You are on page 1of 16

แบบแผนประทุษกรรมของกลุม่ อาชญากรรมทางเศรษฐกจ ิ

ข้อพิจารณาเบืองต้นว่าด้วย
ว ิธีการเล่นแร่แปรธาตุทดิ
ี น จากเอกสารในสารบบจดทะเบียนหน ังสอื ร ับรองการทําประโยชน์
ตําบลทีหนึง อําเภอทีสอง จ ังหว ัดทีสาม

2 4
4
4

แบบจําลองว่าด ้วยโครงสร ้างหน ้าทีและความสัมพันธ์ของการเล่นแร่แปรธาตุแห่งอันดามัน

เรายินดีตอ
่ กรกับผู ้ร ้ายทุกคนในโลก เพือปกป้ องรักษาความยุตธิ รรม เพือประโยชน์สข ุ ของสังคมโดยรวม
เราจะเอาชนะให ้ได ้ด ้วยปั ญญา และการยึดมันอยูใ่ นสิงทีถูกต ้องชอบธรรม
แบบแผนประทุษกรรมของกลุม่ อาชญากรรมทางเศรษฐกจ ิ
ข้อพิจารณาเบืองต้นว่าด้วย
วิธีการเล่นแร่แปรธาตุทดิ
ี น จากเอกสารในสารบบจดทะเบียนหน ังสอื ร ับรองการทําประโยชน์
ตําบลทีหนึง อําเภอทีสอง จ ังหว ัดทีสาม

1. ความเบืองต้น
ข ้อพิจารณาเบืองต ้นว่าด ้วย วิธก
ี ารเล่นแร่แปรธาตุทดิ
ี นจากเอกสารในสารบบจดทะเบียนหนั งสือรับรองการทํ า
ประโยชน์ ตําบลทีหนึง อําเภอทีสอง จังหวัดทีสาม เป็ นชือทีตังขึนมาเพือต ้องการสือให ้เห็นถึงการนํ าทีดินทีมีปัญหาอัน
อยูใ่ นเกณฑ์ทไม่ ี สามารถออกเอกสารสิทธิให ้ได ้ ส่วนหนึงเป็ นทีดินทีไม่มก ี ารครอบครองหรือทําประโยชน์จริง และอีก
ส่ว นหนึงเป็ นทีดิน ทีอยู่ ใ นเขตป่ าและภู เ ขา โดยกลุ่ ม นายทุ น ได ้ไปกว ้านซือและรวบรวมทีดิน เหล่า นั น นํ า ไปเป็ น
ิ ทีแท ้จริง และท ้ายทีสุด ทีดิน
หลักทรั พ ย์คํ าประกัน เงิน กู ้กับ ธนาคารในวงเงินจํ า นองทีมีมูล ค่า ทีสูง กว่าราคาทรั พ ย์ส น
เหล่านั นก็ได ้กลายเป็ นสินทรัพ ย์ท างการเงิน ทีด ้อยคุณ ภาพของธนาคารทีเป็ นผู ้รั บ จํ า นอง โดยมีตัวละครทีมีบ ทบาท
สํ า คั ญ ในการคบคิด ร่ว มกั น กระทํ า ความผิด ได ้แก่ กลุ่ม นายทุ น ผู ้นํ า ชุม ชนทีเป็ นทางการ ผู ้มีอ ท ิ ธิพ ลในท ้องถิน
เจ ้าหน ้าทีของรัฐและบุคคลทีเกียวข ้องในสถาบันการเงิน

2. ข้อค้นพบทีสําค ัญ
2.1 ้ ทางธุรกรรมธนาคารพาณิชย์และแบบแผนนิตก
เสน ั
ิ รรมสญญา
1. เอกสารหนั งสือรับรองการทําประโยชน์ (น.ส.3ก.) ทังหมด xx ชุด/แปลง คํานวณเนือทีได ้ทังหมด 1,133-2-
84 (ไร่-งาน-ตร.วา) หรือ 1,133.710 ไร่ หรือ 18.13936 ตร.กม. มีมูลค่าตามบั ญชีกํ าหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ท ีดิน ปี
2534-2537 ทีสามารถรวบรวมและคํ านวณมาได ้ xx แปลง จากทีดินทั งหมด xx แปลง หรือคิดเป็ นร ้อยละ 72.54 มีมูลค่า
85,506,975 บาท มีนต ิ ก
ิ รรมสัญญาทีเกียวข ้องกับทีดินดังกล่าว จํานวนทังสิน 35 ฉบับ มีมล
ู ค่า 1,719,626,150 บาท แบ่ง
ออกเป็ น
1) หนั งสือสัญญาจํานองในการคํ าประกันเงินกู ้ 20 ฉบับ มูลค่าจํานอง 1,351,000,000 บาท
2) หนั งสือสัญญาจํานองเพิมหลักทรัพย์ในการคําประกันเงินกู ้ 11 ฉบับ แบ่งออกเป็ น
ก. หนั งสือสัญญาจํานองเพิมหลักทรัพย์ไม่เพิมวงเงิน 8 ฉบับ (ไม่ระบุมล ู ค่าจํานอง)
ข. หนั งสือสัญญาจํานองเพิมหลักทรัพย์ 3 ฉบับ มูลค่าจํานอง 135,000,000 บาท
3) บันทึกข ้อตกลงโอนชําระหนี จํานวน 3 ฉบับ มูลค่า 133,626,150 บาท
4) หนั งสือสัญญาขายทีดิน จํานวน 1 ฉบับ มูลค่า 100,000,000 บาท
2. เมือนํ ามาแยกออกตามบุคคลและนิตบ ิ ค
ุ คลทีมีรายชือในการเปลียนเป็ นผู ้รับสัญญารายสุดท ้ายทีปรากฏ
ในสารบัญจดทะเบียน มีเส ้นทางทีสําคัญ 4 เส ้นทาง ดังนี
เส ้นทางทีหนึง จาก ธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) ไปยัง บริษัท บริหารสินทรั พย์ ก.ไก่ จํากัด ลง
วันที xx มิถน
ุ ายน พ.ศ.25xx โอนตามประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที xx กันยายน 25xx ไปยัง บรรษั ท บริหาร
สินทรัพย์ ข.ไข่จํา กัด ลงวันที xx เมษายน พ.ศ.25xx และไปสุดเส ้นทางที บริษัท ส.เสือ จํากัด กับ บรรษั ท บริห าร
สินทรัพย์ ข.ไข่ จํากัด ลงวันที xx มีนาคม พ.ศ.25xx โอนตามมาตรา 76 แห่งพระราชกําหนดบรรษั ทบริหารสินทรัพ ย์
ไทย พ.ศ.2544 จํานวน xx แปลง
เส ้นทางทีสอง จาก ธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) และสุดเส ้นทางที บริษัท บริหารสินทรัพย์ ก.ไก่
จํากัด โอนสิทธิการรับจํานองและประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที 14 กันยายน พ.ศ.2541 จํานวน x แปลง
เส ้นทางทีสาม จาก ธนาคาร ม.ม ้าคึกคั ก จํ ากัด (มหาชน) โอนสิท ธิการรั บ จํ า นองไป ธนาคาร ก.ไก่
จํ า กัด (มหาชน) ลงวั นที xx พฤษภาคม พ.ศ.25xx โอนตามพระราชบั ญญั ต ก ิ ํ า หนดแก ้ไขเพิมเติม พระราชบั ญ ญั ต ิ
ธนาคารพาณิช ย์ พ.ศ.2505 (ฉบับที 4) พ.ศ.25xx และและประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับลงวันที 14 กันยายน พ.ศ.
2541 จํานวน xx แปลง
เส ้นทางทีสี อืน ๆ จํานวน 5 แปลง 1) จากบริษัท ซ.โซ่ จํากัด ผู ้ขาย ไปยัง นาย ด.เด็ก ต ้องนิมนต์ ผู ้
ซือ จํานวน 3 แปลง จากนาย ต.เต่า หลังตุง ไปยัง บริษัท ค.ควาย จํากัด ผู ้ซือ จํ านวน xx แปลง นาง ถ.ถุง แบกขน
ผู ้จัดการมรดกนาย ท.ทหาร อดทน โอนชําระหนีกับธนาคาร น.หนู จํากัด (มหาชน) จํานวน xx แปลง
3. ทีดินทังหมดทีกล่าวมาทังหมด นัน มีเส ้นทางเดินของทีดินส่วนใหญ่ไปสินสุดทีบันทึกข ้อตกลงการโอน
