You are on page 1of 23

ต ัวอย่าง

ล ักษณะโครงสร้างหล ักสูตร

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
หล ักสูตรการสบ ื สวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสใ์ นการสะกดรอย
Covert Investigation & Electronic Surveillance Technologies
สํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
พ.ศ. 25xx
โดย นายธวัชชัย เติมศรีสข

่ หลักสูตร
1. ชือ
หลักสูตร การสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย
Covert Investigation & Electronic Surveillance Technologies
่ ประกาศนียบัตร
2. ชือ
ภาษาไทย ชือ ่ เต็ม : การสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย
ชือ่ ย่อ : สปทส.
ภาษาอังกฤษ ชือ ่ เต็ม : Covert Investigation & Electronic Surveillance Technologies
่ ย่อ : CIST.
ชือ
3. หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบ
สํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
4. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
จุดประสงค์ของการเปิ ดสอนการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย เพือ ่ จัด
ุ ลากรของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ในการนํ าไปปฏิบัตใิ ช ้ใน
ให ้มีข ้อมูลความรู ้ทีเ่ ป็ นหลักวิชาการและเทคนิคให ้แก่บค
การสืบสวนแบบปกปิ ดและปฏิบัตก ิ ารสืบสวนสะกดรอยพฤติการณ์และความเคลือ่ นไหวของอาชญากร รวมถึงการ
ผลิตบุคลากรทีม ่ ค
ี วามรู ้และมีคณ ุ ภาพในด ้านการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย
และตอบสนองความต ้องการบุคลากรทีข ่ าดแคลนของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ตามหลักการดังต่อไปนี้
1. เพือ
่ ผลิตบุคลากรทีม ี วามรู ้ความสามารถ และทักษะความชํานาญในการใช ้อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
่ ค
ทัง้ เชิง ทฤษฎีแ ละปฏิบัต ิ อัน เป็ นการตอบสนองความต ้องการบุค ลากรทางด ้านการสืบ สวนแบบปกปิ ดและ
เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย
2. เพือ
่ ผลิตบุคลากรทีม่ ค ุ ภาพไม่แต่เพียงมีความรอบรู ้ทางวิชาชีพ แต่ยังกอปรด ้วยคุณธรรม จริยธรรม
ี ณ
มโนธรรมสํานึกในความรับผิดชอบต่อส่วนรวม และความสามารถในการปรับตัวให ้เข ้ากับสถานการณ์และภารกิจที่
ได ้รับมอบหมายได ้เป็ นอย่างดี
3. เพือ
่ ส่ง เสริมการศึกษา ่ ะนํ าไปสู่จุด มุ่งหมายของการพึง่ พาตนเองได ้ในด ้าน
การค ้นคว ้าวิจั ย ทีจ
ทรัพยากรบุคคล ฐานความรู ้ทางวิชาการและเทคโนโลยี
5. กําหนดการเปิ ดสอน
ปี งบประมาณ 25xx
6. คุณสมบัตข ิ ธิส
ิ องผู ้มีสท ์ มัครเข ้าฝึ กอบรม
ให ้เป็ นไปตามข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
7. วิธก
ี ารคัดเลือกผู ้เข ้าฝึ กอบรม
ให ้เป็ นไปตามข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
8. ระบบการฝึ กอบรม
ให ้เป็ นไปตามข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
9. ระยะเวลาฝึ กอบรม
ให ้เป็ นไปตามข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
10. การลงทะเบียน
ให ้เป็ นไปตามข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
11. การวัดผลและการสําเร็จการฝึ กอบรม
ให ้เป็ นไปตามข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
12. สถานทีแ
่ ละอุปกรณ์การฝึ กอบรม
ใช ้อาคารสถานทีแ
่ ละอุปกรณ์การฝึ กอบรมในกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
13. ห ้องสมุด
