนกําลังคนได เมื่อไทยเปลี่ยนเปนเจาของเทคโนโลยีได ฐานการผลิตก็ จะ
กลายเปนะประเทศเพื่อนบานแทน ซึ่งมีความพรอมอยูแลวจากความรวมมือตาง ๆ ความตองการแรงงานจึงเปนไป
ตามขอ 2.2
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
กระทบอุตสาหกรรมยานยนต โดยเฉพาะแรงงานระดับปฏิบัติการ ระดับลาง แตจะไมกระทบกับแรงงาน
ฝายวิจัยและพัฒนา
2.3 ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ขาดแรงงานระดับสูงที่มีทักษะเฉพาะ ยกตัวอยาง อุตสาหกรรม Bio-fuel จะตองการบุคลากรที่เชี่ยวชาญ
bio-processing engineer, technician มากขึ้น
แรงงานจะตองมีการ upskills หรือ reskills เพื่อใหสามารถทํางานได การโยกยายแรงงานไปอุตสาหกรรม
อื่นอาจมีได แตแคเพียงจํานวนหนึ่ง
2.4 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะที่แรงงานใหม ๆ ควรมีคือการใชเทคโนโลยีชั้นสูง การซอมบํารุง ดิจิตอลเทคโนโลยี ป.ตรี ตองดูตามเฉพาะ
อุตสาหกรรม ตองเนนไปในการเจาะลึกดานที่เรียนมา หรือดานที่ทํางาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-26 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
สวทช. ทําการวิจัยเพื่อยกระดับเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรม เนน 10 อุตสาหกรรมยุคใหม ที่มีตอนนี้คือ
modern agriculture, modern transport, เคมีชีวภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย โดยใชนโยบายชาติมา
กําหนดหัวขอวิจัย ซึ่งเนนการวิจัยไปทางอุตสาหกรรมกลางน้ํามากกวา ยกตัวอยางของ modern transport วิจัย
energy storage, energy management, โครงสรางน้ําหนักเบา
สวทช. เองเปนหนวยงานวิจัย ตองประสานงานกับภาคอุตสาหกรรม+สภาอุตสาหกรรม
กระทรวงวิทยมี 3 missions คือ วิทยเสริมแกรง เพิ่ม competitiveness วิทยแกโจทย ลดความเหลื่อม
ล้ํา และวิทยสร างคนซึ่งมี 3 ระดับ ระดับบนคือ เพิ่ม ทักษะแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ระดับกลางคือ early
recruitment ปวช. ปวส. 2 ป ก อ นจบ มี will integrated learning เรี ย นในภาคอุ ต สาหกรรม (ร ว มมื อ กั บ
ภาคอุตสาหกรรม เชน PTT SCG ThaiUnion และกับสถาบันการศึกษา) ระดับลางคือการศึกษาตอนตน ประถม
มัธยม มีโครงงานวิทยาศาสตร มีการบูรณาการทักษะกับการใชชีวิต โดยรวมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar


และ white collar)
ควรเปลี่ ย น mindset ว า การเรี ย นอาชี ว ะ จบมาเป น technician อาจตอบความต อ งการของ
ภาคอุตสาหกรรมไดดีกวา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-27
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

11. หนวยงาน สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.)


ผูใหสัมภาษณ คุณพลาริน แยมจินดา
วันที่ใหสัมภาษณ 19 กรกฎาคม 2561
1. ใน 10 กลุ มอุต สาหกรรมเป า หมายภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
เมื่อ มองในแง SME อุตสาหกรรมที่มี Value Chain ที่ใชเทคโนโลยีสูงๆ เชน R&D มัก จะเปนจุด อ อ น
โดยทั่วไปของ SME ไทย เพราะกําลังเงินทุน องคความรู และ ความสามารถของ SME และ SMI ยังไมมพี อสําหรับ
อุตสาหกรรมที่เปน Innovation base หรือ Value chain สูงๆ
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ในเรื่องความขาดแคลนแรงงานนั้น สิ่งที่ตนไดยินสะทอนเขามาคือแรงงานระดับกลาง (ปวช. และ ปวส.)
แตสวนตัวไมไดคิดวาแรงงานที่ตองการในปจจุบันกําลังขาดแคลน เพียงแตภาคการศึกษาระดับสูงของไทยยังมี
คานิยมที่อยากเปนมนุษยเงินเดือนของบริษัทขนาดใหญ ไมใช SME หรือ Start Up ทําใหธุรกิจของเราไมคอยเดน
ยังย่ําอยูกับที่ กลายเปนวาเราไปสนับสนุนดานซอฟแวรของบริษัทขนาดใหญอีกที ไมไดกาวขึ้นมาเปน Production
เอง หันไปเปน Outsource ใหแบรนดอื่นแทน แตในอนาคต SME และ Start up ของไทยจะหนีไมพนการแขงขัน
กันในดานเทคโนโลยีดังกลาว ดังนั้น การแกไขปญหาที่ถูกจุด ยังคงเปนการปูพื้นฐานเรื่อง Innovative Idea และ
Digital Literacy ใหครอบคลุมทุกภาคสวนอุตสาหกรรม
2.2 ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
แรงงานที่สําเร็จการศึกษาและเขาสูตลาดใหไดประสิทธิภาพที่ดีนั้น ตองมีการศึกษาที่เขมแข็ง แตปญหา
คือการศึกษาของไทยนั้นไมเอื้อ เนื้อหาที่เรียนและครูผูสอนโดยเฉพาะสาขาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีนั้นลาสมัยกวา
เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว และนักศึกษาของไทยรูจักแตทฤษฎีมากเกินไป เพราะระบบการศึกษา
ของไทยไมไดเปดกวางใหนักศึกษาเรียนรูภาคการปฏิบัตมิ ากนัก (ฝกงานเพียง 3 , 6 เดือน) อีกทั้งการฝกแรงงานให
มีไอเดียดานนี้จ ะตอ งปู พื้น ฐานมาตั้ง แตตน ไมใชเพีย งแต ระดับ อุ ดมศึก ษา ผูใหสัมภาษณเล็ งเห็น วา สถาบัน
ครอบครัว การศึกษา สังคมในอินเตอรเน็ต และสิ่งแวดลอมรอบตัวเปนปจจัยหลักในการพัฒนาศักยภาพแรงงานใน
อนาคต
2.3 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจติ อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-28 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

Robot, AI ฉลาดขึ้นเรื่อยๆ การจะแทนแรงงานคนระดับ Unskill, Semi-skill เปนไปไดสูง แตถาบุคลากร


ของไทยมีก ารพัฒ นาทัก ษะ และเปลี่ยนแรงงานจากที่ ทํา หน าที่ ซ้ํา ๆ เดิมๆ มารวมมื อ กับ เทคโนโลยี และให
เทคโนโลยีเปนตัวชวยในการเพิ่มศักยภาพคนหรือแปลงเปนตัวอํานวยความสะดวก ลดขอผิดพลาดมากกวา สวน
ตัวตนยังมองวาคนสามารถเปลี่ยนหนาที่ ปรับตัว และเปลี่ยนแปลงไดซึ่งเปนสิ่งที่ เครื่องจักรไมมี ดังนั้นแนวโนมที่
เครื่องจักรจะมาแทนแรงงานคนนั้น ขึ้นอยูวาบุคลลากรวาเราพัฒนาไดมากแคไหน
2.4 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะของบุคคลากร อยากใหรูจักคิดตาง คิดใหม ตอยอดจากของเดิม เพราะสิ่งที่เราพยายามทํากันอยูคือ
การรอใหทุกอยางเกิดขึ้นนกอนแลวคอยตามไปแกหรือตามไปพัฒนาทีหลัง ซึ่งในความเปนจริงมันไมทัน ควรจะคิด
ลวงหนา คาดการณเปนระบบตั้ง แตตน เชน เรื่องแผนพัฒนาตา งๆ ไมเห็นด วยที่จ ะเน นแตเทรนที่กํา ลัง มาใน
ประเทศแลวละเลยสิ่งที่ควรทํากอน ยกตัวอยางวา ตอนนี้ประเทศกําลังเนนแตเรื่อง Big Data ระบบการศึกษาก็จะ
เปดแตคณะที่เกี่ยวกับ Big Data กวานักศึกษาจะจบ ก็ชาเกินไปแลว
2.5 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ปจจุบันหนวยงานของตนมีแผนการพัฒนา SME ป 60-64 โดยตนเปนหนวยงานกลางวางแผนและจับมือ
กับหนวยงานอื่นๆ ดังนี้
1.แผน Issue Base ทั้ ง เรื่ อ งการเงิ น การตลาด และ Technology Innovation ซึ่ ง จั ด Sector ของ
ผูประกอบการแตละระดับใหอยูใน Sector เดียวกัน
2. จับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตรและ กรมทรัพยสินทางปญญา ทํากลุม Copy & Development เปน
การพัฒ นาผูป ระกอบการให ลอกเลีย นแบบน อยลง และพัฒ นาคุ ณภาพมากขึ้น โดยจุด ประสงค คือสร า งนั ก
นวัตกรรมมาพัฒนาเพิ่มขึ้น
3. เนน Tech Start up และ Non Tech Start up เปนการบูรณาการเรื่องของวัฒนธรรม OTOP และ
การแพทย ใหระบบและใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย เปน Hi Touch มากขึ้นและยังคงไมละเลยดานบริการที่เปน Non
Tech
3.ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ตนขอเสนอแนะวาเราจะรอระบบการศึกษาอยางเดียวไมทันแลว ควรมีระบบอบรมแรงงานเดิมดวย การ
แบง Supply แรงงาน ใหพอกับ Demand แรงงาน ถือวาเปนเรื่องที่ควรทํา ไมใชเพียงผลิตแรงงานใหมอยางเดียว
บุคลากรเดิมหรือแรงงานระดับ Un-skill ที่จะถูกแทนที่ในอนาคตนั้นสามารถนํามาตอยอดไดเชนกัน และประหยัด
งบประมาณมากกวาผลิตแรงงานใหม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-29
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

12. หนวยงาน อุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือ


ผูใหสัมภาษณ ผศ.ดร.เกษมศักดิ์ อุทัยชนะ
วันที่ใหสัมภาษณ 23 สิงหาคม 2561
1. ใน 10 กลุ มอุตสาหกรรมเป า หมายภายใตก รอบยุ ท ธศาสตรช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
อุตสาหกรรมที่นาจะไดรับผลกระทบในเชิงลบ ไดแก อุตสาหกรรมยานยนตและอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส
เพราะปจจุบันเปนระบบ Automated หมดแลว หรือแมกระทั่งอุตสาหกรรมหุนยนตอัตโนมัติในอนาคตอันใกลใน
วันที่หุนยนตส ามารถเชื่ อมตอ กัน เองได อย า งสมบูร ณแ ลว นั้ น ไมจํา เปนที่ จ ะต อ งมีมนุ ษย ในระบบ แตท่ียั งไม
กระทบกระเทือนในอนาคตอันใกลนั้น ไดแก อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
สําหรับผลกระทบเชิงบวกนั้น อุตสาหกรรมชิ้นสวนอากาศยานนาจะมีความกาวหนาทางเทคโนโลยีมากขึ้น
อุตสาหกรรมชีวภาพก็เชนเดียวกัน สวนอุตสาหกรรมสรางสรรคยังเปนอุตสาหกรรมที่จํา เปนต องใชคนในการ
รังสรรคผลงานอยู และมีการเติบโตในระดับที่ชา สวนอุตสาหกรรมทางการแพทยตางๆ นั้นยังเต็มไปดวยขอจํากัด
ทางกฎหมาย ส ว นอุ ต สาหกรรมเกษตรอุ ต สาหกรรม จะถู ก บั งคั บ จากโครงสร า งราคาผลผลิ ต ทางเกษตรที่
จําเปนตองนํานวัตกรรมมาใช
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ
แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
กลุมอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร ยังมีความไมสมดุล ถาเปนบริษัทขนาดใหญ Blue Collar จะใช
นอยลง เพราะแรงงานคุณภาพหายาก แตถาเปน White Collar นาจะยังตองใชอยู โดยเฉพาะในอุตสาหกรรม
สรางสรรค
2.2 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ปจจุบันยังเปน Manual เสียเยอะ แตในอนาคตจะเปน Automated หมด
บุคลากรตองไดรับการฝกทักษะในการ Operate ในบทบาทดังกลาวมากขึ้น กลุมอาชีพ Support เชน บัญชี เปน
ตน ตองฝกใชทักษะซอฟแวรสําเร็จรูปมากขึ้น
มาดูตนน้ําในสถาบันการศึกษา พบวา จํานวนนักศึกษาในระบบมหาวิทยาลัยลดลง แตโชคดีประการหนึ่ง
คือ คาแรงงานยังคงสามารถแขงขันในตลาดอาเซียนได แตคุณภาพโดยรวมยังไมสามารถสูนักศึกษาที่จบจากยุโรป
หรือ อเมริ กามากขึ้ น โดยควรเน นการทํ า สหกิ จศึ ก ษา ทั้งการทํา งานในบริ ษั ทขนาดใหญ แ ละขนาดเล็ ก หรื อ
แม ก ระทั่ ง Science Park เองก็ ต อ งปรั บ ตั ว จากหนว ยงานอบรม เป น หน ว ยงานวัด มาตรฐาน แต ค งต อ งเอา
มาตรฐานสากลเขามาจับ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-30 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3.ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar


และ white collar)
กระทรวงแรงงานควรเนนการพัฒนาบุคลากรที่มีทกั ษะเฉพาะทาง รวมกับกระทรวงศึกษาธิการ เหมือนกับ
ที่ ปตท. หรือ CP เนนบุคลากรที่เขาสูตลาดแรงงานตัวเอง หรือแมแตการพัฒนา Smart อาชีวศึกษา ที่ราชมงคล
แตเดิมเนนกลุมเฉพาะทาง แลวขยายสูปริญญาตรี ซึ่งสายอาชีวศึกษาพอจะหาแหลงเพาะได แตสายทางการแพทย
เชน ผูชวยแพทย อันนี้คอนขางลําบาก ที่สําคัญ คือ ขาดบุคลากรดาน Software หรือ Application Developer
เปนอยางมาก ลองถอดแบบการรวมกลุมผูประกอบการเพื่อพัฒนากันเองอยางที่ จ.แมฮองสอน ก็ได
แตเนนย้ําวากระทรวงแรงงานตองบูรณาการกับหลายหนวยงานที่มีความาสามารถเฉพาะทาง อาทิ การ
พัฒนาแรงงานมัค คุเทศน ไมใชเพีย งแคเ รื่ อ งทอ งเที่ย ว แต ตองมีค วามรูด านธุร กิ จ ตา งๆ ควระพัฒ นาร ว มกั บ
กระทรวงพาณิชย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-31
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

13. หนวยงาน สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (DEPA)


ผูใหสัมภาษณ นายปรัชญา โกมณี
วันที่ใหสัมภาษณ 8 กันยายน 2561
1. ใน 10 กลุม อุต สาหกรรมเป าหมายภายใต กรอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป อุต สาหกรรมใดบา งที่ มี ค วาม
เกี่ยวของกับหนวยงานของทาน
ยานยนตไฟฟา , เกษตรและอาหาร , อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ , อุตสาหกรรมสรางสรรค ,หุนยนต อัตโนมัติ

2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบ
ที่มีตอความตองการใชแรงงานในอุต สาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํ าที่เกี่ย วเนื่ องกับอุต สาหกรรม
ดังกลาว (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ตอบ ตลาดแรงงานเต็มไปดวยการแขงขั นและความตองการคนมี ฝมือในไทยนั้ นถือวาขาดผูเชี่ยวชาญ
สายงาน ดานดิจิทัล ในสาขาที่คลาดแคลนหนักนา จะเปนดา นการวิเคราะหขอมูล (Data Analytics) และการ
ออกแบบประสบการณของผูใช (User Experience Design) ซึ่ งเปนอี กความทาทายอั นใหญหลวงที่ เขามา
ขวางกั้นความสําเร็จของธุรกิจ ความทาทายของตลาดแรงงานสายดิจิทัลปจจุบัน คือ พัฒนาความสามารถ
ของพนักงาน ระบบทรัพยากรมนุ ษ ยยุ ค ดิ จิทัล นั้น ตอ งอาศัย คนเปน ศู น ยก ลาง รวมถึงการรั กษาพนัก งานที่ มี
ศักยภาพใหอยูในแถวหนาของการผลักดันองคกรใหเติบโตไปพรอมๆ กัน การไตระดับทางการใชดิจิทัลมาบูรณา
การองคความรูข องในทุ กภาคสว นของแรงงานจึง มี ค วามจํา เป น ตั้ง แตตนนาในการพัฒ นา Manpower ของ
บุคลากรพัฒนาทักษะเบื้องตน รวมถึงการใช AI ตางๆมาพัฒนาระบบแทนที่การใชแรงงานก็เปนสวนสําคัญในกล
ยุทธของตลาดแรงงานที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ตอบ บุคลากรในสายงานดานดิจิทัลมีปริมาณในตลาดคอนขางนอย และคนสวนใหญยังไมเขาใจคําววา
ดิจิทัล หากมีบุคลากรในสายงานดังกลาวควรเปดโอกาสและมอบความกาวหนาทางสายงานอยางชัดเจน และมี
อัตราเงินเดือนที่เหมาะสมเพื่อสรางแรงดึงดูดในการทํางาน หรือหากตองการพัฒนาพนักงานสายการตลาดแบบ
ดั้งเดิม สามารถสงพนักงานไปอบรมเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะความสามารถดานนี้
2.3 ป จ จุ บั นผู สํา เร็ จ การศึก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อไม ถ าไม มี ห รือ มีไ ม
เพียงพอ มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ตอบ แรงงานดานดิจิทัลที่เปนยุคใหมในปจจุบัน ยังมีในอุตสาหกรรมดานดิจิทัลไมมาก เนื่องมาจากระบบ
การศึกษาในยุคเดิมยังไมไดตั้งขึ้นมาเพื่อรองรับ อุตสาหกรรมดานดิจิทัล ซึ่งปจจุบันแมจะมีสาขาที่เปดใหศึกษาดาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-32 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

นี้เพิ่มมากขึ้นแตบุคลากรยังออกมาสูตลาดแรงงานไมมาก อาจจะตองใชเวลาชวงหนึ่ง วิธีการแกปญหาเบื้องตนคือ


การพัฒนาบุคลากรในองคกรเพิ่มทักษะดานดิจิทัล และ ใหเปนหนึ่งในทักษะพิเศษที่ควรสนับสนุน เพิ่มคาจางเปน
แรงจูงใจ
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจติ อลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ตอบ หนวยงานมีหนาที่สนับสนุนใน ธุรกิจนําเทคโนโลยีดานดิจทิ ัลไปใชในองคกรผานการใหทุนในรูปแบบ
ตางๆของสํานักงาน แนวโนมดังกลา วจึงเปนเพียงการสนับสนุนในดาน Funding สวนในเรื่องการใชระบบดาน
ดิจิทัลมาแทนบุคลากรยังเปนเรื่องที่ไมมีแผนในระยะยาว
2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ตอบ 1.การยกระดับความสามารถใน การใชเครื่องมือที่มีอยูเทคโนโลยี” (Tools & Technologies) ตาง
ๆ ไมวาจะเปน ฮารดแวร (Hardware) และ ซอฟตแวร(Software)
2.การคนหาและใชงาน” (Find & Use) ทักษะของการคนหาการเขาคนขอมูลจาก “กูเกิล” (Google)
หรือ “เสิรชเอนจิน” (Search Engine) การที่จะนําไปวิเคราะห และตัดสินใจ นําขอมูล ที่มีอยูมากมาย ในโลก
อินเตอรเน็ตมาใชงานไดอยางมีประโยชน และมีประสิทธิภาพ โดยเขาใจถึงลิขสิทธิ์ของขอมูล และการนําไปใช
3. การสื่อสาร และความรวมมือ” (Communication and Collaborate) ดวยการใชเครื่องมือตาง ๆ ไม
วาจะเปน อีเมล (E-mail) วิดีโอ คอนเฟอเรนซ (Video Conference) วิกิ (Wiki) แมสเสจจิง (Messaging) และ
เครื่องมือทางเทคโนโลยี (Colloboration Tools) ในการการแชรขอมูล เพื่อที่จะใหสามารถทํางานรวมกันไดใน
สถานที่ตาง ๆ ไดอยางสะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
4.การสรางและนวัตกรรม” (Create and Innovation) สามารถที่จะสรางนวัตกรรมในรูปแบบตาง ๆ ที่
สามารถตอบสนองตอการทํางานไดดีมากขึ้น ทั้ง ในรูปของ ขอความ รูปภาพ ซอฟตแวร หรือบริการตาง ๆ

2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ตอบ สํานักงานสงเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล มีแผนรองรับในการพัฒนาบุคลากรดานดิจิทัล ทั้งในระดับทั่วไป
และระดับ บริหารของประเทศ ผานกลไกของสํานักงาน 2 ดาน คือ 1.การสงเสริมการพัฒนาศักยภาพกําลังคนและ
บุ ค ลากร ด า นดิ จิทั ล (Digital Manpower Fund) 2.การพั ฒ นาและผลิ ต บุ ค ลากรคนด า นอุ ต สาหกรรมและ
นวัตกรรมดิจิทัล สําหรับผูบริหาร (Digital Manpower for Executive) โดยมีหลักเกณฑเปนไปตามระเบียบของ
สํานักงาน เพื่อการ พัฒนาบุคลากรดานดิจทิ ัลทั้งแบบเรงดวนและรองรับแผนในอนาคต

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ก-33
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3.ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar และ


white collar)

ตอบ เทคโนโลยีดานดิจิทัลที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและไมหยุดยั้ง สงผลกระทบอยางมากตอวิถีชีวิต


รูปแบบ กิจกรรม ของคนและองคกร รวมถึงระบบเศรษฐกิจและสังคมความสามารถในการใชประโยชนจาก
เทคโนโลยีดิจิทัลจึงเปน ปจจัยสําคัญของการพัฒนาประเทศไทยจําเปนตองมีการพัฒนากําลังคนทั้งปริมาณและ
คุณภาพ ซึ่งคือ การพัฒนา กลุมทักษะที่เปนที่ตองการ นอกจากนี้ ยังตองมีการปรับโครงสรางกําลังคนทางดาน
ดิจิทัลอยางเปนระบบในลักษณะ ของการบูรณาการ เพื่อเตรียมความพรอมทางดานกําลังคนดิจิทัลในอุตสหา
หกรรมในยุค 4.0 ที่บุคลากรแรงงานเปน ที่ตองการ โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนาระบบเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศใหไปสูระบบเศรษฐกิจและสังคมที่ ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม ที่จะเกิดวิชาชีพใหมๆ ที่เกี่ยวของกับการ
พัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลแหงอนาคต ซึ่งการสรางบุคลากรในสายงานดานดิจิทัลจะเปนอีกหนึงปจจัย
สําคัญทีส่ ามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจในยุค 4.0 ได อยางดี

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ก-34 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก ข
บทสรุปการสัมภาษณหนวยงานภาคเอกชน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-1


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร

14. หนวยงาน โครงการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่ งขันของอุตสาหกรรมแปรรู ป


การเกษตรในภูมิภาค (OPOAI)
ผูใหสัมภาษณ คุณพรทิพย จันทา
วันที่ใหสัมภาษณ 7 สิงหาคม 2561
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
ยานยนต อิเล็กทรอนิกส ชีวภาพ แปรรูปอาหาร
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
**ไมสามารถตอบในดานแรงงานได เนื่องจากมุงเนนเกี่ยวกับ การสงเสริมกระบวนการผลิตและเทคโนโลยี
มากกวา สงเสริมผูประกอบการมากกวาแรงงาน จึงไมทราบปญหาดานแรงงาน**
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
*รวมอยูในขอ 2.3, 2.5
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
เท า ที่ เห็ น แรงงานที่ มีเ ยอะคือ แรงงานระดับ ปริญ ญาตรี แรงงานสายอาชีพ สายอาชีว ะมีนอยเนื่อ งจาก
mindset ดานการศึกษา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-2 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่


แรงงานมากนอยเพียงใด
จะเข า มาแทนในส ว นของกระบวนการผลิ ต และ logistics แต ก็ ขึ้ น อยู กั บ ขนาดของสถานประกอบการ
เนื่องจากเทคโนโลยีที่จะเขามาแทนที่มนุษยไดนั้นมีราคาที่สูง ธุรกิจ SMEs ขนาดเล็กไมมีเงินทุนที่จะนําเทคโนโลยีมา
ใชได (รวมไปถึงจะไดรับผลกระทบมาก เนื่องจากธุรกิจใหญ ๆ จะแซงไดไปไดอีก)
2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
(รวมขอเสนอแนะในนี้ดวย)
หลั ก สู ต รการศึก ษานั้น ไม เ อื้ อ กั บ การพั ฒ นาของเทคโนโลยี คื อ กว า ผู เ รี ย นจะเรี ย นจบหลั ก สู ต รของตน
เทคโนโลยีในระหวางนั้นก็พัฒนาไปอีกขั้นจนทักษะที่ไดเรียนมาไมเพียงพอ เพราะฉะนั้น ฝายที่ดูแลเกี่ยวกับหลักสูตร
การศึกษาควรปรับปรุงดานนี้ ควรวางแผนใหผูเรียนมีทักษะใหมลาสุดเพื่อมารองรับการเขามาของเทคโนโลยีใหมๆ
ดวย
ทั ก ษะอื่ น ๆ นอกจากวิ ช าการ มี ข อ สั ง เกตว า เด็ ก ยุ ค ใหม ไ ม ท นต อ การทํ า งาน เปลี่ ย นที่ ทํ า งานบ อ ย มี
ขอเสนอแนะอยากใหมีการอบรมสั่งสอนดานการอยูรวมกันในสังคม ศีลธรรมในการทํางาน
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
*เนนดานการสงเสริมสถานประกอบการดานเทคโนโลยี การเพิ่มขีดความสามารถของเทคโนโลยีที่ใชเปนหลัก
ไมเนนดานการแกปญหาแรงงาน*
มีศูนยตัวอยางนวัตกรรม ใหผูประกอบการเขามาศึกษา มาทดลองใชเพื่อนํากลับไปพัฒนาธุรกิจของตน (ใน
อนาคตจะมีศูนยนี้ทุก ๆ จังหวัดทั่วไทย) มีการชวยวิเคราะหและแกปญหาตาง ๆ ของสถานประกอบการ โดยใหสถาน
ประกอบการที่เขารวมแจงถึงปญหาที่พบเจอในการดําเนินงาน จากนั้นจึงทําการวิเคราะหและสงทีมที่ปรึกษาเขาไปให
คําแนะนํา (ทั้งหมดที่กลาวมานั้นดําเนินการโดยหนวยงานที่ใกลชิดกับภาคอุตสาหกรรม เชน กรมสงเสริมอุตสาหกรรม
โดยที่สํานักงานปลัดฯ มีหนาที่ประสานงานมากกวา)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-3


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

15. หนวยงาน บริษัทไทยยูเนี่ยนกรุป จํากัด (มหาชน) (TU)


ผูใหสัมภาษณ คุณวรรัตน เลิศอนันตตระกูล
วันที่ใหสัมภาษณ 22 สิงหาคม 2561

ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
1. อุตสาหกรรมตนน้ํา (stream) คือกลุม suppliers ซึ่งประกอบดวย 3 สวนหลักๆ ไดแก
1.1วัตถุดิบปลา กุง (raw material)
1.2สวนผสมอาหาร (ingredient) เชน แปง เกลือ น้ําตาล
1.3 บรรจุภัณฑ (packaging) เชน ถาด ถุง กระปอง
2. อุตสาหกรรมกลางน้ํา (midstream) คือกลุมของบริษัทเองปจจุบันมี 6.Business unit
2.1 ซารตินและเมคเคอเรส
2.2 สแนค
2.3อาหารปรุงสุกและเบเกอรี่
2.5 กุง
2.6 ปลาหมึกและเซลมอน
3. อุตสาหกรรมปลายน้ํา(downstream) คือกลุม ขนสงและโลจิกติกส ปจจุบันมีการขนสงสินคาโดย
รถและเรือเปนหลัก
1.2 ลั กษณะการจ า งงานในอุต สาหกรรม (ใช แ รงงานประเภทไหนเป น ส ว นใหญ ) มี ป ญ หาการ
ขาดแคลนแรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
1. การจางงานในอุตสาหกรรม เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมอาหาร และผลิตภัณฑมีหลากหลายรูปแบบตองใช
ฝมือในการทําดังนั้นปจจุบันยังมีการใชแรงงานเปนสวนใหญมากกวา 70% ในกระบวนการผลิต แรงงานในโรงงานใน
ปจจุ บัน ในระดับพนักงานปฎิ บัติการเป นแรงงานตางดาวมากกวา 80% เนื่องจากการรับพนักงานในปจจุบันทําได
คอนขางมากเนื่องจาก แรงงานมีทางเลือกเยอะ เชนงานในหางสรรพสินคา หรืออุตสาหกรรมที่มีสภาพการทํางานที่
สะดวกสบาย มีเครื่องปรับอากาศ และคอนขาง-แหง โดยไมมีขอกําหนดที่เขมงวดเหมือนโรงงานอาหารร เชน หาม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-4 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

แตงหนา ทาเล็บ แตงตัวปดมิดชิด หลายชั้น นอกจากนี้โรงงานอาหารโดยเฉพาะผลิตอาหารทะเลจะมีสภาพที่คอนขาง


ชื้นแฉะ มีกลิ่นวัตถุดิบกุงปลา จากเหตุผลดังกลาวจึงไมดึงดูดใหแรงงานไทยทั้งระดับปฎิบัติการและระดับที่มีทักษะมา
ทํางาน นอกจากนี้สําหรับแรงงานที่มีทักษะ เชนพนักงาน QC พนักงานขับรถโฟลคลิฟท พนักงานวิศกรรม ไมสามารถ
ใชแรงงานตางดาวไดดวยขอจํากัดขอกฎหมาย
1.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเพียงพอ มี
นโยบายแกปญหาอยางไร
ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษา แมจะจบการศึกษาเฉพาะดานโดยตรง เชนวิศวกรรม หรือวิทยาศาสตรการอาหาร
จะมีความรูในระดับหนึ่ง แตไมเพียงพอที่จะปฎิบัติงานไดทันที ตางจากพนักงานที่จบการศึกษา และมีประสบการณ
จากอุ ต สาหกรรมที่ ใ กล เ คีย งกั น อย า งนอ ย1-2 ป เนื่ อ งจากที่ มี ก ารใชทั ก ษะ จะเป น ทั ก ษะโดยเฉพาะของแต ละ
อุตสาหกรรมดังนั้นการแกไขคือ
1.การฝกอบรม ฝกทักษะพัฒนาสรางเสริมที่ชัดเจนเฉพาะแตละตําแหนง และมีการประเมินผลการพัฒนาที่
ชัดเจน วัดผลไดรวมถึงมีการพิจารณาผลคาตอบแทน คาทักษะ และสวัสดิการใหเหมาะสม
2.รวบรวมความรูหรือเทคนิคเฉพาะทาง และจัดทําเปน center of knowledge ของโรงงานเพื่อ support
การฝกอบรม ฝกทักษะใหสามารถทําไดรวดเร็วขึ้น
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนม ที่จะนํามาใชเปนอยางมาก เชนระบบ Automation โดยจะเริ่มจากกิจกรรมที่ไมซับ ซอน แตมี
ปริมาณมาก รวมถึงใชเทคโนโลยีตางๆมาชวยเพื่อลดขั้นตอนการผลิต แตสินคามีคุณภาพคงเดิมหรือดีขึ้น ทั้งนี้เพื่อลด
ตนทุนการผลิตเนื่องจากปจจุบันอางอิงขอ 1.2 เรามีการใชพนักงานตางดาวมากกวา 80% ดังนั้นจึงมีตนทุนในการ
นําเขาพนักงานซึ่งเปน MOU ทั้งหมด
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
เนื่องจากแนวโนมของอุตสาหกรรมจะใชเทคโนโลยี หรือระบบ Automation มากขึ้น ดังนั้นพนักงานในระดับ
ปฎิบัติการตองมี skill ดาน mechatronics และ product logic control รวมถึง problem solving and decision
making มากขึ้ น เนื่ อ งจากพนั ก งานระดั บ ปฎิ บั ติ ก ารจะเป น ลั ก ษณะ Technical operator ต อ งใช ทั ก ษะในการ
ดั ง กล า วควบคุ ม เครื่ อ งจั ก รในการผลิ ต ในส ว น soft skill ควรมี ทั ก ษะในด า น communication thinking และ
presentation skill เพื่อสนับสนุนตามหนาที่หลัก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-5


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]
1.เนื่องจากอุตสาหกรรมอาหารเปนอุตสาหกรรมที่ตอง
เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศอุตสาหกรรมจึงมี ใชแรงงานเยอะ และมีค วามจํา เปน ที่ตองใชแ รงงาน
แหลงทรัพยากรในประเทศคอนขางเยอะ รวมถึงยังมี ดังนั้นจึงทําใหมีตนทุนเพิ่มขึ้น และมีการสอบกลับดาน
อุตสาหกรรมที่เปนตนน้ําที่เปนแหลงผลิตวัตถุดิบให แรงงานคอนขางมากในอุตสาหกรรมขนาดกลางและ
จํานวนมากและราคาไมแพง เล็ก
2.สถานะการณดานแรงงานของประเทศดานแรงงานไม
คอยดีในชวงที่ผานมาเพื่อไดระดับการปรับระดับเปน
tierll ไมนานมานี้ ดังนั้นลูกคา NOGS ยังคงจับตามอง
การจั ดการดา นแรงงานของสถานประกอบการและ
ประเทศ
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]

เนื่องจากอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทยมีระบบ 1.ผูประกอบการถึงไมคอยเห็นความสําคัญในระบบการ
ดานคุณภาพและมีคุณภาพสินคาที่มาตรฐาน หาก จัดการดานแรงงานจึงมีการพัฒนาคอนขางชา
เพิ่มการพัฒนาระบบทางดานแรงงานใหดีขึ้น มีความ 2.อุ ต สาหกรรมบางประเภทเป น งานต อ งใช ฝ มื อ
น า เชื่ อ ถื อ จะสา มาร ถข ยาย ตลา ดได ม า ก ขึ้ น คอนขางมากทําใหการนําเครื่องจักรมาทดแทนจะทําได
โดยเฉพาะประเทศในแถปยุโรปและอเมริกา คอนขางยาก

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


ในแตละกลุมควรพิจารณาในการปรับตัวเขายุค4.0แตเปอรเซ็นการปรับอาจจะแตกตางกันตามขอจํากัด
ของแตละกลุมอุตสาหกรรม
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคนโลยี กระทรวงพาณิชย ลูกคา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-6 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]

สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ สัดสวน
(สาขาวิชา)
อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
มีความรูเครื่องจักร เครื่องกล ปวช/ปวสเครื่องกล 20%
ชางเทคนิค
พนักงานบัญชี ไมจํากัด ม.3 ขึ้นไป 30%
พนักงานขับรถสง/ขับรถโฟล ประสบการณการขับรถ ไมจํากัด 50%
ลิฟท
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
ชางเทคนิค มีความรูเครื่องจักร เครื่องกล ปวช/ปวสเครื่องกล 5%
คิวซี ไมจํากัด ม.3 ขึ้นไป 30%
พนักงานขับรถโฟลลิฟท ประสบการณการขับรถ ไมจํากัด 65%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
ขับรถขนสง ไมกําหนดวุฒิการศึก ษาแต
พนักงานขับรถขนสง/หัวลาก กําหนดทักษะการขับรถ 90%
เจาหนาที่ IT ความรู ใ นการควบคุ ม ระบบโลจิ
สติกส ปริญญาตรีขึ้นไป 10%

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-7


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
เนื่องจากแนวโนมของอุตสาหกรรมจะใชเทคโนโลยี หรือระบบ automation มากขึ้น ดังนั้นพนักงานในระดับ
ปฎิบัติการตองมี skill ดานmechatronics และ product logic control รวมถึง problem solving and decision
making มากขึ้ น ในส ว น soft skill ควรมีทั ก ษะในดา น communication skill design thing และ presentation
เพื่อสนับสนุนงานหลักนอกจากนี้ควรตองมีพนักงาน IT ในระดับขั้นสูงมากกวาเดิมเพื่อรับรองระบบและเทคโนโลยี
ตางๆที่เข ามาในโรงงาน ดังนั้น ควรสงเสริมในเรื่องการศึกษาเพื่อเตรีย มพรอมเขาสูสถานประกอบการ และสว น
ในสถานประกอบการควรรวบรวมฐานขอมูลความรูประสบการณ และจัดทํา center of acknowledge เพื่อฝกทักษะ
อบรม เพื่อสนับสนุนการผลิต และควรมีระบบการฝกอบรม เสริมสรางทักษะ และวัดผลที่ชัดเจน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-8 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