สิทธิการรับจํานอง และสุดท ้ายกลายเป็ นสินทรัพย์ทางการเงินทีด ้อยคุณภาพของธนาคารทีเป็ นผู ้รับจํ านองหรือผู ้รับโอน
ตามเอกสารทีค ้นพบในสารบบนั น สามารถระบุเส ้นทางทีหนั งสือรับรองการทําประโยชน์ทดิ ี น (น.ส.3ก.) ไปสินสุดได ้ 4
เส ้นทาง ตามทีกล่าวมาแล ้ว โดยเฉพาะเส ้นทางทีเกียวข ้องกับการทําบันทึกข ้อตกลงการโอนสิทธิการรับจํานองระหว่า ง
ผู ้จํานองกับผู ้รับโอน คือ เส ้นทางที 1, 2 และ 3
บันทึกข ้อตกลงการโอนสิทธิการรับจํานองจากหนั งสือสัญญาจํานองฯ 9 ฉบับ ทีดิน น.ส.3ก.จํานวน xx
แปลง มูลค่าจํานองรวมทังสิน 1,113,000,000 บาท ธนาคารทีเกียวข ้อง 2 ธนาคาร รายละเอียดโดยสังเขป มีดงั นี
1) ธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) หนังสือสัญญาจํานองฯ 4 ฉบับ รวมมูลค่าจํานอง 635,000,000
บาท ราคาประเมินทุนทรัพย์ 101,862,975 บาท และปี พ.ศ.25xx มีราคาขายทอดตลาดทรัพย์ 63,619,000 บาท
2) ธนาคาร ม.ม า้ คึก คั ก จํ า กั ด (มหาชน) หนั งสือ สั ญ ญาจํ า นองฯ 5 ฉบั บ รวมมู ล ค่ า จํ า นอ ง
478,000,000 บาท ราคาประเมินทุนทรัพย์ – บาท
4. ทีดินทีมีข ้อมูลเชิงประจักษ์ ทอาจกล่
ี า วได ้ว่า เป็ นแก่นกลางของปั ญหาทังหมด สามารถใช ้เป็ นหลักยึดใน
การพิจารณาการกระทํ า ความผิดบุค คล กลุ่ม บุคคล และนิตบ ิ ุคคลเหล่า นี ได ้แก่ ทีดิน น.ส.3ก.เลขที 1421, 1422,
1423, 1426, 1427, 1433, 1434, 1442, 1443, 1444, 1445 เป็ นทีดินของบริษัท จ.จาน จํากัด และทีดิน น.ส.3ก.
เลขที 1428 เป็ นทีดินของบริษัท อ.อ่าง จํากัด ขายให ้บริษัท ภ.สําเภา จํากัด และทีดินทังหมดนีได ้ขายให ้กับบริษัทที
เกียวข ้องกัน คือ บริษัท ส.เสือ จํากัด ในวันเดียวกัน
สภาพพืนทีของทีดินจํ านวน 12 แปลงนีอยูใ่ นระวางรูปถ่ายทางอากาศ หมายเลข xxxxIV แบ่งออกเป็ น 3
ส่วนตามหน ้าสํารวจ (แผ่นที) ส่วนที 1 ทีดิน น.ส.3ก.เลขที 1421, 1422, 1423, 1426, 1427, 1428 หน ้าสํารวจ xx
ส่วนที 2 ทีดิน น.ส.3ก.เลขที 1433, 1434 หน ้าสํารวจ xx, xx และส่วนที 3 ทีดิน น.ส.3ก.เลขที 1442, 1443, 1444,
1445 หน ้าสํารวจ xx
เมือพิจารณาภาพรวมของผลการตรวจสอบพืนทีบริเวณแปลงทีดิน น.ส.3 ก ตามระวางรูปถ่ายทางอากาศ
พบว่า มีความสูงเฉลีย 65.83 เมตร ความสูง สูงสุด 100 เมตร ตําสุด 20 เมตร ความลาดชันเฉลีย 53.1% ความลาดชัน
สูงสุด 81% ตําสุด 30% เนือทีรวมทังสิน 323.39 ไร่ สภาพภูมป
ิ ระเทศส่วนใหญ่เป็ นเนินเขา
เมือจําแนกตามสภาพภูมป ิ ระเทศทีเป็ นเนินเขาและร่องเขา มีเนือที 195.37 ไร่ คิดเป็ นร ้อยละ 60.41 ของ
เนือทีทังหมด เป็ นภูเขาและยอดเขา มีเนือที 128.02 ไร่ คิดเป็ นร ้อยละ 39.59 ของเนือทีทังหมด การใช ้ประโยชน์ทดิ ี น
ในปี พ.ศ.2510 เป็ นป่ า 100% และในปี พ.ศ.2542 ทีดินส่วนใหญ่ยังคงสภาพเป็ นป่ าและมะม่วงหิมพานต์ 100%
เมือพิจาณาในด ้านความสูงและความลาดชัน สภาพภูมป
ิ ระเทศทีเป็ นเนินเขาและร่องภูเขา มีความสูงเฉลีย
58.75 เมตร ความสูง สูงสุด 100 เมตร ตําสุด 20 เมตร ความลาดชันเฉลีย 49.88% ความลาดชัน สูงสุด 58% ตําสุด
30% ส่วนทีเป็ นภูเขาและยอดเขา มีความสูงเฉลีย 80.00 เมตร ความสูง สูงสุด 100 เมตร ตําสุด 50 เมตร ความลาด
ชันเฉลีย 59.5% ความลาดชัน สูงสุด 81% ตําสุด 40%
การระบุแปลงทีดินข ้างเคียงทีติดต่อกับทีดินเหล่านีมีลักษณะเฉพาะของตนเอง กล่าวคือ ทีดินทีเป็ นแปลง
ข ้างเคียงนั น หากติดต่อกับทีดินแปลงทีตนครอบครองอยู่ ก็จะระบุทศ ิ และเลขทีดินลงในรูป แผนที แต่ในทิศอืน ๆ ทีไม่
เกียวข ้อง ก็จะระบุเป็ นที ท.ค. ถนนสาธารณประโยชน์ หรือไม่ระบุตวั อักษรหรือตัวเลขใด ๆ เลย ซึงลักษณะดังกล่าวนีจะ
พบว่ามีรปู แบบคล ้ายคลึงกันกับทีดินของกลุม ่ ที 4 บริษัท ว.แหวน จํากัด แต่ในกรณีนัน เป็ นการขยายเนือทีเพือให ้เนือ
ทีดินในแปลงของตนเพิมขึน และมีวัตถุประสงค์ทจะขยายเนื
ี อทีออกไปจดกับแปลงทีดินทีครอบครองอยูใ่ นพืนทีบริเวณ
นันก่อนหน ้าแล ้ว
สภาพภูมปิ ระเทศของทีดิน
น.ส.3ก.เลขที 1421, 1422, 1423, 1426, 1427, 1428, 1433, 1434, 1442, 1443, 1444, 1445
ความ เนือที ความสูง (เมตร) ความลาดชัน (%)
ลําดับ เลขที ความสูง เนือที ร ้อยละ ภูมป
ิ ระเทศ ร ้อยละ
ลาดชัน เฉลีย เฉลีย สูงสุด ตําสุด เฉลีย สูงสุด ตําสุด
1 1421 80 58 32.93 22.47 เนินเขา
2 1422 50 58 22.51 15.36 เนินเขา
3 1423 40 30 26.77 18.27 เนินเขา
4 1426 100 58 19.68 13.43 เนินเขา
5 1427 40 50 19.76 13.48 เนินเขา
6 1428 60 50 24.90 16.99 เนินเขา
รวม 146.55 100.00 45.317 24.43 61.67 100 30 50.43 58 30
1 1434 100 49 28.54 58.89 ยอดเขา
2 1433 80 49 19.92 41.11 เนินเขา
รวม 48.46 100.00 14.985 24.23 90.00 100 80 49.00 49 49
1 1442 100 68 31.93 24.87 ภูเขา
2 1443 70 40 23.91 18.62 ภูเขา
3 1444 20 46 28.90 22.51 ร่องภูเขา
4 1445 50 81 43.64 33.99 ภูเขา
รวม 128.38 100.00 39.70 32.10 60.00 100 50 59.50 81 40
พืนทีเนินเขาและร่องเขา 195.37 60.41 24.42 58.75 100 20 49.88 58 30
พืนทีภูเขาและยอดเขา 128.02 39.59 32.01 80.00 100 50 59.50 81 40
รวมทังสิน 323.39 100.00 100.00 26.95 65.83 100 20 53.08 81 30