ใช ้ห ้องสมุดของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
14. งบประมาณ
ใช ้งบประมาณของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ ตามทีไ่ ด ้รับจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดิน

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
ื สวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกสใ์ นการสะกดรอย
โครงสร้างหล ักสูตรการสบ
สํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
พ.ศ. 25xx
1. จํานวนหน่วยกิตรวม
จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไม่น ้อยกว่า 109 หน่วยกิต
2. โครงสร้างหล ักสูตร
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 25 หน่วยกิต
- กลุม ่ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
- กลุม ่ วิชาภาษา 5 หน่วยกิต
- กลุม ่ วิชาสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกิต
- กลุม่ วิชามนุษย์ศาสตร์ 3 หน่วยกิต
- กลุม ่ วิชาพลศึกษา 2 หน่วยกิต
(2) หมวดวิชาเฉพาะ 78 หน่วยกิต
- วิชาแกน 21 หน่วยกิต
- วิชาเฉพาะบังคับ 42 หน่วยกิต
- วิชาเฉพาะเลือก 9 หน่วยกิต
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
(4) การฝึ กงาน ไม่น ้อยกว่า 120 ชัว่ โมง (ไม่นับหน่วยกิต)
3. รายวิชา
(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 25 หน่วยกิต
- กลุม
่ วิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 6 หน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบต ั ก
ิ าร)
SCI101 เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ ท (Information Technology and Internet) 3 (3-0)
และให ้เลือกเรียนวิชาอืน
่ ในกลุม
่ อีก 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
SCI102 องค์ประกอบสําคัญของระบบเครือข่าย (Networking Essentials) 3 (3-0)
SCI103 ระบบฐานข ้อมูล (Database System Concept) 3 (3-0)
- กลุม
่ วิชาภาษา 5 หน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบต ั ก
ิ าร)
LANG101 การใช ้ภาษาเพือ ่ การสือ่ สารทางวิทยุ (Language for Communication) 2 (2-1)
และให ้เลือกเรียนวิชาอืน
่ ในกลุม่ อีก 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
LANG102 ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศเพือ ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ 3 (3-0)
(Foreign Language and Cultural Require for Specific Purposes)
LANG103 ภาษาต่างประเทศเพือ ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ 3 (3-0)
(Foreign Language Require for Specific Purposes)
- กลุม
่ วิชาสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบต ั ก
ิ าร)
LAW101 กฎหมายสําหรับเจ ้าหน ้าทีผ ่ ู ้รักษากฎหมาย (Law Required for Law investigators) 3 (3-0)
ECON101 อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Crime) 3 (3-0)
และให ้เลือกเรียนวิชาอืน
่ ในกลุม
่ อีก 1 รายวิชา จากรายวิชาต่อไปนี้
PSY101 จิตวิทยาภาษาและท่าทาง (Body Language) 3 (3-0)
BUS101 การทํางานเป็ นทีม (Management Team) 3 (3-0)
BUS101 การเจรจาต่อรอง (Negotiating Skills) 3 (3-0)
- กลุม
่ วิชามนุษย์ศาสตร์ 3 หน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั ก
ิ าร)
HUM101 จริยธรรมและสิทธิมนุษยชนในเรือ
่ งการสะกดรอยสมัยใหม่
(Ethics & human rights of new surveillance) 3 (3-0)

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