16. หนวยงาน บริษัท ศูนยวิทยาศาสตรเบทาโกร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณการุณ
วันที่ใหสัมภาษณ 17 กันยายน 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ขออนุญาติเอยกอนวา ตนเปนที่ปรึกษาจากศูนยวิทยาศาสตร ของบริษัทเบทาโกร ดังนั้นอาจจะเปนการ
ยากที่จะระบุทั้งตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา จึงขอระบุเปนภาพรวมอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของแทน
1. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับ อาหาร
2. อุตสาหกรรมเกี่ยวกับ ปศุสัตว
3. อุตสาหกรรมไมเกี่ยวกับ อาหาร
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ตนถือวาเปนโรงงานที่ 3 (ศูนยวิทยาศาสตร) ดังนั้นแรงงานที่ตองการจึงเปนแรงงานเฉพาะ เชน วิศวกร
สาขาวิทยาศาสตร อีกทั้งตองมีความชื่อชอบการอยูในหองแลปดวย ซึ่งหากถามถึงปญหาการขาดแคลนนั้น ตนมองวา
ไมไดมีผลกระทบมากนัก แตจะมีปญหาเรื่องความนิยมเฉพาะตัวมากกวา
เรื่องแนวทางการแกไขปญหานั้น ตนใหความสําคัญดานความผลอดภัยขณะปฎิบัติการ และแกไขดาน
สวัสดิการ ผลตอบแทน และแรงจูงใจ
1.3 ป จ จุบัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
นั ก วิ ท ยาศาสตร ที่ ต นต อ งการนั้ น จะออกแนว Services , Supply โดยส ว นใหญ ส ามารถนํ า ความรู
ที่เรียนจากมหาวิ ทยาลัยเข ามาประยุกตใชไดเลย อาจจะตองอบรมเพิ่มเติมในเรื่องประสบการณเทานั้น ตนถือวา
มีเพียงพอ เพียงแตคนจบเยอะแตคนสนใจนอยเทานั้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-9


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด


มีแนวโนมแตไมใชทั้งหมด คนยังถือวาจําเปนมากกวา เนื่องจากลักษณะงานของตนยังไมคุมหากตองลงทุน
ติดตั้งเครื่องจักรราคาแพง เพราะทักษะการทํางานไมไดใชจําเปนตองสูงมาก มีเพียงการเตรียมวัตุดิบเทานั้น แตหาก
จะใชเครื่องจักรมาทดแทนคงเปนรูปแบบการ ชั่ง ตวง และวัดมากกวา
อย างไรก็ตาม ตนปฎิ เสธไมไ ดว าแรงงานคนยัง คงเกิดขอ ผิดพลาดไดเชนกัน จึงตองยกระดับ แรงงาน
ที่ชํานาญประสบการณ และเพิ่มทักษะใหสูงขึ้น
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
สาขาวิชาเฉพาะ เชน วิทยาศาสตรในภาควิศวะกรรม ไอที เปนตน เพราะเปนสาขาวิชาที่ เมื่อสําเร็จ
การศึกษาความสามารถประยุกตกับสายอาชีพที่หลากหลาย ซึ่งเมื่อเทียบกับปริมาณงานที่ตองการ ตนยังมองวามี
ความสําคัญ
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-10 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

*มองดานภาพรวมของอุตสาหกรรม และ การจัดการบุคลากรในบริษทั


จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]
1.ต น ชํ า น า ญ ด า น Live Stock Food แ ล ะ 1.เนื่องดวยตนเปนหนวย Support ของบริษัท Betago
เชี่ยวชาญดาน Testing ทํา ใหภ าพลัก ษณข ององครกรเปน เหมือ นบริ ษัท ลู ก ที่
2.ตนมีระบบการดูแลบุคลากรในบริษัทที่ครบวงจร ชวยเหลือเฉพาะบริษัทของ Betago เทานั้น
อาทิ ทีม HR , CHR 2.ความต อ งการในเรื่ อ งสวั ส ดิ ก ารของพนั ก งานมี
มากกวาเงินทุนที่รับรอง
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
1.อุ ตสาหกรรมอาหารยัง คงเติบ โตไดต ามสภาวะ 1.ขนาดบริษัทเปนตัวกําหนดกฏเกณฑตางๆ เชน ดาน
เศรษฐกิจ กฎหมาย ดานมาตราการดูแลพนักงาน ดังนั้นการดูแล
2.กฏหมายที่ดูแลเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกษตรและ บุคลากรจึงตองเปนไปตามเงื่อไขของกฎหมาย
อาหารถือวาครอบคลุมเปนอยางดี
3.เนื่องจากมีการดูแลบุคลากรที่ดี พนักงานจึงเขา
มาทํา เป น ทั้ ง ครอบครัว ทํ า ให ไ ด พ นั ก งานที่ ดูแ ล
บริษทั ดุจครอบครัวตนเอง

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


เกษตรและอาหาร , อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ เพราะประเทศไทยเติบโตมากับอุตสาหกรรมเกษตรและ
อาหาร และตองเจริญเติบโตขึ้นดวยเทคโนโลยี
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
หนวยงานตางๆที่เกี่ยวของและมีการวางแผนนโยบายที่ชัดเวลาและตอเนื่อง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-11


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
เทคนิคสัตวแพทย เฉพาะดาน ปริญญาตรี 40%
หลักสูตรอบรม , ต่ํากวา 20%
ปริญญา
วิศวกรสาขาชีวะ และเคมี ตามหลักสูตร ปริญญาตรี 20%
วิทยาศาสตรการอาหาร ตามหลักสูตร ปริญญาตรี 20%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
ไมสามารถระบุได
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
ไมสามารถระบุได

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ตนพอใจเรื่องของแนวคิดและนโยบายตางๆแตกังวลเรื่องของการปฏิบัติการจริง เพราะแนวคิดของเด็กรุนใหม
นั้นไมมีกรคิดการณไกล มักคิดวา ทําเสร็จแลวจบไป ไมมีการวางแผน เปนเหตุใหขาดความตอเนื่อง ตองแกที่ความคิด
ของเด็ก ปลูกฝงและสรางแรงบัลดาลใจ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-12 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

17. หนวยงาน บริษัท อายิโนะโมะโตะ(ประเทศไทย) จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณชาย ชาลีนนท
วันที่ใหสัมภาษณ 8 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
1.อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
2.พลังงานชีวภาพ
3.หุนยนตอัตโนมัติ
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
-มีหลากหลายวิชาชีพ เชน ซอมบํารุง บรรจุภัณฑ เกษตรกร อิเล็กโทรทัศน
-ไมพบปญหาขาดแคลน เนื่องจากใช outsource
1.3 ป จจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ระดับบริหาร คอนขางมีทักษะมาแลว
ระดับปฎิบัติการ มีประสบการณ ไมมีประสบการณ ปะปนกัน
หากมีปญหา ก็มีการโอนยายจากโรงงานในเครือ
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มี- ขณะนี้เริ่มใชแขนกล มาใชในกระบวนการบรรจุผลิตภัณฑ เคลื่อนยายผลิตภัณฑที่บรรจุแลว
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
จําเปนอยางยิ่ง เชน บรรจุ คิวซี ซอมบํารุง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-13


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]

- -
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]

- -

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


เกษตร
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรมรวมมือสนับสนุนเอกชน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-14 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทั �งหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
วิศวกรทั่วไป เครื่องจักร ปริญญาตรี/ปริญญาโท 30%
นักวิทยาศาสตร เทคโนโลยีชีวภาพ ปริญญาตรี /ปวส 40%
งานซอมบํารุง ไฟฟา /อิเล็กทรอนิค ปริญญาตรี /ปวส 70%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
เจาหนาที่การผลิต วิศวกรรม/อุตสาหกรรม ปริญญาตรี 30%
จัดซื้อ บริหารธุรกิจ ปริญญาตรี 40%
ทรัพยากรมนุษย พัฒนาอุตสาหกรรม ปริญญาตรี 30%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
เจาหนาที่ขนสง โลจิสติกส ปริญญาตรี 50%
การตลาด การตลาด ปริญญาตรี/ ปริญญาโท 50%

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
การเขามาของแรงงานตางดาว AEC คือ การรวมตัวของชาติ อาจทําใหแรงงานไทยหดหายควรเรงพัฒนา
ฝมือแรงงานไทยใหมากขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-15


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

18. หนวยงาน บริษัทไบโอฟูด อินดัสตรี จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณบุญญารัตน ศรีใจสถาน
วันที่ใหสัมภาษณ 2 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ธุรกิจทําแปรรูปผลไม(อาหารเสริม) มีกลุมเกษตรกรปลูกกลวยหอมรองรับ ถือวาเปนตนน้ําซึ่งตอนนี้ยังอยูใน
ระยะเริ่มตนธุรกิจ มีพอคาคนกลางมาติดตอขอซื้อเพื่อจําหนายซึ่งเปนชวงทดลองการทํางานกันอยู สวนกลุมลูกคาที่ถือ
วาเปน ปลายน้ํา เป นลูกคากลุมใหญ ที่มีอาการโรคกระเพาะหรือกรดไหลยอน อาหารเสริมของบริษัทของเราชว ย
บรรเทาอาการไดโดยมีงานวิจัยรองรับ
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ในเรื่องของวัตถุดิบไมมีปญหา สวนการใชเทคโนโลยีทางบริษัทวาจางใหทําปญหาเรื่องแรงงานที่มีทักษะ
เลยไมเจอ

1.3 ป จ จุ บัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
แกไขโดย ตัดงานที่ควบคุมไดใหบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญรับไปทํา
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
การใชเครื่องจักร หรือ AI มาทดแทนการใชแรงงานคน ในอนาคตตองมีอยางแนนอน
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
แรงงานตองมีประสบการณในการทํางาน ทุกขั้นตอนตองอาศัยการสังเกตและจดจํา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-16 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


เมืองไทยมีลักษณะภูมิศาสตรเหมาะสมกับ คนไทยยังออนชั้นเชิงในการแขงขันทางธุรกิจ
การเกษตร
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
เทคโนโลยี สามารถชวยใหนักธุรกิจไทยกาวไกลได เกมสการเมือง

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


สิ่งพิมพ
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-17


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา
กลางน้ํา และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทักษะที่จําเปนตอการผลิต ไมใชแรงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจาหนาที่บัญชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]

สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
1.เกษตรกร มีความรูอยางละเอียดในการผลิตวัตถุดิบ ปริญญาตรี 1%

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
1.Foodsince มีความรูโ ดยละเอียดดานอาหาร ปริญญาตรี 1%

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
1.การตลาด เชี่ยวชาญในการสื่อสารที่มมี นุษยสัมพันธ 3%
ที่ดี

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-18 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

19. หนวยงาน บริษัทกรีน อินโนเวทีฟ ไบโอเทคโนโลยี จํากัด


ผูใหสัมภาษณ น.สพ.กษิดิ์เดช ธีรนิตยาธาร
วันที่ใหสัมภาษณ 19 กันยายน 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับธุรกิจในปจจุบัน ไดแก
1. อุตสาหกรรมตนน้ํา :, อุตสาหกรรมเคมี,อุตสาหกรรมเพาะปลูกพืชและเลี้ยงสัตว
2. อุตสาหกรรมกลางน้ํา : อุตสาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑทางการเกษตรโดยใชนวัตกรรม, อุตสาหกรรมการ
วิจัยและพัฒนาสารออกฤทธิ์จากวัตถุดิบทางธรรมชาติ
3. อุตสาหกรรมปลายน้ํา : อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารอาหาร, อุตสาหกรรมสงออกผักผลผลไม และเนื้อสัตว,
อุตสาหกรรมการจัดจําหนายผลิตภัณฑทางการเกษตรและอาหารเสริมทั้งในพืชและสัตว
แนวโนมของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของในอนาคต คาดวาจะเกี่ยวของกับอุตสาหกรรมการพัฒนาปจจัยการ
ผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารโดยใชวัตถุดิบตางๆที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม และ
ปลอดภั ยตอผูบริโภค รวมถึงอุตสาหกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี และเครื่องจักรที่ใชระบบอัตโนมัติและหุนยนตใน
กระบวนการผลิต
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางงานในปจจุบัน ทางบริษัทใชแรงงานฝมือ (Skilled Labor) เปนสวนใหญ เนื่องจากตอง
ใชความรูทางดานทฤษฎีประกอบกับความเชี่ยวชาญในการทํางาน และไมพบปญหาขาดแคลนแรงงาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-19


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.3 ป จจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเ พีย งพอ


มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ผูที่สําเร็จการศึกษาเมื่อเขาสูตลาดแรงงานมีความรูและทักษะบางสวนเทานั้น อาจเนื่องมาจากการขาด
ประสบการณทดลองทํางานจริง ขอเสนอแนะที่คาดวาจะแกปญหาไดคือ จําเปนตองมีการปรับปรุงระบบการศึกษาโดย
เนนการนําทฤษฎีที่ไดเรียนรูมาใชในหนางานจริง เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูและแกปญหาจากประสบการณจริง เนนการ
ปฏิ บัติน อกห องเรียนมากกวาการเรียนในชั้นเรียน, มหาวิทยาลัยประสานความรวมมือกับหนวยงานภายนอก เชน
บริษัทเอกชน เจ าของกิจ การตางๆ เพื่อรวบรวมขอมูลและพัฒนาผูสําเร็จการศึกษาใหตรงตามความตองการของ
ตลาดแรงงานอยางแทจริง
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ทางบริษัทมีแผนงานในอนาคตที่จะนําเครื่องจักร และระบบ AI มาใชเพิ่มเติมในกระบวนการผลิต การ
ตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑระหวางผลิตและผลิตภัณฑสําเร็จ รวมถึงในสวนงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑที่ตองการ
ปริมาณมากและความแมนยําสูง
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
สาขาวิ ชาของแรงงานที่มีความจํ าเปนตอการพัฒ นาอุตสาหกรรมคือ สาขาทางดา นการเกษตรและ
เทคโนโลยีชีวภาพ สาขาการแปรรูปอาหาร รวมถึงสาขาทางดานวิทยาศาสตรสุขภาพที่เกี่ยวของ

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-20 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


- Research and development - New category
- Innovation product - Channel
- สินคาบัญชีนวัตกรรม - บริษัทยังไมเปนที่รูจักในวงกวาง
- Reference - Sales team
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
- Green product trend - Law, กฎระเบียบตางๆ
- Health concern - คูแขงทางการตลาด
- นโยบายรัฐที่สนับสนุนบริษัทนวัตกรรม - การโฆษณา

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


คาดวาอุตสาหกรรมที่ตองปรับตัว เขากับยุค 4.0 คือ อุตสาหกรรมที่พึ่งพาแรงงานปริมาณมาก (Labor
Intensive) เชน เสื้อผา เฟอรนิเจอร และอุตสาหกรรมที่พึ่งพาเทคโนโลยีจากตางชาติคอ นขางมาก จากขอจํากัดเหลานี้
อาจสงผลใหธุรกิจมีขีดจํากัด ไมยั่งยืน เนื่องจากปจจุบันคูแขงในตลาดโลกหันมาใชเทคโนโลยีที่พัฒนาไดเองมาทดแทน
แรงงานคนแลว ทําใหตนทุนการผลิตลดลงแตไดประสิทธิภาพที่สูงขึ้น ประเทศไทยจึงจําเปนตองมีการปรับตัว ให มี
ศักยภาพในการผลิตทัดเทียมกับคูแขงในตลาดโลก โดยการใชอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องมาชวย เชน กลุมอุตสาหกรรม
อนาคต (New S-curve) คือ อุตสาหกรรมหุนยนต มาพัฒนากระบวนการผลิตแทนที่แรงงาน เปนตน
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ภาคการเงิน การธนาคาร ที่สามารถเขามามีบทบาทในการสนับสนุนเงินทุนวิจัย, หนวยงานราชการ และ
รั ฐ วิ ส าหกิ จ ต า งๆ เชน สถาบันวิจัย วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแ ห งประเทศไทย สํา นักพัฒนาวิ ทยาศาสตร แ ละ
เทคโนโลยีแหงชาติ รวมถึงมหาวิทยาลัยทั้งในกํากับของรัฐและเอกชน เปนตน ที่สามารถเขามามีบทบาทสนับสนุนใน
เชิงขององคความรู รวมทั้งประยุกตงานวิจัยใหสอดคลองกับความตองการของภาคอุตสาหกรรมไดดียิ่งขึ้น

3. ความตองการแรงงาน
ความต องการแรงงานที่ มีลัก ษณะเฉพาะสํา หรับ อุตสาหกรรมที่เ กี่ ย วเนื่ องกับ ท าน ขอให พิจ ารณาทั้ง ต น น้ํา
กลางน้ํา และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทักษะที่จําเปนตอการผลิต ไมใชแรงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจาหนาที่บัญชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-21


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรมการแปรรูปวัตถุดิบ (ตนน้ํา)
- มี ค วามรู ด า นพื ช ปฐพี และสารเสริ ม
1. ผูจัดการโรงงาน ตางๆในพืช 1. ปริญญาโท
2%
- มี ทักษะและประสบการณการทํ า งาน
ฝายผลิตในโรงงาน
- มี ค วามรู ด า นพื ช ปฐพี และสารเสริ ม
ตางๆในพืช
2. ผูชวยผูจัดการโรงงาน 2. ปริญญาตรี 2%
- มี ทั ก ษะและประสบการณการทํ างาน
ฝายผลิตในโรงงาน
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
การออกแบบผลิตภัณฑและพัฒนากระบวนการผลิตหรือบรรจุภัณฑ
1. นักวิ จัย และพั ฒนาผลิ ตภั ณ ฑ - มีความรูดานปฐพี โรคพืช พืชสวนและ 1. ปริญญาโท-เอก 7%
ดานพืช พืชไร

2. นั ก วิ จั ย และพั ฒ นาผลิต ภั ณ ฑ - มีความรูดานสัตวบก และประมง สุขภาพ 2. ปริญญาโท-เอก 4%


ดานสัตว สัตว
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
อุตสาหกรรมการจําหนายผลิตภัณฑทางการเกษตร
- มีความรูดานการจัดการโรคพืช พืชสวน 1. ปริญญาโท 12%
1. ผูเชี่ยวชาญดานพืช/สัตว และพืชไร 2. ปริญญาตรี
- มีทักษะการถายทอดความรูใหแกลูกคา
(End user)
2. เจาหนาที่การตลาดและพัฒนา - มีความรูดานการขายและการตลาด 1. ปริญญาโท 19%
ธุรกิจ - มีประสบการณการสรางตลาดและธุรกิจ 2. ปริญญาตรี
ทั้งภายในประเทศ และตางประเทศ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-22 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
เนื่ อ งด ว ยผูที่ สํ า เร็จ การศึก ษาเมื่ อ เข า สู ตลาดแรงงานมี ค วามรูแ ละทั ก ษะเพีย งบางส ว นที่ ส ามารถรองรั บ
อุตสาหกรรมไดเทานั้น จึงมีขอเสนอแนะที่เกี่ยวของกับการเตรียมทักษะแรงงาน ดังนี้
1. ปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาโดยเนนการนําทฤษฎีท่ีไดเรียนรูมาใชในภาคอุตสาหกรรม เพื่อใหนักศึกษาได
เรียนรูและแกปญหาจากประสบการณจริง เนนการปฏิบัตินอกหองเรียนมากกวาการเรียนในชั้นเรียน
2. ประสานความรวมมือระหว างมหาวิทยาลัย วิทยาลัย กับ หนวยงานภายนอก เชน บริษัทเอกชน เจาของ
กิจการตางๆ เพื่อแลกเปลี่ยนองคความรู เอื้อประโยชนตอการพัฒนาผูสําเร็จการศึกษาใหตรงตามความตองการของ
ตลาดแรงงานอยางแทจริง
3. ชวยจัดหาทรัพยากรบุคคลที่มีความรูและประสบการณในสาขาตาง ๆ เพื่อเปดอบรมพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ
ใหกับแรงงานใหเปนแรงงานที่มีคุณภาพเปนที่ตองการของภาคอุตสาหกรรม และประเทศอาเซียน
4. จัดหาศูนยการเรียนรูนอกเวลาที่เปดโอกาสใหบุคคลทั่วไปสามารถเขารวมพัฒนาศักยภาพของตัวเองไดอยางทั่วถึง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-23


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

20. หนวยงาน บริษัท ชอคูน เรมีดี้ จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณศิริพัฒน มีทับทิม
วันที่ใหสัมภาษณ 1 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เ กี่ย วเนื่องกับธุรกิจของทา นในปจจุบัน ... โปรดระบุอุต สาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรมตนน้ําของเครื่องสําอาง Natural&Organic ไดเกษตรกรหรืออุตสาหกรรมการเกษตร กลางน้ํา
คือผูแปรรูป สกัดสารสกัดเบื้องตนหรือผูจําหนายวัตถุดิบเคมีภัณฑ อุตสาหกรรมที่เราทําอยูปลายน้ํา ไดแก ผูผลิต
ผลิตภัณฑสําเร็จและสงตอใหกับผูจัดจําหนายผลิตภัณฑ
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมขนาดเล็กมีปญหาเรื่องแรงงานมีไมมาก แตถึงอยางไรก็ตามก็จะตองจัดการตนทุน
ใหดีพอ ทางบริษัทมีแนวทางแกปญหาดวยการสราง Supply Chain กันเพื่อนในอุตสาหกรรมเดียวกันเพื่อใหเกิดความ
คุมคาดานการจางงาน
1.3 ป จ จุ บั น ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี ห รื อ มี ไ ม เ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีทักษะที่ตองการแตก็ยังตอ งการการเรียนรูเพิ่มเติมในงาน และการปรับตัว ใหเ ขากับ สภาพการทํา งาน
นโยบายคือการรับผูที่สนใจเขามากอนแลวใหทดลองปรับตัวในการทํางาน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนนการเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรมากเนื่องจากเครื่องจักรมีประสิทธิภาพสูงขึ้นในขนาดที่เล็กลง และ
สามารถสื่อสารกันเองได รวมทั้งระบบควบคุมตาง ๆทันสมัยขึ้น แตถึงอยางไรแรงงานคนก็ยังมีความสําคัญมากอยูดี
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
สาขาดานเทคโนโลยีอัตโนมัติตาง ๆ ทักษะดานภาษา และ AI

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-24 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม

21. หนวยงาน สมาคมยานยนตไฟฟาไทย (Electric Vehicle Association of Thailand – EVAT)


ผูใหสัมภาษณ : คุณจุรีรัตน สุวรรณวิทยา
ขอมูลเบื้องตนประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอตุ สาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ขอมูลเบื้องตน : อุตสาหกรรมยานยนตเปนอุตสาหกรรมหนึ่ง ที่มีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศ ที่มีมูลคาการสงออกและสรางมูลคาเพิ่มในประเทศ ทั้งในดานการผลิต การจางงาน การพัฒนาเทคโนโลยี
และความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมอื่นๆ ในดานการลงทุนทําใหประเทศไทยเปนศูนยรวมของผูผลิตยานยนตทั่วโลก
การที่ มี ก ารจ า งงานสู ง และมี แ นวโนม ในการเติ บ โตเพิ่ ม ขึ้ น อย า งตอ เนื่อ งทั้ง การผลิต การขาย และการส ง ออก
โดยเฉพาะอยางยิ่งในเทคโนโลยียานยนตในอนาคต ทําใหอัตราความตองการจางแรงงานที่มีทักษะฝมือเพิ่มขึ้นอยาง
มาก โดยเฉพาะในผูผลิตชิ้นสวน tier 2 และ tier 3 ในโครงสรางอุตสาหกรรมยานยนตไทย รวมทั้งการประสานความ
รวมมือการพัฒนาบุคลากรในทุกฝายที่เกี่ยวของในโครงสรางเครือขายของอุตสาหกรรมยานยนตไทยดวย
จากสภาวะการแขงขันที่สูงขึ้น การเริ่มการลดภาษีเปนศูนย ในกรอบเขตการคาเสรีตางๆ การพัฒนา
อุตสาหกรรมยานยนตไทย ยังคงมุงมั่นตอไปที่จะทําใหประเทศไทยเปนฐานผลิตยานยนตของภูมิภาคเอเชีย ดวยการ
สรางสภาวะแวดลอมในการดําเนินธุรกิจ และการเพิ่มขีดความสามารถแขงขันอุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวนไทยให
มี ศู นย รวมความเปน เลิศ (center of excellence) มาสนับ สนุน ใหเกิดฐานการผลิต ขึ้น รวมทั้ง การเปนศูนย ร วม
บุคลากรยานยนต (นักพัฒนาการผลิต นักทดสอบและนักวิจัย) การพัฒนาบุคลากร เปนหนึ่งในกลยุทธที่สอดคลองกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ โดยการเสริมสรางความรู พัฒนาทักษะของบุคลากรเพื่อใหเกิดความรู ความ
ชํานาญในการปฏิบัติงาน สามารถถายทอดและสอนงาน และเกิดทัศนคติที่ดีตอการทํางาน และเปนการเตรียมความ
พรอมในการดําเนินธุรกิจในอนาคต

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-25


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สั ม ภาษณ : โครงสรา งอุ ต สาหกรรมยานยนต ไ ทยในประเทศไทย ซึ่ ง มีก ารส ง ชิ้น สว นให แ ก กั น
เปนโซอุปทาน (supply chain) เปนอุตสาหกรรมที่มีโครงสรางเปนชิ้นๆ(tier) ประกอบยานยนตและผูผลิตชิ้นสวน
ระดับสากลอยูสวนบน ผูผลิตชิ้นสวนในประเทศอยูสวนกลาง และผูผลิตวัตถุดิบอยูสวนลาง ซึ่งทั้งผูผลิตชิ้นสวน ใน
ประเทศ และผูผลิตวัตถุดิบเปนผูที่มีฐานการผลิตที่จะทําใหมีความยั่งยืนในอุตสาหกรรมยานยนต สําหรับผูผลิตชิ้ นสวน
แบงเปน 3 ระดับ ดังนี้
ระดับที่1 – ผูผลิตชิ้นสวน tier1เปนสงชิ้นสวนใหผูประกอบยานยนตโดยตรง และประมาณยี่สิบกวา
เปอรเซ็นต มีเจาของเปนคนไทยต องเขาแขงขันกับผูลงทุนจากตางประเทศและมีโอกาสจะตกลงมาอยูที่ 2 มาเปน
tier 2 และ tier 3 ถาไมเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน
ระดับที่2 – ผูผลิตชิ้นสวน tier 2 และ tier 3 เปนผูสงชิ้นสวนใหผูผลิตชิ้นสวน tier1 และเปนผูผลิต
ชิ้นสวนไทยประมาณพันกวาบริษัท ถึงแมวา มีการพัฒนาทักษะฝมือมาหลายป แตยังคงตองปรับปรุงและเพิ่ม ขีด
ความสามารถการแขงขัน
ระดับที่3 – ผูผลิตวัตถุดิบ Material Supplier เปนผูสงวัตถุดิบใหผูผลิตชิ้นสวน tier 2 และ tier 3
ผูผลิตชิ้นสวนไทยในทุกชั้น จําเปนตองปรับปรุงคุณภาพ ดานการลดตนทุน และการสงมอบ QCD (Quality ,Cost,
Delivery) เพื่อใหเปนที่ยอมรับของผูผลิตยานยนตระดับสากล
การผลิตยานยนตท่ีมีคุณภาพไดนั้น มีผูที่เขามาเกี่ยวของและสนับสนุนจํา นวนมากเปนลัก ษณะ
เครือขาย (Network) โครงสรางเครือขายของอุตสาหกรรมยานยนต ประกอบดวย กลุมผูประกอบยานยนต ซึ่งเปน
การรับนโยบายการผลิตจากตางประเทศและไมมีการวิจัยพัฒนากลุมผูผลิตชิ้นสวน ซึ่ง tier1 สวนใหญเปนตางประเทศ
และ tier 2 tier 3 เปนบริษัทรวมทุนตางประเทศ กลุมอุตสาหกรรมตนน้ําซึ่งสวนใหญตองชื้อวัตถุดิบและเครื่องจักร
จากต า งประเทศ กลุม ธุรกิจ บริการซึ่งสวนใหญเ ปนบริษัทตางประเทศ กลุมนโยบายและสนับสนุนซึ่งเปนภาครัฐ
สถาบั นการศึกษาและสมาคมผูผลิตชิ้นสวน ยังไมมีการกําหนดนโยบายและทิศทางที่ชัดเจนในการที่จะทําใหก าร
เชื่อมโยงกันอย างมี ระบบและบู รณาการ ใหมีการดําเนินการใหสอดคลอง เสริมซึ่งกันและกัน ทําใหเกิดการพัฒ นา
อุตสาหกรรมยานยนตไทยโดยรวมได เปนประเด็นทาทายที่สําคัญ
แนวโนม เทคโนโลยียานยนตโลกในอนาคต จะมีก ารปรับ ไปสูย านยนตในรูปแบบใหมที่ป ระหยัด
พลัง งาน เน น ความปลอดภั ย สิ่ ง แวดลอ ม และเทคโนโลยี ITS มาทดแทนยานยนต ใ นป จ จุ บั น ทํ า ให มี แ นวโนม
ความตองการผลิตยานยนตเพิ่มขึ้น เมื่อแนวโนมการผลิตเพิ่มขึ้น ทําใหแนวโนมการจางงานเพิ่มขึ้นเปนเงาตาม รวมทั้ง
ความตองการในการฝกอบรมเทคโนโลยีใหมเพิ่มขึ้นดวย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-26 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.2 ลั ก ษณะการจ า งงานในอุ ต สาหกรรม (ใช แ รงงานประเภทไหนเป น ส ว นใหญ ) มี ป ญ หาการ


ขาดแคลนแรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ขอ มูล เบื้องตน :ยานยนตประกอบดว ยชิ้นสว นตางๆหลากหลายและมีกระบวนการผลิต ซับ ซ อน
ในแต ละประเภทของชิ้นสว น อาทิ การฉีด พลาสติก การชึ้นรูป โลหะ และเครื่อ งควบคุ มอิเล็ กทรอนิก ส เปนต น
ซึ่งจะตองผานกระบวนการหลายขั้นตอน ไดแก การออกแบบและการเขียนแบบ (วิศวกรรม) การทําแมพิมพ การผลิต
และการทดสอบ
แตละกระบวนการตองการความสามารถที่แตกตางกัน ผูผลิตชิ้นสวนมีความสามารถในการผลิตและ
การทําแมพิมพเปนสวนใหญ แตความสามารถในการออกแบบและการเขียนยังเปนสวนนอย สวนความสามารถในดาน
การวิจัยและพัฒนา การทดสอบ ซึ่งเปนความสามารถที่จะทําใหการพัฒนาสูความยั่งยืนนั้นมีนอยมากๆ
สัมภาษณ: การขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะฝมือ เปนประเด็นทาทายขั้นพื้นฐาน สวนการขาดแคลน
ความสามารถในดานวิ ศวกรรม ดานแม พิม พ และการผลิตขั้นสูง เปนประเด็นทาทายขั้นกลาง และการขาดแคลน
ความสามารถในดานการวิจัยและพัฒนา และการทดสอบคุณภาพ
1.3 ป จจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ต องการหรื อไม ถาไมมี หรือมีไมเพีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ข อ มู ล เบื้ อ งต น : ความสามารถไม ส อดคล อ งกั น ที่ เ กิ ด ขึ้ นในตลาดแรงงานไทยทั้ ง ในเรื่ อ งของระดับ
การศึกษาและอาชีพในปจจุบัน ภาครัฐจึงจําเปนตองพิจารณานโยบายทั้งทางดานการวางแผนการศึกษา เพื่อสนับสนุน
การศึกษาในสาขาที่ตรงกับความตองการของตลาดแรงงานในปจ จุบัน รวมถึงนโยบายการกําหนดคาจางที่ควรเนน
ดานทักษะและความสามารถของแรงงานมากกวาระดับการศึกษา แรงงานบางสว นมีการทํางานต่ํากวาการศึกษา
ยกตัวอยางเชน ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทํางานในงานที่มีคุณลักษณะที่ตองการเพียงผูสําเร็จมัธยมปลาย
เท า นั้ น และประเด็ น การทํ า งานในสาขาที่ ไ ม ต รงกั บ สาขาที่ เ รี ย นมา (Horizontal Mismatch) เนื่ อ งจาก
ไมมีตลาดแรงงานที่รับรอง
สัมภาษณ: ตอบรวมอยูในขอ 1.5 แลว
1.4 อุตสาหกรรมของทา นมีแ นวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แ รงงานมากนอย
เพียงใด
ขอมูลเบื้องตน: การนําหุนยนตและ AI เขามาทดแทนแรงงาน จะชวยแกไขปญหาและจุดออนในการ
ขาดแคลนแรงงานไดมาก ซึ่งปจจุบัน อุตสาหกรรมสวนใหญใชแรงงานตางชาติมาทดแทนแรงงานไทยที่ขาดแคลน ใน
อนาคต แรงงานตางดาวดังกลาวจะทะยอยกลับประเทศของตนเองเมื่อมีการพัมนาขึ้นและมีความตองการแรงงานใน
ประเทศของตน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-27


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สั ม ภาษณ : เป น สิ่ ง ที่ ห ลี ก เลี่ ย งไม ไ ด ในการนํ า หุ น ยนต และ AI มาใช ใ นอุ ต สาหกรรมยานยนต
ในอนาคต ซึ่งยอมดีกวาใชแรงงานตางดาว หรือดีกวาไมมีแรงงานไทยมาทดแทน หรือมีแรงงานไทยที่มีทักษะไมตองกับ
ความตองการในอุตสาหกรรม
ในชว งแรกจะนํา เขา มาใชเ ฉพาะจุด ที่ มีมู ล คา สูง ต อ งการความถู กต อ งและแม นยํา รวมทั้ง ความ
ปลอดภัยตอๆไป เมื่อมีการใชมากขึ้น คาใชจายในการลงทุนดวยหุนยนต และ AI
ก็จะลดลงและคุมคาการลงทุน ก็จะสามารถใชเต็มรูปแบบ และใชแรงงานเทาที่จําเปน ดังตัวอยางที่
เกิดขึ้นแลวในประเทศที่พัฒนาแลว
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ข อมูลเบื้องต น: แรงงานยุ คใหมจะตองมีการเตรียมความพรอมปรับตัว มีการวางแผน ตั้งแตการ
เขาศึกษาและหลังจบการศึกษา 5 กลุมสายงานที่ยังคงปนที่ตองการของตลาดแรงงาน สายงานที่ยังคงเปนที่ตองการ
ของตลาดแรงงาน มี 5 กลุมสายงาน ไดแก งานดานบัญชีและการเงิน,งานดานวิศวกรรม,งานขายและบริการลูกคา ,
งานไอทีและงานโลจิสตและซัพพลายเชนทักษะที่แรงงานยุคใหมเพื่อมือกับไทยแลนด 4.0 ไดแก
1. ทักษะในการจัดระดับความสําคัญ คือ สามารถวางแผน จัดการงานและจัดลําดับความสําคัญของ
สิ่งตางๆ ไดดี ความสามารถในการทํางานหลายอยางในเวลาเดียวกัน และสามารถทํางานเสร็จตรงเวลา สามารถ
ประสานงานกับผูอื่นได
2. ทักษะดานการสื่อสาร มีความรูดานภาษา การถายทอดความคิดออกไปอยางถูกตองและเขาใจ
ตรงกันไดอยางชัดเจน และสามารถเจรจาหรือตอรองไดประสบความสําเร็จ
3. ทักษะการปรับตัว และสามารถจัดการกับความเปลี่ยนแปลงไดดี มีความอดทนในการทํางาน และ
ทํางานในสภาวะกดดัน
4. ภาวะการเปนผูนํา การวิเคราะห การวางเปาหมายในการทํางาน การคิดงานหรือคิดโปรเจกต กลา
ที่จะเสนอแนวคิดตางๆในที่ประชุม เพื่อสรางนวัตกรรมที่แตกตาง
5. การพัฒนาศักยภาพของตัวเอง การเปนคนชางเรียนรู และแสวงหาความรูใหมๆ อยูเสมอ คนพบ
บางออกที่ดี เมื่อประสบกับปญหา หรือเพิ่มองคความรูใหมๆ อันจะนําไปสูความกาวหนาในอาชีพการงานในอนาคตได
สัมภาษณ: ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรม
ที่เกี่ยวเนื่อง สามารถพัฒนาดวยหลักสูตรพัฒนาผูสนไทย (Train the trainer) 4 หลักสุตรถายทอดโดยผูเชี่ยวชาญ
จากคายยานยนตตางๆ รวมกับกระทรวงศึกษา และกระทรวงแรงงาน ในการพัฒนาหลักสุตรพัฒนาผูสอนไทยซึ่งเปน
ผูปฎิบั ติในโรงงานอุตสาหกรรม (trainer) ที่มีคุณสมบัติกํา หนด เพื่อนําไปสอนผูป ฎิบัติงานจํานวนมากในโรงงาน
In-house training นอกจากนี้ มีการจัดทําระบบรับรองความสามารถบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต ดวยการผาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-28 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