2.2 ระยะเวลาการครอบครองสิทธิ ซือขาย และจํานองทีดิน


ทีดินทังหมด xx แปลงนี เมือนํ ามาพิจารณาแบบแผนพฤติกรรมทีเกียวข ้องกับระยะเวลาการครอบครองหรือ
วันทีออกเอกสารสิทธิหนั งสือรับรองการทําประโยชน์ (น.ส.3ก.) วันทําสัญญาซือขาย และวันทําสัญญาจํานอง สามารถ
สรุปโดยสังเขปได ้ดังนี
ภาพรวม กลุม ่ ที 1-5 ทีดินทัง xx แปลง มีระยะเวลาการครอบครองสิท ธิถงึ วัน ทํ า สัญ ญาซือขาย มีค่าเฉลีย
1704.01 วั น หรือ 4.66 ปี ระยะเวลาวันทํ าสัญญาซือขายถึงวั นทํา สัญญาจํ า นอง ค่าเฉลีย 126.13 วัน หรือประมาณ
0.345 ปี เมือนํ ามาจําแนกเป็ นกลุม
่ รายละเอียดมีดังนี
กลุม
่ ที 1 บริษัท จ.จาน จํากัด มีทดิ
ี น xx แปลง จํานวน xx แปลงเป็ นทีดินทีมเี อกสารสิทธิครอบครองในนาม
ของตนเอง จํานวน xx แปลงเป็ นทีดินทีซือมาจากตัวแทน-นายหน ้า ระยะเวลาการครอบครองสิทธิถงึ วันทํ าสัญญาซือ
ขาย มีคา่ เฉลีย 464.06 วัน หรือประมาณ 1.27 ปี ระยะเวลาวันทําสัญญาซือขายถึงวันทําสัญญาจํานอง ค่าเฉลีย 41.83
วัน หรือประมาณ 0.120 ปี
กลุม
่ ที 2 บริษัท ภ.สําเภา จํ ากัด มีทดิ
ี น xx แปลง ระยะเวลาการครอบครองสิท ธิถ งึ วันทํ า สัญ ญาซือขาย มี
ค่าเฉลีย 1168.60 วัน หรือประมาณ 3.20 ปี ระยะเวลาวันทําสัญญาซือขายถึงวันทําสัญญาจํานอง ค่าเฉลีย 363.80 วัน
หรือประมาณ 0.996 ปี
กลุ่ม ที 3 บริษั ท ส.เสือ จํ า กัด มีท ีดิน xx แปลง ระยะเวลาการครอบครองสิท ธิถ งึ วั น ทํ า สัญ ญาซือขาย มี
ค่าเฉลีย 856.75 วัน หรือประมาณ 2.346 ปี ระยะเวลาวันทําสัญญาซือขายถึงวันทําสัญญาจํานอง ค่าเฉลีย 1 วัน
กลุ่มที 4 บริษั ท ว.แหวน จํ า กัด มีท ดิ
ี น xx แปลง ระยะเวลาการครอบครองสิท ธิถ งึ วั นทํ า สัญ ญาซือขาย มี
ค่าเฉลีย 3503.80 วัน หรือประมาณ 9.593 ปี ระยะเวลาวันทําสัญญาซือขายถึงวันทําสัญญาจํานอง ค่าเฉลีย 0.13 วัน
กลุม่ ที 5 ตัวแทน-นายหน ้า มีทดิ
ี น xx แปลง ระยะเวลาการครอบครองสิทธิถงึ วันทําสัญญาซือขาย มีคา่ เฉลีย
1900.11 วัน หรือประมาณ 5.202 ปี ระยะเวลาวั นทําสัญญาซือขายถึงวันทํา สัญญาจํานอง ค่าเฉลีย 389.56 วัน หรือ
ประมาณ 1.067 ปี
2.3 ิ ทีแท้จริง
การร ับจํานองในวงเงินทีมีมูลค่าทีสูงกว่าราคาทร ัพย์สน
สถาบันการเงินหรือผู ้บริหารสถาบันการเงิน มีการอนุมัตส ิ เชือโดยผิดปกติเป็ นนัยสําคัญ กล่าวคือ การอนุมัต ิ
ิ น
สินเชือให ้แก่ลูกหนีทีมีทน
ุ จดทะเบีย นตําในจํานวนทีสูงเกินกว่าทุนจดทะเบียนหลายเท่า และลูกหนีไม่มีความสามารถ
ในการชําระหนี หรือมีความสามารถในการหารายได ้ตํา และเรียกหลักประกันทีไม่คุ ้มหนีหรือความมีเสียงสูงในการไม่ได ้
รับชําระหนีคืน ตัวอย่างเช่น
ิ ทีแท ้จริง ของสถาบั น การเงิน
1) ตัว อย่า งแรก การรั บ จํ า นองในวงเงิน ทีมีมู ล ค่า ทีสูง กว่า ราคาทรั พ ย์ส น
กล่าวคือ บริษัท ส.เสือจํ ากัด จํานองหลักทรัพย์ ทีดิน น.ส.3ก. 20 แปลง หนังสือสัญญาจํานองฯ ฉบับนีทําเมือวันที xx
ธันวาคม 25xx กับ ธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) เป็ นเงิน 405,000,000 บาท
เมือคํานวณตัวเลขประเมินราคาทุนทรัพย์ทดิี นในการรับจํานอง เฉลียตารางวาละ 1,848.74 บาท หรือราคา
ไร่ละ 739,496.41 บาท ทีดินจํานวน 20 แปลง เนือทีทั งหมด 547-2-69 (ไร่-งาน-ตร.วา) หรือ 547.67 ไร่ มีมูลค่า
ตามบัญชีกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ทดิ ี น ปี 2534-2537 ทีสามารถรวบรวมและคํานวณมาได ้ 19 แปลง จากจํานวน
ทีดิน 20 แปลง เป็ นจํานวนเงิน 48,531,650 บาท และมีราคาขายทรัพย์ทอดตลาด เมือวันที xx ธันวาคม พ.ศ.25xx
มูลค่าเพียง 38,643,712 บาท
2) ตัว อย่า งทีสอง การรั บ จํ า นองทีดิน น.ส.3ก. เลขที 1298, 1531, 1533 รวมสามแปลง เมือวันที xx
ตุลาคม พ.ศ. 25xx บริษัท ส.เสือ จํากัด นํ าไปจํานองเป็ นประกันกับธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) เพือเป็ นประกัน
เงินกู ้ หรือเงินเบิกเกินบัญชีและหนีสินอืน ๆ ของผู ้จํานองเอง และ/หรือบริษัท จ.จาน จํากัด และ/หรือบริษัท ว.แหวน
จํากัด และ/หรือบริษัท ภ.สําเภา จํากัด เป็ นเงิน 230,000,000 บาท
เมือคํา นวณตั ว เลขประเมิน ราคาทุนทรั พ ย์ท ีดิน น.ส.3ก. เลขที 1298, 1531, 1533 มีมูลค่า จํา นองเฉลีย
ตารางวาละ 8,531.41 บาท หรือราคาไร่ละ 3,412,564.17 บาท แต่มล ู ค่าตามบัญชีกําหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ทดิ
ี น
ปี พ.ศ.2534-2537 และ ปี พ.ศ.2538 ทีสามารถรวบรวมและคํานวณมาได ้ มีมล ู ค่าเพียง 8,048,000 บาท ในขณะทีปี
พ.ศ.2542 มีราคาประเมินทุนทรัพย์ 9,916,725 บาท และมีราคาขายทรัพย์ทอดตลาด เมือวันที xx ธันวาคม พ.ศ.25xx
มีมล
ู ค่าเพียง 11,521,551.20 บาท
2.4 ิ เชือของสถาบ ันการเงิน
ความเสียงด้านการให้สน
ความเสียงด ้านการให ้สินเชือของสถาบันการเงิน กล่าวคือ
1) ตัวอย่างแรก บริษัท ว.แหวน จํากัด ทุนจดทะเบียน 10,000,000 บาท (สิบล ้านบาทถ ้วน) วัตถุประสงค์
จําหน่ายจิว เวลรี ในปี พ.ศ.25xx และปี พ.ศ.25xx มีภาระหนีสินกับ ธนาคาร ม.ม ้า จํากัด (มหาชน) มูลค่ารวมทั งสิน
328,000,000 บาท แบ่ ง เป็ นหนั ง สือ สั ญ ญาจํ า นองในการคํ าประกั น เงิน กู ้ 1 ฉบั บ และหนั ง สือ สั ญ ญาจํ า นองเพิ ม
หลักทรัพย์ 2 ฉบับ
2) ตัวอย่างทีสอง ตระกูลเกิดมากู ้ โดย นาย ช.ช ้าง วิงหนี กรรมการบริษัท ว.แหวน จํากัด ทุนจดทะเบียน
1,000,000 บาท (หนึงล ้านบาทถ ้วน) วั ตถุประสงค์ จําหน่า ยจิวเวลรี ในปี พ.ศ.25xx มีภาระหนี สินกับ ธนาคาร ม.ม ้า
จํากัด (มหาชน) มูลค่ารวมทังสิน 150,000,000 บาท เป็ นหนังสือสัญญาจํานองในการคําประกันเงินกู ้ 2 ฉบับ
2.5 ั ันธ์ของบริษ ัททีเกียวข้องและบุคคลทีเกียวข้องก ัน
ความสมพ
ข ้อมูลทีสามารถชีให ้เห็นถึงความสัมพันธ์ของบริษัททีเกียวข ้องและบุคคลทีเกียวข ้องกัน เป็ นหนังสือสัญญา
จํานองฯ ทีบุคคลและนิตบ ิ ค
ุ คลทํานิตกิ รรมสัญญาเป็ นภาระผูกพันกัน รายละเอียดโดยสังเขปมีดังนี
1) หนั งสือสัญญาจํานองหลักทรัพย์เพือประกันหนีทีบริษัททีเกียวข ้องกันได ้นํ าไปจํานองเพิมหลักทรัพย์
กับธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) เพือเป็ นประกันหนี และเพิมหลักทรัพ ย์ ซึงได ้จดทะเบียนจํานองทีดิน ตําบลที
สอง อําเภอทีสอง จังหวัดทีสาม ลงวันที xx พฤษภาคม พ.ศ.25xx รายละเอียดโดยสังเขปมีดังนี
บริษัท จ.จาน จํากัด จํานวน 5 แปลง หนังสือสัญญาฯ 3 ฉบับ ได ้แก่
ก) หนังสือสัญญาฯ ลงวันที xx พฤษภาคม พ.ศ.25xx นํ าทีดิน น.ส.3ก. จํานองเพิมหลักทรัพย์เป็ น
ประกัน โดยไม่เพิมวงเงินกับธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) เพือเป็ นประกันหนีซึงได ้จดทะเบียนจํ านองทีดิน ตําบล
ทีสอง อําเภอทีสอง จังหวัดทีสาม
ข) หนั งสือสัญญาฯ ลงวันที xx พฤษภาคม พ.ศ.25xx นํ านํ าทีดิน น.ส.3ก. ไปจํานองเพิมหลักทรัพย์
กับธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) เพือเป็ นประกันหนีซึงได ้จดทะเบียนจํานองทีดิน น.ส.3 ก. ตําบลทีสอง อําเภอที
สอง จังหวัดทีสาม
ค) หนั งสือสัญ ญาฯ ลงวั นที xx มิถุนายน พ.ศ.25xx นํ าทีดิน น.ส.3ก. ไปจํ านองเพิมหลั ก ทรั พ ย์
โดยไม่เพิมวงเงินเป็ นการจํานองเพิมหลั กทรัพย์ร่วมกับ น.ส.3ก. ตําบลทีสอง อําเภอทีสอง จังหวั ดทีสาม ตามสัญ ญา
จํานอง กับธนาคาร ก จํากัด (มหาชน)
บริษัท ภ.สําเภา จํากัด จํานวน 2 แปลง เป็ นหนังสือสัญญาฯ 1 ฉบับ
ก) วั น ที xx พฤษภาคม 25xx นํ า ทีดิน น.ส.3ก.ไปจํ า นองเพิมหลั ก ทรั พ ย์โ ดยไม่ เ พิมวงเงิน กั บ
ธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) เพือเป็ นประกันหนีซึงได ้จดทะเบียนจํ านองทีดินโฉนดทีดิน ตําบลทีสอง อําเภอที
สอง จังหวัดทีสาม เป็ นประกันหนีไว ้แล ้ว
2) หนังสือสัญญาจํ านองหลักทรัพย์เ พือประกันหนี ระหว่างทีดิน น.ส.3ก. ของบริษัท จ.จาน จํากัด กับ
ทีดิน น.ส.3ก. ของ บริษัท ภ.สําเภา จํากัด
3) หนั งสือ สัญ ญาจํ า นองหลั ก ทรั พย์เ พือประกัน หนี ทีดิน น.ส.3ก. ของบริษัท ส.เสือ จํ ากัด กับ ทีดิน
น.ส.3ก. ของ นาย ช.ช ้าง วิงหนี
มูลค่าสินเชือของสถาบันการเงินทีปล่อยให ้แก่กลุม
่ บริษัททีเกียวข ้องกันและบุคคลทีเกียวข ้องกัน
ในช่วงปี 2533-2539 จําแนกตามรายปี และสถาบันการเงิน
ป พ.ศ.
สถาบันการเงิน รวม
2533 2534 2535 2537 2538 2539
1 8,000,000 44,000,000 4,000,000 56,000,000
2 30,000,000 35,000,000 405,000,000 230,000,000 700,000,000
3 30,000,000 30,000,000 60,000,000
4 7,000,000 7,000,000
5 10,000,000 10,000,000
6 120,000,000 298,000,000 150,000,000 568,000,000
7 5,000,000 5,000,000
8 20,000,000 20,000,000
9 60,000,000 60,000,000
รวม 8,000,000 146,000,000 185,000,000 707,000,000 380,000,000 60,000,000 1,486,000,000

มูลค่าจํานองของกลุม
่ บริษัททีเกียวข ้องกัน ในช่วงปี 2533-2539
กลุ่มที
ป รวม ร้อยละ
1 2 3 4 5
2533 8,000,000 8,000,000 0.54
2534 146,000,000 146,000,000 9.83
2535 110,000,000 45,000,000 30,000,000 185,000,000 12.45
2537 4,000,000 405,000,000 298,000,000 707,000,000 47.58
2538 230,000,000 150,000,000 380,000,000 25.57
2539 60,000,000 60,000,000 4.04
รวม 328,000,000 45,000,000 635,000,000 328,000,000 150,000,000 1,486,000,000 100.00