- กลุม
่ วิชาพลศึกษา 2 หน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบต ั ก
ิ าร)
EDU101 กิจกรรมพลศึกษา (Physical Education Activities) 2 (0-2)
(2) หมวดวิชาเฉพาะ 79 หน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั ก
ิ าร)
- วิชาแกน 24 หน่วยกิต
CIST111 การสะกดรอยและลักษณะการเคลือ ่ นทีไ่ ด ้ง่ายในสังคมสมัยใหม่ 3 (3-0)
(Surveillance and Mobilities)
CIST112 หลักวิชาและขัน ้ ตอนการสืบสวนปกปิ ด (Covert Techniques and Procedures) 3 (3-0)
CIST113 การสะกดรอย (Fundamentals of Surveillance) 3 (3-0)
CIST211 การจําแนก ชักชวนและควบคุมแหล่งข่าวบุคคล
(Identification, recruitment and handling informants) 3 (3-0)
CIST212 เจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง (Fundamentals of Undercover) 3 (3-0)
CIST213 การสังเกตการณ์ การเขียนรายงาน การจําแนกและจัดหมวดหมู่
(Observation, Description & Identification) 3 (3-0)
CIST214 การสอดแนมด ้วยเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ (Fundamentals of Electronic Surveillance) 3 (3-0)
CIST215 มาตรการตอบโต ้การสะกดรอย (Technical Surveillance Countermeasures) 3 (3-0)
- วิชาเฉพาะบังคับ 42 หน่วยกิต
CIST216 พืน้ ฐานการตรวจสอบร่องรอยทางการเงินและเอกสารธุรกิจ 3 (3-1)
(Basic of Financial Investigative & Document Review)
CIST221 เทคนิคการถ่ายภาพดิจต ิ อลในปฏิบต ั ก
ิ ารสืบสวนสะกดรอย 3 (1-2)
(Digital Photography for Surveillance)
CIST222 อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในการสะกดรอยแบบปกปิ ด (Covert Surveillance Equipment) 3 (3-1)
CIST223 อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทใี่ ช ้ในการสะกดรอย (Electronic Surveillance Equipment) 3 (3-1)
CIST231 พืน
้ ฐานทฤษฎีไฟฟ้ า (Basic Electrical Theory) 3 (3-0)
CIST232 ระบบสือ ่ สารและการสือ ่ สารทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 (4-0)
(Communication Systems and Electronic communication)
CIST321 อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในมาตรการตอบโต ้การสะกดรอย (Countermeasures Equipment) 3 (3-1)
CIST341 การประมวลภาพดิจต ิ อล (Digital Image Processing) 3 (3-1)
CIST361 เทคนิคการสะกดรอย (Surveillance Techniques) 3 (3-1)
CIST362 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือในการติดตามยานพาหนะ 3 (3-1)
(Fundamentals of Tracking Surveillance)
CIST381 การใช ้เทคโนโลยีดจิ ต ิ อลเพือ ่ ยกระดับงานสืบสวน 3 (3-0)
(Improving of Investigation with Digital Technology)
CIST382 สถาปั ตยกรรมอาคาร และภูมส ิ ถาปั ตยกรรม (Building and Landscape Architecture) 3 (3-1)
CIST495 การเตรียมโครงงานการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย 2 (1-3)
(Covert Investigation & Electronic Surveillance Technologies Project Preparation)
CIST499 โครงงานด ้านการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย 3 (3-0)
(Covert Investigation & Electronic Surveillance Technologies Project)
- วิชาเฉพาะเลือก 9 หน่วยกิต
CIST411 การตรวจสอบและติดตามร่องรอยทางการเงินและเอกสารธุรกิจ 3 (3-0)
(Financial Investigative and Document Review)
CIST421 การใช ้งานอุปกรณ์สอื่ บันทึกภาพแบบความเข ้มแสงตํา่ (Low Light Video Operations) 2 (2-1)