การฝกอบรม และมีการรวมกันสงเสริมใหระบบรับรองความสามารถบุคลากร ในอุตสาหกรรมยานยนต สอดประสาน


เข ากับ การพั ฒนาทักษะฝมือระดับชาติได (National Skill Development Act) ตัวอยางหลักสูตรไดแก Coating :
EDP/Chromium/Plating, Assembling Jig Manufacturing, Robot Control, Part Design : Body Part/
Function/R&D principle/Testing) Quality Assurance , QA: stamping/ Assembly/ Injection/ Coating/
Material/ Machine Parts เป น ต น โดยสรุ ป แนวทางพั ฒ นาบุ ค ลากรในอุ ต สาหกรรมยานยนต ป ระกอบด ว ย
4 องค ป ระกอบที่สํ า คั ญ ที่ จ ะทํ า ให มี ค นไทยมี ทัก ษะฝมือ ได รับ การถา ยทอดเทคโนโลยี ที่ ส ามารถนํา ไปขยายผล
ใหมีแรงงานที่มีฝมือไดจํานวนมาก ตรงตามความตองการ อยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพโดยใชเวลาอันสั้น ดวย
ตนทุนต่ํา คือ
1. พัฒนาผูสอนไทย (trainer)
2. พัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต(trainee)และไดรับรองความสามารถ
3. พัฒนาโรงงาน
4. พัฒนาหลักสูตร และพัฒนาระบบการรับรองความสามารถบุคลากร
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย(ยานยนตไฟฟา,เกษตรและอาหาร,อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ,ผลิตภัณฑยางพลาสติก,เคมีภัณฑชีวภาพ
และพลาสติกชีวภาพ,หุนยนตอัตโนมัติ,ชิ้นสวนอากาศยาน,เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย,พลังงานชีวภาพ)
ข อ มู ล เบื้ อ งต น : มุ ม มองในฐานะอุ ต สาหกรรม new s-curve อุ ต สาหกรรมยานยนต ไ ทย โดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนตและทดแทน
จุ ด แข็ ง [STRENGTH] : ผูผลิตสวนยานยนตไ ทยมีความเชี่ยวชาญสูง มีอุตสาหกรรมสนับ สนุนที่เข มแข็ ง
ชิ้นสวนยานยนตไทยมีมาตรฐานสากลเปนที่เชื่อถือในโลก มีเครือขาย sme ตนน้ํามาก และมาการลงทุนจากผูผลิตยาน
ยนตทั่วโลกในประเทศไทย
จุดออน [WEAKNESS] : พึ่งพาวัตถุดิบและเทคดนโลยีตางประเทศซึ่งตนทุนถึง 50-60% ผูผลิตยานยนต
ตางประเทศปกปองเทคโนโลยี know-how และควบคุมแบบทําให OME ไทยเปนผูรับจาง ไมสามารถทําตลาดหรือ
สรางมูลคา sme ไมสามารถแขงขันในดานราคา และดานสงเสริมการลงทุนจาก BOI ขาดแคลนหนวยงานทดสอบและ
รับรองคุณภาพชิ้นสวนยานยนตในประเทศทําใหตนทุนสูง
โอกาส [OPPORTUNITY]: ตลาดเพื่อนบาน CLMV ตลาดชิ้นสวนทดแทน REM
อุปสรรค [THREAT]: การยายฐานการลงทุนของผูประกอบการตางประเทศตนทุนการผลิต และการแขงขัน
ดานราคามีแนวโนมสูงขึ้นนโยบายการลงทุน การตลาด การผลิต ถูกกําหนดโดยผูประกอบการตางประเทศ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-29


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


ข อ มู ล เบื้ อ งต น : First S-curve ได แ ก ยานยนต ไ ฟฟ า อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส อั จ ฉริ ย ะ การเกษตรและ
เทคโนโลยีชีวภาพ การทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ อาหารแปรรูป
New S-curve ไดแ ก หุนยนตอัตโนมัติ การบินและโลจิ สติกส เชื้อเพลิงชีว ภาพ และเคมีชีว ภาพ
อุตสาหกรรมดิจิตัล อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร
สั ม ภาษณ : ต อ ยอดอุ ต สาหกรรมเดิ ม ที่มี ศัก ยภาพซึ่ ง มีศัก ยภาพในการใช ป จ จั ย การผลิ ต และ
การลงทุนอยูแลว ในระยะสั้นและระยะกลาง เปน S-curve
ตอดวยอุตสาหกรรมอนาคตที่จะสามารถทําใหเศรษฐกิจไทยเติบโตไดในอนาคตอยางกาวกระโดด
ในระยะยาว เปน New S-curve (Future)
นอกจากนี้ยัง มี อุต สาหกรรมสนับสนุนที่เกี่ย วเนื่องที่ยังใชเทคโนโลยีเ ดิมอยู ซึ่งจะมีผ ลกระทบ
อุตสาหกรรม First S-curve และ New S-curve ได จะตองดําเนินการปฎิรูป เชนอุตสาหกรรมแฟชั่น (สิ่งทอ และ
เครื่องนุมหม เครื่องหนัง อัญมณีและเครื่องประดับ) อุตสาหกรรมวัสดุ (โลหะ แกว และกระจก ปูนซีเมนต ไมแปรรูป
เซรามิท) อุตสาหกรรมปโตรเคมีและพลาสติกสะอาด (อุตสาหกรรมปโตรเคมีและพลาสติก)

2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ขอมูลเบื้องตน: การปรับโครงสรางกลุมอุตสาหกรรมเดิม ไปสูอุตสาหกรรมใหม ดวยการขับเคลื่อน
ดวย 5กลุมเทคโนโลยีและนวัตกรรมหลัก ดังนี้
1. กลุมอาหาร เกษตร และเทคโนโลยี
2. กลุมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย
3. กลุมเครื่องมืออัจฉริยะ หุนยนต และระบบเครื่องกลที่ใชระบบอิเล็กทรอนิกสควบคุม
4. กลุมดิจิทัล เทคโนโลยีอินเตอรเน็ต เชื่อมตออุปกรณปญญาประดิษฐและเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว
5. กลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค ทุนวัฒนธรรมและบริการที่มีมูลคาสูง
สัมภาษณ: การขับเคลื่อนดังกลาว จะตองเริ่มดวยหนวยงานธุรกิจที่เปนผูประกอบการเปนหนวยงาน
หลักในการขับเคลื่อน และมีหนวยงานทุกหนวยงานมีบทบาทและสวนรวมในการสนับสนุน ไดแก ภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคการศึกษา ทั้งมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยตางๆ
ตัวอยาง การพัฒนาประเทศไทย 4.0 จําเปนตองใชความรวมมือทุกภาคสวนใน 4 ระยะจากภาครัฐ
ดังนี้

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-30 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ระยะที่1 การพัฒนาความรู โดยกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมกับ กระทรวงเกษตร และ


สหกรณ กระทรวงแรงงานและกระทรวงศึกษาตางๆ
ระยะที่2 การสรา งเทคโนโลยีแ ละนวั ตกรรม โดยกระทรวงวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รว มกับ
สถานศึกษาตางๆ
ระยะที่3 การพัฒนาการผลิต โดยกระทรวงอุตสาหกรรม
ระยะที่4 การพัฒนาเชิงพาณิชย โดยกระทรวงพาณิชย
3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา
กลางน้ํา และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทักษะที่จําเปนตอการผลิต ไมใชแรงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจาหนาที่
บัญชี เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
ขอมูลเบื้องตน: มีการประเมินความตองการแรงงานในอุตสาหกรรมผลิตยานยนต ดังนี้
เปน Semi-Skill ระดับ ม.3/ม.6 สัดสวนจาก 55% เปน 35%
เปน Skill ,High Skill ระดับ ปวช/ปวส.(ชางเทคนิค) สัดสวนจาก 35% เปน 50%
เปน Skill, Knowledge ระดับ ปริญญาตรี(วิศวกร, อื่น) สัดสวนจาก 10% เปน 15%
สั มภาษณ : สําหรับความตองการแรงงานที่มลักษณะเฉพาะสําหรับ อุตสาหกรรมผลิตยานยนต ทั้งตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา นั้นขึ้นกับกระบวนการผลิตของผลิตภัณฑนั้นๆ โดยทั่วไปสัดสวนจะ
เปน Semi-Skill ระดับ ม.3/ม.6 สัดสวนจาก 55%
เปน Skill ,High Skill ระดับ ปวช/ปวส.(ชางเทคนิค) สัดสวนจาก 35%
เปน Skill, Knowledge ระดับ ปริญญาตรี(วิศวกร, อื่น) สัดสวนจาก 10%
4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ขอมูลเบื้องตน: การเปลี่ยนแปลงผานประเทศไทย 3.0 (อุตสาหกรรม 3.0 ไปสูประเทศไทย 4.0(อุตสาหกรรม
4.0) เพื่อปฎิ รูป โครงสรางเศรษฐกิ จเป นการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีนั้น โดยทําใหประเทศมีความเขมแข็งจาก
ภายใน รวมทั้งการเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจภายนอกดวยจะตองเตรียมการเปลี่ยนแปลง ดวย
1.ทําความเขาใจการเปลี่ยนแปลงกับธุรกิจใหม ทั้งตนนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา
2. การใชขอมูลสารสนเทศใหเกิดประโยชนสูงสุด
3. การสรางความรวมมือทุกๆฝาย
4. การเพิ่มทักษะแรงงาน
5. การเขาถึงและเขาใจลูกคามากขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-31


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

6. ความรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
7. การปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา
สัมภาษณ: จากการที่ประเทศไทย กําลังไปสูสังคมสูสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณในอีกไมกี่ปขางหนา หากไม
สามารถเตรียมทักาะแรงงานเพื่อรับรองอุตสาหกรรม 4.0 ไดทัน ก็จะเกิดสภาวะการขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะฝมือ
ที่ตรงตามตองการ รวมทั้งสภาวะแรงงานวางานสูง เนื่องจากมีแรงงานที่มีทักาะฝมือไมตรงตามความตองการ ดังนั้น
การนําแรงงานผูสูงอายุสวนหนึ่งกลับมา รวมทั้งการพัฒนาแรงงานที่มีอยูเดิมดวยการ up skill , change skill และ
multi skill
และที่สําคัญที่สุดที่จะตองเรงดําเนินการคือ การปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ซึ่งอาจจะตองปรับโครงสรา ง
ทั้งหมด เปลี่ยนตาม 5 กลุมเทคโนโลยี และนวัตกรรมหลัก คือ แรงงานที่มีความรูความเชี่ยวชาญในกลุมอาหาร เกษตร
และเทคโนโลยีชีวภาพ กลุมสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย กลุมเครื่องมืออุปกรณอัจฉริยะ หุนยนต
และระบบเครื่ อ งกลที่ ใ ช ร ะบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ค วบคุ ม กลุ ม ดิ จิ ทั ล เทคโนโลยี อิ น นเตอร เ น ต เชื่ อ มต อ อุ ป กรณ
ปญญาประดิษฐและเทคโนโลยีสมองกลฝงตัว และกลุมอุตสาหกรรมสรางสรรค ทุนวัฒนธรรมและบริการที่มีมูลคาสุง
โดยมีพื้นฐานดานทักษะในการจัดลําดับความสําคัญ ทักษะดานการสื่อสาร ทักษะการปรับตัว และสามารถ
จัดารกั บ ความเปลี่ย นแปลงไดดี มีความอดทนในการทํางาน และทํา งานในสภาวะกดดันได มีภ าวะการเปนผูนํา
สามารถสรางนวัตกรรมที่แตกตางได สามารถพัฒนาศักยภาพของตัวเอง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-32 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

22. หนวยงาน สมาคมอุตสาหกรรมยานยนตไทย (TAIA)


ผูใหสัมภาษณ คุณองอาจ พงศกิจวรสิน คุณสุรพงษ ไพสิฐพัฒนพงษ
วันที่ใหสัมภาษณ 10 สิงหาคม 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของโดยหลักก็จะเปนอุตสาหกรรมยานยนต แตละมีเสริมในสวนของอุตสาหรรมปโตรเคมี
อุตสาหกรรมพลาสติก เหล็ก ที่มีการทํางานรวมกัน
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในส ว นของผลกระทบของอุต สาหกรรมยานยนตใ นเรื่ อ งของแรงงานนั้น เบื้ อ งตน ไมมีผลกระทบมากนั ก
เนื่องจากเปนอุตสาหกรรมที่มีการใชเทคโนโลยีมานานแลวในการดําเนินงานของอุตสาหกรรมเนื่องจากเปนสวนที่ตองมี
ความแมนยํา ความปลอดภัย แตถาในระยะยาวสมาคมมองวาจะมีผลกระทบในแงของการจัดหาแรงงานที่สามารถตอบ
โจทยไดทํางานไปกับเทคโนโลยี
หากแยกออกเปนสวนๆ เริ่มจากในสว นการผลิตรถยนตเปนสวนที่ใชเทคโนโลยีอยูแลวทั้ง ตั้งแตเรื่อ งของ
โครงสรางรถ การพนสีตัวรถ การยกของตางๆที่มีน้ําหนักเยอะเมื่อมีการใชเทคโนโลยีมากขึ้นก็ทําใหแรงงานหายไปอยู
แลว แตจากการที่จํานวนการผลิตเพิ่มขึ้นทําใหเกิดความสมดุลกันจึงทําใหไมมีการลดแรงงานคน และยังไมจําเปนที่
จะตองใชเทคโนโลยีทั้งหมดโดยมองวาจะคงที่แบบนี้ไปถึงระยะเวลา 10 ป
ในสวนของชิ้นสวนยานยนตก็ยังไมมีผลกระทบมากเชนกันเนื่องจากยังใช robot ไมมากก็ตาม แตปจจุบันก็
พยายามที่จะเพิ่มในสวนของ robot เพิ่มเขามามากขึ้นก็จําเปนตองมีการพัฒนาแรงงานมากขึ้น ซึ่งมองวาหากใชทักษะ
มากขึ้นแรงงานไทยไมมีผลกระทบแตจะเปนแรงงานตางดาวที่เปน worker unskill ทํางานซ้ําๆ จะมีผลกระทบ
ในสวนของการจัดจําหนายก็ยังไมมีผลกระทบและสมาคมไมไดลงไปในสวนตรงนี้
ในสวนเรื่องที่เกี่ยวกับยานยนตไฟฟาทางสมาคมเห็นวาในชวงระยะเวลาสั้นๆมองวายังไมมีผลกระทบและมอง
วาอีกนานกวา 15 ปกวารถยนตไฟฟาจะเกิดขึ้น แตก็ควรจะมีการเตรียมความพรอมดวยเชนกันในระยะยาวๆ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-33


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/


ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ประเภทของแรงงานที่ทางอุตสาหกรรมยานยนตใช ในสวนของโรงงานก็จะใชทั้งชางเชื่อม ชางกล แตชางยนต
จะไมใชเยอะมากและทางสมาคมบอกวาทางผานมาจํานวนของชางยนตจะเยอะเกินไปไมตอบโจทยควรนําไปใชในสวน
ของงาน service มากกวา และถาในสวนของงานชิ้นสวนก็จะมีชางแมพิมพที่ตองดูแลงานตรงนี้ดวย โดยสัดสวนอยูที่
ประมาณ ชางเทคนิค 30 % เอนจิเนีย 10 % นอกนั้นจะเปนแรงงาน Worker ทั่วไป ซึ่งตอไปก็จะพยายามยกระดับ
เพิ่มในสวนของชางเทคนิค เอนจิเนียเพิ่มขึ้นตามการเปลี่ยนแปลง
โดยในปญหาของการขาดแคลนแรงงานยังไมมี เนื่องจากมองวายานยนตเปนเหมือนตัวดูดแรงงาน มีการจาย
คาตอบแทนสูงกวาอุตสาหกรรมอื่นๆ
เพิ่มเติมในสวนของการออกแบบรถยนตจะเปนเริ่มจากในแรงงานในสวนสถาปนิคที่เปนคนออกแบบ ตอมา
การทําโมเดลการประกอบก็เขาสวนของวิศกรรมยานยนตผสมเครื่องกล การเทสรถยนตก็จะเปนวิศวกรรมเชนกัน
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ทางสมาคมกลาววาแรงงานที่เขาสูอุตสาหกรรมสวนใหญท่ีเขาไปยังใชไมไดเลย ตองมีการเขาไปเหมือนเปน
การเรียนรูงานใหม เขามาฝกทักษะกันเองในโรงงาน แตในระยะหลังเริ่มมีการแกปญหาโดยการนําแรงงานที่ยังศึกษา
อยูเขาไปฝกในโรงงานกอน คือเรียนไปดวยฝกงานไปดวย ยกตัวอยางบริษัทยักษใหญ ก็นํานักศึกษาทั้ง ป.ตรี ปวส. เขา
มาทํางานเลยตามสายงานโดยตรงในขณะกําลังศึกษาอยู
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ในสวนของแนวโนมเปนที่แนนอนที่จะตองมีเครื่องของเทคโนโลยีเขามาแทนในสวนของแรงงาน โดยที่แรงงาน
จะตองมีสวนเพิ่มขึ้นในเรื่องของทักษะตางๆมากขึ้น
๑. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะที่ตองการจะเนนไปสายวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส พวกที่จบมาทางคอมพิวเตอร อิเลกทรอนิกส การ
เขียนโปรแกรมซอฟแวรตางๆ สามารถทํางานทั้งในสวนของเครื่องกลได ในสวนของไฟฟาไดดวย ควบคูกันไป ปจจุบัน
ก็มีการเตรียมความพรอมและปอนแรงงานเหลานี้เขาไปแลวดวย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-34 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ทางสมาคมก็มีการหารือในเรื่องของการเตรียมความพรอมในการสรางคนแรงงานโดยรวมกับทางกระทรวง
แรงงาน กระทรวงศึกษา สภาพัฒนา โดยใหสอดคลองกับความตองการของอุตสาหกรรมยานยนต และจะดูในภาพรวม
ชวยคุยกับทางรัฐบาลในการวางแผนภาพรวม
สวนในการพัฒนาคนงานขององคกรเอกชนก็จ ะเปนเรื่องของทางบริษัทนั้นๆ เขามาลงทุนในการพัฒ นา
แรงงานเองตามเทคโนโลยี มีหลายบริษัทที่เขาไปเปนพันธมิตรกับมหาลัยตางๆ เพื่อดึงแรงงานและพัฒนาใหทันการ
เปลี่ยนแปลง
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar และ
white collar)
อยากแนะนําในสวนของการศึกษาที่เนนไปในเรื่องของเทคโนโลยีใหมากขึ้นเนื่องจากตอไปตองใชแรงงานที่มี
ทักษะเหลานี้เพิ่มขึ้นในอุตสาหกรรมยานยนต พรอมยกตัวอยาง มหาลัยสุรนารีที่ในการเรียนการสอนมีการนํา Line
Robot เขามาตั้งในการเรียนการสอนเด็กก็ไดเรียนรูจริง

ประเด็นอื่นๆ
 ทางสมาคมมองวา ณ ปจจุบันในสวนของอุตสาหกรรมยานยนตนั้นยังอยูที่ 2.5 ยังไมถึงขนาดที่จะเขาสู
ระดับ 4.0
 รถยนตไฟฟาทางสมาคมบอกวาไฟฟาจริงๆยังไมมีเกิดขึ้นมากในไทย และคนไทยมองวาไฮบริดคือ
รถยนตไฟฟาแตจริงๆแลว ระดับโลกมองวาไมใช ซึ่งรถยนตไฟฟาในมุมมองของสมาคมคือ plug in
Hybrid โดยก็มีผลิตแลวของ BMW BENZ ปญหาดานแรงงานไมมีเนื่องจากเปนเรื่องของการประกอบ
เปนสวนใหญ และแนวโนมความตองการในตลาดยังไมมีมากพอ และแนวโนมในป 2030 ของโลกนั้น
รถยนตที่ออกมา 100 คันมีรถไฟฟาเพียง 20 คัน ซึ่งมองวายังเปนสัดสวนที่นอย
 ในสวนของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของเชน สถานีประจุไฟฟาทางสมาคมบอกวาคายรถยนตไมไดทําเอง
เปนสวนงานของบริษัทอื่นๆจึงไมมีความเห็นในเรื่องนี้
 กลาวเพิ่มวายานยนตไทยก็ควรพัฒนาตลอด ไปตามในสวนของประเทศญี่ปุน หรือตางประเทศอื่นๆให
ทันอยูเสมอ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-35


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

23. บริษัทไทยซัมมิท โอโตพารท อินดัสตรี จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณสกุลธร จึงรุงเรืองกิจ
วันที่สัมภาษณ วันที่ 20 ส.ค. 61
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอตุ สาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
บริษัทไทยซัมมิทอยูในอุตสาหกรรยานยนต โดยใหความสําคัญกับนวัตกรรมตางๆ โดยมี Testing Center ที่
ใหญที่สุดในประเทศไทยในการเทสอุปกรณตางๆ รวมถึงรถกอลฟไฟฟาที่สามารถใชไดนานที่สุด โดยจากเดิมธุรกิจเปน
ลักษณะ B2B อยางเดียวก็เริ่มปรับสู B2C ดวย อีกทั้งก็เริ่มนําเขาเทคโนโลยีในการผลิตรถไฟฟาเขามานํามาศึกษาใน
หลายๆดาน
จากการที่ใชนวัตกรรมมากขึ้นและจากการที่มีการขึ้นของคาแรงในสวนของการใชแรงงานคนในโรงงานนั้นเริ่ม
มีการปรับอัตราของแรงงานคนที่ลดลง โดยตั้งเปาไววา 1 คนของบริษัทจะตองสามารถสรางยอดขายได 5 ลานตอคน
ตอป ซึ่งแตกอนจากการที่บริษัทใชแรงงานถูกมาตลอดนั้นยังไมสามรถตอบโจทยการทํางานของบริษัทได ดังนั้นจึงทํา
ใหเห็นวาการที่บริษัทจะอยูรอดไมไดขึ้นกับคาแรงที่ถูกแตจะขึ้นอยูกับความสามารถในการพัฒนาแรงงานใหดี และเมื่อ
มีแนวคิดแบบนี้บริษัทจึงนําเทคโนโลยีตางๆเขามา ซึ่งมองวาบริษัทของตัวเองนั้นมี Robot มากที่สุดถึง 2,300 ตัว จาก
แตกอนเมื่อ 5 ปที่แลวบริษัทมมีเพียง 1,200 กวาตัว ทางบริษัทไดยกตัวอยางบริษัทที่ประเทศญี่ปุนที่แรงงานคน 1 คน
สามารถสรางรายไดถึง 8 ลาน โดยบริษัทนั้นเปนบริษัทที่ใชคนนอยมาก มองในตัวเลขสามารถลดแรงงานคนไดถึง 50 %
โดยนโยบายในการลดแรงงานคนในอีก 5 ป นั้นบริษัทไมไดเจาะจงวาจะลดสวนไหนเปนหลักแตพยายามจะ
ลดแรงงานคนลงในทุกๆสวนทุกๆโปรดัก ตั้งแตสายไฟ พลาสติก เหล็ก เปนตน
ในแงของ Supplier ทางบริษัทก็ใหความชวยเหลือในการปรับตัวตางๆ ทั้งการลดคาใชจาย ในการจายเงิน
ตางๆ จากใชคนขนสงเอกสารก็ปรับเปลี่ยนใชระบบอินเตอรเน็ตไมตองใชคนมายืนยันติดตอเอกสาร ในแงการผลิต
หลายๆ Supplier เริ่ มมี ก ารตื่น ตัว ไมม ากนั ก แต บ ริ ษั ท ไทยซั ม มิ ท ก็ เ ข า ไปช ว ยให ในการให บ ริ ษั ท นั้ น ๆเข า มาใช
เทคโนโลยีที่เรามี เพราะวาเรื่องตางๆเหลานี้ตองใชเงินลงทุนจํานวนมาก
ในสวนของลูกคาของไทยซัมมิทตองบอกวาเราวิ่งตามกันทันในเรื่องของเทคโนโลยีตางๆ ยกตัว อยางคา ย
รถยนตที่เราไมสามรถรูความตองการสินคาลวงหนาได บริษัทก็สามารถสนับสนุนความตองการไดทันที เปรียบโรงงาน
เปน inventory ของลูกคา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-36 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแ รงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาด


แคลนแรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ในสวนของลักษณะการจางแรงงานในสวนของที่เปน Blue Collar สวนใหญบริษัทจะจางเปน Out source
เปนหลัก โดยแรงงานสวนนี้ก็มีทั้งเขาทั้งออก หากบริษัทขยายไลนธุรกิจใหมๆก็เปนที่แนนอนที่จะตองจัดหาแรงงาน
เหลานี้เขามา
ในสวนของลักษณะการจางงานในสวนของที่เปน White Collar ก็มีทั้งแรงงานเขาออกตลอดเปนแรงงาน
ประจํา หากมีธุรกิจใหมก็หามาเติมเชนเดียวกัน หากมองในสวนของทักษะของแรงงานจะตองสามารถใชงานในสวน
ของ Robot ได
เพิ่มเติมมองวา ประเทศไทยอยูในยุค ที่แรงงานขาดตลาด โดยเฉพาะคนที่มีทัก ษะความสามารถนั้น เปน ที่
ตองการจึงทําใหเกิดปญหาสมองไหลเปนปกติอยูแลว อีกทั่งบริษัทก็ไดมีการนําเขาแรงงานจากตางประเทศ ในสวนของ
วิศวกรมาจากประเทศญี่ปุน 20 กวาคน
1.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มองในสวนของแรงงานที่จบมาใหมนั้น ทางผูใหสัมภาษณมองวาไมสามารถไปคาดหวังกับสถาบันการศึกษา
ตางๆได ซึ่งสวนใหญก็จะมีความรูความเขาใจมานิดหนอย อีกทั้งมหาลัยสถาบันตางๆก็ไมมีหลักสูตรที่สามารถทํางาน
ในการเขี ยน PLC หรือการวิเคราะห Big Data ตางๆก็ยังไมคอยมี โดยแนวทางการแกปญหาก็คือการนําแรงงานที่
เขามาใหมเหลานี้มาเทรน มาฝกรวมกับ Robot ที่บริษัทมี และทางบริษัทก็จะมีคอสเรียนใหกับพนักงานตางๆเหลานี้
โดยใชตนทุนของบริษัทเอง
เสนอเพิ่มเติมวาสถาบันตางๆ ควรเขาไปพูดคุยและทําพันธมิตรกับบริษัทที่ดําเนินการในเรื่องของ Robot หรือ
เทคโนโลยีตางๆ ดวยเพราะหากไมมีตรงนี้ในสวนของการเรียนการสอนที่จะผลิตแรงงานเขาสูตลาดจะไมทนั เทคโนโลยี
ที่ไปไกลอยางรวดเร็ว
ป จ จุ บั น ทางบริ ษั ท กํ า ลั ง จะจั บ มื อ กั บ ทางมหาลั ย ธรรมศาสตร ใ นเรื่ อ งของการ AI ตั ว แรก โดยจะจ า ง
ธรรมศาสตรในการทําสิ่งนี้ขึ้นเปนตัวแรกของไทยซัมมิทภายในปนี้
1.4 อุตสาหกรรมของทา นมีแ นวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แ รงงานมากนอย
เพียงใด
บริษัทจะเริ่มนํา AI เขามาใชทดแทนในสวนของแรงงานคนที่เปน White Collar ในการจัดการเรื่องของงาน
Admin งาน HR เขามาคิดแทนคน แตในสวนงานของบัญชีแรงงานจะคงยังไมลดนอยลงหรือหายไปและมองวาจะเปน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-37


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

หนวยงานสุดทายที่หายไป เนืองจากขอจํากัดทางกฎหมายตางๆรวมถึงการแสดงผลการวิเคราะหตางๆในการดูตนทุน
ยังซับซอนอยู AI อาจจะไมสามารถทําได
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
มองวาในเรื่องทักษะของการคิดสรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ รวมถึง R&D ที่จะเปนตัวพัฒนาสิ่งตางๆที่ถูกคิด
ขึ้นมา และเพิ่มในสวนของทักษะการบริหารจัดการเพิ่มดวย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
มองวาอุตสาหกรรมหุนยนต อุตสาหกรรมสรางสรรคสามารถเติบโตไดอีกมาก และมองวาประเทศไทยนั้น
เติบโตต่ํามากในสวนนี้ โดยเนื่องจากการที่เปนอุตสาหกรรมสรางสรรคนั้นสามารถโตไดอยางไมจํากัดและเปนเรื่อ ง
ใหมๆ ใครก็สามารถเขามาทําได ดังนั้นจึงเปนโอกาสที่ดี และรัฐควรเขามาปกปองความคิดที่เกิดขึ้นมา เพราะหากไม
ปกปองมองวาหลายๆอยางอาจจะไมเกิดขึ้น
เพิ่มเติมสวนของอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพก็มองวาเปนโอกาสสําคัญและมีอนาคต ทั้งสวนของขยะที่มองวา
ประเทศไทยยังไมสามารถนําสิ่งตางๆเหลานี้กลับมาเปนพลังงานได
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
มีความเห็นวาพวกบริษัทเอกชนที่ดําเนินการเกี่ยวกับ Robot จะมีความสําคัญมีบทบาทมาก ซึ่งมองวามหาลัย
ตางๆ ควรเขาไปศึกษาเพื่อจัดทําหลักสูตรตางๆเหลานี้ใหเกิดขึ้นมา เขาไปเรียนรูเปนพันธมิตรกับบริษัทนั้นๆ โดยใน
สวนของภาครัฐก็ตองเขามาสนับสนุนสวนนี้ดวย
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ขอเสนอแนะมองวาเด็กสมัยใหมจะตองลดการเรียนบางประเภทลงและเสริมสรางทักษะบางประเภทเพิ่มขึ้น
โดยอยากใหภาครัฐบาลใหความสําคัญในเรื่องของเทคโนโลยี AI Big Data รวมถึงระบบออโตตางๆ และนอกจากเรื่อง
แรงงานแลวตองสนับสนุนใหคนไทยนั้นทํา R&D ใหมากขึ้นรวมกับการทําศูนยทดสอบเพราะจะสามารถทํางานควบคู
กันไปได
ประเด็นอื่นๆ
 บริษัทมีการรวมกับบริษัท Robot ตางๆ ในการเรียนรูแลวเขามาสอนมาพัฒนาแรงงานของบริษัทแลวก็นํามา
พันธมิตรกัน
 ในแงของการขยายไลนการผลิตไปสูอุตสาหกรรมอื่น ๆ บริษัทมองวาในสว นของเครื่องบินคงจะไมเ ข า ไป
ดําเนินการและไมสนใจ เนื่องจากไมรูวาจะเขาไปทางไหน สวนของรถไฟก็ยังไมแนใจวาจะทําแตถาวันใดวัน
หนึ่งมีหนวยงานติดตอเขามาก็มีความสนใจที่จะทํา แตจะไมสนใจหากเขาไปทําในสวนของการซอมบํารุงสนใจ
ในสวนของการผลิต การออกแบบหรือ R&D เปนงานที่มีมูลคา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-38 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรมดิจิทัล

24. หนวยงาน บริษัท ชิปปอป จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณหนึ่ง จันทรชัยโรจน
วันที่ใหสัมภาษณ 8 ตุลาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํ า และปลายน้ํา ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องจะเปนการขนสงและอีคอมเมิรซ
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
บุคลากร สวนใหญไมขาดแคลน จะขาดแคลนบุคลากรดาน IT และบุคลากรที่ตองการความสามารถเฉพาะ
ทาง เชน โปรแกรมเมอร ดีไซนเนอร UX UI
1.3 ป จ จุ บั น ผู สํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี ห รื อ มี ไ ม เ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ผูสําเร็จการศึกษามีทักษะที่ตองการ แตใชเวลาในการสรรหาอยางมาก กวาจะพบบุคคลที่มีทักษะตรงตาม
ตองการ
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนมใช AI เพื่อพัฒนาขอมูลและวิเคราะหขอมูลแตไมมีโอกาสที่จะใช AI ทั้ง 100% ยังตองใชบุคลากรที่
มีทักษะที่จําเปนอยู
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ทักษะ ดาน IT และความรูเฉพาะทางโดยเฉพาะ เชน โปรแกรมเมอร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-39


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


รวบรวมหลากหลายลดขั้นตอนการทํางานประหยัด ไมใชขนสงเอง จึงทําไดเพียงติดตอประสานงานเทานั้น
ต น ทุ น เปลี่ ย นการทํ า งานจากแบบเดิ ม มาเปน ใน
รูปแบบออนไลน
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
ยั ง มี ข นส ง อี ก มากมายที่ ส ามารถนํ า มาเข า ร ว ม ภาครั ฐ ไม เ ข า ใจในการเปลี่ย นแปลงจากการทํ า งาน
แพลทฟอรม แบบเดิม ๆไปสูเทคโนโลยี นวัตกรรมที่เขามาชวยใหการ
ประกอบกิจการแบบเดิมดีขึ้น

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อุตสาหกรรม สรางสรรค
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
หนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่สนับสนุนเชน สสว. NIA กระทรวงตาง ๆที่เกี่ยวของรวมถึงกรมสรรพากร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-40 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
โปรแกรมเมอร ตําแหนงบงบอกทักษะอยูแลว ปริญญาตรี 40%
ดีไซน UX UI
เจาหนาที่บัญชี มีความรูดานบัญชี ปริญญาตรี 10%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
พนักงานขาย มีทักษะในการนําเสนอ ปริญญาตรี 30%
เจาหนาที่ประสานงาน มีทักษะในการแกปญหา ปริญญาตรี 20%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ปจจุบันเนื่องจากมีความกาวหนาทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลง โดยมีเทคโนโลยีเขามาปรับเปลี่ยนวิถี
ชีวิตรวมถึงรูปแบบการดําเนินการตาง ๆ อยางรวดเร็ว ดังนั้นทักษะที่เสนอควรมีดังนี้
1. ทักษะดานไอที โปรแกรมเมอร ซึ่งปจจุบันขาดแคลนและหายากมากในตลาด
2. ความรูดาน online ดานตาง ๆปจจุบันมีเครื่องมือชวยในการทํางานดานตาง ๆ ไมวาจะเปนเครื่องมือตางๆ
ของ google หรืออื่น ๆ ซึ่งถาบุคลากรมีความรูดานนี้จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหกับองคกรไดดี
3. ควรจะมีการปลูกฝง วัฒนธรรมองคกรแบบ start up ให ตั้งแตตอนเรียนอยูเพื่อใหบุคลากร พรอมที่จะ
แกปญหาและเจอปญหาใหมๆอยูเสมอ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-41


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

25. หนวยงาน บริษัท คอมพิวเตอรโลจี จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณนิชกานต โสภา
วันที่ใหสัมภาษณ 8 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอตุ สาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา
และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของอุตสาหกรรม
ในอนาคต
ตนน้ํา ผูผลิต computer หรือ gadget ตางๆ และระบบทางสารสนเทศ
กลางน้ํา ระบบที่บริษัทใชงาน
ปลายน้ํา กลุมลูกคาที่ใชระบบจะเปนองคกรธุรกิจทั่วไปที่ตองการนําผลิตภัณฑของเราเปนตัวชวยในการเขาถึง
ลูกคา
1.2 ลั กษณะการจา งงานในอุตสาหกรรม (ใชแ รงงานประเภทไหนเปน สวนใหญ) มีปญ หาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ขาดแคลนแรงงาน IT ศึกษาที่มา ติดตอสถานศึกษาเพื่อ นําเสนอตําแหนงสําหรับนิสิตจบใหม กอนที่จะเขาสู
ตลาดแรงงาน
1.3 ป จ จุ บั น ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี ห รื อ มี ไ ม เ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีทักษะที่ตองการ แตยังไมเพียงพอ