มูลค่าสินเชือของสถาบันการเงินทีปล่อยให ้แก่กลุม
่ บริษัททีเกียวข ้องกันและบุคคลทีเกียวข ้อง
ในช่วงปี 2533-2539 จําแนกตามกลุม ่ และสถาบันการเงิน
กลุ่มที
สถาบันการเงิน รวม ร้อยละ
1 2 3 4 5
1 56,000,000 56,000,000 3.77
2 65,000,000 635,000,000 700,000,000 47.11
3 60,000,000 60,000,000 4.04
4 7,000,000 7,000,000 0.47
5 10,000,000 10,000,000 0.67
6 45,000,000 45,000,000 328,000,000 150,000,000 568,000,000 38.22
7 5,000,000 5,000,000 0.34
8 20,000,000 20,000,000 1.35
9 60,000,000 60,000,000 4.04
รวม 328,000,000 45,000,000 635,000,000 328,000,000 150,000,000 1,486,000,000 100.00
2.6 ั ันธ์ทเกี
ความสมพ ี ยวข้องก ันของบุคคล กลุม
่ บุคคล และนิตบ
ิ ุคคล
โครงสร ้างหน ้าทีในการแบ่งงานกันทําและความสัมพั นธ์ของบุคคลทีเกียวข ้องกันทีค ้นพบจากเอกสารใน
สารบบหนั งสือรับรองการทําประโยชน์นัน สามารถแบ่งออกได ้เป็ น 7 รูปแบบ ดังนี
1) บุคคลทีเป็ นราษฎรในพืนทีและมีชอเป็ ื นผู ้ครอบครองทีดิน ทําหน ้าทีเป็ นตัวแทนในการนํ าทีดิน ของ
ตนเองไปจํ า นองเพือคํ าประกั นเงิน กู ้ หรือเงิน เบิกเกิน บั ญ ชีแ ละหนี สิน อืน ๆ ให ้แก่บ ริษั ททีตนเองได ้ขายทีดิน ให ้ใน
ภายหลัง และ/หรือขายให ้ในระหว่างจํานอง
2) บุคคลทีเป็ นบุคคลภายนอกพืนทีและ/หรือมีชอเป็ ื นผู ้ครอบครองทีดิน ทําหน ้าทีเป็ นตัวแทน-นายหน ้า
จัดซือและขายทีดิน ให ้แก่ทังสองฝ่ าย หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง และยังเป็ นผู ้รับ มอบอํ านาจในการจํ า นอง และ/หรือ รั บ
จํานองและไถ่ถอนหลักทรัพย์คําประกันเงินกู ้ให ้แก่บริษัททีเกียวข ้องกัน และสถาบันการเงินทีเกียวข ้องด ้วย
3) บุคคลทีทํ า หน ้าทีเป็ นตัวแทน-นายหน ้าจัดซือและขายทีดินให ้แก่บ ริษัท ทีเกียวข ้องกัน ทังสองฝ่ าย
หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง และยังเป็ นผู ้รั บ มอบอํ า นาจในการจํ า นองและไถ่ถ อนหลั กทรัพ ย์คําประกันเงิน กู ้ให ้แก่บ ริษั ทที
เกียวข ้องกัน
4) บุคคลทีทํ า หน ้าทีเป็ นตัวแทน-นายหน ้าจั ดซือและขายทีดินให ้แก่ทั งสองฝ่ าย หรือฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง
และมีช ือเป็ นผู ้ครอบครองทีดิน โดยเป็ นผู ้รั บ มอบอํ า นาจซือ ขายทีดิน ของตนเองให ้กั บ บริษั ท และ/หรื อ จํ า นอง
หลักทรัพย์ในนามตนเอง เพือคําประกันเงินกู ้ หรือเงินเบิกเกินบัญชีและหนีสินอืน ๆ ให ้แก่บริษัททีตนเองขายทีดิน ให ้
รวมถึงเป็ นผู ้รับมอบอํ านาจในการจํานองและไถ่ถอนหลักทรัพย์คําประกันเงินกู ้อืน ๆ ให ้แก่บริษัททีตนเองขายทีดินและ
บริษัททีเกียวข ้องกันกับบริษัททีตนเองขายทีดินให ้ด ้วย
5) บุคคลทีเป็ นกรรมการบริษั ทหนึง (บริษัท ก) และยังเป็ นบุค คลทีเกียวข ้องกันกับ กรรมการในบริษั ท
เดียวกัน ทําหน ้าทีเป็ นผู ้รับมอบอํานาจซือ ขายทีดิน และ/หรือ จํานองหลักทรัพย์ในนามตนเอง เพือคําประกันเงินกู ้ หรือ
เงินเบิกเกินบัญชีและหนีสินอืน ๆ ให ้แก่บ ริษัททีเกียวข ้องกัน (บริษัท ข) ซึงมีบุคคลทีเกียวข ้องกันกับ ตนในบริษัท ที
ตนเองเป็ นกรรมการ (บริษัท ก) มาเป็ นกรรมการในบริษัทอืน (บริษัท ข) อยูด ่ ้วย
6) บุคคลทีเป็ นพนั กงานระดับปฏิบัตงิ าน (พนั กงานรับ -ส่งเอกสาร) ในสํานั กงานของสถาบันการเงิน ทํา
หน ้าทีเป็ นผู ้รั บ มอบอํ า นาจจากนิ ต บ
ิ ุ ค คลทั งสองฝ่ าย ระหว่า งผู ้รั บ จํ า นองกั บ ผู ้จํ า นอง ในการจํ า นองและไถ่ ถ อน
หลักทรัพย์คําประกันเงินกู ้ และ/หรือ เป็ นผู ้รับมอบอํานาจในการซือ ขายทีดินให ้แก่น ิตบ ิ ุคคล ซึงเป็ นผู ้รั บจํานองด ้วย
โดยนิตบ ิ ค
ุ คล ซึงเป็ นผู ้จํานองดังกล่าวนั น เป็ นบริษัททีเกียวข ้องกันทังหมด
7) บุคคลทีเป็ นเจ ้าพนั กงานทีดินจังหวัดในท ้องถิน เจ ้าหน ้าทีปกครอง ผู ้ปกครองท ้องถิน ทําหน ้าทีเป็ น
พยานยืนยันในการพิสจ ู น์และไต่สวนสิทธิการครอบครองและการใช ้ประโยชน์ และลงลายมือชือเป็ นพยานในเอกสารจด
ทะเบียนสิทธิและนิต กิ รรมประเภทต่าง ๆ ให ้แก่บริษัททีเกียวข ้องกัน และผู ้ปกครองท ้องถินบางคน ยังทํ าหน ้าทีเป็ น