CIST451 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือระบบหาพิกด ั บนพืน
้ โลก 3 (3-1)
(Fundamentals of GPS Tracking Surveillance)
CIST461 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย ่ วกับเสียง (Fundamentals of Audio Surveillance) 3 (3-1)
CIST462 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย ่ วกับภาพ 3 (3-1)
(Fundamentals of Visual or Video Surveillance)
CIST463 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย ่ วกับเสียงและภาพขัน ้ สูง 3 (3-1)
(Advanced Audio and Video Surveillance)
CIST464 การดักฟั งทางโทรศัพท์ (Wiretapping Techniques) 3 (3-1)
CIST471 การสะกดรอยในเขตเมือง (Urban surveillance) 3 (3-1)

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST472 การสะกดรอยในเขตชนบท (Rural surveillance) 3 (3-1)
CIST473 ปฏิบตั ก
ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพรางและอาชญากรรรมในสํานักงาน 3 (3-0)
(Undercover operations and white collar crime)
CIST474 การสอดแนมทางด ้านโทรคมนาคม 3 (3-1)
(Fundamentals of Telecommunications Surveillance)
CIST475 เทคนิคสอดแนมทางด ้านโทรคมนาคม 3 (3-1)
(Telecommunications Surveillance Techniques)
CIST476 การติดตัง้ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ในยานพาหนะ (Covert Vehicle Installation) 3 (3-1)
CIST481 อุปกรณ์ทางยุทธวิธส ี ําหรับการสะกดรอย (Tactical Equipments for Surveillance) 2 (2-1)
CIST482 การพัฒนาและการบริหารจัดการแหล่งข่าวบุคคล 3 (3-0)
(Informants: development and management)
CIST483 ชุดปฏิบต ั ก
ิ ารในมาตรการตอบโต ้การสะกดรอย 3 (3-1)
(Technical Surveillance Countermeasures Team)
CIST496 สัมมนา (Seminar) 1 (0-3)
CIST497 ปั ญหาพิเศษ (Special Problems) 3 (3-0)
(3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต จํานวนหน่วยกิต
จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบต ั ก
ิ าร)
CIST421 อุปกรณ์สง่ สัญญาณภาพในการสอดแนมแบบระบบตรวจจับความเคลือ ่ นไหว 3 (3-0)
(Sensor Activated Video Surveillance)
CIST431 ช่างเทคนิคด ้านอิเล็กทรอนิกส์ I 3 (3-1)
CIST432 ช่างเทคนิคด ้านอิเล็กทรอนิกส์ II 3 (3-2)
CIST466 การอ่านแผนที่ และการใช ้เข็มทิศ (Exploring with Maps and Compass) 2 (2-1)
CIST477 ปฏิบต ั ก
ิ ารอําพรางสําหรับเจ ้าหน ้าทีส ่ ตรี (Undercover for female officers) 3 (3-0)
CIST478 เจ ้าหน ้าทีค
่ ุ ้มกันและกู ้ชีพ (Close Protection and Rescue Officers) 3 (3-1)
(4) การฝึ กงาน (ไม่นับหน่วยกิต)
มีการฝึ กงานไม่ตํา่ กว่า 120 ชัว่ โมง (ไม่นับหน่วยกิต)
4. ความหมายของเลขรห ัสประจําวิชา
อักษรสามตัวหน ้าหมายถึงวิชาในสาขาวิชาการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย
เลขสามตัวหลังมีความหมายดังนี้
- เลขตัวหน ้าหมายถึง (1) ระดับการเรียนรู ้เบือ
้ งต ้น (2) ระดับกลาง (3) ระดับสูง (4) ระดับชํานาญการ
- เลขตัวกลางมีความหมายดังต่อไปนี้
1 หมายถึง ทฤษฎีและแนวคิดด ้านการสืบสวนปิ ดลับและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย
2 หมายถึง ระบบกลไก และวิธก ี ารทํางานของอุปกรณ์
3 หมายถึง ระบบอิเล็กทรอนิกส์
4 หมายถึง ซอฟต์แวร์
5 หมายถึง เทคโนโลยีข ้อมูลและสารสนเทศ
6 หมายถึง การผสมผสานเทคนิคหลายประการเข ้าด ้วยกัน