1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด

บริษัท มีแนวโนมที่จะใชระบบ AI เพื่อที่ละลดปริมาณแรงงาน


1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
สาขาเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิศวกรรมคอมพิวเตอร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-42 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
1.วิศวกรรมคอมพิวเตอร (ชื่อตําแหนง บงบอกทักษะอยูแลว) ปริญญาตรี 40%
ปริญญาโท-ปริญญาเอก 10%
2.Software engineering (ชื่อตําแหนง บงบอกทักษะอยูแลว) ปริญญาตรี 40%
ปริญญาโท-ปริญญาเอก 10%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
1.Production manager (ชื่อตําแหนง บงบอกทักษะอยูแลว) 1.ปริญญาตรีขึ้นไป 10%
2.Software engineering 2.ปริญญาตรีขึ้นไป 70%
3.customer support ดูแลลูกคาที่ใชระบบ ปริญญาตรี 10%

4.sale นําเสนอระบบ,ดูแลลูกคา ปริญญาโท-ปริญญาเอก 1%


ปริญญาตรี 9%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

1.พนักงาน IT ดูแลระบบติดตอลูกคา ปริญญาตรี

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
การฝกอบรมแรงงานเปนสิ่งสําคัญที่สามารถเพิ่มทักษะแรงงานที่มีอยูใหปรับตัวเขากับยุค 4.0 ได ซึ่งควรจะ
ฝกอบรม ทั้งในดานสายงานที่ปฎิบัติ และทักษะที่สําคัญไมนอยไปกวากันคือ ทักษะทางอารมณและสังคม เปนสวนที่
จะทําใหแรงงาน สามารถอยูรวมกัน ทํางานเปนทีมที่มีประสิทธิภาพไดมากยิ่งขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-43


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

26. หนวยงาน บริษัท โปร-ทอยส จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณบุญชัย วงศบวรเกียรติ
วันที่ใหสัมภาษณ 10 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อยูในอุตสาหกรรมปลายน้ํา แนวโนมมีทิศทางคอยๆ ดีขึ้น แตไมหวือหวามาก ทั้งในสวนธุรกิจการจัดงาน อี
เวนท การทํามีเดีย เปนตน
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
พบปญหาการหาตําแหนงงาน marketing sale และระดับทีมเทคนิค เพราะถูกบริษัทใหญซื้อตัว ตลอดจน
เปนทางเลือกระดับปลายๆ ของแรงงานเหลานี้
1.3 ป จ จุ บัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขาสูต ลาดแรงงานมีทัก ษะที่ตอ งการหรือไม ถา ไมมี หรือมีไ มเ พียงพอ มี
นโยบายแกปญหาอยางไร
มี แตตองไดรับการพัฒาเพิ่มมากขึ้นโดยเฉพาะวุฒิภาวะ ตลอดจนวิธีการปฎิบัติงานในเชิงคุณภาพ
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด

ณ วันนี้ไดมีการประยุกต AI มาใชผลิตภัณฑ แตในสวนของระบบการทํางานยังไมไดมีการนําสิ่งเหลานี้เมาใช


1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
มีความสําคัญเปนอยางยิ่งไมเพียงแคความสามารถเทานั้น แตในเรื่องแนวความคิดการตอยอดเหลานี้ ยัง
นอยมากสําหรับแรงงานในปจจุบัน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-44 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


ดี แต ไมควรไดจากการเริ่ม แลวทั้งธุรกิจเดิมๆ ที่ ตองปรับทัศนคติของแรงงาน ตอการอยูรวม และพัฒนา
เปนฐานใหญ อาจตองมีประยุกตเพื่อพัฒนาเคียงคู ในเชิ ง คุ ณ ภาพแทนการเน น แรงงานและปริ ม าณ
กันไป ที่สําคัญชีวิตเราจะสะดวก รวดเร็วขึ้น ตลอดจนนําแนวคิดเหลานี้มาประยุกตไมนั้นจะเกิดการ
ไมยอมรับ เพราะมองเปนการแยงงานจากนวัตกรรม
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
ก า วตามโลกทัน ทัน สมัย ลดกระบวนการ ความ ทุกคนตางทะยานไปในแบบเดียวกัน ทั่วทั้งโลก แตเรา
สะดวกมากขึ้น ลดการพึ่งพิง จะโต มีเพียงวิธีคิดที่ตอ งเหมือนๆคนอื่นในโลกนี้จริงหรือ
แลวจะโอกาสไดอยางไร หากเราตามกระแสโลกก็เพียง
ไดแคตาม ดีมาหนอยก็ตามทัน แยหนอย เราเสียรู เสีย
เงินมากมาย เพื่อใหนวัตกรรมเทาเขา เนนคุณภาพดีกวา

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อุตสาหกรรมดานการใหบริการโดยเฉพาะภาครัฐ ทุกวันนี้ ยังตองสําเนา ทําได เร็วและดี
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ทุกหนวยงานและตองทําแบบเชื่อมโยงถึงกันไดจริง
3. ความตองการแรงงาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-45


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง


น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
การตลาด การขาย และการตลาด ปริญญาตรี 50%
นวัตกรรม ดานเครื่องมือกลไก และโปรแกรมมิง ปริญญาตรี 50%

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
อีเวนท ครีเอทีฟ ปริญญาตรี 50%

โฆษณา และประชาสัมพันธ Digital marketing ปริญญาตรี 50%

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

- - - -

4.ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
สรางความหลากหลาย อยาระดมมุงไปอยางใดอยางหนึ่ง พัฒนาตั้งแตเด็กไมใชเนนในอุดมศึกษา จะมุงเนนใน
เรื่องของการสรางสรรค มากกวาการทําตามยอมรับความแตกตาง จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนระหวางสถาบัน เปนตน

27. หนวยงาน บริษัท ซีคด็อก จํากัด

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-46 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ผูใหสัมภาษณ คุณวลัยพรรณ ฉันทรมิตรกุล


วันที่ใหสัมภาษณ 12 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
2. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํ า และปลายน้ํา ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรมตนน้ํา IT
กลางน้ํา Design
ปลายน้ํา Healthcare
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
- ปญหาการขาดแคลนแรงงานดาน IT
- แนวทางในการแกปญหา รับเด็กจบใหม
1.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ มีนโยบาย
แกปญหาอยางไร
- แรงงานมีทักษะที่ตองการ ไมเพียงพอ
- นโยบายการแกปญหา คือ สอนเองบาง
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนมมากที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงาน
15. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
IT หรือ Designer ที่เขาใจอุตสาหกรรม Healthcare เขาใจ User Experience and User journey

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-47


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
รั ฐ บาลออกนโยบาย ลดการใช น้ํ า มั น และหั น มาใช พ ลั ง งานสะอาด ลดโลกร อ น เช น พลั ง งานลม
พลังงานไฟฟา
3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
วิศวกรคอมพิวเตอร Developer ปริญญาตรี 30%

วิศวกรคอมพิวเตอร CTO ปริญญาโท 30%

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
Designer UI/UX มีความรูดาน Healthcare ปริญญาตรี 20%

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

SALE มีความรูดาน Healthcare ปริญญาตรี 20%

กลุมหุนยนตเพื่ออุตสาหกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-48 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

28. หนวยงาน สถาบันไทย-เยอรมัน


ผูใหสัมภาษณ คุณสมชาย จักรกรีนทร
วันที่ใหสัมภาษณ 22 สิงหาคม 2561
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
จากใน 10 อุตสาหกรรมเปาหมาย อุตสาหกรรมที่สถานบันไทย-เยอรมันเกี่ยวของดวยมากที่สุดคือ ยานยนต
ไฟฟา และ อิเล็กทรอนิกสอัจริยะ
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ดวยความที่นโยบายอุตสาหกรรม 4.0 เพิ่งเริ่มตนในประเทศไทย เพราะฉะนั้น ทุกๆอุตสาหกรรมตางตอง
พัฒนาผูประกอบการใหสามารถมีสวนแบงตลาดดวยกันทั้งนั้น และเนื่ เทรนดของอุตสาหกรรมคงหนีไมพนเทคโนโลยี
จึงกลายเปนวาเราสรางบุคลากรเพื่อมาแทนที่แรงงานคน ซึ่งหากจะถามวาความตองการแรงงานจะไดรับผลกระทบ
หรือไม มีผลกระทบอยูแลว และเปนสิ่งที่จําเปนที่จะตองยกระดับบุคลากรใหมีความสามารถมากขึ้น
อุตสาหกรรมใดบางในเทีย 1,2,3 ที่ไดรับผลกระทบในดานความตองการชชองแรงงานนั้นคงตองตอบวาทุก
อุตสาหกรรม เพราะตนมองวาไดรับผลกระทบเปนลักษณะลูกโซ ตางถูกกระทบพอๆกัน
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/
ทักษะแรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
หากมองถึงภาพรวมเรื่องการขาดแคลนแรงงานในอุตสาหกรรมเปาหมายในปจุบันและอนาคต แรงงานดาน
ชางเทคนิค ทั่วประเทศไทย ถือวายังมีจํานวนนอยมาก และยังเปนที่ตองการมากเชนกัน จึงมีแนวโนมที่จะขาดแคลน
มาก สวนวิศวกรนั้น ตนมองวาเพียงพอตอภาพรวมแลว แตตองการใหเพิ่มดานโรงงานมากขึ้น
แนวทางแกไข ตนมองวาตองไดรับความรวมมือจากสถาบันวิศกรรม และ วิทยากร โดยจัดการฝกอบรมจาก
ผู เ ชี่ ย วชาญทั้งภายในประเทศและตา งประเทศ เพื่อ ถา ยทอดศักยภาพทั้งระบบและความรูในการทํางาน เพราะ
เทคโนโลยีไปเร็วมาก จะหวังพึ่งแคระบบการศึกษาคงไมทันแลว

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-49


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ทักษะที่ขาดแคลนคงหนีไมพนดานเทคโนโลยีเพราะเปนเทรนดใหมของอุตสาหกรรมทั้งในประเทศและของ
โลก ทั้งเรื่อง ออโตเมชั่นและโรโบติกส ตนอยากใหยกระดับแรงงานที่มีฝมือจากการทํางานโดยใชแรงงานเปลี่ยนเปนให
เครื่องจักรได
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ภาพรวมอุตสาหกรรมแรงงาน ภาคการศึกษาตองยกระดับหลักสุตรการสอนนักสึกษาใหตรงกับสายงาน ตน
ตองการแนะนําใหเปลี่ยนจากการฝกงานชั้นปที่3 เปนปที่ 4 เนื่องจากปจจุบันนักศึกาฝกงานกับโรงงานหรือบริษัท
อุตสาหกรรมหนึ่ง และมีความเขาใจกับงานที่ทําอีกทั้งผูมีตําแหนงดานการจัดจางแรงงานก็ตองการนักศึกษาดังกลาว
เชนกัน แตติดปญหาที่หลักสูตรการศึกษาตองกลับมาทําโปรเจตในชั้นปที่4 ใหจบเสียกอน ตนมองวาระยะเวลานั้นไม
เชื่อมตอกัน ทําใหเมื่อนักศึกาจับชั้นปที่ 4 แลว มีแนวโนมไมสมัครงานเดิมที่ตนฝกงานหลายตําแหนง
ควรมี On The Job Training ในชั้นเรียนใหนักศึกษาซึบซับกอนเขาทํางานในโรงงาน เพราะลักษณะงาน
แตกตางจากทฤษฏีในชั้นเรียนดดยสิ้นเชิง ซึ่งเปรนผลใหบุคลากรที่มีศักยภาพและเขาใจการทํางานในโรงงานเขาสู
ตลาดแรงงานไดไมเพียงพอ ซึ่งเนื้อหาควรลงลึกดานเทคโนโลยีเฉพาะดานดวย
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
แรงงานคนยอมหายไปเปนปกติ สิ่งที่ตองเปลี่ยนแปลงคือการยกระดับใหแรงงานไมมีฝมือเปนแรงงานที่มีฝมือ
และทํางานรวมกับเครื่องจักรไดเปนอยางดี ทุกอุตสาหกรรมถูกกระทบมาจากประเทศเพื่อนบาน เพราะประเทศอื่นนํา
เครื่องจักรและปญญาประดิษฐเขามาใหอุตสาหกรรม หากเรายังคงแรงงานคนอยู สวนแบงของตลาดเราจะลดลง ตอง
อาศัยหลัก “เขาทําได เราก็ทําได และตองทําไดดีกวา”
2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทุกทักษะและสาขาที่ตองใชขับ เคลื่อน 10 อุตสาหกรรมเปาหมายลวนจําเปนทั้งสิ้น แตตองการใหเนนเน
อากาศยานมากที่สุดเพราะถือวาเปนอุตสาหกรรมใหมที่เราตองปรับตัวมากที่สุด

2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง


blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
จุ ด หมายของสถาบั น ไทย-เยอรมัน คือ ถ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารผลิ ต อุ ต สาหกรรม และเมื่ อ มี โ ครงการ
อุ ต สาหกรรม 4.0 เกิ ด ขึ้ น เราไดรั บ มอบหมายให ช ว ยส ง เสริ ม Automation และ Robotics ซึ่ ง เป น การพั ฒ นา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-50 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมปลายน้ําเปนสวนใหญ เชน งานแมพิมพ พลาสติก-โลหะ และเรื่องการบํารุงรักษาตัวเครื่องจักร ปจจุบัน


สถาบันนี้เปนทั้งเครื่องมือชวยสงเสริม ฝกอบรมบุคลากรเพื่อสงเสริมนโยบายตลอดจนเปนที่ปรึกษาอุตสาหกรรมใน
โรงงาน เรื่องการปรับปรุงเครื่องจักรตลอดมา
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar และ
white collar)
นโยบายนี้ตนมองวาเปนสิ่งที่จําเปนตองทําอยูแลว แตตองคาดการณใหไกลและวางแผนใหดี เพราะหากมัวแต
ผลิตบุคลากรแตอุตสาหกรรมไมเพียงพอ ก็เกิดปญหาการลนตลาดไดอยูดี ควรลงลึกวาเปาหมายจะไปในทิศทางใดให
ชัดเจนและขับเคลื่อนไปในทางเดียวกัน ทุกหนวยงานตองชวยกันนสงเสริมอยางเปนระบบและตอเนื่อง มิฉะนั้น หาก
หนวยวงาน A กําลังทํา แต หนวยงาน B หยุดทําและเปลี่ยนเปาหมายไปตามสมัยนิยม อาจจะเกินปญหาได กลายเปน
ดึงกันเอง ไมประสบความสําเร็จ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-51


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

29. หนวยงาน บริษัท ซีที เอเชีย โรโบติกส จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณประวีร ชนัฐชวริน
วันที่ใหสัมภาษณ 8 สิงหาคม 2561
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ปจจุบันสินคาของบริษัท มีหุนยนตดินสอ แตที่มีความสอดคลองคือ หุนยนตดินสอมินิรุนเพื่อนผูสูงวัย ที่มี
ความเกี่ยวของตั้งแตระดับตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา กลาวคือเริ่มตั้งแตงานวิจัย พัฒนา ตนแบบ ทดลองใช ไป
จนถึงปลายน้ําคือผลิตเปนสินคาสูผูบริโภค แนวโนมอุตสาหกรรมสําหรับรุนนี้ ยังคงเหมือนเดิม แตปรับปรุงใหดีขึ้นโดย
เนนซอฟตแวรเปนหลัก
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
บริ ษั ท มิ ใ ช โรงงานอุ ต สาหกรรม แต ก ารใช outsource ไปยั ง โรงงานที่ ไ ด ก ารรั บ รอง มาตรฐานแล ว
(ISD9001) จึงไมประสบปญหาการขาดแคลน
1.3 ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ทักษะไมเพียงพอ มีความรูเปนเชิงลึก ไมใชเชิงกวาง Hard Skill พูดไดแต soft Skill แทบจะไมมีเลย วิธีคน
ในขณะศึกษาฯ ควรเพิ่มเวลาการฝกงาน เริ่มตั้งแตป1เพื่อสะสมองคความรูภาคปฎิบัติ และปูทางไวเปนพนักงาน
ประจําเมื่อจบการศึกษา เปนตน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ยังไมมีแผนเพิ่มเครื่องจักร สวน AI บริษัทฯ กําลังสรางระบบ AI เพื่อผูสูงอายุใชงานผานหุนยนตดินสอมินิ
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ทักษะหรือสหวิชาที่จําเปนตอการขยาย คือ ทักษะการนําเสนอที่มีประสิทธิภาพใชเวลาสั้นๆในการนําเสนอ
และเพิ่มเวลา Q & A

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-52 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]

มีความนาเชื่อถือตอจาการรวมมือสถาบันวิจัย brand สินคาไทย คุณภาพ/มาตฐานยังไมเปนที่ยอมรับราคาสูง


แข็งแรงยอมรับสินคาไทย คิด ผลิตโดยคนไทยมีสืทธฺ ตนทุนสูง ไมมีองคความรูดานหุนยนตมากอนตั้งบริษัท
บัตรรับรอง มีวัตกรรมรับรอง และหนวยงานรัฐ

โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]

สังคมผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั่วโลกในตลาดยังไมมี หน ว ยงานรั ฐ ไม มี ป ระสบการณ กํ า หนดมาตรฐาน


สิ นคาที่ใกล เคียงดีกวา ทั้งไทยและตางประเทศการ หนว ยงานทดสอบ (คนกลาง) มีนอ ย ราคาสูงกํา แพง
ตื่นตัวของ eco system ในการทดสอบลองใช ภาษีนําเขาวัสดุ บางตัว สวัสดิการรัฐยังไมรองรับ ผูซื้อ
เขาถึงราคาไมได

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร กระทรวงพาณิชย ธนาคารรัฐ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-53


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ สัดสวน
(สาขาวิชา)
อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)

วิศวกรอุตสาหกรรม จัดชื้อ ปริญญาตรี

นักบัญชีตนทุน บัญชี ปริญญาตรี

ชางเทคนิค R&D ปวส.

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)

วิศวกรเครื่องกล/ไฟฟา ผลิต ปริญญาตรี


อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

วิศวกรเครื่องกล/ไฟฟา ควบคุมคุณภาพ ปริญญาตรี

นักบัญชี คลังสินคา ปริญญาตรี

แรงงาน พนักงานขนถาบยสินคา ไรฝมือ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-54 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

30. หนวยงาน บริษัท อารเอสที โรโบติกส จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณอินทัช อนุพรรณสวาง
วันที่ใหสัมภาษณ 29 สิงหาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํ า และปลายน้ํา ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา – Sufficiency (โรงหลอ,อุตสาหกรรมเหล็ก และ Machine ) ซึ่งเปน Partner ชิ้นสวนรถยนต
กลางน้ํา – สงใหแตละเจาทําชิ้นสวน และทางบริษัทเราเปนผูประกอบ
ปลายน้ํา – Sale, Service และ บริษัทขนสง สงมอบ
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ตํ า แหน ง งาน Controller, วิ ศ วกร Software ต อ งการระดั บ วิ ศ วกรออกแบบ และ Technician ที่ มี
ประสบการณสูง
1.3 ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ผูสําเร็จการศึกษามีเพียงพอ แตคานิยมของนักศึกษาจบใหม สวนมากตองการทํางานในตัวเมือง หรือภาค
กลาง ซึ่งบริษัทของเราอยูตางจังหวัด (อุบลราชธานี) จึงเปนเหตุผลใหจํานวนแรงงานไมเพียงพอ
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนม แนนอน ตัว หุ นยนตและเทคโนโลยี นอกจากจะมาแทนที่แรงงานคน ยังมาชวยแรงงานคนให
ทํ า งานได งายขึ้นดว ย ตัว อยา งเชน ดา นการมองเห็ น เป นตน และทําให ตนทุนของบริษัทถูก ลง กํา ไรมากขึ้น ลด
ขอผิดพลาด และเพิ่มเครดิต ตนมองวาในอนาคตจําเปนตองใหเครื่องจักรและ AI มากขึ้นเพราะคูแขงทางการคา
ตางประเทศเริ่มใชแลว

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-55


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
มีพิ้นฐานดาน Automation, Software, Machine learning และ Controller
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]

1.ฟงกชั่นที่เหมือนกับตางชาติแตราคาถูกกวา 20 % 1.ทรั พ ยากรในการสร า งหุ น ยนต ข องประเทศไทยไม


2.สินคานวัตกรรมไทยมีความรวมมือกับภาครัฐ(ภาษี) เพียงพอ จําเปนตองนําเขาจากตางประเทศ ทําใหตนทุน
3. บริ ก ารการทํ า งานในโรงงาน (ความเข า ใจ สูง อีกทั้งคูแขงทางการคา (ประเทศจีน) สามารถผลิต
สภาพแวดลอมในโรงงาน) ชิ้นสวนไดเพราะเขามีความรู

โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]


มีโปรเจคศูนย การเรียนรูโดยจับมือกับมหาวิทยาลัย แรงงานที่มีความรูความสามารถไมเพียงพอ
เทคนิคอาชีวะ และกรมพัฒนาแรงงานเพื่อรวมพัฒนา
หลักสูตรคูมือการสอน Course อบรมระยะสั้น เพื่อ
พัฒนาฝมือแรงงานใหปฏิบัติงานไดจริง

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ
Bio-hub เพราะเปนจุดแข็งของประเทศไท หากสรางในมีความแข็งแรง ผลิตแรงงาน ชวยชาวนาในเรื่อง
เกษตรอินทรีย อาจมีรายไดเขาประเทศมากขึ้น
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงแรงงาน และกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและบุคลากร ผลักดันอุตสาหกรรมใน
กาวหนา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-56 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
วิศวกรSoftware เขียนโปรแกรม ออกแบบ ปริญญาตรี 20%
วิศวกรเครื่องกล Drawing ปริญญาตรี 20%
วิศวกรไฟฟา ตามหลักสูตร ปริญญาตรี 20%
วิศวกรคอม ตามหลักสูตร ปริญญาตรี 20%
วิศวกรอิเล็กทรอนิกส ตามหลักสูตร ปริญญาตรี 20%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
ชางเทคนิค ตามหลักสูตร
ชางกลโรงงาน+พนสี ปวส. 100%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
Sales Engineer งานขาย มีความรูด านหุนยนตเปนอยางดี ปริญญาตรี 100%

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
อยากใหระบบการศึกษาผลิตแรงงานเทคนิคที่มีความรูเรื่องเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่ง ณ ปจจุบัน อาชีวะทเคนิค ที่
ตรงตามความตองการ ยังนอย เรียนหลักสูตรแบบเดิม ไมยอมเปลี่ยนแปลงเมื่อเขาสูอาเซียนแลว อาจจะโดนกระทบใน
หลายๆมุม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-57


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

31. หนวยงาน บริษัท โรบอท เมคเกอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณเบญ
วันที่ใหสัมภาษณ 24 สิงหาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
หากจะระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และอุตสาหกรรมปลายน้ําของธุรกิจตนนั้น สามารถระบุไดดังนี้
ตนน้ํา – อุตสาหรรมอิเล็กทรอนิกส และแบตเตอรรี่
กลางน้ํา - R&D และ ประกอบสิ้นสวนเครื่องจักร
ปลายน้ํา – Sales , โฆษณา ชองทางการจําหนาย
ส ว นแนวโนม ของธุ ร กิ จ ในอนาคตมี ก ารวางแผนการเปลี่ ยนชิ บ ประมวลผล ทํ า รู ป ภาพ CPU ซึ่ ง อาจมี
ผลกระทบตออุตสาหกรรมตนน้ําที่จะตองมีการเปลี่ยนแปลงตามมา

1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน


แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ส ว นใหญใ ชแ รงงานเฉพาะดา น คือ Machine Learning , Machanical และ Electronics ซึงแรงงาน
ดังกลาวตนมองวายังคงขาดแคลนเนื่องจากวา สาขาวิชาที่ผลิตแรงงานนี้มีขอบเขตกวางมาก สามารถแตกแขนงไป
ทํางานไดหลายประเภท เมื่อเทียบกับอุตสาหกรรมที่ตองการแรงงานนี้มนปจจุบัน ถือวายังมีความขาดแคลน สวน
แนวทางแกไขปญหา ขอยกใหกระทรวงศึกษา และหนวยงานพัฒนาศักยภาพแรงงานเขามาชวยเหลือดานนี้
1.3 ป จ จุ บัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไ มเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ผูสําเร็จการศึกษาในปจจุบัน (ดานวิศวกรรม) หากมองถึงธุรกิจของตนนั้น ตนมองวามีทักษะที่ตนตองการ
พอสมควร เนื่องจากตนโชคดีที่ไดแรงงานจากนักศึกษาที่จบจากมหาวิทยาลัย พระจอมเกลาธนบุรี ซึ่งมีสาขาวิชาที่ตอบ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-58 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

โจทยกับแรงงานที่ตนตองการเปนอยางมาก เมื่อเรียนจบแลวสามารถเขามาทํางานไดเลย ไมจําเปนตองมีการเท


รนหรือฝกฝนเพิ่มเติมแตอยางใด
อยางไรก็ตาม หากมองถึงภาพรวมอุตสาหกรรม ยังถือวาทักษะดานการผลิต (ตนน้ํา) เชน การติดตั้ง การ
ออกแบบ ยังคงขาดแคลน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
แทบจะมาแทนไดเลย สิ่งที่แรงงานที่จะถูกแทนที่ตองพัฒนาคือการอยูกับระบบใหเปน ฝกฝนเพิ่ม เพิ่ม
ทักษะเฉพาะตัวของตนใหมากขึ้น
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ทักษะหรือสาขาวิชาที่จําเปนตอการขยาย คือทักษะดานการผลิต เชนการติดตั้ง Config ดานวิจัย และดาน
การออกแบบ ใน 3 ดานนี้หากถามวาดานใดจําเปนที่สุด ตนมองวาดานการวิจัย และออกแบบ สําคัญกวา การผลิต
เพราะการผลิตสามารถผลิตที่ตางประเทศได แตดานวิจัยและการออกแบบ เราควรพัฒนาเอง เพื่อลดตนทุน
และแขงขันกับที่อื่นได
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]
เริ่มคิดคน พัฒนา และกอตั้งกอนผูอ่นื วัตุดิบตองพึงพาตางประเทศ ใหราคาคอนขางสูง
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
โอกาสทางการขายเรามีมากกวา ความรู ความสามารถต อ งให จ ากต า งประเทศเป ย
จํานวนมาก

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ ที่ชวงเรื่อง Data
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
NIA สํานักงานนวัตกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-59


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
ถนัด Mechanics และ Machine
วิศวกรหุนยนต Lerning ปริญญาตรี 60%
เขียนโปรแกรมหุนยนต
วิศวกรอิเล็กทรอนิกส ถนัดเรื่องหุนยนต ปริญญาตรี 40%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)

นักประกอบ มีสกิลที่แมนยํา เขาใจเรื่องคลื่นแมเหล็ก ปริญญาตรี และ มี 100%


ประสบการณ
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

พนักงานรานคาที่เขาใจใน มีความเขาใจดานอิเล็กทรอนิกส และ ปริญญาตรี 50%


อุปกรณเปนอยางดี ระบบไฟฟาเปนอยางดี และสามารถ
แนะนํา ใหความเขารูได

Sales Engineer แนะนําสินคาและถายทอดการใชงานได ปริญญาตรี 50%

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-60 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ตองการ On The Job เทรนนิ่งทั้งในโรงเรียน และในโรงงาน ตนมองวาไมใชเพียงแตพัฒนาแรงงานจบใหม
อยางเดียว แรงงานเดิมที่มีประการณ และไมมีทกั ษะก็สําคัญ ควรพัฒนาควบคูกับไป
สวนระบบการศึกษาของประเทศไทย ตนมองวาคานิยมที่จมปกกับการไดใบปริญญา ทั้ง ตรี โท และเอก ไมมี
ความสําคัญเทาไหรนัก เพราะหลักสูตรไมไดตอบโจทยการทํางานใรอุตสาหกรรมปจจุบันมาก ขนาดแตกอน อยากให
Shortcut หลั ก สุตรการเรีย นไปเลย ตัว อยา งเชน การจะมาทํ า การที่ อุ ตสาหกรรมหุ นยนตร ไมจํ าเปนต องเรี ย น
วิศวกรรมถึง 4 ปเพื่อจบมาแลวสมัครเขาทํางาน แคเลือกเรียนหลักสูตรที่อุตสาหกรรมนั้นๆตองการ เพื่อลนระยะเวลา
และพัฒนาใหหลักสูตรและศักยภาพของผูเรียนใหมีความทันสมัย
อีกทั้งการเรียนรูในประเทศไทยนิยมจํากัดอายุ ซึ่งตนมองวา ผูที่มีอายุมากๆ มีประสบการณมากๆ ที่ตองการ
เปบี่ยนสายอาชีพตน อยากจะเรียนป.ตรี เพื่อเริ่มเรียนรูใหมๆ ไมไดรับ โอกาสนั้นเปนาจํานวนมาก ซึ่งเปนสิ่งที่นา
เสียดาย หากจะเปดครอสระยะสั้นก็มีนอยมากเชนเดียวกัน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-61


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรมการบินและโลจิกส

32. กรมการบินพลเรือน
ผูใหสัมภาษณ คุณวรายุ ประทีปะเสน
วันทีส่ ัมภาษณ วันที่ 30 ส.ค. 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
กรมการบินพลเรือนจะมีสวนเกี่ยวของในสวนของอุตสาหกรรมการบิน ชิ้นสวนอากาศยาน
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในดานความตองการแรงงานในสวนของอุตสาหกรรมการบินตองแบงออกเปนสองสวนดวยกัน คือ แรงงานที่
ตองมีใบอนุญาติ และในสวนของแรงงาน Support ในดานตางๆ
โดยในสวนของแรงงานที่ตองมีใบอนุญาติที่ตองใชทักษะความรู High skill labor จําพวกนักบิน การควบคุม
การบิน แพทยเวชศาสตรการบิน ชางซอมบํารุงในเครื่องบิน พนักงานบริการบนเครื่องบิน ความตองการแรงงานอาจะ
ไมมีผลที่ทําใหแรงงานลดลง เนื่องจากมองวาเทคโนโลยี 4.0 ที่จะเขามาจะเปนสวนชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพ
มากขึ้นมากกวา ไมไดมองวาจะเปนสวนที่จะเขามาทดแทนแรงงาน ยกตัวอยาง การบินที่ไรคนขับมองวาปจจุบันก็เปน
ระบบออโตอยูแลวเพียงแตยังจําเปนตอ งใชคนในการตัดสินใจในเรื่องตางๆอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งเรื่องของความ
ปลอดภัย
แตในสวนของแรงงานที่อยูในสวนของงาน Support งานบริการตางๆ นั้น เชน พนักงานเช็คอิน ขนสงกระเปา
แมบาน ตางๆที่ไมจําเปนตองใชใบอนุญาติ มองวาจะมีผลกระทบทางดานแรงงานที่จะมีอัตราลดลง ยกตัวอยางงาน
เช็คอิน ที่จ ะมีรูปแบบเปลี่ยนแปลงไปโดยใช เทคโนโลยีเขามามากขึ้น ซึ่งในอนาคตอันใกลในการเขา มาใชบ ริ ก าร
สนามบินคิดวาจะเปลี่ยนจากแรงงานคนเปนเครื่องตางๆมาบริการแทน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-62 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เพิ่มเติมในประเทศไทยก็เริ่มมีการใชเทคโนโลยีเขามาบริการในสนามบินแลวแตยังคงตองใชแรงงานคนอยู แต
ถาในอเมริกาจะใชเทคโนโลยีลวนๆแรงงานของคนจะนอยลงไปมากสามารถใชเทคโนโลยีเกือบทั้งหมด ถึงแมกระทั่งใน
สวนของ ตม. อีกดวยโดยถาเปนนักเดินทางที่ใชบริการบอยก็จะเขาชองที่ใชเครื่องไดเลย แตหากนักเดินทางที่หนาใหม
ก็ อาจจะเขาชองปกติในการตรวจสอบ เปนตน ซึ่งเมื่อดูในสวนของอัตราสว นแรงงานคนปจจุบันไทยยังใชคนเยอะ
มากกวาตางประเทศที่ใชเทคโนโลยีแลว แตแนวโนมไทยก็จะเริ่มใชคนนอยลงอยางแนนอน
สุดทายมองวาในภาพรวมของอุตสาหกรรมการบินในอนาคตนั้นแรงงานคนนั้นจะไมลดลงเนื่องดวยการเติบโต
ของอุตสาหกรรมดวย แตวาแรงงานคนจะตองมีการพัฒนามากขึ้น รวมถึงการทํางานอาจจะเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบ
งานอื่นๆ
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ
แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางงานสวนใหญในอุตสาหกรรมการบินจะมีการจางงานเปนลักษณะงานประจํา ดูจากใบอนุญาติ
เปนหลักไมวาจะจบมาจากสายไหนก็ตามแตปญหาการขาดแคลนแรงงานนั้นที่เห็นไดชัดที่สุดคือ สวนของแพทยเนื่อง
ดวยกฏหมายมาตรฐานโลกนักบินจะตองมีแพทยเฉพาะทางในการดูแล โดยที่ขาดเพราะวาผลตอบแทนนั้นนอยความ
เสี่ยงสูงเพราะวาถาผิดพลาดก็จะตองรับผิดชอบตรงนี้ดวย
ในสวนของนักบินนั้นมองวาที่เห็นวาขาดแคลนกันมากๆตามขาวนั้น จริงๆแลวขาดเปนสวนๆ คือ หากเปน
นักบินทั่วไปที่เรียนตามที่ตางๆแลวไดใบอนุญาติที่เปนผูชวยนักบินในสวนนี้ยังไมขาดโดยมีเกินอีกดวยเพราะสายการ
บินสวนใหญจะมีการสงนักบินไปเรียนแลวกลับมาทํางานอยูแลว ซึ่งพวกที่ไปเรียนเองแลวจบมานั้นจะวางงาน แตใน
สวนที่เปนใบอนุญาตินักบินเลยที่ตองมีการเก็บชั่วโมงบินครบ สวนตรงนี้ที่ขาดเกิดจากมีการซื้อตัวกันและสายการบิน
จะไมคอยลงทุนในสวนนี้
สวนของชางซอมบํารุงตรงนี้ก็คอยขางมีปญหาเพราะสว นใหญชางจะจบจากพวกอาชีวะ เมื่อทํางานไปสัก
ระยะคาตอบแทนตางๆมันจะไมเพิ่มขึ้นมากเทาที่ควร ทําใหชางตางๆก็เพิ่มทักษะตัวเองแลวก็ยายไปเปนวิศวกรดาน
อื่นๆ ทําใหชางไหลออกจากอุตสาหกรรมการบิน โดยปจจุบันก็มีการแกไขสวนนี้โดยการเพิ่มคาตอบแทน คุณคาของ
ชางมากขึ้น
ในสวนของงาน Support ในสนามบินจะไมคอยเจอปญหาการขาดแคลนแรงงาน โดยมองวาตอไปอาจจะ
ตองการนอยลง รวมถึงงานบริหารที่ทํางานใน office ก็ไมมีปญหาเปนไปตามเทรนดของอุตสาหกรรมทั่วไป
เพิ่มเติมในสวนของกรมการบินพลเรือนก็มีปญหาขาดแคลนแรงงานเชนกัน ในสวนของ inspector ที่ตองออก
ใบใหกับนักบิน ซึ่งก็แกปญหาโดยการ out source