ผู ้รับมอบอํานาจในขายทีดินจากราษฎรในพืนทีให ้แก่บริษัท ทีเกียวข ้องกัน รวมถึงการขายทีดินทีมีชอของตนเองเป็ นผู ้
ครอบครองให ้ด ้วย
กล่าวโดยสรุป พฤติกรรมของบุคคล กลุม ่ บุคคล และนิตบ ิ ุคคลเหล่านี จะไปกว ้านซือทีดินตามป่ าตามเขา
ด ้วยราคาถูก ทีดินเหล่านั นส่วนหนึงเป็ นทีดินทีราษฎรบุกเบิกรุกทีดินป่ าสงวน ส่วนหนึงเป็ นทีดินตามป่ าตามเขาทีมีความ
ลาดชันสูงกว่า 35% แล ้วนํ ามาขายให ้แก่บริษัท หรือโอนเปลียนมือจากคนขายมาให ้คนซือหรือตัวแทน-นายหน ้า และ
จากคนซือหรือ ตั วแทน-นายหน ้าไปให ้บริษัท และขายจากบริษัทหนึงไปยั งอีกผู ้ซืออีกบริษัทหนึง ทีเป็ นทังบริษั ทที
เกียวข ้องกันและบุคคลทีเกียวข ้องกัน และผ่องถ่ายเงินสดออกไปสูก ่ ลุม
่ ของตนเอง ในระหว่างก่อนการโอนเปลียนมือ
แต่ละครัง บุคคลเหล่านีจะนํ าทีดินไปจํานองเป็ นหลักทรัพย์ในการคําประกันเงินกู ้กับสถาบันการเงิน เป็ นลักษณะการก่อ
หนีเพือใช ้หนี และปล่อยให ้บริษัททีเกียวข ้องกันถือทีดินตามป่ าตามเขาไว ้แทน และใช ้ประโยชน์ในการนํ าไปคํ าประกัน
เงินกู ้กับสถาบันการเงินเช่นเดียวกัน ท ้ายทีสุดก็ปล่อยให ้หลุดจํานอง
2.7 บุคคลในสถาบ ันการเงิน และเจ้าหน้าทีของร ัฐ
บุคคลในสถาบันการเงิน ในฐานะผู ้บริหารสถาบันการเงิน หรือผู ้ใช ้ ผู ้สนั บสนุน หรือตัวการร่วมในการจด
ทะเบียนและนิตก
ิ รรมในหนั งสือสัญญาประเภทต่าง ๆ ประกอบด ้วย
บุคคลในสถาบ ันการเงิน
1) ธนาคาร ก.ไก่ จํากัด ระดับสาขา จํานวน 4 คน
2) ธนาคาร ฉ.ฉิง จํากัด ระดับสาขา จํานวน 1 คน
3) ธนาคาร น.หนู จํากัด (มหาชน) ระดับสาขา จํานวน 3 คน
4) ธนาคาร ม.ม ้า จํากัด (มหาชน) ระดับสาขา จํานวน 7 คน
5) ธนาคาร ย.ยักษ์ จํากัด (มหาชน) ระดับสาขา จํานวน 2 คน
6) ธนาคาร ส.เสือ จํากัด (มหาชน) ระดับสาขา จํานวน 5 คน
7) ธนาคาร ฮ.นกฮูก จํากัด (มหาชน) ระดับสาขา จํานวน 3 คน ระดับสํานั กงานใหญ่ 3 คน
8) บริษัท เงินทุน ร.เรือ จํากัด จํานวน 3 คน
9) บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ ล.ลิง จํากัด จํานวน 2 คน
เจ้าหน้าทีร ัฐ
เจ ้าหน ้าทีของรั ฐทีเกียวข ้องกับการจดทะเบีย นสิทธิและนิตก
ิ รรมในทีดินประเภทต่าง ๆ นั น ประกอบด ้วย
เจ ้าหน ้าทีพนั กงานทีดินอําเภอทีสอง และเจ ้าหน ้าทีปกครอง เป็ นสําคัญ
เจ ้าหน ้าทีพนั กงานทีดินอําเภอทีสอง ทีมีบทบาทสําคัญในแต่ละช่วงปี สามารถแบ่งได ้ดังนี
1) ช่วงปี พ.ศ.2521-2530 จํานวน 1 คน
2) ช่วงปี พ.ศ.2533-2537 จํานวน 3 คน
3) ช่วงปี พ.ศ.2537-2539 จํานวน 3 คน
4) ช่วงปี พ.ศ.2540-2546 จํานวน 5 คน
4) ช่วงปี พ.ศ.2546-2548 จํานวน 4 คน
เจ ้าหน ้าทีปกครอง ในฐานะพนั กงานเจ ้าหน ้าทีจดทะเบีย นสิทธิและนิตก
ิ รรม ประกอบด ้วย นายอํา เภอที
สอง และผู ้รักษาราชการแทนนายอําเภอทีสอง สามารถแบ่งได ้ดังนี
ช่วงปี พ.ศ.2520 – 47 ปลัดอําเภอ จํานวน 6 คน นายอําเภอ 9 คน สาธารณสุขอําเภอ 1 คน กํานัน 1 คน
ดังนั น การพิจารณาว่าเจ ้าหน ้าทีรัฐบุคคลใดเกียวข ้องกับ การจดทะเบียนและนิตก
ิ รรมในหนั งสือสัญญาใด
นั น สามารถพิจารณาได ้จากวันเดือนปี ทีทํ าหนั งสือ สัญญาทั ง 35 ฉบับนั นขึนมาเป็ นหลัก และช่วงปี พ.ศ.25xx-25xx
นับเป็ นช่วงปี ทสํ
ี าคัญของเหตุการณ์ทังหมด
ั ันธ์
3. แบบจําลองและกรอบการวิเคราะห์โครงสร้างหน้าทีและความสมพ
การพิจาณาเรืองความสัมพั นธ์ทเกี ี ยวข ้องกันของบุคคล กลุม ่ บุคคล และนิตบ ิ ุคคลในการศึกษาครั งนี สามารถ
สรุป เป็ นแบบจํ า ลองว่า ด ้วย โครงสร า้ งหน า้ ทีและความสัม พั น ธ์ใ นการเล่น แร่ แ ปรธาตุแ ห่ง อั น ดามั น โดยการสร ้าง
แบบจํ าลองนี ได ้อาศัย ข ้อมูลเชิงประจั กษ์ ท รวบรวมขึ
ี นมาจากเอกสารในสารบบหนั งสือรับรองการทําประโยชน์ ข ้อมูล
จากแหล่งข่าวในพืนที และการนํ าแนวความคิดและทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economy) เข ้ามาใช ้เป็ น
กรอบการวิเคราะห์เพือเป็ นส่วนขยายให ้แบบจําลองนีมีความสมบูรณ์ วัตถุประสงค์ของการสร ้างแบบจําลองนีขึนมาเพือ
ใช ้ในการวิเคราะห์ความสัมพั นธ์ทเชื
ี อมโยงกันในเชิงเหตุและผลระหว่างกันของขอบเขตแห่งโครงสร ้างอํานาจ-หน ้าที
ของกลไกต่าง ๆ ภายในแต่ละโดเมน และการประเมินถึงผลกระทบของกิจกรรมในการแสวงหาค่า เช่าทางเศรษฐกิจ ใน
แต่ละโดเมนทีมีตอ ่ สังคมโดยรวม (ภาพที 1 และภาพที 2)
แบบจํ าลองว่า ด ้วย โครงสร ้างหน ้าทีและความสัม พั นธ์ใ นการเล่น แร่ แปรธาตุแ ห่ง อัน ดามั น นี มีข ้อสมมุ ต วิ ่า
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจย่อมมีความสัมพันธ์เชือมโยงกันกับอาชญากรรมทางการเมืองอย่างไม่สามารถแยกขาดจาก
กันได ้ เนืองจากกลุม ่ บุคคล หรือคณะบุคคลทีกระทําความผิดกฎหมายเพือแสวงหาผลประโยชน์อันมิช อบจากเศรษฐ
ทรั พย์ของสัง คมนั น จะไม่สามารถดํา เนินการให ้สําเร็จได ้โดยลํา พั ง หรือปราศจากความช่ว ยเหลือ และสนั บ สนุ น จาก
เจ ้าหน ้าทีของรัฐ มีผู ้กระทําความผิดร่วมมือกันและมีความสัมพันธ์เชือมโยงกันหลายระดับชัน รวมถึงการอาศัยอิท ธิพ ล
ของตนหรือคณะบุคคลทีมีอยู่ในกิจการต่า ง ๆ เข ้าช่วยคําจุนและเสริมสร ้างความสัมพั นธ์กับ กลุ่มอํา นาจทางการเมือ ง
และแบ่งปั นผลประโยชน์ทได ี ้มาร่ว มกัน โดยกลุ่ม อํ า นาจทางการเมืองนั นจะทํ า หน ้าทีเป็ นเกราะกํา บัง ให ้อาชญากร
เหล่านีพ ้นความผิด และยังช่วยเอืออํานวยประโยชน์ให ้ผู ้กระทําความผิดสามารถประกอบอาชญากรรมได ้ง่ายขึน
โครงสร ้างอํา นาจทางเศรษฐกิจการเมืองหนึง ๆ ในแบบจําลองนี มีสมมติฐานว่า การดํ าเนินกิจกรรมเพือการ
แสวงหาค่าเช่าทางเศรษฐกิจจากฐานทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิงแวดล ้อมของสังคมนี เป็ นผลจากปฎิสัมพันธ์ระหว่า ง
โดเมนหรือขอบเขตทีสําคัญ 4 โดเมน (Four-Domains Analysis) ประกอบด ้วย
1) โดเมนนั กการเมืองและพรรคการเมือง
2) โดเมนกลุม
่ ทุนท ้องถิน
3) โดเมนหน่วยงานของรัฐทีเกียวข ้องกับฐานทรัพยากรทีเป็ นเศรษฐทรัพย์ของสังคม และ
4) โดเมนธนาคารและสถาบันการเงิน (ทังของรัฐและเอกชน)
โดยแต่ละโดเมนต่างมีสายความสัมพั นธ์เชิงผู ้อุปถั ม ภ์กับผู ้รับการอุปถัมภ์ (Patron-Client Relationship) ทัง
ในทางเศรษฐกิจและการเมืองต่อกัน การสร ้างความสัมพันธ์เชิงอุปถัมภ์มค ี วามสําคัญต่อการขยายฐานการสนับสนุนและ
การรักษาไว ้ซึงฐานอํ า นาจทางการเมือง ทังจากสายสั มพั นธ์กับ ผู ้นํ า ในกลุ่มผลประโยชน์ท างเศรษฐกิจทีสํ า คัญ ผู ้นํ า
ิ ธิเ ลื อ กตั งในระบอบการเมื อ งการปกครองทีมีลั ก ษณะ
ฝ่ ายทหาร ข ้าราชการพลเรือ นระดั บ สูง และราษฎรผู ้มีส ท
ประชาธิปไตย
โดเมนนั ก การเมืองและพรรคการเมือ ง ต ้องแสวงหาฐานอํ านาจทางเศรษฐกิจและสร ้างสายสัมพั นธ์กั บ กลุ่ม
ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ทีสํา คัญ เพือให ้ได ้มาซึงทรั พยากรทีใช ้ในการอุป ถัม ภ์ท างการเมือ งดั งกล่าว จํ าเป็ นต ้อง
ได ้รับคะแนนเสียงเพือชนะการเลือกตัง ซึงโดเมนกลุม ่ ทุนท ้องถิน หรือกลุม
่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สามารถจัดหาให ้
ได ้ทังคะแนนเสีย งและเงินทีใช ้ในการรณรงค์ท างการเมือ ง (รวมทังเงินทีใช ้ซือเสีย ง) ให ้แก่โดเมนนั กการเมือ งและ
พรรคการเมือง เพือแลกเปลียนหรือการได ้รับประโยชน์ในการถ่ายโอนความมังคังของสังคม (Wealth Transfers) หรือ
ส่ว นเกินทางเศรษฐกิจ (Economic Surplus) จากสัง คมมาสู่ก ลุ่ ม ของตน โดยผ่า นกระบวนการกํา หนดและบริห าร
นโยบายทางเศรษฐกิจของรัฐบาลเป็ นการตอบแทน
กระบวนการกํ า หนดและบริห ารนโยบายทางเศรษฐกิจ ของรั ฐบาลดั งกล่าว เป็ นสิงทีเกิดขึนหลั งจากโดเมน
นั กการเมืองและพรรคการเมืองนั น สามารถชนะการเลือ กตังและขึนมาเป็ นชนชันนํ าทางอํ า นาจในการบริห ารราชการ
แผ่ น ดิน ในระ บบ รั ฐ สภา ได ส ้ ั งการผ่ า นโดเมนหน่ ว ยงานของรั ฐและเจ า้ หน า้ ที ของรั ฐ ที ดู แ ลรั บ ผิ ด ชอ บ ฐา น
ทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล ้อมทีเป็ นเศรษฐทรัพย์ของสั งคม ให ้เอืออํานวยประโยชน์ในการเข ้าใช ้ประโยชน์จาก
ทรัพยากร และกําหนดนโยบายและมาตรการของรัฐในการช่วยเหลือทางการเงินผ่านโดเมนธนาคารและสถาบันการเงิน
(ทังของรั ฐและเอกชน) เมือกลุ่มผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจนั น ๆ ประสบปั ญหาทางการเงิน หรือการให ้ความอุด หนุ น
ทางด ้านการเงินอืน ๆ เช่น การจัดสรรสินเชืออั ตราดอกเบียตํา รวมถึงการแลกเปลียนหรือการได ้รับ ประโยชน์จากการ
โน ้มน ้าวหรือล็ อบบีบุค คลสํา คัญ ในองค์การระหว่างประเทศ ให ้ตัวบุคคลทั งของกลุ่มทุนและ/หรือ ตัวบุคคลของพรรค
การเมืองนั น ๆ ได ้รับการแต่งตังเข ้าไปดํารงตําแหน่งสําคัญในองค์การระหว่างประเทศทีเป็ นเป้ าหมาย เป็ นต ้น
กระบวนการกํ า หนดนโยบายทางเศรษฐกิจ จึง กลายเป็ นกระบวนการแสวงหาค่า เช่า ทางเศรษฐกิจ (Rent
Seeking) ของชนชันนํ าทางอํานาจ และทําให ้การกําหนดนโยบายเศรษฐกิจกลายเป็ นกระบวนการแบ่งปั นผลประโยชน์
เพือการอุปถัมภ์ทางการเมือง โครงสร ้าง กลไก และความสัมพั นธ์ในกระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจดังนี ย่อม
สามารถสร ้างผลกระทบต่อการจัดสรรทรัพยากร การกระจายรายได ้ การจําเริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจได ้อย่างสําคัญ และเป็ นเหตุให ้การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจเพือสวัสดิการสูงสุดของสังคมมิอาจเป็ นไปได ้ 12
4
4