7 หมายถึง การประยุกต์ใช ้งาน
8 หมายถึง การบริหารจัดการ และการใช ้ประโยชน์ทรัพยากร
9 หมายถึง การวิจัย สัมมนาเชิงปฏิบต ั กิ าร ปั ญหาพิเศษ โครงงาน

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
5. แนวทางการจ ัดวิชาเรียน
รหัสวิชา รายวิชา จํานวนหน่วยกิต
(บรรยาย-ปฏิบตั ก
ิ าร)
ระดับ 1 ภาคแรก
SCI101 เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ ท (Information Technology and Internet) 3 (3-0)
LANG101 การใช ้ภาษาเพือ ่ สารทางวิทยุ (Language for Communication)
่ การสือ 2 (2-1)
LAW101 กฎหมายสําหรับเจ ้าหน ้าทีผ ่ ู ้รักษากฎหมาย (Law Required for Law investigators) 3 (3-0)
ECON101 อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Crime) 3 (3-0)
HUM101 จริยธรรมและสิทธิมนุษยชนในเรือ ่ งการสะกดรอยสมัยใหม่ 3 (3-0)
(Ethics & human rights of new surveillance)
EDU101 กิจกรรมพลศึกษา (Physical Education Activities) 2 (0-2)
CIST111 การสะกดรอยและลักษณะการเคลือ ่ นทีไ่ ด ้ง่ายในสังคมสมัยใหม่ 3 (3-0)
(Surveillance and Mobilities)
19 (17-3)
ระดับ 1 ภาคสอง
SCIXXX องค์ประกอบสําคัญของระบบเครือข่าย (Networking Essentials) หรือ 3 (3-0)
ระบบฐานข ้อมูล (Database System Concept)
LANGXXX ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศเพือ ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ หรือ 3 (3-0)
(Foreign Language and Cultural Require for Specific Purposes)
ภาษาต่างประเทศเพือ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ
(Foreign Language Require for Specific Purposes)
PSY101 จิตวิทยาภาษาและท่าทาง (Body Language) หรือ 3 (3-0)
BUS101 การทํางานเป็ นทีม (Management Team) หรือ
BUS101 การเจรจาต่อรอง (Negotiating Skills)
CIST112 หลักวิชาและขัน ้ ตอนการสืบสวนปกปิ ด (Covert Techniques and Procedures) 3 (3-0)
CIST113 การสะกดรอย (Fundamentals of Surveillance) 3 (3-0)
15 (15-0)
ระดับ 2 ภาคแรก
CIST211 การจําแนก ชักชวนและควบคุมแหล่งข่าวบุคคล 3 (3-0)
(Identification, recruitment and handling informants)
CIST212 เจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง (Fundamentals of Undercover) 3 (3-0)
CIST213 การสังเกตการณ์ การเขียนรายงาน การจําแนกและจัดหมวดหมู่ 3 (3-0)
(Observation, Description & Identification)
CIST214 การสอดแนมด ้วยเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ (Fundamentals of Electronic Surveillance) 3 (3-0)
CIST215 มาตรการตอบโต ้การสะกดรอย (Technical Surveillance Countermeasures) 3 (3-0)
CIST231 พืน ้ ฐานทฤษฎีไฟฟ้ า (Basic Electrical Theory) 3 (3-0)
18 (18-0)
ระดับ 2 ภาคสอง
CIST216 พืน ้ ฐานการตรวจสอบร่องรอยทางการเงินและเอกสารธุรกิจ 3 (3-1)
(Basic of Financial Investigative & Document Review)
CIST221 เทคนิคการถ่ายภาพดิจต ิ อลในปฏิบตั ก
ิ ารสืบสวนสะกดรอย 3 (1-2)
(Digital Photography for Surveillance)
CIST222 อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในการสะกดรอยแบบปกปิ ด (Covert Surveillance Equipment) 3 (3-1)
CIST223 อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทใี่ ช ้ในการสะกดรอย (Electronic Surveillance Equipment) 3 (3-1)
CIST232 ระบบสือ ่ สารและการสือ่ สารทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 (4-0)