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-63


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ


มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ถาเปนสวนที่จบจากสถาบันที่เกี่ยวกับการบินโดยตรง ที่จบออกมาก็สามารถเขาทํางานตรงความตองการได
เลย เชน นักบิน แตสวนที่จบทั่วไปมาเบื้องตนที่ไมตรงสาย ในปจจุบันสวนของอุตสาหกรรมการบินนั้นมองวาเราไม
สนใจวาจะจบสายอะไรมาหรือมีพื้นฐานการศึกษาดานใดมา แตจะสนใจในสวนของใบอนุญาติและคุณสมบัติมาตรฐาน
การอบรมทั่วไปมากกวา ซึ่งสวนใหญแรงงานที่เขาสูอุตสาหกรรมที่เพิ่งจบมาใหมที่ไมตรงในทุกๆสายงานก็จะตองมีการ
เทรนกันใหม อบรม เชนเดียวกันทั้งหมด
โดยทางกรมการบินพลเรือนก็มีการเขาไปรวมกับสถาบันการศึกษาดวยเชนกัน เนื่องจากก็อยากใหมีการผลิต
แรงงานที่ตรงกับอุตสาหกรรมการบินในแตละชวงเวลาใหมากขึ้นดวยเหมือนกัน ก็จะทําใหดียิ่งขึ้น ยกตัวอยาง จับมือ
กับทางลาดกระบัง เกษตร เปนตน
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ทางกรมการบิน พลเรือนมองวาพวกเทคโนโลยีตางๆจะสามารถแทนไดในสวนงาน support ที่ผูเดินทาง
จะตองเจอในสนามบิน อยางแนนอนแตอาจจะไมทั้งหมด ซึ่งแรงงานเหลานี้จะตองมีการปรับเปลี่ยนการทํางาน ทักษะ
การทํางานใหเกงขึ้นในการที่จะแกปญหา ในการควบคุมระบบที่จะเขามา ยกตัวอยางคนที่ขนสงกระเปาตามสายพาน
นั้นตอไปอาจจะตองใชคนนอยลงแตความสามารถของคนนี้จะตองเพิ่มมากขึ้นในการควบคุมระบบเทคโนโลยีที่เขามา
งานแมบานก็ทางกรมการบินพลเรือนก็มองวาอนาคตก็อาจจะถูกทดแทนและการใชแรงงานคนก็อาจจะตอง
นอยลง อาจจะระบบทําความสะอาดเขามา
ในสวนของที่ตองใชทักษะสูง นักบิน ควบคุมการบิน มองวาจะไมถูกทดแทนและทําใหคนตองนอยลงแตคิดวา
จะมีการจางงานมากขึ้นดวยจากการเติบโตของอุตสาหกรรม ถึงแมวาจะมีระบบเทคโนโลยีตางๆเขามา ก็ยังจําเปนตอง
ใชคนในการสื่อสาร แตถาในอัตราสวนของนักบินประจําเครื่องตอรอบการบินก็อาจจะลดลง เชน ไฟตท่ไี กลๆจากเดิม
ตองใชนักบิน 6 คนผลัดกันก็อาจะใชเทคโนโลยีเพิ่มเขามาชวยแลวลดนักบินสวนนี้ลง ก็อาจจะเปนได
ถามองในสวนของชางซอมบํารุงถาเปนคนที่ควบคุมคอยตรวจสอบปลอยเครื่องแทนยาก แตในสวนของชาง
ซอมทั่วไปงานงายๆ เติมลมอะไรตางๆ มองวาจะมีโอกาส 50% ถาอนาคตสามารถใชเครื่องจักรหรือเทคโนโลยีในการ
ตรวจสอบและซอมตัวเอง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-64 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะของแรงงานจะมีแนวโนมที่เขมงวดขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งพื้นฐานแรงงานทุกคนจะตองเขาใจเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร มากขึ้นและสามารถแกไขปญหาในหนางานไดดีนอกเหนือจากทักษะพื้นฐาน รวมถึงทักษะภาษาอังกฤษที่
ทุกสวนงานจะตองใชในการสื่อสารทั้งหมด
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ทางกรมการบินพลเรือนก็ไดมีการทําแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบครบวงจร โดยจะรวมไปในทุกๆเรื่องใน
อุตสาหกรรมการบิน และหนึ่งในแผนก็จะรวมไปถึงเรื่องของแรงงานหรือบุคลากร โดยจะมีการพัฒนาบุคลากรเฉพาะ
ด า นโดยผูให สัมภาษณเปนทํา อยูใ นขณะนี้ มีก ารดูกํา ลังคนในปจ จุบัน แลว ก็ดูความตองการแรงงานปจจุบัน และ
แนวโนมในอนาคต 5 ป 10 ปจะเปนอยางไร ตามการเปลี่ยนแปลงของเทรนดตางๆซึ่งเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
เสนอวาความเขาใจในภาพรวมของเรื่องเทคโนโลยีแรงงานทุกๆสวนอุตสาหกรรมจะตองเขาใจมากขึ้น เนื่องจาก
มองวาลักษณะงานในอนาคตจะตองคุยกับเทคโนโลยีมากขึ้น โดยหากเราพัฒนาในเรื่องนี้ไดแลว ตอไปในการพัฒนา
แรงงานเฉพาะดานก็จะงายขึ้น
อีกเรื่องเกี่ยวการอุตสาหกรรมการบิน ฝากเสนอใหภาครัฐและกระทรวงแรงงานในสวนของแรงงานชาง ควรให
ความสําคัญและปรับเปลี่ยนมุมมองวาไมใชงานที่ไมมีคุณคา เพราะถาขาดชางเหลานี้ไปอุตสาหกรรมจะไมสามารถ
ดําเนินงานตอไปได โดยยกตัวอยางญี่ปุน ที่สามารถทําใหการทํางานทุกสวนมีความสําคัญเทาๆกันหมด
เพิ่มเติมอีกในเรื่องของการสงเสริมใหแรงงานมีการคิดสรางสรรคในเรื่องของนวัตกรรมและเทคโนโลยีมากขึ้น
หรือแมถาทําไมไดก็ไปก็อปจากตางประเทศแลวทําใหดีพัฒนาใหดีเหมือนกับที่ประเทศจีนทํา
ประเด็นอื่นๆ
 จากการเปลี่ยนแปลงเขาสูอุตสาหกรรม 4.0 ภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ปนั้นมองวาอุตสาหกรรม
ที่แ ตเดิม ไมเคยใชพวกเทคโนโลยีใ นการทํา งานจะมี ปญ หามากที่สุ ด รวมถึงอุตสาหกรรมหุ น ยนต
สรางสรรคที่เปนเรื่องใหมก็ยากเหมือนกัน
 ในอนาคตมองวาเราอาจจะเห็นโดรนในการบินขนสงสินคา ซึ่งทางกรมการบินพลเรือนก็เริ่มเตรียม
ความพรอมและศึกษาแลวดวย โดยหากเกิดขึ้นจริงก็อาจจะตองเขามาเปนสวนหนึ่งในอุตสาหกรรม
อากาศยานดวยเชนกัน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-65


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

33. หนวยงาน บริษัท อุตสาหกรรมการบิน จํากัด (TAI)


วันที่ใหสัมภาษณ 21 สิงหาคม 2561
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่ เ กี่ย วเนื่อ งอย า งชั ด เจน (ประมาณ 2-3 อุต สาหกรรม ในแต ล ะระดั บ ) และแนวโนม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา - ไมใชบริษัทผลิต
กลางน้ํา - เปนผูแทนจําหนายอะไหลของบริษัท Airbus Helicopter แตเพียงผูเดียว
ปลายน้ํา - กระบวนการขั้นตอนการซอมบํารุงอากาศยาน เปนที่พึงพอใจ และเปนมาตรฐานที่ลูกคาตองการ
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
- ใชแรงงานชางฝมือดานการซอมบํารุงอากาศยาน
- ขาดแคลนชางซอมบํารุงอากาศยาน
- แนวโนมการแกปญหา คือ การวิเคราะหปญหาการลาออกของพนักงานในปจจุบัน และเตรียมการจัดตั้งศูนย
ฝกอบรมดานชางอากาศยานมาตรฐาน EASA
1.3 ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
-มีสวนนอยที่มีทักษะที่ตองการโดยเฉพาะของชางอากาศยาน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
นอยเพราะ เปนงานดานกระทรวงบํารุงอากาศยาน ตอนิติบุคคลที่ไดผานการอบรมตามหลักสูตร ที่กฏหมาย
เกี่ยวกับการบิน กําหนดแตมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักรหากสามารถขยายธุรกิจไปสูสายการผลิตได
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
- วิศวกรรมอากาศยานหรือวิศวกรรมเครื่องกล รวมทั้งชางอากาศยานทุกสาขา
- ผูมีความรูความสามารถ ไดรับการฝกอบรม เกี่ยวกับอากาศยาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-66 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]

-บริษัทคูแขงนอย blue ocean -การพัฒนาขีดความสามารถดานการซอมบํารุงอากาศ


-บุคลากรในองคกรเปนผูมคี วามรูความสามารถ ยานของบริษัทตามมาตรฐานสากล
-เปนที่รูจักในภูมิภาคเอเชีย

โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]

-กลุมลูกคามีความชัดเจนแนนอน -ขอกําหนดของกฏการบิน และ พรบ. ที่เกี่ยวของทําให


-สามารถสราง market share ไดอีกมาก ลาชาตอการทํางาน
-เศรษฐกิจ

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


เครื่องมือและอุปกรณทางการแพทย และชิ้นสวนอากาศยาน
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ภาครัฐบาล (BOI)

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-67


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า
ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ สัดสวน
(สาขาวิชา)
อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
-ดานการจัดซื้อจัดจาง ปวส 80%
-การบริหารจัดการ -ดานโลจิสติกส ปริญญาตรี 20%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
-ชางอากาศยาน ทุกสาขาที่เกี่ยวของ -ปวช,ปวส 75%
-มีความรูดานเครื่องยนต -ปริญญาโท 5%
-วิศวกรรมอากาสยาน -มีความรูดานโครงสราง -ปริญญาตรี 20%

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
การปฎิรูปการศึกษาของประเทศเพื่อมุงสูความเปนเลิศในการพัฒนาทักษะความเปนมืออาชีพในระดับสากล
เนื้อหาจากการศึกษาในประเทศในระดับปริญญาตรี โดยทั่วไปมุงเนนความรูทางทฤษฎีเปนสวนใหญจะสงผลใหขาด
ทักษะในทางปฎิบัติ ในขณะที่ประเทศตองการพัมนาฝมือแรงงานเพื่อขับเคลื่อนใหกาวไปสู Thailand 4.0 โดยเฉพาะ
ในดานอุตสาหกรรมและการบริการ จึงเห็นวาหากไดมีการปฎิรูปการศึกษาใหรองรับงานอุตสาหกรรมตางๆ ในลักษระ
แรงงานมืออาชีพไดโดยแรงงานเหลานี้ มี certificate ใบรับรองที่ยอมรับกนในระดับสากลดวยแลวจะเปนประโยชนใน
ภายภาคหนึ่งอยางยิ่ง
การจั ดตั้งศูนย การเรียนรูเฉพะทางตามมาตรฐานในแตล ะภูมิภาคโดยเฉพาะการพัฒนาดาน knowledge
management หรือ KM ใหครอบคลุมทุกทักษะในแตละสาขาวิชาชีพ เชนการซอมเครื่องบินหรือยานยนตตางๆ ก็จะ
ชวยใหเกิดการพัฒนาทักษะแรงงานแบบกาวกระโดดได และสามารถกาวสูความเปนมืออาชีพไดอยางรวดเร็ว และ
คุมคากับการลงทุน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-68 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

34. สถาบันการบินแหงมหาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ผูใหสัมภาษณ ดร.ณรงคฤทธิ์ เมฆลอย
วันที่สัมภาษณ วันที่ 20 ส.ค. 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
เกี่ยวของกับอุตสหกรรมการซอมบํารุง โดยจะเนนเรื่องซอมบํารุงเครื่องบินเปนหลัก โดยเปนหนวยงานที่ผลิต
แรงงานเกี่ยวกับการซอมบํารุงโดยตรง จะไมเกี่ยวของกับการผลิตเครื่องบิน การควบคุม และไมเกี่ยวของกับสวนของ
นักบิน ดังนั้นการสัมภาษณผูใหสัมภาษณจะทราบในสวนของแรงงานการซอมบํารุงเปนหลัก
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
เบื้องตนทางหนวยงานจะจับอยูในชวงกลางน้ําและปลายน้ําของอุตสหกรรมอากาศยาน เขาไปในสวนงานการ
ซอมบํารุงของผูประกอบการสายการบินตางๆ
ในสวนของชางซอมบํารุงอากาศยาน ทางหนวยงานกลาววาเริ่มมีผลกระทบเนื่องจากปจจุบันเครื่องบินยุคใหม
เริ่มมีความเปน Automation การควบคุมตางๆเริ่มใช AI มากขึ้น ดังนั้นชางซอมบํารุงยุคใหมจะตองปรับตัวใหสามารถ
ใช IT และระบบมากขึ้น แตในแงของการลดแรงงานยังไมมีผลกระทบในดานนี้ไมมีการลดจํานวนลง
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ
แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
สวนใหญทางบริษัทตางๆ จะรับในสวนที่จบจาก ปวช. ปวส. ทั่วไปเปนหลักที่ทํางานในสวนของชางกล ชางยนต
ชางไฟฟา สวนปริญญาตรีก็จะทํางานในสวนงานวิศวกร แบงออกเปนสองสวนคือการซอมบํารุงโครงสรางกับงานซอม
บํารุงระบบไฟฟาภายใน โดยทางหนวยงานกลาววา ณ ปจจุบันอุตสาหกรรมยังคงขาดแคลนแรงงานเหลานี้อยูอีกมาก
และมองวาในอนาคตตอไปก็ยังจะขาดแคลนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากปจจุบันการผลิตบุคลากรยังไมตรงกับความตองการ
ของอุตสาหกรรม และจากการที่อุตสาหกรรมเติบโตอยางมาก แนวทางการแกปญหายกตัวอยาง ไทยแอรเอเชีย ที่ขาด
บุคลากรเหลานี้ก็ไดทําความรวมมือกับทางราชมงคลกรุงเทพในการผลิตแรงงานรวมกัน โดยหาแรงงานมาใหราชมงคล
กรุงเทพสอน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-69


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ


มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาโดยสวนใหญยังไมตรงตามความตองการของอุตสาหกรรม โดยสวนใหญ
การเขาสูตลาดแรงงานนั้น แรงงานที่เขาไปใหมจะตองเขาไปเทรนใหมทั้งหมด โดยแนวทางการแกไขก็คือมีการททํา
ความรวมมือในการผลิตบุคลากรแรงงานรวมกับองคกรตางๆ
ยกตัวอยางราชมงคลกรุงเทพก็ทําความรวมมือกับทางบริษัท Aero building เปนบริษัทที่เกี่ยวกับ Training
Center ที่ไดรับการรับรองจากมาตรฐานยุโรป นําหลักสูตรตางๆนั้นมาปรับใชในการเรียนการสอนในตรงตอความ
ตองการ ซึ่งนักศึกษาที่เขาเรียนจะตองเรียนทั้งภาควิชาการและภาคปฎิบัติ
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่แรงงานมาก
นอยเพียงใด
มองในสวนของไลนการซอมบํารุงนั้นจะเขามาแทนแรงงานไดนอยอาจจะเขามาไดในบางสวนงาน แต
ถาในการซอมใหญที่ตองใชเครื่องมือที่ตองใชเทคโนโลยีสูงอาจจะเขามาแทนไดมาก ซึ่งในสวนของไลนการซอมบํารุง
นั้น สวนใหญ จะเนนใชแรงงานคนกอนในการตรวจสอบเบื้องตนจากการรายงานของนักบินถึงอาการตางๆ และนํา
เครื่องมือมาทดสอบซึ่งงานที่ทําซ้ําๆ ในการซอมบํารุงจะคอยขางนอย อีกทั้งการซอมบํารุงยังจําเปนตองใชทักษะของ
แรงงานคนเนื่องจากดวยขอกําหนดในการซอมบํารุงชางจะตองเปดขอมูลในการทํางานทุกครั้งเปนมาตรฐานความ
ปลอดภัยที่ถูกกําหนดไว
a. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะที่จําเปนตอการพัฒนาในสวนแรกเบื้องตนที่ยังไมเกี่ยวกับการซอมบํารุงก็คือภาษาอังกฤษ เนื่องจากเปน
ปญหาของเราโดยตรงเนื่องจากคูมือตางๆของเครื่องบินจะใชภาษาอังกฤษเปนภาษามาตาฐานทั้งหมด อีกสวนในแง
ของการซอมบํารุงคือการใชฝกใชทักษะของเครื่องมือในยุคปจจุบันที่ใชในการซอมบํารุงเครื่องบินจริงๆไดใช
อีกทั้งในสวนของระบบคอมพิวเตอรในเครื่องบินที่มีการเปลี่ยนแปลงนั้นจําเปนตองเพิ่มตองใชแรงงานที่มีทักษะ
ความรูดานโปรแกรม IT มากขึ้นกวาเดิม
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ง blue collar
และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
แผนรับ รองของหนว ยงานในการพัฒนาแรงงานก็มีการเปดหลักสูตร non-degree 2 ปในการเรียนการซอม
บํารุงโดยตรง ซึ่งเมื่อจบการศึกษาก็สามารถเขาไปเปนชางซอมบํารุงไดทันที และในอนาคตมองวานอกจากจะเปนชาง
ซอมบํารุงแลวนั้นจะตองสามารถเปนคนที่เซ็นตปลอยเครื่องบินไดดงั นั้นก็ไดมีการขยายหลักสูตรในสวนนี้ไปดวย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-70 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar


และ white collar)
จากการที่รัฐบาลกลาวไวว า จะทําให ประเทศไทยเปน Hub ของอุตสาหกรรมการบิน มีศูนยซอมเครื่องที่อู
ตะเภาและในอีก 6 ปขางหนา จะเชื่อมตอกับสนามบินหลักตางๆ หากจะเกิดแบบนี้จริง มองวาควรที่จะลงทุนเรื่องของ
การศึกษา ในดานการผลิตบุคลากรแรงงานใหมากกวาที่ทําอยูในปจจุบัน
ประเด็นอื่นๆ
 ใน 1 ป เมืองไทยนั้นสามารถผลิตแรงงานในสวนของการซอมบํารุงโดยตรงไดเพียงประมาณ 100 คน
ในสวนของราชมงคลกรุงเทพอยูในสัดสวนประมาณ 20 คน
 เพิ่มเติมความเห็นในเรื่องของการที่จะมีการบินแบบไรคนขับ วาปจจุบันมีแลวจะเปนในสวนของการ
ขนสงสิน คามากกว า หากมองในการบินที่มีผูโดยสายมองวายังไงก็จําเปนตองใชแรงงานคนในการ
ควบคุม ในการตัดสินใจในกรณีฉุกเฉินตางๆดวย จึงมองวาการที่นักบินจะถูกทดแทนเปนไปไดนอยมาก
 จาก 10 อุ ต สาหกรรมเป าหมายทางผูใหสัมภาษณมองวาอุตสาหกรรมยานยนตไฟฟาหากเขามามี
บทบาทจริงจะเปนผลกระทบที่สุดในดานของแรงงาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-71


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

35. หนวยงาน การทาอากาศยานแหงประเทศไทย


ผูใหสัมภาษณ คุณมนตรี มงคลดาว
วันที่ใหสัมภาษณ 28 สิงหาคม 2561
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
a. สถานการณอต ุ สาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และ
ปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของอุตสาหกรรมใน
อนาคต
การทา อากาศยานเป น ผู ท่ีดู แ ลและบริ ห ารสนามบิ น เพื่ อ การพาณิช ย ป จ จุ บั น มี อ ยู 6 แหง เป น
อุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําใหอีกหลายอุตสาหกรรม ทั้งอุตสาหกรรมการบิน อุตสาหกรรม
ทองเที่ยว
b. ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
สวนใหญตองใชแรงงาน เชน พนักงานทั่วไป พนักงานทําความสะอาด พนักงานตัดหญา เช็ดกระจก
จนถึงผูที่มีความรูทางทฤษฎีและปฏิบัติที่มีความชํานาญเพียงบางสวน ในระดับปริญญาตรี ซึ่งใชภาษาในการ
สื่อสาร ทั้ง อังกฤษ จีน รัสเชีย เยอรมัน และกลุมชาง กลุมควบคุมเครื่องบิน กลุมที่รองรับและประสงคจะรับ
มากๆ คือ คนที่จบจากสถาบันการบินพลเรือน เพราะคนกลุมเหลานี้จบแลวสามารถปฎิบัติงานไดเลย สรุป
อีกที่หนึ่ง ก็คือ บุคลากรกลุมแรก คือ กลุมที่เราจะตองฝกเอง เชน บุคลากรที่เกี่ยวของดานความปลอดภัย
กลุมที่สองคือกลุมที่ตองมีพื้นฐาน เชน พนักงานขนสง เปนตน สวนกลุมที่สามเปนกลุมที่สามารถทํางานได
สามารถปฎิบัติงานไดทันที เชน กลุมเรียนการบิน การจราจรอากาศ จัดการทาอากาศยาน สวนกลุมอื่นๆ ก็
จะเปนวิศวกร สถาปนิก ซึงสิ่งที่เราตองการเปนพิเศษ คือ ตองการ วิศวกร การชาง ซึ่งจบสถาบันการศึกษา
ทางเราก็จะทําการฝกโดยสงไปเรียนที่สิงคโปร และอเมริกา
ซึ่งทักษะที่เราตองการมากที่สุดคือ white collar มีแนวโนมที่จะขาด ซึ่งบุคคลที่จะเปนผูจั ดการ
สนามบิน ก็ตองมีประสบการณเปนฝายปฎิบัติการสนามบินมาเปนอยางดี อีกทั้งมีความจําเปนอยา งยิ่ง
เนื่องจากเปนระเบียบมาตรฐานการบินสากล

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-72 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

c. ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึ ก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี ห รื อ มี ไ ม เ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ชางซอมบํารุง เครื่องยนต ตัวอากาศยาน ชางควบคุมการจราจร ซึ่งผลิตนักบิน และชางอากาศและ
ผลิตใหแอรพอรต ปจจุบันนักบินไมพอ สําหรับสายการบินไทย นกแอร แอรเอเชีย เพราะเครื่องยนตแตละ
ชุดไมเหมือนกัน
ใหเพิ่มหลักสูตร Airport Engineering เพื่อสรางการเรียนการสอนเพราะเปนสถาบันการบินที่ผลิต
บุคลากรเฉพาะทางสวน AI คงใชในการเรียนการสอนเทานั้น
d. อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ผูโดยสารตองการใช เทคโนโลยีในการบริการมากกวาคนอาจจะไมถึงขั้น AI แตตอนนี้ ทักษะในการ
แยกกลุมหรือวิเคราะหตางๆ AI ทําได แตมีราคาแพงกวาผูใชแรงงาน สิ่งที่เขามาแทนที่ไมไดคือ คนตัดสินใจ
เชน ผูจัดการสนามบิน สวน white collar อาจมีผลกระทบนอย ซึ่งระบบ AI ไมตองใชคนควบคุมเครื่องซึ่ง
ระบบสามารถสั่งการไดเอง โดยสวนตัวเกิดขึ้นแนไมชาหรือเร็ว อัตราเรามีเงินทุนยังไมมากพอ ซึ่งปจจุบัน
คาจางแรงงานคนถูกกวาใชแรงงานเทคโนโลยี
e. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
สิ่งที่เราตองการคือ Airport Engineering ตรงนี้ในประเทศเรายังไมมีหลักสูตร ทักษะที่เราตองการ
มากที่สุดคือ white collar
แรงงานที่มีความจําเปนผูจัดการสนามบิน มีแนวโนมที่จะขาด ซึ่งบุคคลที่จะเปนผูจัดการสนามบิน ก็
ตองมีประสบการณเปนฝายปฎิบัติการสนามบินมาเปนอยางดี และปจจุบันนักบินไมพอ

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
ทุกอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่มีแนวโนมจะราคาถูกลงอยางรวดเร็ว
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ภาครัฐบาล BOI ที่ควรใหสิทธิการลงทุนดานฐานการผลิตและใหบริการที่จูงใจ หนวยงานการศึกษาที่ควรเรง
พัฒนาบุคลากรเพื่อปอนสูภาคอุตสาหกรรม โดยเนนการเรียนการสอนควบคูกับการทํางานจริง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-73


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
เนนตั้งแตระบบการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย ตองมีแนวคิดที่จะสรางบุคลากร เพราะมหาวิทยาลัยเต็มไป
ดวยองคความรู จะตองสรางความคิดใหมๆเพื่อเปนการตอบโจทย 4.0 ตองวิจัยหรือนําเทคโนโลยีมาใชในหลักสูตรการ
เรียนการสอนเพื่ อตอบโจทย 4.0 และทํา การสรา ง platform ใหม 4.0 ของประเทศตองทํา รวมกั นให ไ ด ในการ
ขับเคลื่อนยุทธศาสตร สําหรับยุคอุตสาหกรรม 4.0 สิ่งที่ผูโดยสายตองการคือความสะดวกสบายและความรวดเร็วและที่
สําคัญคือความปลอดภัยซึ่งสายการบินเนนความปลอดภัยเปนหลัก AI ดูเหมือนวาจะเกิดขึ้นแนนอนอีกไมชา ในขนาดที่
เราเผชิญกับปญหาการขาดแคลนแรงงาน เพราะเทคโนโลยีพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเขามาแทนแรงงานการจางคน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-74 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดี

36. หนวยงาน การทองเที่ยวแหงประเทศไทย


ผูใหสัมภาษณ คุณจรัญ อันมี และ คุณกอวิทย
วันที่สัมภาษณ วันที่ 28 ส.ค. 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
ทางการทองเที่ยวแหงประเทศไทยนั้นจัดอยูในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ในส ว นของอุตสาหกรรมการท อ งเที่ย วจากการที่ เทคโนโลยี ตา งๆเขา มามี บ ทบาทนั้น มองว าในสว นของ
โครงสรางการจางแรงงานคนยังคงไมเปลี่ยนแปลงแหมือนกับ ประเทศอื่นๆ เนื่องจากมองวาประเทศไทยยังตองใช
แรงงานคนเปนหลักในการดําเนินงานในการบริการ และเทคโนโลยีก็ยังไมเขามาจนทําใหแรงงานคนนั้นลดลง และมอง
วาในอนาคตก็ยังคงอิงแนวทางแบบปจจุบันนี้ตอไปเรื่อยๆไมเปลี่ยนแปลงในดานแรงงานอยางทันที แตมีความเปนหวง
เพิ่มเติมในสวนที่เปนแรงงานที่ไมตองใชทักษะในการทํางานอาจจะมีผลกระทบตอการจางแรงงานเหลานี้ที่ลดลงอยาง
แนนอน
เพิ่มเติม วาถึงแมวาจะมีแอพในการจองโรงแรมการใชบริการหอ งพักนั้น ก็ยังคงตองใชแรงงานคนในการ
ตอนรับสวนหนาของโรงแรมอยู สวนของ Sales ก็ไมลดลงแตตองปรับตัวใหสามารถใชเทคโนโลยีตางๆเหลานี้ใหได
สวนของการทองเที่ยวในชุมชนตางๆก็เริ่มมีการนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการอํานวยความสะดวกของนักทองเที่ยวใน
การเดินทาง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-75


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ


แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวนั้น ในภาพรวมถาเปนสวนที่เปนองคกรโรงแรมขนาดใหญ
ตองการแรงงานที่เปนมืออาชีพในการรองรับการบริหารงาน การบริการตางๆใหดีที่สุด แตหากเปนโรงแรมทั่วไปใช
แรงงานไมกี่สวน เชน สวนจองหองพัก การเงิน แมบาน รักษาความปลอดภัย เปนตน
โดยปญหาของการขาดแคลนของแรงงานคนในอุตสาหกรรมนั้นก็เริ่มมีปญหาการขาดแคลนเนื่องจากการ
เติบโตของอุตสาหกรรมการทองเที่ยวมีหลายๆโรงแรมที่เกิดขึ้นใหมเรียกไดวารายวัน ทั้งโรงแรมขนาดใหญ ขนาดเล็ก
รวมถึงโรงแรมที่เปดไมถูกตองตามกฎหมาย
เพิ่มเติมในการจางงานของแรงงานคนในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวนั้นมีการเขาการออกของแรงงานที่สูง และ
เริ่มมีการเปดเสรีในสวนของแรงงานอาเซียน
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
สําหรับเด็กที่จบมาใหมนั้นดวยการที่หลายๆสถาบันการศึกษานั้นไปคิดหลักสูตรกันเองโดยไมมี Center กลาง
ในการควบคุมใหมีมาตรฐาน แรงงานที่เขาสูตลาดจึงยังไมคอยตอบโจทยในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวสักเทาไหร เด็กที่
จบมาใหมทักษะตางๆก็ยังออนอยู สวนใหญก็ตองนํามาฝกฝนกันใหมหมด
มองวาในการแกปญหาจะตองมีการควบคุมดูแลและดูใหชัดเจนถึงความตองการวาตองการแบบไหนแลวไป
พูดคุยกับทางภาคการศึกษาในการผลิตแรงงานเขาสูตลาด แนะนําการทํางานของแสกนดิเนเวียร ที่องคกรตางๆเขาไป
รวมกับสถาบันการศึกษาในการออกแนวคิด แลวมาจับคูกับโรงงานซึ่งจะทราบถึงความตองการที่แทจริงวาตองการ
อะไร
ยกตัวอยางแรงงานแมบาน ในการพัฒนาแรงงานแมบานก็ตองเขาใจวาจะตองฝกฝนแมบานในรูปแบบไหนให
สามารถปฎิบัติงานไดจริง มีการฝกปฏิบัติใหมากๆ
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ทางการทองเที่ยวแหงประเทศไทยมองวายัง คงเปนไปไดย ากในการที่จ ะเขามาทดแทนแรงงานคนในการ
บริการแกลูกคาเนื่องจากการบริการลูกคานั้นยังคงตองใชคน อีกทั้งประเทศของเรานั้นจากการสํารวจนักทองเที่ยวที่
เขามาเที่ยวในประเทศไทยนั้นชอบการบริการของไทยที่มีความเปนกันเองและดูแลอยางดี อีกทั้งถาหากเอา Robot
ตางๆนี้มาแทนคนความเปนกันเอง ความรูสึกตางๆก็จะหายไป แตหากในแงของเทคโนโลยีที่เปนสวนของระบบการ
ทํางานก็มีความเปนไปได

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-76 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
มองในสวนของแรงงานที่อยูในอุตสาหกรรมอยูแตเดิมแลวก็ควรจะตองเพิ่มทักษะที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีเขา
ไปเสริมใหทันสมัยมากขึ้น สวนแรงงานทั่วไปในดานการบริหารงาน ก็ควรเพิ่มในสวนของแนวคิดนวัตกรรมตางๆเขามา
ใสเสริมชวยในการดําเนินงาน สวนของแรงงานบริการทั่วไปก็ควรเพิ่มทักษะในเรื่องของการปฎิบัติจริงใหมากขึ้นและ
สามารถทํางานไดรอบตัว 1 คนควรจะสามารถทํางานไดในหลายมิติ
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
แผนการรองรับ ของทางการทอ งเที่ย วแหง ประเทศไทยก็ ไ ดมีก ารจัด ตั้ง Education Center ในการผลิ ต
แรงงานการพัฒนาแรงงานในดานการทองเที่ยว โดยเนนการบริการจริงๆ และเสริมดานเทคโนโลยี ดิจิตอล เขามาเปน
สวนหนึ่งในการพัฒนาแรงงานคนในปจจุบัน อีกทั้งมีการประยุกตมาใชในธุรกิจทองเที่ยว รวมถึงมีการสรางเครือขายไป
ยังองคกรอื่นๆดวย
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ทางการทองเที่ยวแหงประเทศไทยมองวาหากประเทศตองการเขาสูยุค 4.0 ภาครัฐควรเขาไปพูดคุยกับทาง
ภาคการศึกษาอยางจริงจังไมใชพูดคุยไปแคตามกระทรวงตางๆแลวไมมีแผนงานในระยะยาวในการที่จะพัฒนาคนใหมี
หัวคิดริเริ่มที่ดีในเรื่องของเทคโนโลยีนวัตกรรมตางๆ
เพิ่มเติมวาจากมุมมองของผูใหสัมภาษณที่ไดเห็นประเทศไทยเราสงเด็กไปแขงเรื่องของเทคโนโลยีตางๆแลวได
รางวัลมาหลายๆที่ แตก็ไมเห็นสักอยางที่จะสามารถนํามาปฏิบัติมาประยุกตใชไดจริง ดังนั้นเราก็จะตองหาทางหรือ
วิธีการที่จะสามารถนําสิ่งตางๆที่เด็กคิดขึ้นมานําไปปฎิบัติไดจริง
ประเด็นอื่นๆ
 จากการเปลี่ ย นแปลงเข า สู อุ ต สาหกรรม 4.0 ภายใต ก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป นั้ น มองว า พวก
อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารจะมีผลกระทบมากสุดเนื่องจากเดิมเปนอุตสาหกรรมที่ใชคนเปนหลัก
เพราะอุตสาหกรรมอื่นๆนั้นมีการนําเทคโนโลยีเขามาใชแตเดิมอยูแลว
 กลาววาปจจุบันมีแรงงานจีนเขามาทํางานในประเทศไทยในภาคการทองเที่ยวมากขึ้นจนนาตกใจ และ
เคยไปสอบถามคนจีนนั้นก็ไดความวาถาคนจีนเรียนภาษาไทยจะสามารถหางานไดงายมากสุด ทําให
แรงงานเหลานี้อาจจะเขามาทดแทนแรงงานไทยที่ไมสามารถสื่อสารไดดีเทา อีกทั้งในภาคอุตสาหกรรม
อื่นๆก็เริ่มเขามาทํา ยกตัวอยางธนาคารในตึกการทองเที่ยวแหงประเทศไทยก็เริ่มมีแรงงานเฉพาะมาทํา
เพราะมีคนจีนมาฝากถอนเงินทําธุรกิจจํานวนมาก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-77


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

37. หนวยงาน สมาคมโรงแรมไทย


ผูใหสัมภาษณ คุณสัมพันธ แปนพัฒน
วันที่สัมภาษณ วันที่ 21 ส.ค. 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
สมาคมโรงแรมไทยนั้นเกี่ยวของและเปนสวนหนึ่งในอุตสหกรรมการทองเที่ยว
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ดวยความแตกตางของระดับโรงแรมทําใหมีผลกระทบตางกันไป โดยทางสมาคมมองวาเทคโนโลยีถึงแมจะตอง
นําเขามามีบทบาทก็จริงแตในธุรกิจโรงแรมมองวาไมสามารถเขามามีผลตอแรงงานไดเยอะ เนื่องจากเปนอาชีพบริการ
จึงจําเปนที่จะตองใชแรงงานคน ที่ตองใชความออนนอมในการบริการ
ในภาพของโรงแรมที่ดาวไมสูงอาจจะมีผลกระทบจากการทดแทนของเทคโนโลยี เนื่องจากไมจําเปนตองมีคน
ที่สงลูกคาขึ้นหองพัก ใชเพียงพนักงานตอนรับ เช็คอิน ใหบัตรเขาหองพัก คนอาจจะมีการปรับลดลงได แตในปจจุบัน
ทางสมาคมมองวายังไมจําเปนตองใชเทคโนโลยีหรือ Robot เขามาใช และดวยการที่โรงแรมเล็กๆสวนใหญจะมีลูกคาที่
เปนกรุปเขามาพักดังนั้นก็ยังตองอาศัยคนดวยอีกเชนกัน
ในภาพของโรงแรม 5 ดาวนั้นจะไมมีผลกระทบตอแรงงานที่ตองบริการลูกคา เนื่องจากการทํางานการบริการ
นั้นมีตัวชี้วัดที่เปนมาตรฐานกําหนดไววาการบริการยังตองเปนแรงงานคนที่นําลูกคาสงขึ้นที่พัก ตองมีการบรรยาย
วิธีการใชหองพักตางๆดวย แตในสวนของงานบริหารงาน HR Sales Marketing อาจจะมีการลดจํานวนคนลงได แต
ไมไดหมายความวาแรงงานเหลานี้จะไมมีงานทํา เนื่องจากอุตสาหกรรมโรงแรมนั้นยังมีการเติบโตอีกมาก
เพิ่มเติมในสวนของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมโรงแรม พวกบริษัทรับจองที่พักตางๆ อาจจะมีผลกระทบ
จากการที่มีเทคโนโลยี แอพตางๆในการจองหองพัก ซึ่งในสวนของบริษัทที่สายปานไมยาวจะมีแนวโนมปดตัวลดลงจาก
แตกอน สวนบริษัทขนาดใหญนั้นหรือสายปานยาวยังคงดําเนินธุรกิจได เนื่องจากยังมีอีกหลายกลุมที่ยังชื่นชอบในการ
ใชบริการ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-78 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ


แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางงานมีทั้งในสวนของแรงงานทั่วไปที่ดูแลบริการลูกคาในโรงแรม และงานบริหารงานในโรงแรม
ที่มีขนาดใหญ สวนใหญปจจุบันยังเปนการจางงานแบบประจําและอีกสวนเปนการ Outsource ในงานของงานรักษา
ความปลอดภัย สวนการจางงานประจํานั้นมีการจางงานตั้งแตระดับ ปวช ปวส จนกระทั่งปริญญาตรี
ซึ่งทั้งสองสวนงานนั้นปจจุบันยังคงขาดแคลนเนื่องจากการเคลื่อนยายของแรงงานคอยขางรวดเร็วจากการที่มี
โรงแรมเกิดขึ้นใหมจํานวนมากเติบโตถึงปละ 17 % มีการซื้อตัวกันดวยและทําใหเกิดผลกระทบในดานของการพัฒนา
แรงงานคนใหมีคุณภาพดวยโดยการแกไขปญหาก็มีการจัดทําหลักสูตรการอบรมตางๆรวมกับทางมหาลัยวิทยาลัยที่ทํา
MOU กับทางสมาคมโรงแรมไทยและกับโรมแรมที่เปนสมาชิกของสมาคม
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ทางสมาคมกลาววาถาเปนสวนของนักศึกษาที่จบมาจากหลักสูตรใหมที่เปนสหกิจ ศึกษาจะคอยขางตรงกับ
ความตองการแรงงาน แตหลายๆสถาบันการเรียนการสอนก็ยังไมปรับเปลี่ยนวิธีการสอน โดยสมาคมก็พยายามเขาไป
คุยกับทางสถาบันตางๆ มีการปรับปรุงระบบการศึกษาที่เรียกวาระบบการศึกษา 4.0 ใหสมบูรณมากยิ่งขึ้น โดยเปน
หลักสูตรที่สงผลตอการทํางานโดยตรงมากขึ้นเฉพาะสาขาการโรงแรม
และจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีนั้นที่ทําใหการเรียนการสอนตองปรับเปลี่ยนใหทันอุตสาหกรรม ทาง
สมาคมก็ไดใหอาจารยตางๆเขามาศีกษางานในโรงแรม เขามาเปนพนักงานในระดับปฏิบัติงานจริง จะไดนําทักษะตางๆ
เขาไปสอนนักศึกษา ยกตัวอยางที่เห็นไดชัดก็เปนเรื่องของระบบคอมพิวเตอรในสวนของงาน เช็คอิน งานระบบลิ้งขอ
มูลของแตละแผนก เปนตัน ที่มีการเปลียนแปลง
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ทางสมาคมมองวาไมสามารถเขามาทดแทนแรงงานคนไดจริงๆ หากจะเขามาทดแทนจริงๆมองวาอยูประมาณ
20% เนื่องจากการที่เปนอุตสาหกรรมที่ตองใชคนในการบริการ ถึงแมจะผานไป 10 20 ป ตราบใดที่คนยังตองการ
บริการก็ยังคงตองใชแรงงานคน เพียงแตเทคโนโลยีจะเปนสวนเสริมใหอุตสาหกรรมโรงแรมมีประสิทธิภาพมีคุณคามาก
ขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-79


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

f. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ควรเพิ่มทักษะในสวนของการใชคอมพิวเตอร เครื่องมือโปรแกรมเทคโนโลยีตางๆ และยังจําเปนตองพัฒนา
วิชาหลักของการบริการทั้ง 4 แผนกใหดีขึ้น อีกทั้งอีกทักษะที่จําเปนอยางมากที่แรงงานตองมีก็คือในสวนของภาษา
เพราะในโรงแรม 4 5 ดาวจําเปนตองมีภาษาอื่นๆอยางนอย 1 ภาษา
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
แผนการรองรับของสมาคมก็คือเปนการรวมมือกับสถาบันการศึกษา โดยเวลาที่สถาบันการศึกษาตองการจะ
ปรับปรุงหลักสูตร สมาคมโรงแรมไทยก็จะเขาไปมีสวนรวมในการรางหลักสูตร อีกทั้งถาในระดับอาชีวะสมาคมก็ไดเปน
ผูเขียนหลักสูตรที่ตรงกับความตองการทักษะตางๆโดยตรงและการันตีวาทุกคนที่จบออกไปจะตองมีงานทํา
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ทางสมาคมเสนอวาทางภาครัฐหากจะเขามาสนับสนุนก็ควรที่จะมีนโยบายที่ชัดเจน ที่จําเปนตอการปรับปรุง
หลักสูตรในระดับการศึกษาใหมันสอดคลองเขาดวยกันทั้งหมดเพื่อที่จะผลิตแรงงานใหตรงกับความตองการ

ประเด็นอื่นๆ
 แรงงานจําพวก Sales นั้นก็มีการปรับเปลี่ยนการทํางาน จากพนักงานขายกลุมนักทองเที่ยวทั่วไปเราก็
เปลี่ยนเปน Sales ที่มีการเขาเยี่ยมลูกคา เอเจนตางๆตามตางประเทศ การเขาพบลูกคามากยิ่งขึ้น เปน
ลักษณะของ Sales Marketing หรืออาจจะเปลี่ยนไปใหดูแลในสวนของ Mice ที่มีการเติบโตมากยิ่งขึ้น
 เพิ่มเติมในระดับโรงแรม 5 ดาว ก็มีการทําเปนเหมือนลักษณะของ Big Data ในการเก็บขอมูลลูกคา
โดยพนักงานที่ดแู ลในสวนนี้เรียกวา Guest Relation
 จากการเปลี่ ย นแปลงเข า สู อุ ต สาหกรรม 4.0 ภายใต ก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป นั้ น มองว า พวก
อุตสาหกรรมหนักจะมีผลกระทบตอแรงงาน เชน พวกรถยนตไฟฟา อุตสาหกรรมสรางสรรค อากาศ
ยาน เนื่องจากมองวาสามารถใชหุนยนต มาแทนคนไดจริงๆ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-80 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

38. หนวยงาน สมาคมมัคคุเทศนอาชีพแหงประเทศไทย


ผูใหสัมภาษณ คุณสมชาติ อังกาบสี
วันที่สัมภาษณ วันที่ 24 ส.ค. 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
สมาคมมัคคุเทศนอาชีพแหงประเทศไทยอุตสหกรรมการทองเที่ยว
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
ดวยความเปลี่ยนแปลงไปของเทคโนโลยีที่รวดเร็ว เชน ในสวนของเวปไซค แอพตางๆเขามา ทางสมาคมกลาว
วาคอยขางมีผลกระทบเนื่องจากแตเดิมการทํางานของมัคคุเทศนในการทําทัวรตางๆยังทํางานแบบเดิมๆเหมือนกับ 10
ปที่แลว แตเมื่อเทคโนโลยีเขามาทําใหลูกคาใหมๆบางทานไมใชมัคคุเทศนในการทองเที่ยวและจะทองเที่ยวดวยตัวเอง
เปนหลัก ซึ่งปจจุบันก็มีผลตอการจางงานของมัคคุเทศนที่มีอัตราลดนอยลง ดังนั้นมัคคุเทศนจะตองมีการปรับตัวใหทัน
กับเทคโนโลยีที่เขามา โดยทางสมาคมก็มีการติดตามขาวสารในเรื่องตางๆเหลานี้โดยตลอด
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ
แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางงานมัคคุเทศนที่จะประจําอยูในบริษัทโดยตรงจะมีจํานวนไมเยอะ แตสวนใหญจะเปนของ
ลักษณะมัคคุเทศนอิสระที่ทํางานที่อื่นดวยและทํางานมัคคุเทศนดวย
และดวยขอกฎหมายของธุรกิจนําเที่ยวนั้นของทางกระทรวงมัคคุเทศนจะตองรับงานจากบริษัททัวรเทานั้น
ตาม Job order จะตองมีใบอนุญาติที่ถูกตอง ไมสามารถรับงานสวนตัวเองได และสวนใหญจะตองจบปริญญาตรีตามที่
ขอกฏหมายกําหนด แตก็มีบางสวนก็จะมี ปวส มส หรือมัธยม บางที่ถือบัตรชมพูซึ่งจะไดภาษาแตวุฒิไมถึง
โดยในป จจุบั นสมาคมมองว าแรงงานมัคคุเทศนยังไมขาดแคลนจนถึงในระดับ วิกฤต แตบางบริษัทก็มีขาด
แคลนบ าง เชน บางบริษัทอาจจะมีมัคคุเทศนอยูในสายงานไมมาก แตบ างฤดูกาลมีการเขามาของนักทองเที่ยวที่
จํานวนมาก บริษัทก็เพียงแคประกาศหามัคคุเทศนอิสระเขามาทํางาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-81


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในแงของทักษะของแรงงานในขั้นพื้นฐานถือวาเพียงพอ ซึ่งจะมีทักษะแตกตางกันออกไปจะขึ้นอยูกับบัตร
อนุญาติที่มัคคุเทศนนั้นๆถือครอง กับประสบการณการทํางานของมัคคุเทศนที่ผานมาและความตองการของบริษัททัวร
ทีจ่ ะทํางานในพื้นที่แหลงทองเที่ยวที่ตางกัน
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ทางสมาคมมองวาการเขาสูตลาดแรงงานของผูสําเร็จการศึกษาจะขึ้นอยูกับหลักสูตรที่นักศึกษาเรียนมา วา
สถาบันไหนที่ปรับหลักสูตรตรงตามความตองการหรือไม ซึ่งเด็กที่จบออกมาตามหลักสูตรที่ถูกปรับแลว การเขามา
ทํางานมัคคุเทศนก็เพียงแคเรียนรูดวยประสบการณจริงในการทํางานเพิ่มเติม แตในกรณีที่จบมาไมตรงตามหลักสูตร
จะตองมีการเอาเขามาอบรมเรียนรูกันอีกครั้ง
ทางสมาคมกลาวเพิ่มเติมวาสวนใหญที่จบมาใหมนั้นเรื่องของภาษาจะมีปญหาบาง แตในสวนของทักษะอื่นๆ
ในการทํางานมัคคุเทศนสามารถเรียนรูกันไดไมยาก
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ทางสมาคมมองวาอาจจะมีแนวโนมที่เขามาทดแทนแรงงานคน ซึ่งก็ไมแนใจวาจะดีหรือไมดีในกรณีที่จะเขามา
แทน โดยมองวาในประเทศไทยคอยขางเปนเปนไดยาก เนื่องจากดวยวัฒธรรมตางๆหากนําไปใชในพื้นที่ท่เี ปน Local
ก็จะไมสามารถใชงานได แตในตางประเทศอาจจะเปนไปได
g. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
นอกจากภาษาที่สําคัญแลวนั้น ดวยการเขามาของเทคโนโลยีตางๆ ทักษะที่ควรจะตองมีทางสมาคมมองวา
ทักษะการใช IT แอพตางๆ จะตองสามารถใชงานไดดีและใหขอมูลตางๆในการใชงานกับทางลูกคาได เชน การใชแอพ
Ali Pay อีกทั้งทักษะที่ตองไดรับการอบรม เชน กรณีที่มีกลุมนักทองเที่ยวที่เขามาหลายรอยคนที่ตองใชทักษะเฉพาะ
การสื่อสารตางๆ ดานความรูรอบตัว ความรูในแหลงทองเที่ยวนั้นๆ
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
แผนการรองรับของทางสมาคมก็ไดมีการจัดอบรมความรูตางๆที่จําเปนเพิ่มเติมเปนระยะๆอยางสม่ําเสมอ อีก
ทั้งสมาคมก็พยายามปอนขาวสารตางๆไปยังมัคคุเทศนทั้งใหมและเกา หากมีบริษัทไหนที่มีการจัดอบรมก็พยายามบอก
กลาวใหมัคคุเทศนเขาไปหาความรูเพิ่มเติมตามยุคการเปลี่ยนแปลง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-82 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อีกทั้งสมาคมก็มีการจัดตั้งกลุมที่เปนเหมือนตาคอยจับตามองการเปลี่ยนแปลงตางๆวาจะเปลี่ยนไปในทิศทาง
ไหนดวย และหากมีเหตุการณใดที่จะมีผลกระทบตอแรงงานก็จะมีเจาหนาที่เขาไปประสานเขาไปเรียนรูและนําสิ่งตางๆ
มาวิเคราะห ปรับปรุงกันตอไปและสื่อสารไปยังสมาชิกของสมาคม
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ทางสมาคมเสนอวาควรมีงบประมาณในการสนับสนุนการจัดอบรมมัคคุเทศนในทักษะตางๆใหมากขึ้นดวยการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี หรือแมกระทั่งการเพิ่มเติมในการใหความรูในขอกฎหมายตางๆดวย

ประเด็นอื่นๆ
 แรงงานมัคคุเทศนสวนใหญจะไมเขาไปสมัครงานเปนพนักงานประจําเนื่องจากคาตอบแทนตางๆยังไม
คุม ซึ่งสวนใหญจะเปนลักษณะของมัคคุเทศนอิสระรับงานทั่วไปมากกวา และทํางานอื่นๆควบคูไปดวย
 ในสวนของหุนยนตมัคคุเทศนปจจุบันประเทศไทยยังไมมีการนําเขามาใชงาน
 ปจจุบันสมาคมมัคคุเทศนอาชีพแหงประเทศไทยมีสมาชิกประมาณ 3000 คน ซึ่งเปนสัดสวนที่ไมเยอะ
มากหากเทียบกับมัคคุเทศนทั้งหมดของประเทศไทยที่มีประมาณ 70000 คน
 ทางสมาคมมองวาอุตสาหกรรมที่จะไดรับผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมเขาสูยุค 4.0
ของแรงงานนั้นจะเปนอุตสหกรรมการบิน ยกตัวอยาง พวกพนักงานสายการบินตางๆตามจุดเช็คอิน ก็
อาจจะมีโอกาสลดลงหรือแทนที่ดวยเทคโนโลยี

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-83


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

39. หนวยงาน วิทยาลัยดุสิตธานี


ผูใหสัมภาษณ คุณวัชรากร มยุรี
วันที่สัมภาษณ วันที่ 27 ส.ค. 61
1. ใน 10 กลุมอุตสาหกรรมเปาหมายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป อุตสาหกรรมใดบางที่มีความเกี่ยวของกับ
หนวยงานของทาน
วิ ทยาลัยดุสิตธานีนั้นเปนหนวยงานที่เ กี่ยวขอ งในอุตสาหกรรมการทองเที่ยว โดยจะอยูในสวนของโรงแรม
อาหาร รวมถึงสปา
2. ในความเห็นของทาน สําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับหนวยงานของทานตามขอ 1
2.1 ความตองการใชแรงงาน ในปจจุบันและแนวโนมในอนาคตชวงระยะเวลา 3-5 ป ผลกระทบที่มี
ตอความตองการใชแรงงานในอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ําที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมดังกลา ว
(ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ)
จากแต เดิมที่ อุตสาหกรรมอยู ในยุ คตั้ง แต 1.0 มานั้น จนถึง การปรับ ตัว เขา สูยุ ค 4.0 ในอุตสาหกรรมการ
ทองเที่ยวโรงแรมนั้นยังคงตองใชแรงงานคนเปนหลักเนื่องจากยังเปนความจําเปนในดานการบริการ แตหากมองวา
เทคโนโลยีตางๆที่เขามามีนั้นก็ผลตอความตองการแรงงานดวยเชนกันในทุกๆดาน โดยกลาววาสิ่งที่เขามาอันดับแรกก็
คือเรื่องของดิจิตอลซึ่งทําใหผูใชบริการนั้นเปลี่ยนแปลง ทําใหแรงงานจะตองปรับตัวใหเขาใจในสวนนี้มากขึ้นจากการ
เปลี่ยนแปลง ดังนั้นจากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเรียนการสอนของทางวิทยาลัยก็มีรูปแบบที่เปลี่ยนแปลงไปโดยใช
ในสวนของระบบสารสนเทศนเขามาเกี่ยวข องเพิ่มมากขึ้นในการจัดการในทุกๆดานของการทํางาน ทั้งรานอาหาร
โรงแรมที่พัก การจัดการ Store อีกดวย
ถามองในด านความตองการแรงงาน ในภาพของนักศึกษาที่จบออกไปจากวิทยาลัยสว นใหญก็ยังมีงานทํา
มากกวา 90% ของนักศึกษาที่จบออกไปทั้งในและตางประเทศในอุตสาหกรรมทองเที่ยวในทุกๆระดับ
ในภาพอุตสาหกรรมของธุรกิจ โรงแรมบางโรงแรมนั้นก็เ ริ่มมีการปรับ จากการเขามาของเทคโนโลยี เชน
โรงแรม Aloft 4 ดาว จากการเขาไปดูงาน ก็เริ่มมีการลดปริมาณการใชแรงงานคนโดยสามารถจองออนไลน เขามาใช
บริการก็หยิบกุญแจไดโดยตัวเองทั้งหมด ทําใหสวนงานที่ตองเจอลูกคาก็มีเพียงแคแรงงานคนเดียวในการดูระบบ แตก็
เปนสวนนอยที่เริ่มมีการลดคน เพราะอีกหลายโรงแรมก็ยังตองใชคนในปจจุบัน แตหากมองในอนาคตในความเห็นมอง
วาดานแรงงานคนอาจลดลง ยกตัวอยาง แมบานอนาคตอาจจะใช Robot เขามาชวยก็จะสามารถลดสวนแรงงานคนได
อีกทั้งยกตัวอยางในสวนของโรงแรมที่ญี่ปุน เริ่มจากโรงแรมดาวนอยเราจะเจอพนักงานเพียงวันเดียว นอกนั้นในการใช
บริการเราสามารถอยูไดดวยตัวเองตลอดพอใชบริการเสร็จก็แคคืนกุญแจแลวจายผานบัตร สวนโรงแรมที่ดาวเพิ่มขึ้น ก็
มีการนําตูหยอดเหรียญอัตโนมัติ เขามาใช เปนตน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-84 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ในสวนของรานอาหารปจจุบันก็ยังคงตองใชแรงงานคนอยู เพราะวาในการเสริฟก็ยังไมเห็นวาหุนยนตจะเขา
มาทําไดดี อีกทั้งในสวนของสปาก็ยังตองใชคนเชนกัน ในการบริการทําสปา
โดยสุดทายมองวาในดานความตองการแรงงานที่ลดลงนั้นสวนที่ลดลงมาก็จะถูกนําไปใชในอีกสวนงานหนึ่งที่
แตกตางกันออกไปในรูปแบบของการทํางาน
2.2 ลักษณะการจางงาน (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลนแรงงาน/ทักษะ
แรงงานหรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางงานแบงออกเปน 3 ระดับ ในสวนระดับแรกก็จะมีการจางเปนรายวัน ระดับตอมาก็เปนการ
จางชั่วคราวรายเดือน และสุดทายกจะเปนการจางงานประจํา โดยสวนใหญแรงงานที่วิทยาลัยปอนเขาไปก็จะเปนสวน
ของงานประจํ า รวมถึงอีก หลายๆโรงแรมก็จ ะมีการจัด หาแรงงานที่เปน outsource ในสว นของแรงงานแมบาน
ภายนอกรอบๆโรงแรม แตถาแมบานที่เปนในหองพักจะเปนประจํา สวนของวิศวกร หรือ IT ก็มีหลายโรงแรมที่เปน
ลักษณะของการ outsource
ในอัตราสวนของแรงงานคนที่อยูในโรงแรมนั้นทางวิทยาลัยกลาววา จากพนักงานในโรงแรม 100 คน จะมี
มากกวา 50 คนจะเปนแมบาน
หากเปนในสวนของทักษะแรงงาน ก็จะแบงออกไดเปนสวนๆ ดังนี้
เริ่มจากสวนที่ไมมีทักษะในการทํางาน un-skill ก็จะจางมาเปนในสวนของคนสวน รับกระเปา เปนตน โดย
จะเขามาแลวสอนงานอีกครั้ง สวนตอมาที่เรียกวา semi-skill ก็จะจางมาเปนผูชวยตางๆ เชน ผูชวยเชฟ งานบริการ
เปนตน ที่ผานแคใบเซอร ก็สามารถเขามาทํางานได สุดทายสวนที่เปน skill ก็จะจางมาเปน supervisor เปนหัวหนา
งานจนกระทั่งระดับ GM
โดยในแตระดับแรงงานที่ยังขาดแคลนอยูที่มองเห็นเลยก็จะเปนสวนของการตอนรับบริการสวนหนาไมใชขาด
เพราะไมมคี นเขามาทํางาน แตขาดเพราะไมมีแรงงานที่สามารถทํางานเฉพาะทางในดานนี้ได อยางยิ่งในเรื่องของภาษา
อื่นๆ นอกจากภาษาอังกฤษ โดยแนวทางในการแกปญหาก็เริ่มมีการจัดจางแรงงานตางประเทศที่ใชภาษาโดยตรงเขา
มาทํางานแทนในสวนนี้เลย
2.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ในสวนของแรงงานที่จบแลวเขาสูตลาดงานของวิทยาลัยมองวาที่จบไปจากดุสิตก็ตอบตรงตามความตองการ
อยูเพราะมีการปรับตามเทคโนโลยีที่โรงแรมตางๆใชอยูโรงแรมที่อะไรก็จะสอนสิ่งที่โรงแรมตางๆนั้นใช เด็กที่จบออกไป
ก็สามารถเขาไปใชไดเลย เชน โปรแกรม Opera ที่เปนมาตรฐานในปจจุบัน ในสวนของอาหารก็สามารถเขาทํางานได

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-85


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

เลยเชนกัน จากเสียงตอบรับจากหนวยงานตางๆ ก็บอกวาเด็กที่จบไปจากดุสิตก็ไมตองเทรนอะไรมากสามารถทํางาน


ไดเลย
หากมองในภาพกวางๆในภาพรวมในมุมมองสวนตัวของผูใหสัมภาษณ มองวาสวนใหญแรงงานที่เขาสู
ตลาดก็ จ ะต องมี ก ารเทรนจากหนว ยงานต างๆเพิ่ มอยูแ ลว มีการอบรมเทรนออนไลน ใหเขา ใจลักษณะงานของ
หนวยงานนั้นๆโดยตรง
2.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร ดิจิตอลเทคโนโลยี หรือ ระบบ AI มาแทนที่
แรงงานมากนอยเพียงใด
ในมุมมองของผูใหสัมภาษณมองวามีแนวโนมเขามาทดแทนแรงงานคนได โดยอิงจากการที่ไดไปดูงานที่ญี่ปุน
ในรานอาหารก็สามารถแรงงานคนออกไปไดถึงสองสวนงานในการรับออเดอรและคิดเงิน ถึงแมจะใชเทคโนโลยีที่ไมถึง
ระดับ AI ในดานการจองหองพักก็เริ่มตัดสวนงานที่ตองใชแรงงานในการจองหองพักโดยใชแอพตางๆ และหาก AI เขา
มาไดเต็มรูปแบบก็มองวาจะเขามาแทนแรงงานคนไดอยางแนนอน แตในประเทศไทยมองวายังคงชากวาในการที่จะเขา
มาแทนแรงงานคนได เนื่องจากความพรอมหรืออุปกรณท่พี รอมจะใชในการแทนที่แรงงานคนยังชากวาประเทศอื่นๆ
ทางผูใหสัมภาษณเพิ่มเติมอีกอยางวาถึงแมจะเขามาทดแทนแรงงานคนนั้น แตแรงงานคนก็ยังจําเปนที่จะตอง
มีในการตัดสินใจเรื่องตางๆอยู โดยมองวาแรงงานคนจะตองพัฒนายกระดับตัวเองขึ้นไปและเทคโนโลยีจะเปนตัวชวย
ในการทํางานใหเราทํางานไดงายขึ้น และถึงแมวา AI จะเขามาทดแทน แรงงานคนก็จะพัฒนาตัวเองไปทํางานในงานที่
ยากกวาที่ AI สามารถทําได
h. ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาอุตสาหกรรม
ทักษะของแรงงานที่จําเปนจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี นอกเหนือจากทักษะพื้นฐานของการทํางาน
บริการแลวนั้น ทักษะที่จําเปนอยูมองวาในดานภาษามาเปนอันดับแรก สวนตอมาก็จะเปนทักษะการใชเทคโนโลยีหรือ
โปรแกรมที่มีการเปลี่ยนแปลงไปในแตละชวง รวมถึงทักษะในการคิดสรางสรรคท่จี ะสามารถคิดคนสิ่งใหมๆนวัตกรรม
ใหม ๆ ได และสุ ด ท า ยมองว า แรงงานทั้ ง สองส ว นทั้ ง Blue White นั้ น จะต อ งมี ทั ศ นคติ ที่ ดี ใ นการทํ า งานที่ ต อ ง
เปลี่ยนแปลงไปอีกดวย
2.6 นโยบาย แผนการรองรับหรือ Roadmap จากหนวยงานของทานในการพัฒนาแรงงาน (ทั้ ง
blue collar และ white collar) เพื่อรองรับสถานการณ ความตองการใชแรงงาน ตามแนวโนมที่เกิดขึ้น
ทางวิทยาลัยก็มีแผนรองรับคือก็มีการเปดสาขาการเรียนขึ้นมาใหม เปนสาขานวัตกรรมการทองเที่ยว คือมีการ
เรียนที่ผสมผสานกับ นวั ตกรรมตางๆ อีกทั้งสาขาหลักๆที่มีการเรียนการสอนอยูแตเดิมแลวก็จะเริ่มใสเทคโนโลยีที่
เปลี่ยนแปลงไปเขาไปเพิ่มเติมดวย การเรียนจากที่สอนใหใชใหคํานวณขอมูลก็เปลี่ยนเปนการนําขอมูลตางๆมาคิด
วิเคราะห

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-86 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อีกทั้งวิทยาลัยก็มีหลักสูตรใหแรงงานตางๆทั่วเขามาเรียนเพื่อที่จะไดใบประกาศในการที่จะเขาไปทํางานใน
อุตสาหกรรมโรงแรมได
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0 (ทั้ง blue collar
และ white collar)
ผู ให สั ม ภาษณเสนอว าหนว ยงานรัฐ บาลต องเตรีย มความพรอ มในสว นของพื้น ฐานการศึ กษาวา จากการที่
เปลี่ยนแปลงไปของเทคโนโลยีจะทําอยางไรใหแรงงานคนไมรูสึกวาเทคโนโลยีจะเขามาเปนปญหาของเคา และสามารถ
นําเทคโนโลยีตางๆมาปรับใชใหดีขึ้น ยกตัวอยาง รานขาวผัดของลูกศิษยที่นําระบบตางๆเขาไปชวยในรานขาวผัด โดย
ปจจุบันใชคนเพียง 2 คนในการทํางานทั้งราน
เสนออีกเรื่องวาภาครัฐตองเขามามีบทบาทมากขึ้นในการใหความรูแรงงานตางๆและทําความเขาใจกับแรงงาน
วาหากมีเทคโนโลยีเขามาแลวแรงงานตางๆที่ไมไดทํางานเดิมๆแลวหรือถูกทดแทน แรงงานตางๆจะตองทําอยางไร
เพราะมีอีกหลายคนที่ยังไมคิดถึงเหตุการณตางๆที่จะเกิดขึ้น
ประเด็นอื่นๆ
 จากการเปลี่ ย นแปลงเข า สู อุ ต สาหกรรม 4.0 ภายใต ก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป นั้ น มองว า
อุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพตองปรับตัวกอนอุตสาหกรรมอื่นๆ เพราะพลังงานจะเปนตัวที่สามารถทําใหอุตสาหกรรม
อื่นๆทํางานไดขึ้น ตอมาเปนสวนของเกษตรอาหารเนื่องจากเกี่ยวของกับรากหญามากขึ้น โดยอยากใหปรับเปนลักษณะ
ของฟารม 4.0 เกษตรกรมีองคความรูดานเทคโนโลยีเขามาใช อีกทั้งการปรับเขา 4.0 ถาเกษตรกรไมปรับตัวตอไปจะไม
มีใครจางทํางาน เพราะจะถูกทดแทนดวยเทคโนโลยีได ยกตัวอยางคนตัดออย ที่ปจจุบันใชคนนอยจากแตกอนมาก
จาก 25 ปจจุบันใชเพียงแค 6 คน
 ธุรกิจโรงแรมนั้นจากแตเดิมที่จะตองบริการตอบถามผานโทรศัพทหรือตอหนาลูกคา ปจจุบันก็ตองมี
แรงงานที่จะตองตอบเรื่องตางๆผานหนาจอคอมพิวเตอร ในสวนของทั้ง Facebook Youtube เปนตน
 จากการเขา มาของแอพการจองตา งๆ การทํา งานของ Sale ยังคงจําเป นอยูในอุตสาหกรรมการ
ทองเที่ยวโรงแรม แตการทํางานจะเปลี่ยนแปลงไป และดวยยังคงตองใชคนในการสรางความสัมพันธกับหนว ยงาน
ตางๆ ในการดีลธุรกิจกัน
 ในสวนของ Robot ที่รับบริการในการเช็คอินโรงแรม ในประเทศไทยยังไมมีการนําเขามาใช
 อุตสาหกรรมทองเที่ยวโรงแรมเริ่มมีการใชระบบ Big Data เขามาในการวิเคราะหขอมูลเก็บขอมูล
ตางๆ ในโรงแรมขนาดใหญ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-87


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

40. หนวยงาน โรงแรมคุมภูคํา เชียงใหม


ผูใหสัมภาษณ พัฒนะ ลี
วันที่ใหสัมภาษณ 8 ก.ย. 2018
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอตุ สาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา: เกี่ยวของกับการสรางและเซตอัพโรงแรม
Property developer,
Design firms (architecture, landscaper, and interior design), Suppliers of raw materials for food
& beverage
แนวโนม: มีการสื่อสารกับทางโรงแรมและทําเอกสารรวมกันโดยผานกับระบบ IT มากขึ้น อาจจะมีการเจอหนา
กันนอยลง
กลางน้ํา: เกี่ยวของกับสรรหาบุคลากรและการบริหารจัดการ
Management consultants,
Training consultants,
Headhunters, Online job boards
แนวโนม: มีผูใหบริการแนวนี้มากขึ้น และยินดี customize ใหกับโรงแรมมากขึ้น ทําใหโรงแรมมีทางเลือก
มากขึ้น
ปลายน้ํา: เกี่ยวของกับการนําแขกเขามาและใหบริการแขก
Online travel agents (agoda.com, booking.com, etc.)
Tour operators
Online review sites (tripadvsior.com)
แนวโนม: ลูกคามีแนวโนมที่จะอาน online review ของ online travel agents และ online review sites
และใช review ประกอบการตัดสินใจเขาพักโรงแรม มากกวามาตรฐานดาวของสมาคมโรงแรมไทย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-88 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแ รงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาด


แคลนแรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
สวนใหญแลวพนักงานในโรงแรมจะเปนพนักงานแผนกแมบาน (housekeeping) ซึ่งจะหายากเปนบางครั้ง
ในชวงหนา high-season เนื่องจากหลายโรงแรมมี occupancy สูง และจะมีการซื้อตัวกันไปมา แตตําแหนงที่ขาด
แคลนมากกวาคือบุคลากรระดับ head of departments ขึ้นไปที่มีฝมอื และความสามารถจริง สิ่งที่เราทําไดคือการให
สวัสดิการที่ดี (competitive compensations) และทํา HR Marketing เพื่อสรางภาพลักษณที่ดีขององคกรตอผูสนใจ
สมัคร และการใหพนักงานภายใน refer ผูสมัครเขามา
1.3 ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมีหรือมีไมเพียงพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีในระดับหนึ่ง แตเชื่อวาการศึกษาจากภายนอกองคกรสามารถเตรียมพรอมพนักงานใหอานเขียนคิดวิเคราะห
เปนเทานั้น แตสิ่งที่องคกรมองหาคือคนที่มีประสบการณจากโรงแรมอื่นมามากกวา ดังนั้นหากตองการพนักงานที่มี
ประสบการณก็มักจะมองหาตามนี้
1.4 อุตสาหกรรมของทา นมีแ นวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แ รงงานมากนอย
เพียงใด
Artificial Intelligence จะเข า มาแทนที่ ห น า ที่ บ างส ว นของพนั ก งานบางตํ า แหน ง เช น clerk, project
coordinator แตสิ่งที่เรามองเห็นมากกวา คือ การใช Augmented Intelligence โดยใชการวิเคราะหขอ มูลหรื อ
smart tools เข ามาทํ าใหทีมงานของเราทํางานไดมีประสิทธิภาพมากขึ้น เปนตนวา sales and marketing team
สามารถวิ เคราะหความตองการของลูกคาแตละ segment จากขอมูลที่มีเพื่อทํา strategy ใหตอบโจทยกลุมลูกคา
แทนที่จะใชการคาดเดาจากประสบการณ
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
1. Critical Thinking – การคิดวิเคราะหและแยกแยะใหเปน
2. Systematic Thinking – การคิดใหเปนระบบ
3. Design Thinking – การคิดจากมิติที่กวางขึ้น
4. User Experience Design – การวางระบบและดีไซนโดยมีลูกคาเปนศูนยกลาง
5. Digital Marketing – การทําการตลาดแบบติจิตอล

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-89


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
อุตสาหกรรม New S Curve ประกอบดวย:
1) อุตสาหกรรมหุนยนต (Robotics)
2) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส (Aviation and Logistics)
3) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals)
4) อุตสาหกรรมดิจิตอล (Digital)
5) อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร (Medical Hub)
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]

เรามีวิศวกรจํานวนมากที่สามารถพัฒนาไดเพื่อ - เราขาดการเชื่อมตอระหวางภาครัฐและ
support การเติบโตของอุตสาหกรรม ภาคเอกชน ภาคธุรกิจและภาคการศึกษาเพื่อ
สราง ecosystem ที่จะพัฒนาบุคลากรเพื่อ
support การเติบโตของธุริกจเหลานี้
- ภาคเอกชนไมมั่นใจวาภาครัฐเขาใจปญหาของ
ภาคเอกชน ภาครัฐขาดความชัดเจนในแง
รูปธรรมของการ support ธุรกิจ

โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]

เทคโนโลยีที่พัฒนาอยางรวดเร็ว ทําใหหากเรา การที่เทคโนโลยีพัฒนาอยางรวดเร็วก็จะทําให


สามารถเขารวมไดอยางถูกจังหวะก็จะสราง เทคโนโลยีที่เรานํามาใชพัฒนาลาหลังอยางรวดเร็ว
economic impact ไดอยางมหาศาล เชนเดียวกัน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-90 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


สํ า หรั บ ประเทศไทยแล ว ควรเป น ภาคการผลิ ต การเกษตรและภาคการท อ งเที่ ย วที่ ต อ งนํ า ระบบ data
management system เขามา
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ธนาคารและแหลงเงินทุน ควรใหเงินลงทุนฟรีหรือเงินลงทุนดอกเบี้ยต่ําเพื่อ support กิจกรรมที่ทําใหการ
บริหารจัดการทันสมัยยิ่งขึ้น

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
1. สังเกตธุรกิจที่นําเทคโนโลยีมาใชไดอยางถูกตอง ดูวาเขาใชทักษะอะไรในการทําใหเกิดขึ้น
2. ทําใหคนที่เขาใจเทคโนโลยีเขาใจปญหาที่ธุรกิจประสบอยู และดูวาจะนําเทคโนโลยีเขามาแกไขไดอยางไร
3. ทําใหคนที่เขาใจในปญหาธุรกิจเขาใจถึงศักยภาพของเทคโนโลยี และดูวาจะนําเทคโนโลยีเขามาแกไขได
อยางไร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-91


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

41. หนวยงาน ทรายรี ฮัท รีสอรท


ผูใหสัมภาษณ คุณกมลรัตน เดี่ยววาณิชย
วันที่ใหสัมภาษณ 25 กันยายน 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
5. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ระดับตนน้ํา ไดแก สายการบินจากตางประเทศนับวามีหลากหลายสงเสริมธุรกิจดี ระดับกลางน้ํา ไดแก ภาค
ขนสงทั้งสายการบินภายในประเทศ รถไฟ รถทัวร นับวามีบริการหลากหลายและแตกตางหลายราคา ระดับปลายน้ํา
ไดแก ที่ทําซึ่งมี หลากหลายมากมาย แตทําใหเกิดผลเสียในการแขงลดราคาจาก กิจการใหมๆ ที่เพิ่งเปดขึ้นทําให
อัตรากําไรลดลง
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
การจางงาน แบงเปน 2 ประเภท พนักงานรายวัน และพนักงานประจํา ซึ่งยังมีปญหาการขาดแคลนแรงงาน
เพราะสถานประกอบการเปนเกาะหางไกลจากแผนดินใหญ ทําใหไมมีโอกาศคัดเลือกแรงงานที่มีทักษะมาปฎิบัติงานได
เมื่อพื้นฐานของตัวพนักงานเองไมพรอมสําหรับพัฒนาตอเนื่องทําใหเกิดปญหาในการปรับปรุงคุณภาพของธุรกิจ
1.3 ปจ จุบันผูสําเร็จการศึกษาเขา สู ตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเ พียงพอ มี
นโยบายแกปญหาอยางไร
ตลาดแรงงานมีทั้งแรงงานที่มีทักษะหลายๆระดับ แตเนื่องจากกิจการไมมีโอกาสเลือกแรงงานมากนัก ทํา
ใหเปนอุปสรรคในการพัฒนาตอปจจุบัน แกปญหาโดยรับนักศึกษาฝกงานเพิ่มขึ้นเพื่อใหโอกาสเยาวชนที่ตองการเรียนรู
จริงๆ จากงานจริง และกิจการในการคัดเลือกแรงงานที่มีความรู
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ธุรกิจบริการ ยังไมสามารถทําเครื่องจักรกล หรือเทคโนโลยีมาทดแทนไดทั้งหมด แตในสวนที่ขาดแทนได รี
สอรท ของเราพยายามวางแผนงานรองรับโดยยึดหลักวางระบบใหใชคนนอยที่สุด แตคัดคนมีคุณภาพสู ง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-92 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