ภาพที 1 แบบจําลองว่าด ้วย โครงสร ้างหน ้าทีและความสัมพันธ์ของการเล่นแร่แปรธาตุแห่งอันดามัน


5
5

ภาพที 2 ส่วนขยายโดเมนหน่วยงานของรัฐทีเกียวข ้องกับฐานทรัพยากรทีเป็ นเศรษฐทรัพย์ของสังคม


คําอธิบายความหมายตัวอักษรและตัวเลข

โดเมน หมายถึง ขอบเขตแห่งโครงสร ้างอํานาจ-หน ้าทีของกลไกต่าง ๆ ภายในตามสมมติฐาน


G1 = ชนชันนํ าทางอํ า นาจ หมายถึง ผู ้ทรงอํานาจทางการเมืองทียึดกุม อํา นาจรั ฐได ้ เป็ นกลุม ่ บุค คล
จํานวนน ้อย ทังในและนอกระบบราชการทีอยูบ ่ นยอดปิ รามิดแห่งโครงสร ้างอํานาจในสังคม เป็ น
ผู ้บังคับ บัญ ชาระดั บ สูง ได ้แก่ กลุม
่ บุคคลทีประกอบกั น ขึนเป็ นคณะรั ฐบาล ตลอดจนผู ้นํ า ฝ่ าย
ทหารและข ้าราชการพลเรือนระดับตังแต่อธิบดีขนไป ึ
G2 = ข ้าราชการระดับ กลาง หมายถึง ผู ้ดํ ารงตําแหน่งระดับ กลางในภาครั ฐ ทีได ้รับการแต่งตั งจากผู ้
อํานาจทางการเมืองทียึด กุมอํ า นาจรั ฐ ได ้ เป็ นกลุ่มบุค คลจํ า นวนน ้อยในระบบราชการทีอยู่บ น
ยอดปิ รามิดแห่งโครงสร ้างอํ านาจในสัง คม ได ้แก่ กลุ่ม บุคคลทีประกอบกัน ขึนเป็ นข ้าราชการ
เจ ้าหน ้าทีรัฐ ระดับหัวหน ้าฝ่ ายบริหารในหน่วยงาน
g1-g2 = ข ้าราชการระดับปฏิบัตก
ิ าร หมายถึง ผู ้ดํารงตําแหน่งระดับปฏิบัตงิ านในภาครัฐ
X1 = กลุม ่ ทุนผู ้เป็ นเจ ้าของบริษัท หมายถึง ผู ้ทรงอํานาจในการควบคุมการบริหารงานของกลุม ่ บริษัท
ในเครือ เป็ นกลุม ่ บุคคลจํานวนน ้อย ได ้แก่ กลุม ่ บุคคลทีประกอบกันขึนเป็ นคณะกรรมการบริหาร
ผู ้ถือหุ ้นใหญ่ กลุม ่ พ่อค ้าวาณิชย์ในระดับท ้องถิน เป็ นกลุม
่ นายทุนท ้องถิน (ระดับภาค)
X2 = กลุ่ม บุ ค คลทีอยู่ ใ นสถาบั น การเงิน เป็ นประธานกรรมการบริห าร คณะผู ้บริห ารระดั บ สูง ของ
ธนาคาร/สถาบันการเงิน และผู ้ถือหุ ้นใหญ่ในฐานะสมาชิกขององค์กร (Major Stakeholders)
x1-x3 = กลุม
่ บุคคลทีเป็ นกรรมการของนิตบ
ิ ค
ุ คลนั น ๆ และเป็ นบุคคลทีเกียวข ้องกัน
x4 = กลุ่ม บุค คลทีเป็ นตั ว แทนหรือ รั บ มอบอํ า นาจในการดํ า เนิน ธุร กรรมทางการเงิน ต่า งๆ ในระดั บ
ท ้องถิน หรือผู ้จัดการสาขาของธนาคาร/สถาบันทางการเงิน
y1 = บุคคลทีเป็ นพนั ก งานระดับ ปฏิบั ต งิ านในสํ า นั กงานของสถาบั นการเงิน ทําหน ้าทีเป็ นผู ้รั บ มอบ
อํานาจจากนิตบิ ค
ุ คลทังสองฝ่ าย

คําอธิบายความหมายของสัญลักษณ์

ลูกศรทีหนึง ความสัมพันธ์ทเกี
ี ยวข ้องกัน มีสายบังคับบัญชาโดยตรงและขึนต่อและกัน

ลูกศรทีสอง ความสัมพันธ์ทขึ
ี นต่อกัน และมีอํานาจสังการและต่อรองเหนือกว่า

ลูกศรทีสาม ความสัมพันธ์ทแอบแฝง
ี ทําหน ้าทีเป็ นตัวแทน

ลูกศรทีสี ความสัมพันธ์ทเป็
ี นทางการ และคําสังทีเป็ นลายลักษณ์อักษรโดยผู ้มีอํานาจ

ลูกศรทีห ้า ความสัมพันธ์ทไม่
ี เป็ นทางการ และคําสังทีไม่เป็ นลายลักษณ์อักษรโดยผู ้มีอํานาจ

4. สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุป
สําหรับ แบบจําลองและกรอบการวิเคราะห์ว่า ด ้วย โครงสร ้างหน ้าทีและความสัมพั นธ์ข องการเล่นแร่แปรธาตุ
แห่งอันดามัน ทีนํ าเสนอขึนมานั น ผู ้เขียนได ้จินตนาการขึนมาจากประจักษ์ พยานทางเอกสารสารบบหนั งสือรับรองการ
ทําประโยชน์ ข ้อมูลจากแหล่งข่าวในภาคสนาม และผนวกเข ้ากับแนวความคิดและทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์การเมือง ที
เกียวข ้องกั บ การนํ า แนวคิด และทฤษฎีท างเศรษฐศาสตร์ข องสํา นั กเศรษฐศาสตร์นี โ อคลาสสิก มาใช ้ในการอธิบ าย
พฤติกรรม ปรากฏการณ์ และสถาบันทางการเมือง อย่างไรก็ตาม แบบจําลองนี ผู ้เขียนยังไม่ได ้อธิบายให ้เห็ นอย่างเป็ น
รูปธรรม ดังนั น หากมีก ารศึก ษาเพิมเติม ในประเด็ นนี ให ้ลึก ซึงต่อ ไปในเชิงวิชาการ ก็อาจก่อประโยชน์ไ ม่ม ากก็ น อ ้ ย
สําหรับ แวดวงการการศึกษาแบบจํ าลองขององค์การอาชญากรรมทางเศรษฐกิจทีเกียวข ้องกับการนํ าหลักทรั พย์ หรือ
ทีดินทีมีปัญหาอันอยู่ในเกณฑ์ทไม่ี สามารถออกเอกสารสิท ธิให ้ได ้ หรือเป็ นทรัพย์สน ิ ทีเป็ นกรรมสิทธิร่วม (Common
Property) ซึงเป็ นฐานทรัพยากรของชุมชน หรือเป็ นสินค ้าสาธารณะ (Public Goods) ไปคําประกันเงินกู ้กับ ธนาคาร/
สถาบั น การเงิน ในวงเงิน จํ า นองทีมี มู ล ค่ า ทีสูง กว่า ราคาทรั พ ย์ส ิน ทีแท ้จริง และท ้ายสุ ด ได ้ปล่ อ ยให ้หลุ ด จํ า นอง
กลายเป็ นสินทรัพย์ทางการเงินทีด ้อยคุณภาพ
สิงทีเป็ นคําถามสําคัญ คือทรัพย์สน ิ ทีเกียวข ้องกับการกระทําความผิดนี ในปั จจุบัน ทรัพย์สน ิ เหล่านี ปลายทาง
สุด ท ้ายอยู่ท ีไหน ดั ง นั น ผู ้ทีเกียวข ้องจํ า เป็ นจะต อ้ งจั ด ทํ า คู่ม ือ หรือ รายการการตรวจสอบ และวิธ ีก ารตรวจสอบ
สาระสําคัญทางการเงินและเอกสารธุรกิจ เพือใช ้เป็ นแนวทางในการศึกษาถึงเส ้นทางธุรกรรมการเงินทังหมดของบริษัท
และบุคคลทีเกียวข ้องกันเหล่านี เพือให ้ทราบถึงแหล่งทีมาและใช ้ไป มีวธิ ก ี ารผ่องถ่ายเงินสดหรือทรัพย์สนิ กันอย่า งไร
และใช ้ช่องทางใด การเปลียนแปลงเงินสดหรือสินเชือทีได ้มานั นไปใช ้ในกิจกรรมดําเนินงาน และกิจกรรมลงทุนใดบ ้าง
และการแปลงสภาพสินทรัพย์ในรูปต่าง ๆ เหล่านี ปลายทางสุดท ้ายผู ้ใดเป็ นผู ้ความครอบครองสินทรัพย์เหล่านั น เพือ
ใช ้มาตรการทางกฎหมายเข ้าไปดํ าเนินการนํ าสินทรั พ ย์ท เกี ี ยวข ้องกับ การกระทํา ความผิดเหล่านั นกลับ คืนมาสู่สัง คม
และนําตัวผู ้กระทําความผิดเข ้าสูก ่ ารพิจารณาคดีในกระบวนการยุตธิ รรมทางแพ่งและทางอาญา
ข้อเสนอแนะ
มาตรการเพือการติดตามเอาทรั พย์สน ิ คืนมานั น ในกรณีทเส
ี ้นทางธุรกรรมการเงินมีความซับซ ้อนสูงมาก ขาด
พยานและหลักฐานอันเป็ นเอกสารทังหลายทังปวงทีเกียวเนือง ซึงพยานและหลักฐานเหล่านันได ้สูญหายไปตามสภาพ
หรือถูกทําลายไปโดยเจตนาจากกลุม ่ บุคคลเหล่านันเอง เพือเป็ นการปกปิ ดร่องร่อยแห่งการกระทําความผิด จนกระทังผู ้
บังคับใช ้กฎหมายไม่สามารถนํ ามาพิสจ
ู น์ได ้ในชันศาลเพือการเรียกค่าสินไหมทดแทนแก่ผู ้เสียหายได ้ อันเป็ นผลมาจาก
การกระทําทุจริตของผู ้อืนนัน
ในกรณีความเสียหายนั นได ้เกิดขึนต่อประโยชน์สข ุ ของสังคมโดยรวม วิธก ี ารประเมินมูลค่าความสูญเสีย ทาง
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ (Economic Loss Estimated) ห รื อ ก า ร วั ด มู ล ค่ า ค ว า ม สู ญ เ สี ย ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ (Economic Loss
Measurement) ซึงเป็ นทฤษฎีแ ละแนวความคิด ในสาขาวิช า◌ิเ ศรษฐศาสตร์ท รั พ ยากรธรรมชาติแ ละสิงแวดล ้อม
(Natural Resource and Environmental Economics) และเศรษฐศาสตร์ส วัสดิก าร (Welfare Economics) สามารถ
นํ ามาประยุกต์ใช ้ในทางกฎหมายเพือประโยชน์ในการวางมาตรการทางกฎหมายใหม่ ๆ ขึนมาทีเกียวข ้องกับการอายัด
การยึด และการริบทรั พย์สน ิ ทีได ้มาจากการกระทํ าความผิด หรือทีใช ้หรือมีไว ้เพือใช ้ในการกระทําความผิดประเภทที
ระบุไว ้ในกฎหมาย รวมทังการดําเนินการใด ๆ ตลอดจนการวางมาตรการอืน ๆ เพือเป็ นแนวทางในการป้ องกัน มิใ ห ้
ทรัพย์สน ิ โดยรวมของประชาชนในชาติ หรือทีรั ฐได ้เข ้าไปมีสว่ นรับผิดชอบต ้องรัวไหล หรือถูกกระทําให ้ผันแปรไปโดย
กลุม่ บุคคลทีมีเจตนาทุจริต
แนวคิดว่าด ้วยการวัดมูลค่าความสูญเสีย ทางเศรษฐกิจ (Economic Loss Measurement) นี เป็ นการนํ าเสนอ
กรอบแนวคิดเบืองต ้นสําหรับใช ้ในการประเมินมูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากความล ้มเหลวในการดําเนินงานของ
ธนาคาร/สถาบันการเงินในสองด ้าน คือ 1) ด ้านประสิทธิภาพในการผลิต หรือการสร ้างสินทรัพย์ทมี ี รายได ้ในระดับทีสูง
เท่าทีควรจะเป็ น จากการเงินฝากและการให ้เครดิตในด ้านเงิน ฝาก และ 2) ด ้านประสิทธิภาพในการกระจายทรัพ ยากร
หรือการจั ดสรรเครดิตให ้แก่กลุ่มทุนทีนํ าหลักทรั พ ย์ห รือทีดินไปคําประกันเงินกู ้กับธนาคาร/สถาบันการเงิน ในวงเงิน
จํ านองทีมีมูลค่าทีสูงกว่าราคาทรัพย์สน ิ ทีแท ้จริง ซึงเป็ นทีดินทีไม่มก
ี ารครอบครองหรือทําประโยชน์จริงและอยู่ในเขต
พืนทีป่ าไม ้ หรือพืนทีอืนอันเป็ นสาธารณประโยชน์ หรือสาธารณสมบัตข ิ องแผ่นดิน ซึงประชาชนได ้ใช ้ประโยชน์ร่วมกัน
โดยข ้อเสนอเรืองความสูญเสียทางเศรษฐกิจนี มีกรอบแนวคิดเบืองต ้นโดยสังเขปดังนี
1. มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจ ทีสามารถวัดในรูปตัวเงินได ้ หรือเป็ นตัวเลขความสูญเสีย ทางการเงิน
(Financial Loss) อาจเรียกว่า ความสูญเสียโดยตรง (Direct Loss) เป็ นการประเมินมูลค่าจาก
1) มูลค่าสินเชือทีบริษัททีเกียวข ้องและบุคคลทีเกียวข ้องเหล่านีได ้นํ าออกไปจากระบบธนาคาร/สถาบัน
การเงิน
2) อัตราดอกเบียทีต ้องชําระตามสัญญา และ/หรือ อัตราส่วนคิดลดหรือค่าเสียโอกาสของทุน (Private
Discount Rate)
3) ต ้นทุนธุรกรรม (Transaction Cost) เป็ นต ้นทุนค่าใช ้จ่ายทีเกิดขึนในการติดต่อต่าง ๆ ของธนาคาร/
สถาบันทางการเงิน และหน่ วยงานรัฐ ได ้แก่ ค่าใช ้จ่ายในการติดตามทวงหนี ค่าใช ้จ่ายในการดําเนินงานทางกฎหมาย
หนีสูญ ค่า ใช ้จ่า ยในกระบวนการเพิกถอนสิท ธิใ นทีดิน ค่าใช ้จ่า ยในการดํ า เนิน งานด ้านคดีข องหน่ ว ยงานบั ง คั บ ใช ้
กฎหมายทีเกียวข ้อง อืน ๆ เป็ นต ้น
4) รายได ้ทีธนาคาร/สถาบันการเงิน ควรได ้รับจากการระดมเงินฝากและสร ้างสินทรัพย์ทมี
ี รายได ้ในระดับ
ทีสูงเท่าทีควรจะเป็ น และจากการจัดสรรเครดิตให ้แก่ภาคธุรกิจอืน ๆ หรือในทางเลือกอืนทีให ้ผลตอบแทนสูงรองลงมา
เช่น การจัดสรรเครดิตในช่วงเวลานั นให ้แก่ธรุ กิจทีมีศักยภาพในการกระจายรายได ้ หรือสร ้างรายได ้ให ้แก่ท ้องถิน หรือมี
อัตราผลตอบแทนของการลงทุน (Private Rate of Return) และระยะเวลาคืนทุนทีดี เป็ นต ้น
5) รายได ้ทีผู ้ฝากเงินควรได ้รับในรูปดอกเบียจากเงินฝากทีเพิมขึน และรายได ้ทีผู ้ถือหุ ้นควรได ้รั บในรูป
เงินปั นผลจากกําไรสุทธิของผลประกอบการของธนาคาร/สถาบันการเงินนั น ๆ
2. มูลค่าความสูญ เสียทางเศรษฐกิจ ทีสามารถวัดในรูป ตัว เงินได ้โดยตรงหรือโดยอ ้อม อาจเรีย กว่า ความ
สูญเสียทางอ ้อม (Indirect Loss) เป็ นผลกระทบทีเกิดขึนจากการนํ าผลประโยชน์สว่ นรวมหรือของสังคม (Social Loss)
ไปเป็ นผลประโยชน์สว่ นตัว (Private Gain) เป็ นการบิดเบือนการถ่ายโอนผลประโยชน์ (Benefits Transferred) ของ
สังคมโดยรวม ซึงนํ าไปสูป ่ ั ญหาการกระจายรายได ้ทีไม่สมบูรณ์ หรือการกระจายรายได ้ทีเลวลง ซึงอาจแบ่งออกเป็ น 2
มิต ิ 1) มิต ริ ะดั บ ชาติ (National Perspective) และ 2) มิต ริ ะดั บ ภาคหรือ ท ้องถิน (Regional Perspective) เป็ นการ
ประเมินค่าจาก
1) ผลกระทบจากการจั ด สรรเครดิตให ้ภาคเศรษฐกิจ ทีไม่ก่อให ้เกิด ความจํ าเริญเติบโตก ้าวหน า้ ทาง
เศรษฐกิจ หรื อ นํ า ความเสีย หายมาสู่ ร ะบบเศรษฐกิจ (หนี สาธารณะ และค่ า เสีย โอกาสอืน ๆ) และ/หรื อ อั ต รา
ผลตอบแทนทางสัง คม (Social Rate of Return) หรือ อัต ราส่ว นคิด ลดหรือ ค่า เสีย โอกาสของทุน (Social Discount
Rate) ในทางเลือกอืน เช่น การลงทุนพัฒนาโครงสร ้างพืนฐานทางเศรษฐกิจ หรือโครงสร ้างพืนฐานทางสังคมทีสําคัญ
ของท ้องถินในช่วงเวลานัน เป็ นต ้น
2) มูลค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากการสูญเสีย พืนทีป่ าไม ้ และ/หรือ พืนทีการเกษตรจากการใช ้
ประโยชน์ทดิ
ี นไม่เหมาะสม รวมถึงผลกระทบต่อสภาพสิงแวดล ้อมและคุณภาพชีวต ิ ของประชาชนในท ้องถิน
2) การแข่งขันทางการค ้าทีไม่เป็ นธรรม จากความได ้เปรียบเชิงแข่งขันทีสูงกว่าคู่แข่งในช่วงเวลานั น ๆ
โดยกลุ่ม ทุนสามารถแสวงหาต ้นทุน การดํ าเนิน งานทีมีต ้นทุน ทีตํ ากว่าคู่แข่ง ซึงได ้รั บสิทธิประโยชน์ด ้านสินเชือจาก
ธนาคาร/สถาบันการเงินในการนํ าหลักทรัพย์ไปคําประกันเงินกู ้ในวงเงินจํานองทีมีมูลค่าทีสูงกว่าราคาทรัพย์สน ิ ทีแท ้จริง
อาจพิจารณาจากสัดส่วนของเงินทุนทีกลุม ่ ทุนเหล่านีได ้เข ้าไปเกียวข ้องหรือมีกจ
ิ กรรมลงทุนด ้วย หรือการขยายตัวของ
ธุร กิจในกลุ่มทุนเหล่านี ทังในแบบย ้อนกลับและไปข ้างหน ้า (Backward & Forward Integration) หรือการควบหรือ
ครอบกิจการ (Merger & Takeover) หรืออืน ๆ เป็ นต ้น
------------------------------
เอกสารอ ้างอิง
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ.์ 2519. สังคมกับเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ.์ 2546. กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
วันรักษ์ มิงมณนาคิน (บรรณาธิการ). 2546. พจนานุกรมศัพท์เศรษฐศาสตร์. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ั ทส
คําอธิบายศพท์ ี ําค ัญ