(Communication Systems and Electronic communication)
16 (14-5)
ระดับ 3 ภาคแรก
CIST321 อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในมาตรการตอบโต ้การสะกดรอย (Countermeasures Equipment) 3 (3-1)
CIST374 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือในการติดตามยานพาหนะ 3 (3-1)
(Fundamentals of Tracking Surveillance)
CIST341 การประมวลภาพดิจต ิ อล (Digital Image Processing) 3 (3-1)
9 (9-3)
ระดับ 3 ภาคสอง
CIST361 เทคนิคการสะกดรอย (Surveillance Techniques) 3 (3-1)
CIST383 การใช ้เทคโนโลยีดจิ ต
ิ อลเพือ
่ ยกระดับงานสืบสวน
(Improving of Investigation with Digital Technology) 3 (3-0)

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST384 สถาปั ตยกรรมอาคาร และภูมส
ิ ถาปั ตยกรรม (Building and Landscape Architecture) 3 (3-1)
9 (9-2)
ระดับ 4 ภาคแรก
CIST495 การเตรียมโครงงานการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย 2 (1-3)
(Covert Investigation & Electronic Surveillance Technologies Project Preparation)
CISTXXX วิชาเฉพาะเลือก 6 (---)
CISTXXX วิชาเลือกเสรี 3 (---)
11 (---)
ระดับ 4 ภาคสอง
CIST499 โครงงานด ้านการสืบสวนแบบปกปิ ดและเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์ในการสะกดรอย 3 (3-0)
CISTXXX วิชาเฉพาะเลือก 3 (---)
CISTXXX วิชาเลือกเสรี 3 (---)
9 (---)

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
6. คําอธิบายรายวิชา
SCI101 เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอร์เน็ ท (Information Technology and Internet) 3 (3-0)
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ บทบาทและความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศทีม ่ ต
ี อ
่ พัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมโลก และอิทธิพลทีม ่ ก
ี ารนํ ามากําหนดเป็ นนโยบายและกลยุทธ์โดยรวมขององค์กรต่าง ๆ ในการดําเนินงานการ
่ มโยงระหว่างเครือข่ายนับพันเครือข่าย
ผลิตทัง้ ภาครัฐและเอกชน ความรู ้ความเข ้าใจระบบเครือข่ายทีไ่ ด ้สร ้างความเชือ
ทีก่ ระจายอยูท
่ ั่วโลกเข ้าด ้วยกัน ความหมาย และความแตกต่างในด ้านการออกแบบของอินเทอร์เน็ ทและอินทราเน็ ท
และลักษณะพิเศษเฉพาะของโครงสร ้างระบบเครือข่าย การเข ้าถึงฐานข ้อมูลสารสนเทศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ ท การ
นํ ามาประยุกต์ใช ้ในการดําเนินงานภายในองค์กร
SCI102 องค์ประกอบสําคัญของระบบเครือข่าย (Networking Essentials) 3 (3-0)
แนวคิดและมาตรฐานของระบบเครือข่าย ความรู ้ความเข ้าใจในรูปแบบมาตรฐานการเชือ ่ มต่อของสถาปั ตยกรรม
เครือข่าย ระบบปฏิบต ิ ารบนเครือข่าย การเลือกใช ้สือ
ั ก ่ เหมาะสม สือ่ สัญญาณทางกายภาพทีใ่ ช ้เชือ
่ มต่อระบบเครือข่าย
ภายใน เทคโนโลยีไร ้สาย และอืน ่ สารและการใช ้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันบนระบบเครือข่าย ความมั่นคง
่ ๆ การสือ
ปลอดภัยของระบบเครือข่าย การหลอมเป็ นเนื้อเดียวกันระหว่างระบบเครือข่ายภายในกับเทคโนโลยีโทรคมนาคมใน
โลกปั จจุบน

SCI103 ระบบฐานข ้อมูล (Database System Concept) 3 (3-0)
ลักษณะทั่วไปของระบบสารสนเทศ เทคนิคการเก็บข ้อมูล การบริการข ้อมูลและการค ้นหาข ้อมูล การจัดระบบ
แฟ้ มข ้อมูล การเข ้าถึงข ้อมูลแบบต่าง ๆ หลักการของระบบฐานข ้อมูลและการจัดการฐานข ้อมูล โครงสร ้างระบบ