1.ธรรมชาติที่สวยงาม ติดอันดับตนๆ 1.ขาดแรงงานที่มีคุณภาพทําใหพัฒนาการบริการยาก
2.รีสอรทเราไมใหญมากจนดูแลลูกคาไมทั่วถึง
3.รีสอรทเราเนนความปลอดภัยงายๆสบายๆเหมาะกับการ
พักผอน

โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]


1.สามารถเปดบริการไดทั้งปแมฤดูฝนหรือหนามรสุม 1.สถานที่ทํางานไกล ทําใหรับพนักงานยากมาก
เพราะเราอยูฝงอาวไทย ซึ่งมีปญหา เรื่องดินฟาอากาศ 2.ระยะทางไกล ทําให ลูกคาตองเสียคาใชจายเยอะในการ
นอยกวาอันดามัน เดินทางมาพัก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-93


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
1.สถาปนิค - มีความรูเรื่องการออกแบบอาคารให -ปริญญาตรี
เหมาะสมกับพื้นที่ -ปริญญาโท
-มีประสบการณตรงมากพอสมควร
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
1.การตลาด -มีความรูเรื่องการทําตลาดตามธุรกิจ -ปวส
และมีประสบการณในงานโดยตรง -ปริญญาตรี
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
1.รีเซฟชัน -ภาษาตางประเทศดีมจี ิตบริการ -ปริญญาตรี
-ปวส
4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ระดับแหลงผลิตแรงงาน
- ควรผลิตแรงงานที่มีคณ
ุ ภาพในดานความรู ความสามารถใหเหมาะสมกับตลาดในยุด 4.0
- ควรอบรมจริยธรรม และ สรางทัศนคติที่ดีใหแรงงานเพื่อเตรียมตัวในการพัฒนา และแกปญหาในการทํางาน
จริง
- ผลิตแรงงานใหตรงกับตลาดอุตสาหกรรม เพื่อลดปญหาการวางงาน และขาดงานในแตละอุตสาหกรรมระดับ
อุตสาหกรรม
- เตรียมวางระบบการทํางาน เพื่อรองรับ4.0 การพัฒนาตอเนื่อง
- จัดสวัสดิการ และบริการพื้นฐานสําหรับแรงงานตามความเหมาะสม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-94 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรม
เชื้อเพลิงชีวภาพ และ เคมีชีวภาพ

42. หนวยงาน บริษัท จัดการอากาศอัด จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณกรัณย รักเจริญ
วันที่ใหสัมภาษณ 2 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํ า และปลายน้ํา ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรม auto part มีการปรับตัวในการใชพลังานมากขึ้น ทําใหมีการตระหนักในการใชพลังงาน มากขึ้น
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ดานแรงงานตอนนี้ขาดแรงงานที่มีทักษะที่จบการศึกษาระดับอาชีวะเนื่องจากสวนใหญจะเรียนตอในระดับ
ปริญญาตรี ทําใหขาดแรงงานที่มีทักษะดานฝมือแรงงาน
1.3 ป จจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทัก ษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเพียงพอ มี
นโยบายแกปญหาอยางไร
แรงงานในตลาดมีทักษะนอยมาก ทางแกตองใหภาครัฐสนับสนุนผลักดันใหแรงงานที่สําเร็จการศึกษาระดับ
อาชีวะมีรายไดท่ดี ี แกระดับฝมือแรงงานและรายไดใหมากขึ้น
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนมมากขึ้น เนื่องจากปจจุบันก็มีการทําเทคโนโลยีเขามาบริหารจัดการมากขึ้นอยูแลว
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
Mechatronic/ Mechatronic technology

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-95


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
ทุกอุตสาหกรรมจําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0 แตประเทศไทยมีจุดเดนเรื่องงานบริการ การสนับสนุนให
เริ่มที่อุตสาหกรรมประเภทนี้กอน
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ทุกภาครัฐมีความสําคัญเทาเทียมกัน
3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
วิศวกรออกแบบ สามารถออกแบบวงจรผลิ ต หลั ก และ ปริญญาตรี ปริญญาโท 40%
พัฒนาวงจรได
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
วิศวกรควบคุมการผลิต ควบคุมดูแลการติดตั้ง ปริญญาตรี 10%
Setting ระบบ
ชางเทคนิค ติดตั้งระบบ ปวส./ปวช. 40%

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
วิศวกรตรวจสอบ ติดตามตรวจสอบการติดตั้งและทดสอบ ปริญญาตรี 10%
ระบบ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-96 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
1.สรางแบบสอบถามที่เขาใจไดงา ยกวานี้ เพื่อที่จะนําขอมูลที่ไดไปใชงานไดจริง
2.ตองมีการรวมมือกันทุกๆดานการสนับสนุนจากภาครัฐตองทําการศึกษาถึงผลกระทบที่จะไดอยางละเอียด
เพราะสวนใหญนโยบายสนับสนุนจากภาครัฐจะไดผลตอบแทนที่ไมคุมคา เนื่องจากสนับสนุนไมตรงจุด
3.สนับสนุนใหมีการพัฒนาฝมือแรงงานระดับอาชีวะอยางจริงจังและยกระดับรายไดใหเหมาะสมกับที่มีทักษะ
ยังมีอยูมากในตลาดแรงงาน แตในประเทศไทยแรงงานที่มีผูมีฝมือรายไดจะต่ําจึงจําเปนตองยกระดับตัวเองใหเปน
วิศวกรโดยศึกษาตอ ในที่สุดเราก็จะสูญเสียชางฝมือเกงๆไป และไดวิศกรแยๆมา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-97


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

43. หนวยงาน บริษัท พีแอนดเอส ดไซน จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณศิริลักษณ
วันที่ใหสัมภาษณ 1 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรมอาหาร (ปลายน้ํา) ซึ่งเปนอุตสาหกรรมที่สงผลตอตนน้ํา และกลางน้ํา อุตสาหกรรมมันสําปะหลัง
เริ่มตนจากอุตสาหกรรมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา อุตสาหกรรมเหล็ก มี่ทั้งแบบตนน้ําและปลายน้ํา ซึ่งอุตสาหกรรม
เหลานี้จะมีน้ําเสียออกมาเปนจํานวนมาก หากตองการบําบัดน้ําเสียก็จะเกี่ยวของกับธุรกิจ biogas อยางยิ่ง
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ปญหาการขาดแคลน แรงงานที่มีความรูความสามารถ ปจจุบันในสังคมมีการศึกษา เฉพาะภายในกรอบของ
การศึกษา บางที่มารวมงานก็จะมีจริยธรรม ขาดความอดทน รูเพียงแคทฤษฎี ที่เคยเรียนมา แตในทางทํางานจริง ทาง
บริษัท ตองการคนที่มีความรูความสามารถ และความอดทน มีไหวพริบในการแกไขปญหา แนวทางแกคือใหเรียนดาน
ทางเผชิญตอความจริงของงานมีนอกเหนือตําราเรียน
1.3 ปจ จุบันผูสําเร็จการศึกษาเขา สู ตลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเ พียงพอ มี
นโยบายแกปญหาอยางไร
ไมคอยมีเทาไหร บุคคลที่ทํางานรวมงาน มักไมมีความชํานาญ และความอดทนบางรายคิดวาตัวเองเกง งาน
ของเราเปนงานที่ละเอียด ยังจําเปนตองหาคนที่มีความรอบคอบทางแกปญหา เมื่อรับทํางานเราจะให ทํางานอยาง
จริงจัง สรางความอดทนเพิ่มความรูใหมแรงงานที่รับเขามารวมงาน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
หากเปนไปไดในความตองการตองมาพรอมกันเปนทุน หากเราเลือกได ก็อยากไดระบบ AI เพราะ (1)
ไมพูดมาก (2) ทํางานตลอดเวลา (3) งานจะมีประสิทธิภาพตามที่กําหนด

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-98 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
วิศวกรรมโยธา/กอสราง/สิ่งแวดลอม/น้ํา เพราะมีความจําเปนตอการนํามาใชความรูความสามารถของงาน
ที่เกี่ยวกับโครงการของเรา
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


สรางอุตสาหกรรมใหครบวงจร ยกระดับวงการ ขาดบุคลากรที่มีความรู ความสามารถในการพัฒนาที่
อุตสาหกรรมไทยใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น มากขึ้น
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
มีโอกาสในการพัฒนาใหมากยิ่งขึ้น เงินทุน บุคลากร

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อาหาร , อุตสาหกรรมเชื้อเพลิง
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-99


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
วิศวกรชางกล มีความรูเ รื่องระบบเครื่องบยนต ปริญญาเอก 1%
ปริญญาตรี 30%
69%
ปวช-ปวส
วิศกรโยธา มีความรูด านเทคนิค/สิ่งแวดลอม ปริญญาเอก 0%
ปริญญาโท 10%
90%
ปริญญาตรี
ชางไฟฟา ระบบไฟ/วางหมุนในกระแสไฟ ปริญญาตรี 50%
ปวช-ปวส 50%
อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
วิศวกรโยธา วางางระบบ /สิ่งแวดลอม ปริญญาตรี 10%
ปริญญาโท 30%
60%
ปวช-ปวส
วิศวกรไฟฟา ระบบไฟ ปริญญาตรี 10%
ปริญญาโท 50%
60%
ปวช-ปวส
วิศวกรเครื่องกล เครื่องยนต
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
วิศวกรโยธา วางระบบ/สิ่งแวดลอม ปริญญาตรี 30%
ปวช-ปวส 70%
ไฟฟา ระบบไฟฟา ปริญญาตรี 30%
ปวช-ปวส 70%

เครื่องกล เครื่องยนต ปริญญาตรี 30%


ปวช-ปวส 70%

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-100 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
- จัดการอบรมใหมีคณ ุ ธรรมจริยธรรม
- มีความรูเรื่องสิ่งแวดลอมที่มากขึ้น
- ฝกใหมีความอดทนใหมากขึ้น
- ใหมีการรวมปฏิบัติงานจริง หรือหลักสูตรกอนการทํางาน
- พาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพมาสอน
- รัฐรวมสนับสนุนการศึกษาใหมากขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-101


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

44. หนวยงาน บริษัทเอ็นเนอรยี่ คอนเซอรเวชั่น ซิสเต็ม(ประเทศไทย)จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณดาวเรือง สรรพสาร
วันที่ใหสัมภาษณ 5 ตุลาคม2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
เครื่องทําน้ําเย็น เครื่องปรับอากาศ โรงงานที่มีโหลดความรอนทิ้ง waste heat (ลูกคา)
1.2 ลักษณะการจ างงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ใชแรงงานที่มีความรูดานเทคนิค เชน ชางเชื่อม,ชางไฟฟา,ชางโยธา
1.3 ป จจุบันผูสําเร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทัก ษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเพียงพอ มี
นโยบายแกปญหาอยางไร
ตองการมีการศึกษาและทักษะ ถามีไมเพียงพอก็ใชวิธีคนที่มีในองคกรรับผิดชอบชวยเหลือกัน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
บริษัทของเราทําเกี่ยวกับรับเหมาติดตั้งระบบปรับอากาศและเปนตัวแทนจําหนายเครื่องปรับอากาศจึงไม
จําเปนหรือไดใชเครื่องจักร
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
แรงงานที่ตองการ ชางไฟฟา ชางเทคนิค ชางเชื่อม กอสราง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-102 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
วิศวกรระดับสูง Energy solution , Design ปริญญาตรี
ปริญญาโท
system

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
วิศวกรเครื่องกล มีความรูด านระบบปรับอากาศ ปริญญาตรี

วิศวกรไฟฟา มีความรูด านไฟฟา ปริญญาตรี

วิศกรโยธา มีความรูด านงาน civil ปริญญาตรี

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)
ชางเทคนิค มีความรูด านงานเชื่อม งานชาง ปวส-ปวช

แรงาน มีความรูงานเชื่อม ไฟฟา กอสราง -

3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
การใหการศึกษาที่ดี,การอบรม,สรางแรงจูงใจใหกับแรงงาน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-103


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

45. หนวยงาน บริษัท ไดนิชิ คัลเลอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณสุภาริยา
วันที่ใหสัมภาษณ 8 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
อุตสาหกรรมตนน้ํา การผลิต อุตสาหกรรมกลางน้ํา การรักษามาตรฐานที่มีคุณภาพสูงสุดตลอดกระบวนการ
ผลิตและชวงของผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมปลายน้ํา การสงออกสินคาจําพวกพลาสติก พลาสติกเม็ดสี พลาสติกผสม
สารเคมีที่ใชในอุตสาหกรรม การผลิตผลิตภัณฑพลาสติก
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
แรงงานเพศชาย มีปญหา การขาดแคลนในบางชวง บางเวลาตองรอนองๆ จบ ม.6 รุนใหม ซึ่งอายุยังไมมาก
สามารถยกของหนักได
1.3 ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีผูจบการศึกษาในสายงานที่ตองการ แตมีขาดในเรื่องของความขยัน อดทน และขาดความมุงมั่นในการ
ทํางานจริงจัง ถางานไมพอใจ ก็ลาออกเพื่อไปหาที่ใหมไดทันที
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
เหมือนเดิม เนื่องจากบริษัทมีการดําเนินงานของระบบอัตโนมัติอยางสมบูรณและ สอดคลองกับผลิตภัณฑที่
มีคุณภาพสูง นอกจากนี้หองปฏิบัติการที่ทันสมัยพรอมอุปกรณครบครัน
1.5 ทั กษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีค วามจํา เปน ตอการขยายหรือพัฒนาอุต สาหกรรมที่เ กี่ยวเนื่อง
ทางดานวิศวกร เพื่อพัฒนาปรับปรุงวีธีการทํางานใหม เพื่อปองกันความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้น ใหมีคุณภาพ
ที่ดีขึ้น

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-104 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

46. หนวยงาน บริษัท เมจิกแพค ซันไรส จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณวรวีร สัมฤทธิวณิชชา
วันที่ใหสัมภาษณ 10 ตุลาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํ า และปลายน้ํา ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา - อุตสาหกรรมปโตเลียม ผลิตเม็ดพลาสติก
กลางน้ํา - อุตสาหกรรม ผลิตพลาสติก
ปลายน้ํา - อุตสาหกรรมรถยนต น้ํามันเครื่อง
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
แรงงาน พนักงาน ระดับปฎิบัติงาน (operator)มีปญหา ขาดแคลนแรงงาน คนไทย และปญหาการเปลี่ยน
งานบอยแนวทางแกไข หันมาใชเทคโนดลยี ในการผลิตแทนแรงงานคน
1.3 ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั กษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
แรงงานยัง ขาดทัก ษะในการทํา งาน รวมถึงประสบการณ ในการทํา งานแกไขโดยตองทําการฝก อบรม
พนักงานเพิ่มเติม
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนมมาก มีความสนใจจะใชระบบ Ai แตในตลาดเมืองไทยยังมีราคาแพงและยังมีใหเลือกใชนอย
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
-ทักษะเรื่องเทคโนโลยี
-ทักษะเรื่องภาษา
-ทักษะในการคนควาและทําการทดลอง
-สาขาวิชาที่จําเปน วิศวะ วิทยาศาสตร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-105


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]
ประเทศไทยมีอุตสากรรม ครบตั้งแตตนน้ําจนถึง ขาดแคลนความรู ดานเทคโนโลยีในการผลิตที่ทันสมัย
ปลายน้ําทําใหสามารถพัฒนาอุตสาหกรรมไป
ดวยกันได
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
การเปดตลาด AEC แรงงานไทยขาดความตื่นตัวในการพัฒนา

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


อุตสาหกรรม ผลิตแรงงาน และบุคลากร (สถานศึกษาตางๆ)
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
หนวยงานดานคุณภาพ หนวยงานดานการศึกษา
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
-ควรเนนที่การศึกษา เพื่อพัฒนาบุคลากรในดานความรู
-ผูฝกอบรมแรงงาน ควรมีประสบการณในการทํางานจริงกอนมาเปนผูฝกอบรม
-ควรพัฒนาแรงงาน ประเภท ชางเทคนิค หรือแรงงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีในการผลิต

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-106 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

47. หนวยงาน บริษัท คอทโก พลาสติกส จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณพัชรี สินสมบูรณ
วันที่ใหสัมภาษณ 11 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา ผูผลิต pvc plasticizer ผา
กลางน้ํา ผูผลิตหนังเทียม ซีทสี ซีทใส
ปลายน้ํา นําไปผลิตเฟอรนิเจอร เบาะรถยนต ฟุตบอล วอลเลยบอล เข็มขัด รองเทา
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
รายวัน ม.3, ม.6 (คุมการผลิต คุมเครื่องจักร) พยายามลัดหาอุปกรณ
1.3 ป จ จุบัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ระดับ ปริญญาตรี พนักงานขาดทักษะ ดานภาษาอังกฤษ ถึงแมจบคณะบริหารสาขาตางประเทศซึ่งการ
รับเขาทํางานตองอัตราเงินสูงกวาสาขาอื่นแตความสามารถในการทํางาน เทียบเทาสาขาอื่น ๆ ที่ ใกลเคียง
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีการหาอุปกรณมาทดแทนประมาณ 4-5 ป แตตัดปญหาการลงทุน คอนขางสูง
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
วิศวกร ชางเทคนิค ระดับ ปวส.ชางไฟฟา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-107


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
ยานยนต หุนยนตอัตโนมัติ
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
สถาบันการศึกษา กระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-108 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

48. หนวยงาน บริษัท เค อินเตอรเนชั่นแนล แพคเก็ตจิ้ง จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณภัทราพร นรดี
วันที่ใหสัมภาษณ 11 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
แรงงานฝายผลิต และแรงงานสายอาชีพ
1.2 ป จ จุ บั น ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาเข า สูต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีเพียงพอ

1.3 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด


ไมมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักรมาแทนที่แรงงาน
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
อุตสาหกรรมขนาดเล็ก
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
ทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-109


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

49. หนวยงาน บริษัท แปซิฟก คอนเทนเนอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณรัตนาภรณ นัยสิริ
วันที่ใหสัมภาษณ 12 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เ กี่ย วเนื่องกับธุรกิจของทานในป จจุบั น ... โปรดระบุอุต สาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา วัตถุเปนผลิตภัณฑปโตรเลียม ผันผวนตามสถานการณของปโตรเลี่ยม
กลางน้ํา การผลิตกระสอบพลาสติกสานมีความตองการสูงขึ้น เนื่องจากลูกคาหันมาใชผลิตภัณฑที่มีขนาดใหญ
ปลายน้ํา อุตสาหกรรมอาหารมีการขยายตั้ง สูตลาดโลกมากขึ้น
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
การจางแรงงานสวนใหญใชแรงงานทั่วไป แรงงานฝมือปญหาคือ การขาดแคลนแรงงานคนไทย วิธีแกปญหา
โดยการนําแรงงานตางดาว เขามาทําแทน
1.3 ป จ จุ บั น ผูสํ า เร็ จ การศึก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี หรือ มี ไ ม เ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร

ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษายังมีทักษะไมตรงตามที่ตองการ เพราะการศึกษายังไมครอบคลุมทุกภาคการผลิต
ตองใหความรูหรือหาผูชํานาญการมาสอน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ยังคงใชแรงงานฝมือ เปนสวนใหญ
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ทักษะและสาขาวิชาของแรงาน มีความจําเปนตอการขยายและพัฒนาของอุตสาหกรรม แรงงานมีทักษะ
ผลผลิตออกมาดี ลูกคาพอใจ ทําใหสถานประกอบตองเพิ่มกําลังผลิต เพื่อรองรับผูบริโภค

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-110 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
ยานยนต หุนยนตอัตโนมัติ
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
สถาบันการศึกษา กระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-111


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอุตสาหกรรม
การเกษตร และ เทคโนโลยีชีวภาพ

50. หนวยงาน บริษัท ไทยอินโนวา รับเบอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณพรทิพย ทรัพยสมบูรณ
วันที่ใหสัมภาษณ 30 กันยายน 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
แปรรูปยางพารา ตนน้ํา คือ ยางพารา ที่มีวัตถุดิบในประเทศมาก เชน เกษตรกรชาวสวน
กลางน้ํา คือการนําวัตถุดิบไปใชในประเทศยังนอยเกินไป ขาดการสงเสริม ที่จริงจัง
เชน sme ขนาดเล็ก
ปลายน้ํา คือ การนําวัตถุดิบไปใชใ นประเทศโดยการทําเปนสินคาสง ออก เชน
อุตสาหกรรมผลิตชิ้นสวนยานยนต เปนตน
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ลักษณะการจางแรงงานในอุตสาหกรรมจะใช คนในพื้นที่และทําการฝกสอนงาน ปญหาในปจจุบัน ขาด
แรงงานคน ซึ่งปจจุบันในพื้นที่อยูนั้นสวนใหญจะเปนชาวสวนยางและสวนผลไมแนวทางแกไข คือการจางคนในพื้นที่
และมาทําการฝกสอนงานเบื้องตน สวนปญหาใหญๆ อาจตองจางบริษัทฯ ที่มีความชํานาญในการแกปญหาให เชน
การซอมเครื่องจักร เปนตน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-112 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.3 ป จจุบัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ปจจุบันผูสําเร็จการศึกษาไมไดเขาสูการตลาดแรงงานที่มีขนาดเล็ก และมักออกไปทํางานนอกพื้นที่เปน
สวนใหญนโยบายแกไข ยังคางคา ไมมีแนวทางแกไข
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มีแนวโนมที่คดิ จะใช แตยังขาดปจจัยและความพรอมหลายๆอยาง
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
มีความจําเปน
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย

จุดแข็ง [STRENGTH] จุดออน [WEAKNESS]


มีวัตถุดิบในพื้นที่ ขาดการสงเสริมและพัฒนาอยางจริงจัง
โอกาส [OPPORTUNITY] อุปสรรค [THREAT]
พัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ 1.ขาดแรงงาน
2.ขาดการสงเสริมและพัฒนา

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-113


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


ทุกภาคสวนที่ยังไมไดพัฒนาอยางจริงจัง เชน ขาราชการ ธนาคาร กลุม SME ขนาดเล็ก เปนตน
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
หนวยงานภาครัฐและทุกภาคสวนควรจะชวยเหลืออยางจริงจังและตองเห็นผลการเปลี่ยนแปลงที่เปน
รูปธรรม
3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน

อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
1.วิศวกรโรงงาน มีความรูดานเครื่องจักรโรงงาน ปริญญาโท-ปริญญาตรี 5%
2.ชางเทคนิค มีความรูดานเทคนิคเครื่องจักร ปวช.-ปวส. (ชางกลโรงงาน) 80%
3.ชางไฟฟา มีความรูระบบไฟฟา ปวช.-ปวส. (ชางไฟฟา) 15%
อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-114 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

51. หนวยงาน บริษัท 42 เนเจอรัลรับเบอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณชิรวิชญ หวยลึก
วันที่ใหสัมภาษณ 4 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
6. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา ราคาวัตถุดิบถูก สารเคมีราคาสูงขึ้น ราคาผาสูงขึ้น เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยและของโลก
แยลงทําใหขายคายากขึ้น
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ใชแรงงานไมตองมีทักษะ มีปญหาขาดแคลนแรงงานแกปญหาโดยใชเครื่องจักรมาทดแทน

1.3 ป จจุบันผูสําเร็จการศึก ษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทักษะที่ตองการหรือไม ถาไมมี หรือมีไมเ พีย งพอ


มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ทักษะไมตรงกับที่ตองการแกไขโดยมาฝกที่โรงงาน
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
มาก
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ยางและโพลิเมอร

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-115


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


เกษตรและอาหาร
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํา และ ปลายน้ํ า (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหนา ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

ชางเทคนิค มีความรูด านเครื่องจักร ปวช/ปวส 50%


ชางกล
ผูมีความรูดานยางและโพลิเมอร มีความรูเ รื่องยางและโพลิเมอร ปริญญาตรี 50%

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
สรางแรงงานรุนใหมที่มีความขยัน อดทน และพรอมที่จะเรียนรู

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-116 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

52. หนวยงาน บริษัท ยุทธชัยอุตสาหกรรมยางแทง จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณนิพนธ เตชะรัตนวิบูลย
วันที่ใหสัมภาษณ 5 ตุลาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
กลางน้ํา ผูผลิตผลิตภัณฑตั้งตนดานอุตสาหกรรม
ปลายน้ํา ผูผลิตยางรถยนต
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
แรงงานคน มีปญหาขาดแรงงาน การยายงาน
1.3 ป จ จุบัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขาสูตลาดแรงงานมีทักษะที่ตอ งการหรือไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พีย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
ไมมีตองมาฝกมาอบรมใหมเพื่อความเขาใจงานและพัฒนาทักษะความตองการของผูผลิต แต
ละประเภท
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ไมมีแนวโนม
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
1.วิทยาศาสตร
2.วิทยาศาสตรเคมี
2. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
ใหมีนโยบาย สนับสนุนอบรมวิชาการในแตละดาน และมีการประเมินผลติดตาม เปนไตรมาศ

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-117


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

53. หนวยงาน บริษัท มนัสรับเบอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณมาลีนา หมื่นหมาน
วันที่ใหสัมภาษณ 8 ตุลาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา กลาง
น้ํา และปลายน้ํ า ที่เ กี่ยวเนื่องอยา งชั ดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตล ะระดับ ) และแนวโน ม ของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ตนน้ํา กลุมสหกรณรับซื้อน้ํายางและเศษยาง โรงงานผลิตยางแทง
กลางน้ํา โรงงานจะรับซื้อวัตถุดิบมาผลิตเปนยางและยางแทง
ปลายน้ํา โรงงานแปรรูปยาง ผลิตภัณฑยางตาง ๆ
(ทางโรงงานจะซื้อและผลิตใหกับอุตสาหกรรมยางตอไปในอนาคต โดยไมผานพอคาคนกลาง)
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
จะใชแรงงานคนเปนสวนใหญ ซึ่งตองทํางานรวมกับ เครื่องจักรซึ่งปจจุบันมีปญหาการขาดแคลนแรงงาน
เนื่องจากงานที่ทําคอนขางหนัก ซึ่งแรงงานที่เขามาใหมจะทําไมได ทางแกคือ จะตองใชเครื่องมาชวยใหไดมากที่สุด
1.3 ป จ จุ บั น ผู สํ า เร็ จ การศึ ก ษาเข า สู ต ลาดแรงงานมี ทั ก ษะที่ ต อ งการหรื อ ไม ถ า ไม มี ห รื อ มี ไ ม เ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
สวนใหญไมเนนเรื่องการศึกษา ตองการคนที่มีประสบการณมากกวามีทักษะมากกวา
1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
ปจจุบันใชเครื่องจักรประมาณ 50% และในอนาคตคาดวานาจะใชเครื่องจักร 80% ทั้งนี้เพื่อตองการลด
ตนทุนการผลิตอีกทั้งปญหาขาดแคลนแรงงาน สวนระบบ AI นาจะยังไมมี
1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
สาขาวิชาชางซอมเครื่องจักรและดูแลลายผลิต

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-118 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ


ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
ผลิตภัณฑยาง เพราะสวนใหญจะเนนสงออกวัตถุดิบยางมากกวาการสงเสริมใหมีการทําผลิตภัณฑซ่งึ สามารถ
เพิ่มมูลคาไดมากกวา
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
หนวยงานที่เกี่ยวของกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมยางการสงเสริมการสงออก

3. ความตองการแรงงาน
ความตองการแรงงานที่มีลักษณะเฉพาะสําหรับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับทาน ขอใหพิจารณาทั้งตนน้ํา กลาง
น้ํ า และ ปลายน้ํา (หมายถึง แรงงานที่มีทัก ษะที่จําเปนตอ การผลิต ไม ใชแ รงงานทั่วๆ ไป อาทิ เจ าหน า ที่บัญ ชี
เจาหนาที่บุคคล) [ในการสัมภาษณการแยกประเภทแรงงานอาจดูจากระดับปริญญา และ/หรือสาขาวิชา]
สามารถระบุตําแหน่งที�ชดั เจน เช่น วิศวกรยานยนต์ หรื อ ประเภทแรงงานกว้ างๆ เช่น ช่าง เทียบกับบุคลากรทังหมด

ประเภทแรงงาน ทักษะเฉพาะ ระดับการศึกษา (สาขาวิชา) สัดสวน


อุตสาหกรรม A (ตนน้ํา)
พนักยางรีดยาง มีประสบการณทํางานในโรงงานยาง ไมจํากัด
พนักงานอัดยาง มีประสบการณทํางานในโรงงานยาง ไมจํากัด

อุตสาหกรรม B (กลางน้ํา)
ชางซอมเครื่องจักร มีความรูเรื่องเครื่องรีดยาง ปวช/ปวส/ปริญญาตรี

เจาหนาที่หองแล็บ มี ความรู เ กี่ ย วกั บ การผสมยางและออก ปวส/ปริญญาตรี


สูตรยาง

อุตสาหกรรม C (ปลายน้ํา)

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-119


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

4. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
1. ควรรับคนที่มีทักษะและประสบการณมาเปนอันดับหนึ่งควรฝกอบรมพนักงานใหมและฝกทักษะแรงงานเปน
ประจํา
2. ควรมีหนวยงานของรัฐเขามาสนับสนุนในการใหความรูแกสถานประกอบการขนาดเล็ก และขนาดยอมให
มากขึ้น
3. รัฐควรสนับสนุนในเรื่องงบประมาณใหกับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดยอม
4. สถาบันการศึกษาควรเนนการเรียนรูจาการปฏิบัติงานจริงมากกวาทฤษฎีในหองเรียน เพราะทุกวันนี้เด็กที่จบ
ออกมาไมสามารถทํางานไดจริง

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-120 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

54. หนวยงาน บริษัท ไทยชวนรับเบอร จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณสันติ วรประทีป
วันที่ใหสัมภาษณ 10 ตุลาคม 2561

ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
ใชแรงงานทั้งเครื่องจักรและมนุษย ไมมีปญหาการขาดแคลนแรงงาน
1.2 ป จ จุ บัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร
มีทักษะที่ตองการ
1.3 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด
พยายามจะใชเ ครื่ อ งจั ก รเข า มาทดแทนแรงงานในกระบวนการผลิ ตให ได เ พิ่ มขึ้ น เพื่อ ประสิ ท ธิ ภ าพ
ที่ดีมากยิ่งขึ้น
1.4 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่อง
ทักษะดานวิศวกรรมและเคมี
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย
2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0
อุตสาหกรรมการผลิต
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-121


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

กลุมอื่นๆ

55. หนวยงาน บริษัท หาดใหญชุมพลดีเวลลอปเมนท จํากัด


ผูใหสัมภาษณ คุณเกียรติยศ ตรังคานนท
วันที่ใหสัมภาษณ 2 ตุลาคม 2561
ประเด็นสัมภาษณกลุมอุตสาหกรรม
1. ภาพรวมอุตสาหกรรม
1.1 สถานการณอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจของทานในปจจุบัน ... โปรดระบุอุตสาหกรรมตนน้ํา
กลางน้ํา และปลายน้ํา ที่เกี่ยวเนื่องอยางชัดเจน (ประมาณ 2-3 อุตสาหกรรม ในแตละระดับ) และแนวโนมของ
อุตสาหกรรมในอนาคต
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย
ตนน้ํา ธุรกิจกอสราง ผูรับเหมา วัสดุกอสราง
กลางน้ํา ธุรกิจนายหนา ปายโฆษณา สื่อวิทยุ เฟสบุค ออนไลน
ปลายน้ํา ธนาคาร แหลงเงินกู เฟอรนิเจอร ของตกแตง เครื่องใชไฟฟา
1.2 ลักษณะการจางงานในอุตสาหกรรม (ใชแรงงานประเภทไหนเปนสวนใหญ) มีปญหาการขาดแคลน
แรงงาน/ทักษะแรงงาน หรือไมอยางไร และแนวทางในการแกปญหา
แรงงานตางดาวและภายในประเทศ ทักษะไมคอยดี เรียกคาแรงสูง ตองมีศูนยฝกหัดเสริมทักษะฝมือ
แรงงาน

1.3 ป จ จุ บัน ผูสํา เร็จการศึกษาเขา สูต ลาดแรงงานมีทั กษะที่ต องการหรื อไม ถา ไมมี หรือมีไมเ พี ย งพอ
มีนโยบายแกปญหาอยางไร

ไมเพียงพอ เพราะไมคอยสูงาน หนางานรอนลําบาก ทําใหขาดความรอบคอบในการตรวจงาน

1.4 อุตสาหกรรมของทานมีแนวโนมที่จะใชเครื่องจักร หรือระบบ AI มาแทนที่แรงงานมากนอยเพียงใด


มีแนวโนมมากขึ้น แตก็มีขอจํากัดเพราะพื้นที่เปลี่ยนแปลง และสภาพแวดลอมไมแนนนอน

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ข-122 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

1.5 ทักษะและสาขาวิชาของแรงงานที่มีความจําเปนตอการขยายหรือพัฒนาอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่ อง
โฟรแมนหนางานตรวจแบบ ชางกอ ชางฉาบ ชางปูน
2. มุมมองของอุตสาหกรรมในฐานะอุตสาหกรรม new S-curve ที่จะเปนกลจักรสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ
ประเทศไทย

2.1 อุตสาหกรรมใดเปนอุตสาหกรรมแรกที่จําเปนตองปรับตัวเขายุค 4.0


จริง ๆ ควรปรับตัวไปพรอม ๆ กันทุก ๆ อุตสาหกรรม
2.2 หนวยงานที่ควรเขามามีบทบาทในการสนับสนุนการปรับตัวของอุตสาหกรรม
กรมแรงงาน กรมที่ดนิ ประกันสังคม สาธารณสุข
3. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายในการเตรียมทักษะแรงงานเพื่อรองรับอุตสาหกรรม 4.0
เสริมดานความขยัน อดทน มีความรับผิดชอบในงานที่ทํา เพราะงานที่จะเจอหนางานจริงๆ จะแตกตางที่
เรียนถาขาดความขยัน อดทน และความรับผิดชอบ งานจะเสียหายมาก

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคาํ ปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข-123


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ข-124 ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก ค
สรุปผลการประชุมกลุมยอย

สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ค-1 ค-1


ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก ค.
สรุปผลการประชุมกลุมยอย
โครงการวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ณ หองธาราสวีท โรงแรมเจาพระยาปารค ถนนรัชดาภิเษก

จากที่ ส ถาบั น เสริ ม ศึ ก ษาและทรั พ ยากรมนุ ษ ย และสํ า นั ก งานศู น ย วิ จั ย และให คํ า ปรึ ก ษา


แห ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ได รั บ มอบหมายจากสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงแรงงานให ทํ า การศึ ก ษา
ในโครงการวิ จั ย ทิ ศ ทางการจ า งงานของประเทศไทย ในยุ ค อุ ต สาหกรรม 4.0 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ สํ า คั ญ
คือ ศึกษา วิเคราะห ระบบอุตสาหกรรมและการจางงานของประเทศไทย ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 1 ถึง ฉบับที่ 12 วิเคราะหแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ในประเทศไทย ภายใตกรอบ
ยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) รวมถึงวิเคราะหทิศทางและแนวโนมการจา งงาน ความตอ งการ
แรงงาน และแนวทางการพั ฒนาทัก ษะฝ มือ แรงงาน ใหสอดคลองกับ ความต องการของตลาดแรงงานในยุ ค
อุตสาหกรรม 4.0 ภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) และจัดทําขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
ในการวางแผนการผลิตและพัฒนากําลังแรงงาน ใหสอดคลองกับทิศทาง แนวโนมการจางงาน และความตองการ
ของประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรม 4.0
ทั้งนี้ เพื่อใหการศึกษามีความสมบูรณและไดรับขอมูลจากผูทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวของ ทางคณะผูวิจัยจึง
ดําเนินการประชุมกลุมยอยเพื่อระดมสมองจากผูทรงคุณวุฒิในดานการพัฒนาแรงงาน เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม
โดยไดขอสรุปปญหาและขอเสนอแนะ ดังนี้
ภาคอุตสาหกรรมการบิน
1. ยังไมมีปญ
 หาในเรื่องของการขาดแคลนแรงงาน สวนของชางเทคนิคในระดับปฏิบัติการ หรือระดับสูง
มากนัก แตจะขาดแคลนแรงงานเฉพาะทางอยูมาก
2. พนักงานในระดับปฏิบัติงาน (ระดับลาง) ที่ยังตองใชแรงงานยังมีปญหาเรื่องพนักงานใหม อายุนอย
จะมีการเปลี่ยนงานบอย เนื่องจากระดับทักษะยังไมถึง
ภาคอุตสาหกรรมการทองเที่ยว
ปจจุบันคนสวนใหญมีลักษณะนิสัยการเดินทางดวยตนเองมากขึ้น เพราะฉะนั้นทักษะในความตองการ
นอยลง การที่จะพัฒนามัคคุเทศกจะตองมีภาษาอื่น ๆ มากขึ้น สามารถรองรับนักทองเที่ยวไดเพิ่มมากขึ้นจริง ๆ
การกระทบการจางงาน ไมจางงาน จะแยกตามประเด็น ตัวอยางเชน