หนีสาธารณะ (Public Debt) หมายถึง เงินกู ้ทีรัฐบาลกู ้จากหน่วยเศรษฐกิจอืน ๆ ถ ้าหากกู ้จากเอกชนภายในประเทศ ไม่
ว่าจะเป็ นปั จเจกชน นิตบิ ค
ุ คล วิสาหกิจ หรือสถาบันการเงินเราเรียกว่า หนีสาธารณะภายในประเทศ (Internal Public
Debt) ตามปกติธ นาคารแห่ ง ประเทศไทยจะทํ า หน ้าทีเป็ นผู ้จั ด การหนี สาธารณะของรั ฐ บาล การก่อ หนี สาธารณะ
ภายในประเทศอาจทําได ้ ด ้วยการออกตัวเงินคลัง หรือพันธบัตร หรือตราสารอืนใด ขายแก่ประชาชนทัวไป ส่วนเงินกู ้ที
รัฐบาลกู ้จากต่างประเทศไม่ว่าจะเป็ นรั ฐบาลต่างประเทศ หรือธนาคารต่างประเทศ เราเรียกว่า หนีสาธารณะภายนอก
ประเทศ (External Public Debt) เงินกู ้จากต่างประเทศ อาจเป็ นเงินกู ้ทีรั ฐบาลไทยเป็ นผู ้กู ้โดยตรง หรือเป็ นเพีย งผู ้คํ า
ประกันเงินกู ้ทีหน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจขอกู ้จากต่างประเทศ หรือให ้คํามั นสัญญาว่าเมือถึงกําหนดชําระเงินกู ้จะ
มีเงินตราต่างประเทศมากพอทีจะชําระเงินกู ้นั น

อัตราผลตอบแทนของเอกชน (Private Rate of Return) หมายถึง อัตรากํ าไรทีปั จเจกชนได ้รับกํ าไรหรือประโยชน์ท ี
ปั จเจกชนได ้รับ ก็คอ
ื ส่วนแตกต่างระหว่างรายรับ (ประโยชน์) ทีได ้กับต ้นทุนทีต ้องเสีย รายรับ (ประโยชน์) และต ้นทุน
ในทีนี คํานวณเฉพาะแต่สว่ นทีปั จเจกชนได ้รับหรือต ้องเสียเท่านั น ไม่รวมถึงประโยชน์ทคนอื
ี นในสังคมได ้รับและต ้นทุน
ทีคนอืนในสังคมต ้องเสีย

อัตราผลตอบแทนทางสังคม (Social Rate of Return) หมายถึง อัตราผลประโยชน์ทสั ี งคมโดยส่วนรวมได ้รับ ประโยชน์


สุทธิท สั
ี ง คมได ้รั บ หมายถึง ส่วนแตกต่า งระหว่า งประโยชน์ท ีสัง คมได ้รั บ กับ ต ้นทุนทีสังคมสูญ เสีย ตัวอย่า ง แม ้การ
ประกอบเกษตรกรรมจะเป็ นวิสาหกิจทีให ้อัตราผลตอบแทนแก่สังคมสูงสักปานใดก็ตาม แต่ถ ้าหากธนาคารพาณิชย์ ซึง
เป็ นวิสาหกิจเอกชนจั ดสรรเงินกู ้โดยคํานึงถึงอัตราผลตอบแทนของเอกชนเป็ นเกณฑ์แล ้ว เงินกู ้ทีจัดสรรให ้แก่เกษตรกร
ย่อมน ้อยกว่าทีควรเสมอ สิงทีควรเน ้นก็คอ ื วิสาหกิจหรือกิจการทีให ้อั ตราผลตอบแทนแก่เอกชนสูง ไม่จํา เป็ นจะต ้อง
เป็ นวิสาหกิจหรือกิจการทีเป็ นประโยชน์ต่อสังคมเสมอไป อาทิเช่น การกักตุนสินค ้าเพือเก็งกําไร อาจทํากําไรให ้แก่ผ ู ้
กักตุนเป็ นอันมาก แต่วส ิ าหกิจหรือกิจการดังกล่าวก็หาได ้เป็ นประโยชน์ตอ่ สังคมโดยรวมไม่

อํานาจในการปฏิบัตอ ิ ย่างลําเอียง (Power of Discrimination) หมายถึง ผู ้ปฏิบัตส ิ ามารถจะเลือกขายสินค ้าหรือบริการ


ของตนให ้แก่ผู ้บริโ ภคคนใดก็ไ ด ้ หรือไม่ขายสิน ค ้าหรือ บริการให ้แก่ผู ้บริโภคคนใดก็ไ ด ้ ตัว อย่า งในกิจ การธนาคาร
พาณิชย์ โดยเหตุทนายธนาคารพานิ
ี ช ต่างมีผลประโยชน์ในวิสาหกิจประเภทต่าง ๆ ทีกลุม ่ เครือข่ายทางธุรกิจหรือกลุ่ม
ตระกูลของตน ดังนัน นายพาณิชย์จงึ สามารถทีจะใช ้อํานาจในการปฏิบัตอ ิ ย่างลําเอียงไปในทางทีเป็ นประโยชน์แก่กลุ่ม
ของตนให ้มากทีสุด โดยการเลือกทีจะไม่ให ้เงินกู ้แก่ผู ้ทีคิดจะไปลงทุนในวิสาหกิจหรืออุตสาหกรรมทีกลุม ่ เครือข่ายทาง
ธุรกิจหรือกลุม
่ ตระกูล (Family Company) ของตนมีผลประโยชน์อยู่

คําอธิบายเพิมเติม

รังสรรค์ ธนะพรพันธุ:์ อธิบายถึง กระบวนการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจในประเทศไทย ว่าเป็ นปฏิสัมพั นธ์ระหว่าง "ตัว


แสดง" ทียืนอยูท่ างด ้านอุปสงค์ (ขุนนางนั กวิชาการ ชนชันนํ าทางอํานาจ พรรคการเมือง และรัฐสภา) และอุปทานของ
นโยบาย (ประชาชน กลุม ่ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สือมวลชน และนั กเศรษฐศาสตร์/นั กวิชาการ) ความเป็ นไปของ
ระบบทุนนิย มโลก และโครงสร ้างส่วนบนของระบบเศรษฐกิจ (หรือปั จจัยทีไม่ใช่ปัจจั ยทางเศรษฐกิจ อาทิ โครงสร ้าง
อํานาจทางการเมือง วัฒนธรรม และความสัมพั นธ์ทางสังคม) ทังนีเพราะนโยบายเศรษฐกิจนั นถือเป็ นสินค ้าชนิด หนึง
เหมือนกับสินค ้าอืนๆ ในแง่ของโครงสร ้างตลาด และมีลักษณะเฉพาะคือ เป็ นสินค ้าสาธารณะ (กีดกันคนอืนไม่ได ้) ให ้
ประโยชน์ และโทษแก่ค นต่า งกั น การผลิต นโยบายมี ต ้นทุน ทีต ้องเสีย และมีแนวโน ม ้ ทีก่อ ให ้เกิด การผู ก ขาดและ
ก่อให ้เกิดการแสวงหาค่าเช่า (หรือการคอรัปชัน)

ตัวอย่างในอดีตทีแสดงถึงความสัมพั นธ์เชิงผู ้อุปถัม ภ์กับผู ้รับการอุปถั มภ์ (Patron-Client Relationship) รังสรรค์ ธนะ
พรพันธุ:์ อธิบายถึงความเกียวพั นระหว่างธนาคารพาณิชย์กับผู ้มีอํานาจทางการเมืองนั นว่า ธนาคารพาณิชย์มักจะดึงเอา
ผู ้มีอํานาจทางการเมืองเข ้าไปมีสว่ นร่วมในโครงสร ้างการบริหารของตน เช่น การแต่งตังให ้มีตําแหน่งทางบริหารเป็ น
ประธานกรรมการ กรรมการ หรือเป็ นผู ้ถือหุ ้นใหญ่ (หุ ้นลม) ความสัมพันธ์เชิงผู ้อุปถัมภ์กับผู ้รับการอุปถัมภ์ ในชันแรกคง
เกิดขึนจากความต ้องการทีจะอยู่รอดและความต ้องการความมันคงในการดําเนินธุรกิจของตน ต่อมาเมือความสัมพั นธ์
ระหว่างธนาคารพาณิช ย์และผู ้มีอํานาจทางการเมืองแน่ นแฟ้ นขึน ธนาคารพาณิชย์ก็เริมอาศัย อํานาจทางการเงินในการ
แสวงหาอํ านาจทางการเมือง เพือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอีกทอดหนึง ในขณะเดียวกันผู ้มีอํา นาจทางการเมือง ก็
อาศัยอํ านาจทางการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และการใช ้เงินเป็ นปั จจั ยสําคัญปั จจั ยหนึงในการ
รักษาเสถียรภาพทางการเมืองของกลุม ่ ตน
ผาสุก พงค์ไพจิตร เรียกกระบวนการทีนั กการเมืองใช ้เงินเพือให ้ตนเองได ้เป็ นรัฐมนตรีเพือจะได ้ใช ้อภิสท ิ ธิจากตําแหน่ง
ดําเนินการ และกําหนดนโยบายเอือให ้ตนเองและพรรคพวกแสวงหารายได ้ และกําไรให ้คุ ้มกับการลงทุนทีเกิดขึน โดย
เรียกว่า ธนกิจการเมือง (Money Politics) แหล่งรายได ้สําคัญทีทําธนกิจการเมือง คือ การเข ้าเกาะกุมและจัดสรรค่าเช่า
ทางเศรษฐกิจ (Economic Rent) ทีมีรูป แบบของใบอนุ ญ าต (Government license) สัม ปทาน (Concession) เงิน
อุดหนุน (Subsidy) และสิทธิพเิ ศษต่างๆ ทีอํานาจรัฐจะให ้สิทธิทําให ้นั กการเมืองและพรรคพวก สามารถแสวงหากําไร
ในอัตราทีมากกว่าระดับปกติทเกิ ี ดขึนในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ เช่น สิทธิพเิ ศษลดหย่อนภาษี การลดหย่อนค่าสัมปทาน
การจํ ากัดคู่แข่งรายใหม่ไม่ให ้เข ้าสู่ตลาด การชะลอนโยบายทีมีผลเสียต่อบริษัท ของนั กการเมือง การดําเนินการของ
รั ฐ บาล โดยกลุ่ ม บุ ค คลที มี ลั ก ษณะดั ง กล่า วข ้างต ้น ทํ า ให ้สั ง คมไม่ ไ ด ้รั บ สวั ส ดิก ารทางเศรษฐกิจ ทีสูง สุ ด (Sub
optimum) และการกระจายรายได ้ (income) และทรัพย์สน ิ (Wealth) ของบุคคลในสังคมมีความไม่เป็ นธรรมมากยิงขึน

You might also like