ค-2 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ค-2
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

โรงแรมที่พักตาง ๆ
Full Service เรื่องแรงงานยัง ตอ งใชอ ยู เพราะยังต องสรา งความผูก พันกับ ลูกคา ดวยตั ว คน
(Human Touch)
Budget Hotel ตาง ๆ นั้น การใชโรโบติกสเขา มาหรือ วา เครื่อง AI ตาง ๆ ที่มาแทนมนุษยมี
โอกาสที่จะถูกทดแทนไดสูงขึ้น กับหลายสวน
ภาคอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
1. แรงงานตางดา วเริ่ มกลับ ประเทศ ทําใหขาดแรงงานที่เปนฝายสนับสนุน กิจกรรม เชน HR บัญชี
ซึ่งเหลานี้ไปหมดแลว คนกลุมนี้จงึ ควรที่จะถูกทดแทนกอน
2. ความตองการแรงงานในสวนที่มีทักษะสูง เชน นักวิทยาศาสตรอาหาร หรือนักพัฒนาผลิต ภัณฑ
ซึ่งยังขาดแคลนมาก
3. มาตรการที่ผูป ระกอบการอยากไดเพิ่มเติม คือ ทักษะพัฒนาการเฉพาะทาง ปริญญาไมใชคําตอบ
สุดทาย ตัวอยางเชน เรื่องการผลิต เชฟเฉพาะทาง นักโภชนาการเฉพาะทาง เปนตน
หนวยงานพัฒนาการอาชีวศึกษา
1. มี ป ญ หาเนื่ อ งจากว า แรงงานส ว นใหญ ที่ ตั ด สิ น ใจจะมาเลื อ กเรี ย นอาชี ว ะอาจมี คื อ คนที่ มี
ความสามารถสูงก็อาจจะเรียนปริญญาตรีไมไดสนใจมาเรียนอาชีวะ เพราะนั้น เขามาแรก ๆ อาจไมไดมาตรฐาน
มากนัก อาจจะทําใหผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพออกไปอาจยากลําบากมากขึ้น
2. การหางานทางอาชีวะ ยังไมทราบวาที่จบมาแลวมีงานที่ไหนรองรับบาง
หนวยงานวิจัยดานแรงงาน
1. ผูประกอบการไมสามารถวางแผนงานได เพราะไมทราบทิศทางของภาครัฐเปนอยางไร
2. ภาพสะทอนออกไปในเรื่ องของภาพลัก ษณจะพัฒนา ไมวาจะเปนนักเรียนทุน หรือนักเรียนทั่วไป
ทายสุด คือ การมีงานรองรับไดจริงหรือไม เมื่อมีการรองรับไดไมจริง กลายเปนวาตองเปลี่ยนอาชีพ ทํางานไมตรง
สายทีเ่ รียน ดังนั้นแรงงานจะเปลี่ยนไป
3. การเลือกอาชีพที่ดูจากฐานเงินเปนหลัก จะเจอแรงงานออกมาทํางานนอกระบบเยอะ ซึ่งจะเปน
ปญหาเมื่อไมเขาในระบบตาง ๆ จะเกิดความยุงยากในการพัฒนาระบบแรงงานได

ภาคอุตสาหกรรมหุนยนต, โรงพยาบาล และอุตสาหกรรมภาพรวม


1. สําหรับภาคอุตสาหกรรมแบบเกาปญหาขาดแคลนแรงงานที่ตองใชทักษะสูง ๆ ยังคอนขางนอย

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ ค-3 ค-3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2. อุตสาหกรรมแบบใหม ยังขาดแคลนแรงงานแบบ Unlimited skills ซึ่งคอนขางหายาก


3. ในอนาคตทิศทางอาจยังไมชัดเจน ทักษะอาจจะเป นเรื่องหลัก มากกวา สาขาที่เรียน ทักษะอะไร
แบบไหนที่ตองเตรีย มความพรอม ที่จะปรับตัวไดทุก เมื่อ ตองมานั่งดูวาทักษะอะไรที่เป นพื้นฐานการจา งงาน
ในอนาคต
4. เรื่องของภาษา ในการสื่อสาร ในการอา นตา ง ๆ เชน อุป กรณ นํา เขาจากจีน ตองอา นภาษาจีน
ใหออกเปนตน
5. ผูประกอบการเห็นประโยชนจากการอบรมของกระทรวงแรงงานเพียงแตวาหลัง ๆ อาจเปนสื่อทาง
อิเล็กทรอนิกสจํานวนมาก ทําใหผูประกอบการไมไดติดตามดู ในอดีตจะสงจดหมายมาก็จะเห็นหนังสือแตปจจุบัน
อาจจะขึ้นทางดานเว็บ ไซตแ ทน กลายเปนวาการเขา ถึง ของคน ไมไดเขาถึงไปตามเช็ค คือ อยากใหกระทรวง
แรงงานชวยประชาสัมพันธใหเขาถึงถาเกิดมีการอบรม เพื่อใชประโยชนไดเต็มที

สรุปปญหาและขอคนพบ
1. ความไมแนนอนของทิศทาง และมาตรการจากภาครัฐ
2. การใหขอมูลของหนวยงานตาง ๆ ไมชัดเจน ไมมีการบูรณาการรวมกัน ขาดการทํางานเชิงรุก
3. ปญหาขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะเฉพาะทาง รวมถึงเรื่องทักษะภาษาที่ไมใชแคภาษาอังกฤษ
4. ปญหาการผลิตแรงงานจากสถานศึกษา ไมตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน

สรุปประเด็นขอเสนอแนะ
1. ทิศทางการดําเนินงานของภาครัฐที่แนนอน จะทําใหภาคเอกชนพรอมขับเคลื่อนไปพรอมกันมากขึ้น
2. เชื่อมโยงกันระหวางภาครัฐ กับภาคเอกชน ในการวางแผนทิศทางรวมกันในรายภาคอุตสาหกรรม
3. ภาครัฐตองมองภาพในระยะยาวใหสอดคลอง
- ถาธุรกิจเปนแบบนี้ภาคอุตสาหกรรมเปนแบบนี้เราตองทําอยางไร
- รัฐสามารถชวยอะไรได ขอใหรัฐชี้แจง ไมรอแตขอมูลทั่วไป
- รัฐก็ตองมีคลังขอมูลในระดับหนึ่ง
- บูรณาการ การดําเนินงานระหวางหนวยงานรัฐ ตองเชื่อมโยงกัน รวมถึงสถาบันการศึกษา

ค-4 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ค-4
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บรรยากาศการประชุมระดมสมองกลุมยอย

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ ค-5 ค-5
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ค-6 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ค-6
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก ง
สรุปการจัดประชุมเผยแพรผลงานวิจัยและรับฟงความคิดเห็น

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ ง-1 ง -1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก ง.
สรุปการจัดประชุมเผยแพรผลงานวิจัยและรับฟงความคิดเห็น
โครงการวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
วันศุกรที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2562 เวลา 9.00 – 13.00 น. ณ โรงแรมเซ็นจูรี่ พารค ดินแดง

จากที่ ส ถาบั น เสริ ม ศึ ก ษาและทรั พ ยากรมนุ ษ ย และสํ า นั ก งานศู น ย วิ จั ย และให คํ า ปรึ ก ษา


แห ง มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร ได รั บ มอบหมายจากสํ า นั ก งานปลั ด กระทรวงแรงงานให ทํ า การศึ ก ษา
ในโครงการวิ จั ย ทิ ศ ทางการจ า งงานของประเทศไทย ในยุ ค อุ ต สาหกรรม 4.0 โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค ที่ สํ า คั ญ
คือ ศึกษา วิเคราะห ระบบอุตสาหกรรมและการจางงานของประเทศไทย ตั้งแตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับที่ 1 ถึง ฉบับที่ 12 วิเคราะหแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรม 4.0 ในประเทศไทยภายใตกรอบ
ยุทธศาสตรช าติ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) รวมถึงวิเคราะหทิศทางและแนวโนมการจา งงาน ความตอ งการ
แรงงาน และแนวทางการพั ฒ นาทั ก ษะฝ มื อ แรงงาน ให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของตลาดแรงงาน
ในยุ ค อุ ต สาหกรรม 4.0 ภายใตก รอบยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) และจั ด ทํ า ข อ เสนอแนะ
เชิง นโยบายในการวางแผนการผลิต และพัฒ นากํา ลั งแรงงาน ใหสอดคลอ งกั บ ทิ ศทาง แนวโนมการจา งงาน
และความต อ งการของประเทศไทยในยุ ค อุต สาหกรรม 4.0 ทั้ ง นี้ เพื่ อ ใหก ารศึ ก ษามี ความสมบูร ณ มายิ่ ง ขึ้ น
คณะผูวิจัยจึงดําเนินการจัดประชุมเผยแพรผลงานวิจัยและรับฟงความคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิในดานการพัฒนา
แรงงาน เศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม รวมถึงหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สมาคม และสถาบันการศึกษา จํานวน
ทั้งสิ้น 107 คน โดยมีขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ ดังนี้
ขอเสนอแนะในการพัฒนาอุตสาหกรรม
1. ควรมีก ารเชื่ อ มโยงบทบาทของภาครั ฐ ในกระบวนการทํา งานต า ง ๆ (ใครรั บผิ ดชอบส ว นไหน)
เพราะ มีความเกี่ยวเนื่องในเรื่องของการสงตอทักษะแรงงาน ควรมีหนวยงานที่ทําหนาที่สง เสริมทักษะใหตรงตาม
ความตองการของตลาดแรงงาน โดยมีรัฐบาลใหโจทยตรงนี้ ไมเชนนั้นการพัฒนาอุตสาหกรรมอาจจะไมทันตาม
เปาหมายอุตสาหกรรม 4.0 อยางที่ต้งั ไว
2. ภาคสถาบันการศึ กษาตองมีการปรับ ตัว ในการผลิตนัก ศึกษา เพื่อใหต รงตามความตองการของ
ภาคอุตสาหกรรมซึ่งในทางปฏิบัติอาจเปนไปไดยากดวยขอจํากัดหลาย ๆ ประการ แตกระบวนการที่มีสวนชวย
คื อ ระบบสหกิ จ ศึก ษา หรือตั วแบบที่ส ถานประกอบการลงทุ น เพื่ อ ผลิต แรงงานของตนเองใหตรงกับ ทั ก ษะ
ที่ตองการ
3. การบูรณาการรวมกันของทุกภาคสวน โดยมีเปาหมายเดียวกัน ไปในทิศทางเดียวกัน และมีนโยบาย
ที่ชัดเจนเพื่อการเตรียมพรอมของทุกภาคสวน

ง-2 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ง -2
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ขอเสนอแนะในแนวทางวิจยั
1. ควรรายงานผลโดยจํ า แนกตามการศึ กษา อายุ จะได เห็น ภาพที่ ชัด เจนขึ้ น ทํ า ให ทราบถึ ง การ
เปลี่ยนแปลงมากขึ้น เนื่องจากประเทศไทยมีปญหาในเรื่องของ Aging Society
2. เรื่องการทบทวนอุตสาหกรรมและการจางงาน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติต้งั แต ฉบับ
ที่ 1 ถึ ง ฉบั บที่ 11 (มีในวัตุป ระสงค แตไมพบในการนํา เสนอ) ซึ่งคณะผูวิจั ย ไดชี้แ จงว าไดมี ในรายงานแล ว
แตไมไดนําเสนอเนื่องจากขอจํากัดของเวลา
3. ควรมีขอมูลเพิ่มเติมเรื่อง AI ซึ่งเปนเรื่องใหญ มีผลกระทบกับการจางแรงงานโดยตรง
4. ระวังการแยกกลุมในภาคการเกษตร ควรแยกใหชัดเจน ใหเกิดความสับสนนอยที่สุด (เปนผลมาจาก
การนิยามกลุม ของแตละหนวยงานไมเหมือนกัน)
5. ขอมูลเชิงคุณภาพควรกําหนดใหชัดวาจะนําสวนไหน ไปทําอะไรบาง
6. ผลลัพธของการวิจัย ครั้งนี้ จะตองตอบไดวาสถานการณของกลุมอุตสาหกรรมใด อยูตรงไหนบาง
ในปจจุจัน แรงงานเปนอยางไร และมีขอเสนอแนะแบบแยกกลุมอยางชัดเจน เพราะจะถูกนําไปใชเปนฐานขอมูล
ของหลายภาคสวนตอไป
7. การบูรณาการแบบแยกสวน คือ การรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ และการสัมภาษณเชิงลึก ซึ่งควรจะ
เปนในรูปแบบของนําขอคนพบจากการศึกษาเบื้องตน มาเปนแนวคําถามในการสัมภาษณเชิงลึก เพื่อจะไดคําตอบ
ที่ตรงจุด และมีความเชื่อมโยงกัน และสามารถนําขอมูลไปใชไดจริง

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ ง-3 ง -3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

บรรยากาศการจัดประชุมเผยแพรผลงานวิจัยและรับฟงความคิดเห็น

ง-4 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ง -4
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก จ
การประมาณตัวแบบเชิงพื้นที่

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ จ-1 จ -1
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ภาคผนวก จ.
การประมาณตัวแบบเชิงพื้นที่

ในการประมวลขอมูลจะดําเนินการดวยวิธี Panel Analysis แบบ Random Effect โดยมีตัวแปรที่สําคัญ


คื อ ตั วแปรตาม ไดแ ก จํ านวนผูมีง านทํ ารายอุตสาหกรรม (var14 – var23) และมีตัว แปรตน ได แ ก คา เฉลี่ ย
ของค า จ า งรายจั ง หวั ด (var101) อั ต ราค า จ า งขั้ น ต่ํ า (var205) ป ก ารศึ ก ษาเฉลี่ ย (var207) จํ า นวนสถาน
ประกอบการในระบบประกั น สั งคม (var445) อั ต ราส ว นระหว า งจํา นวนผู ป ระกั น ตนมาตรา 33 ตอ จํ า นวน
ผูประกันตนมาตรา 40 (in_out) ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดของภาคการเกษตร (var701) ผลิตภัณฑมวลรวม
ของจัง หวัดของภาคการเกษตร (var703) ซึ่งขอมูล ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัด เปนตั วแทนของการเติ บ โต
ของจั ง หวั ด GPP ภาคการเกษตรต อ GPP รวม (gpp_agri) อย า งไรก็ ต าม GPP เป น ข อ มู ล ที่ มี ค วามล า ช า
ดังนั้นในทางปฏิบัติอาจมีการตั้งขอสมมติเกี่ยวกับขอมูลชุดนี้ หรือยอมใหมีการใหมีความลาชากวาขอมูลตัวอื่นๆใน
ระบบสมการ โดยหนวยที่ใชในการศึกษา คือ จังหวัดทั้ง 77 จังหวัด โดยมีคาสถิติรายปดงั นี้

2555 - 2560

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 462 6887.426 21253.14 0 158188.5
var15 | 462 5571.169 14132.27 0 95892.7
var16 | 462 39347.2 75586.17 2315.91 729766.2
var17 | 462 185103.7 138520 7199.4 717210.7
var18 | 462 18135.74 23219.64 368.3 172121.7
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 462 42.91571 248.2343 0 3177.13
var20 | 462 14172.66 46236.21 181.11 471484.2
var21 | 462 769.0452 2699.653 0 27343.11
var22 | 462 2667.596 12633.7 0 145751.8
var23 | 462 9049.954 13533.76 868.76 141662.6
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 462 8694.976 1855.052 5000 20802.29
var205 | 462 300.9069 2.270722 300 310
var207 | 462 7.969221 .908204 5.56 11.27
var445 | 462 5538.911 16643.12 436 149165
gpp_agri | 462 .2451167 .1311016 .0005262 .5970005
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 462 3.53246 4.42785 .4241624 28.53805
var701 | 462 17262.19 11904.02 1978.98 63426.51
var703 | 462 160006.4 504556.6 6871.04 4916832

จ-2 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จ -2
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2555

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 77 6366.382 17992.83 0 107297.3
var15 | 77 5424.838 13602.51 0 85251
var16 | 77 36169.11 64113.67 3951.18 559403.5
var17 | 77 217454.7 166523.6 7199.4 717210.7
var18 | 77 15251.99 15867.47 620.28 96869.42
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 77 64.97649 251.4855 0 1554.51
var20 | 77 12500.84 36992.86 347.56 321168.6
var21 | 77 317.4878 1104.747 0 7362.43
var22 | 77 2535.682 9924.728 0 86435.73
var23 | 77 8689.166 10407.31 868.76 83489.07
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 77 6895.896 1325.353 5000 12000
var205 | 77 300 0 300 300
var207 | 77 7.88987 .8957333 5.97 10.82
var445 | 77 5324.377 16323.79 436 142686
gpp_agri | 77 .2713001 .1436786 .0008278 .5917399
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 77 4.899235 6.010112 .5754478 28.53805
var701 | 77 18462.36 12868.1 1978.98 62146.18
var703 | 77 142022.6 428458.4 6871.04 3627908

2556

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 77 5526.309 14426.57 0 84413.27
var15 | 77 5071.546 12420.14 0 60486.87
var16 | 77 34477.29 61082.42 3565.03 535605.7
var17 | 77 214423.2 162800.2 8579.38 703851.2
var18 | 77 16057.14 15291.05 614.42 92601.3
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 77 42.53325 245.4285 0 1755.34
var20 | 77 11700.76 33176.66 304.23 286078.5
var21 | 77 641.8605 1765.533 0 11944.48
var22 | 77 2404.798 11435.92 0 100539.7
var23 | 77 8933.65 10938.89 1113.69 84014.74
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 77 10471.66 2049.65 7673.14 20802.29
var205 | 77 300 0 300 300
var207 | 77 7.886104 .8973047 6.18 11.05
var445 | 77 5415.727 16498.23 465 144025
gpp_agri | 77 .2736481 .1404103 .0007863 .5970005
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 77 4.204726 5.23056 .5073605 24.05913
var701 | 77 18990.69 12761.87 2141.24 59202.33
var703 | 77 148738.6 461453.5 7308.51 3923260

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ จ-3 จ -3
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2557

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 77 7182.824 21994.14 0 130915.5
var15 | 77 5964.243 15634.59 0 95892.7
var16 | 77 39529.17 82020.75 3313.97 705440.7
var17 | 77 177204.9 124335.3 14935.05 584968.2
var18 | 77 19424.9 27886.38 368.3 172121.7
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 77 6.141299 37.85467 0 237.56
var20 | 77 15043.26 51748.03 181.11 442498.2
var21 | 77 818.7551 3014.559 0 19659.97
var22 | 77 3208.299 16786.89 0 145751.8
var23 | 77 9231.995 13342.6 1775.18 110868.3
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 77 8430.364 1401.302 6000 15000
var205 | 77 300 0 300 300
var207 | 77 7.986364 .9074414 6.34 11.27
var445 | 77 5490.234 16626.09 499 144943
gpp_agri | 77 .2552638 .1335314 .0006218 .5961713
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 77 2.876205 3.345697 .4241624 14.90362
var701 | 77 17335.01 11677.13 2446.37 60259.71
var703 | 77 154487.1 489702.8 7532.13 4173743

2558

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 77 7596.511 24582.99 0 158188.5
var15 | 77 6032.748 15792.25 0 85604.69
var16 | 77 40513.57 74489.7 3910.8 626408.3
var17 | 77 170638.3 122077.6 11606.36 589155.1
var18 | 77 19251.02 26779.34 831.79 161554.3
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 77 16.02922 118.3945 0 1019.25
var20 | 77 15889.25 55214.4 486.11 471484.2
var21 | 77 1102.751 3437.657 0 23333.53
var22 | 77 2978.98 14141.18 0 122183.7
var23 | 77 8721.102 13639.8 1357.9 115029.8
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 77 8717.636 1375.512 6000 15000
var205 | 77 300 0 300 300
var207 | 77 7.944416 .9330884 5.83 11.1
var445 | 77 5572.338 16809.06 499 146386
gpp_agri | 77 .2326098 .1227029 .0005694 .5648688
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 77 3.133224 3.750175 .4749112 16.46195
var701 | 77 16050.11 10914.93 2294.41 56983.03
var703 | 77 162482.3 520321.8 8723.66 4448385

จ-4 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จ -4
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

2559

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 77 7437.879 24560.77 0 145706.1
var15 | 77 5719.656 14508.53 0 81219.91
var16 | 77 43141.76 85602.98 2925.72 729766.2
var17 | 77 166305 119046 8730.54 502700.3
var18 | 77 19224.92 24421.21 1078.45 138684.9
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 77 60.29961 266.6603 0 2034.65
var20 | 77 14728.86 46707.13 390.37 398679.2
var21 | 77 1017.315 3480.141 0 27343.11
var22 | 77 2536.483 11658.2 0 100874.6
var23 | 77 9342.827 15702.81 1633.26 133214.2
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 77 8779.351 1462.06 6000 15000
var205 | 77 300 0 300 300
var207 | 77 8.028571 .9163754 5.81 11.03
var445 | 77 5653.286 16959.36 514 147553
gpp_agri | 77 .2189393 .1179843 .0005262 .5540325
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 77 3.118865 3.743435 .4697314 16.48186
var701 | 77 16046.55 11342.49 2455.62 60987.03
var703 | 77 172699.8 552798.2 8950.92 4727723

2560

Variable | Obs Mean Std. Dev. Min Max


-------------+--------------------------------------------------------
var14 | 77 7214.651 22661.89 0 143709.3
var15 | 77 5213.986 12924.63 0 74002.32
var16 | 77 42252.29 84563.97 2315.91 718073.3
var17 | 77 164596.2 120955.4 11441.01 547778.1
var18 | 77 19604.48 25970.64 1091.52 154752.6
-------------+--------------------------------------------------------
var19 | 77 67.51441 400.2781 0 3177.13
var20 | 77 15172.97 50754.88 530.49 435590.1
var21 | 77 716.1016 2539.815 0 19248.39
var22 | 77 2341.333 10981.31 0 95660.15
var23 | 77 9380.985 16490 1733.95 141662.6
-------------+--------------------------------------------------------
var101 | 77 8874.948 1527.693 5000 15000
var205 | 77 305.4416 2.505224 300 310
var207 | 77 8.08 .9119369 5.56 11.12
var445 | 77 5777.506 17169.67 556 149165
gpp_agri | 77 .2189393 .1179843 .0005262 .5540325
-------------+--------------------------------------------------------
in_out | 77 2.962504 3.566956 .4378269 15.72362
var701 | 77 16688.41 11796.19 2553.85 63426.51
var703 | 77 179607.8 574910.1 9308.96 4916832

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ จ-5 จ -5
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ผลการประมาณการ
ผลการประมาณแบบ Random Effect ของการจางงานแรงงานรวม (var103) เปนไปตามการรายงาน
ซึ่งตัวแปรสวนใหญมีนัยสําคัญที่ระดับรอยละ 1 และมีความสัมพันธในทิศทางที่ตรงกับการคาดการณ กลาวคือ
จํานวนการจางงานแปรผกผันกับ ระดับของคาจา งตามหลักการของอุปสงค การจางงานแปรตามจํานวนสถาน
ประกอบการในระบบประกันสังคมและระดับ การศึกษาของประชากรในพื้นที่ รวมถึงแปรผันตามตั วแปรทาง
เศรษฐกิจของพื้นที่ คือ GPP ทั้งภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตร แตแปรผกผันกับอัตราสวนของแรงงานใน
ระบบตอแรงงานนอกระบบ และอัตราสวนระหวาง GPP ในภาคการเกษตรตอ GPP รวม ซึ่งโครงสรางของผลการ
ประมาณนี้เปนไปในการประมาณ นอกจากนี้คุณภาพของการประมาณการเมื่อวัดจากคา R-Square ในภาพรวม
พบวามีความนาเชื่อถือประมาณรอยละ 85 ขึ้นไป

ผลการประมาณแบบ Random Effect ของการจางงานแรงงานรวม


. xtreg var3 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.5380 Obs per group: min = 6


between = 0.8805 avg = 6.0
overall = 0.8692 max = 6

Wald chi2(8) = 1161.44


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var3 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -16.27976 3.209686 -5.07 0.000 -22.57063 -9.988888
var205 | -7654.231 1811.9 -4.22 0.000 -11205.49 -4102.973
var207 | 26422.95 13993.35 1.89 0.059 -1003.511 53849.41
var445 | 5.824953 2.35375 2.47 0.013 1.211688 10.43822
gpp_agri | -165628.8 129142 -1.28 0.200 -418742.5 87484.88
in_out | -23059.76 2621.338 -8.80 0.000 -28197.49 -17922.03
var701 | 10.64029 1.441067 7.38 0.000 7.815855 13.46473
var703 | .9704243 .0703848 13.79 0.000 .8324727 1.108376
_cons | 2485799 557785.5 4.46 0.000 1392559 3579038
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 152465.88
sigma_e | 74901.871
rho | .80557721 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

จ-6 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จ -6
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

ผลประมาณการอุตสาหกรรมยานยนตสมัยใหม
. xtreg var14 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.2049 Obs per group: min = 6


between = 0.2166 avg = 6.0
overall = 0.2159 max = 6

Wald chi2(8) = 118.95


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var14 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.3398072 .2023523 -1.68 0.093 -.7364104 .056796
var205 | -201.6157 114.2358 -1.76 0.078 -425.5137 22.28234
var207 | 2574.165 916.751 2.81 0.005 777.3657 4370.963
var445 | -.2396251 .1586696 -1.51 0.131 -.5506117 .0713615
gpp_agri | -19851.73 8917.395 -2.23 0.026 -37329.5 -2373.953
in_out | -595.9633 171.8693 -3.47 0.001 -932.8209 -259.1056
var701 | .1416507 .1045581 1.35 0.175 -.0632795 .3465808
var703 | .0271424 .0045324 5.99 0.000 .0182592 .0360257
_cons | 51505.82 35222.99 1.46 0.144 -17529.97 120541.6
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 10993.552
sigma_e | 4248.8518
rho | .87004089 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสอัจฉริยะ
. xtreg var15 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.0475 Obs per group: min = 6


between = 0.1979 avg = 6.0
overall = 0.1875 max = 6

Wald chi2(8) = 39.91


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var15 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.1306847 .1641384 -0.80 0.426 -.4523901 .1910208
var205 | -229.8299 92.67993 -2.48 0.013 -411.4792 -48.18054
var207 | 2158.686 749.8586 2.88 0.004 688.9896 3628.381
var445 | .2606716 .1311157 1.99 0.047 .0036896 .5176536
gpp_agri | -15255.35 7400.012 -2.06 0.039 -29759.1 -751.5895
in_out | -350.2174 140.7041 -2.49 0.013 -625.9924 -74.44236
var701 | .1458111 .0877528 1.66 0.097 -.0261813 .3178035
var703 | .0003254 .0036934 0.09 0.930 -.0069135 .0075644
_cons | 59625.37 28585.64 2.09 0.037 3598.547 115652.2
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 10860.302
sigma_e | 3935.447
rho | .88392947 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ จ-7 จ -7
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการทองเที่ยวกลุมรายไดดีและการทองเที่ยวเชิงสุขภาพ
. xtreg var16 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.5497 Obs per group: min = 6


between = 0.9693 avg = 6.0
overall = 0.9574 max = 6

Wald chi2(8) = 3885.42


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var16 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -1.471398 .3862822 -3.81 0.000 -2.228497 -.714299
var205 | -420.1775 219.5042 -1.91 0.056 -850.3978 10.04278
var207 | 6287.538 1402.042 4.48 0.000 3539.587 9035.49
var445 | 1.49898 .2349449 6.38 0.000 1.038497 1.959464
gpp_agri | -67009.49 11592.72 -5.78 0.000 -89730.81 -44288.17
in_out | -2965.93 272.4827 -10.88 0.000 -3499.986 -2431.874
var701 | .9011187 .1081169 8.33 0.000 .6892134 1.113024
var703 | .1017543 .0076246 13.35 0.000 .0868103 .1166982
_cons | 115231.4 67033.73 1.72 0.086 -16152.35 246615.1
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 9228.8022
sigma_e | 9006.7441
rho | .51217541 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
. xtreg var17 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.2164 Obs per group: min = 6


between = 0.2829 avg = 6.0
overall = 0.2785 max = 6

Wald chi2(8) = 135.96


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var17 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -4.05575 1.434497 -2.83 0.005 -6.867312 -1.244188
var205 | -1610.933 810.0853 -1.99 0.047 -3198.671 -23.19474
var207 | -7594.005 6580.636 -1.15 0.249 -20491.81 5303.804
var445 | .2172951 1.157423 0.19 0.851 -2.051213 2.485803
gpp_agri | 217294 65440.71 3.32 0.001 89032.61 345555.5
in_out | 368.3059 1235.469 0.30 0.766 -2053.168 2789.78
var701 | 4.104096 .7804419 5.26 0.000 2.574458 5.633734
var703 | -.0021599 .032353 -0.07 0.947 -.0655707 .0612509
_cons | 639360.4 249896.1 2.56 0.011 149573.1 1129148
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 97857.766
sigma_e | 34263.716
rho | .89079196 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

จ-8 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จ -8
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร
. xtreg var18 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.2333 Obs per group: min = 6


between = 0.4754 avg = 6.0
overall = 0.4457 max = 6

Wald chi2(8) = 202.28


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var18 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.8770941 .3235319 -2.71 0.007 -1.511205 -.2429832
var205 | -117.212 182.8772 -0.64 0.522 -475.6447 241.2207
var207 | 2247.345 1326.704 1.69 0.090 -352.9471 4847.638
var445 | .7300052 .2199394 3.32 0.001 .2989319 1.161079
gpp_agri | -70564.15 11603.3 -6.08 0.000 -93306.2 -47822.1
in_out | -1847.984 250.2244 -7.39 0.000 -2338.415 -1357.553
var701 | .6046047 .1207377 5.01 0.000 .3679631 .8412463
var703 | .0069153 .0068555 1.01 0.313 -.0065213 .0203519
_cons | 51360.02 56144.02 0.91 0.360 -58680.23 161400.3
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 11063.137
sigma_e | 7185.1044
rho | .70333237 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

อุตสาหกรรมหุนยนต
. xtreg var19 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.0396 Obs per group: min = 6


between = 0.7632 avg = 6.0
overall = 0.4010 max = 6

Wald chi2(8) = 248.53


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var19 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.0029994 .0067093 -0.45 0.655 -.0161495 .0101507
var205 | 9.316141 4.057019 2.30 0.022 1.364531 17.26775
var207 | -2.796456 15.92491 -0.18 0.861 -34.0087 28.41579
var445 | .0041122 .0029723 1.38 0.167 -.0017134 .0099379
gpp_agri | 300.781 122.0976 2.46 0.014 61.47406 540.0879
in_out | 16.01906 3.558726 4.50 0.000 9.044083 22.99403
var701 | -.002204 .00093 -2.37 0.018 -.0040268 -.0003812
var703 | .0001286 .0001003 1.28 0.200 -.000068 .0003252
_cons | -2847.636 1224.817 -2.32 0.020 -5248.233 -447.04
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 41.884441
sigma_e | 188.81096
rho | .04690172 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ จ-9 จ -9
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส
. xtreg var20 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.4031 Obs per group: min = 6


between = 0.9864 avg = 6.0
overall = 0.9649 max = 6

Wald chi2(8) = 8391.34


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var20 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.797965 .291203 -2.74 0.006 -1.368712 -.2272176
var205 | -152.3994 172.2543 -0.88 0.376 -490.0116 185.2128
var207 | 3920.788 754.1918 5.20 0.000 2442.599 5398.976
var445 | 1.344677 .1377048 9.76 0.000 1.07478 1.614573
gpp_agri | -5421.308 5855.094 -0.93 0.354 -16897.08 6054.466
in_out | -804.695 164.0231 -4.91 0.000 -1126.174 -483.2157
var701 | -.0564242 .0458423 -1.23 0.218 -.1462735 .0334251
var703 | .046459 .0046314 10.03 0.000 .0373816 .0555363
_cons | 25986.99 52080.71 0.50 0.618 -76089.33 128063.3
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 2509.7166
sigma_e | 6874.6159
rho | .11760255 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
. xtreg var21 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.3229 Obs per group: min = 6


between = 0.9170 avg = 6.0
overall = 0.8051 max = 6

Wald chi2(8) = 1184.37


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var21 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | .0409008 .0401524 1.02 0.308 -.0377965 .1195981
var205 | -68.91876 23.57379 -2.92 0.003 -115.1225 -22.71499
var207 | 221.8709 108.0177 2.05 0.040 10.16017 433.5817
var445 | -.1717545 .0195254 -8.80 0.000 -.2100236 -.1334855
gpp_agri | -643.7135 843.1255 -0.76 0.445 -2296.209 1008.782
in_out | -45.44333 23.20107 -1.96 0.050 -90.91658 .0299244
var701 | -.0015192 .006692 -0.23 0.820 -.0146352 .0115968
var703 | .0101051 .0006554 15.42 0.000 .0088205 .0113898
_cons | 19062.39 7132.994 2.67 0.008 5081.983 33042.8
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 413.28385
sigma_e | 975.85263
rho | .15208332 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

จ-10 สํานักงานศูนยวิจัยและใหคําปรึกษาแหงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ส�ำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำ� ปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จ-
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจ้างงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0
รายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย ในยุคอุตสาหกรรม 4.0

อุตสาหกรรมดิจิทัล
. xtreg var22 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.0393 Obs per group: min = 6


between = 0.9873 avg = 6.0
overall = 0.9487 max = 6

Wald chi2(8) = 6049.43


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var22 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.0018942 .0994767 -0.02 0.985 -.1968649 .1930764
var205 | -244.8783 59.49199 -4.12 0.000 -361.4805 -128.2762
var207 | 913.7884 245.7667 3.72 0.000 432.0944 1395.482
var445 | .6656463 .0454204 14.66 0.000 .5766239 .7546687
gpp_agri | -429.5596 1895.239 -0.23 0.821 -4144.16 3285.041
in_out | -496.1124 54.25578 -9.14 0.000 -602.4518 -389.7731
var701 | -.0234028 .0146106 -1.60 0.109 -.0520389 .0052334
var703 | .0030846 .0015306 2.02 0.044 .0000847 .0060845
_cons | 67168.73 17972.01 3.74 0.000 31944.24 102393.2
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 767.20255
sigma_e | 2638.4881
rho | .07795797 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

อุตสาหกรรมการแพทยครบวงจร
. xtreg var23 var101 var205 var207 var445 gpp_agri in_out var701 var703, re

Random-effects GLS regression Number of obs = 462


Group variable: cwt Number of groups = 77

R-sq: within = 0.4252 Obs per group: min = 6


between = 0.8741 avg = 6.0
overall = 0.8378 max = 6

Wald chi2(8) = 1017.89


corr(u_i, X) = 0 (assumed) Prob > chi2 = 0.0000

------------------------------------------------------------------------------
var23 | Coef. Std. Err. z P>|z| [95% Conf. Interval]
-------------+----------------------------------------------------------------
var101 | -.1560443 .1319454 -1.18 0.237 -.4146524 .1025638
var205 | -103.6578 74.93703 -1.38 0.167 -250.5317 43.21603
var207 | 1019.685 483.5954 2.11 0.035 71.85537 1967.515
var445 | -.1419679 .0808938 -1.75 0.079 -.3005168 .016581
gpp_agri | -7891.077 4011.09 -1.97 0.049 -15752.67 -29.48515
in_out | -666.3958 93.71504 -7.11 0.000 -850.0739 -482.7177
var701 | .2059618 .0376901 5.46 0.000 .1320905 .2798332
var703 | .0312558 .0026195 11.93 0.000 .0261216 .0363899
_cons | 29990.15 22893.86 1.31 0.190 -14881 74861.29
-------------+----------------------------------------------------------------
sigma_u | 3183.4807
sigma_e | 3018.4225
rho | .52659528 (fraction of variance due to u_i)
------------------------------------------------------------------------------

ส�ำนักงานศูนย์สํวาิจนััยกและให้
งานศูนยควำ� ิจปรึ
ัยและให คํางปรึมหาวิ
กษาแห่ กษาแห งมหาวิ
ทยาลั ทยาลัยธรรมศาสตร
ยธรรมศาสตร์ จ-11 จ-
กลุ่มงานวิจัยและพัฒนา กองเศรษฐกิจการแรงงาน
ส�านักงานปลัดกระทรวงแรงงาน

สำานักงานศูนย์วิจัยและให้คำาปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

You might also like