ฐานข ้อมูล ฐานข ้อมูลแบบลําดับขัน้ แบบเครือข่าย แบบเชิงสัมพันธ์ และแบบวัตถุพส ั
ิ ย
LANG101 การใช ้ภาษาเพือ ่ สารทางวิทยุ (Language for Communication) 2 (2-1)
่ การสือ
หลักและวิธกี ารใช ้วิทยุในการติดต่อสือ่ สาร ประสิทธิภาพและพิสยั ของการใช ้งาน เรียนรู ้รหัสสัญณาณเรียกขาน การ
แก ้ไขปั ญหาเฉพาะหน ้า ระบบการทํางาน และการดูแลรักษาความปลอดภัย
LANG102 ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศเพือ ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ 3 (3-0)
(Foreign Language and Cultural Require for Specific Purposes)
ฝึ กทักษะภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ หรือชนกลุม ่ น ้อย เพือ
่ วัตถุประสงค์เฉพาะ ให ้แก่ผู ้ปฏิบัตงิ านในการสืบสวน
แบบปกปิ ด
LANG103 ภาษาต่างประเทศเพือ ่ วัตถุประสงค์เฉพาะ (Foreign Language Require for Specific Purposes) 3 (3-0)
ฝึ กทักษะภาษาต่างประเทศ หรือชนกลุม ่ น ้อยโดยเน ้นการฟั ง พูด อ่านและเขียนเพือ
่ วัตถุประสงค์เฉพาะ
LAW101 กฎหมายสําหรับเจ ้าหน ้าทีผ ่ ู ้รักษากฎหมาย (Law Required for Law investigators) 3 (3-0)
กฎหมายที่ เ กี่ย วข ้องกั บ ขอบเขตอํ า นาจของเจ า้ หน า้ ที่ผู ร้ ั ก ษากฎหมายในการเข ้าถึง ข ้อมู ล และการแสวงหา
พยานหลักฐาน การรวบรวมและเก็บรักษาพยานเอกสารและพยานวัตถุ การตรวจค ้น จับกุม เป็ นต ้น สาระสําคัญใน
กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัตก ิ ารสอบสวนคดีพเิ ศษ พระราชบัญญัตข ิ ้อมูลข่าวสารทางราชการ พระราชบัญญัต ิ
การคุ ้มครองพยาน กรณีศก ึ ษา
ECON101 อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ (Economic Crime) 3 (3-0)
แนวคิดและทฤษฎีวา่ ด ้วยอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ลักษณะและขอบเขตของอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ประเภทของ
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ภัยและผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจการเมืองของประเทศ และภูมภ ิ าค มาตรการต่อต ้าน
อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ องค์การและเครือข่ายอาชญากรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และภายในประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างอาชญากรรมทางเศรษฐกิจกับอาชญากรรมอืน ่ ๆ องค์การระหว่างประเทศทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการ
ป้ องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ การบังคับใช ้กฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้อง
PSY101 จิตวิทยาภาษาและท่าทาง (Body Language) 3 (3-0)
ความเข ้าใจในภาษาท่าทาง การอ่านสัญญาณพืน ้ ฐานจากพฤติกรรมของมนุษย์ วิธก
ี ารจับสังเกตใบหน ้า ท่าทางและ
ตําแหน่ง ปฏิกริ ย ี ารใช ้ภาษาท่าทางทีเ่ หมาะสมกับสภาพแวดล ้อมและสถานการณ์
ิ าตอบโต ้ การเรียนรู ้วิธก
BUS101 การทํางานเป็ นทีม (Management Team) 3 (3-0)
่ สารภายในทีม การวางแผนงานและคัดเลือกบุคคลตามภารกิจ การจัดองค์กร การ
ภาวะความเป็ นผู ้นํ า การติดต่อสือ
ติดต่อประสานงานภายนอก บทบาทและหน ้าทีค ่ วามรับผิดชอบ การบริหารและการจัดการติดต่อประสานงานระหว่าง
โครงการกับผู ้ปฏิบัตงิ าน แผนขัน ้ ตอนการปฏิบัตงิ านด ้านบริหาร เทคนิคและการสนั บสนุน เริม
่ ต ้นแผน แผนงาน
กิจกรรม แผนควบคุม แผนการจัดการความเสีย ่ ง การควบคุมเอกสาร เป็ นต ้น
BUS101 การเจรจาต่อรอง (Negotiating Skills) 3 (3-0)
แนวคิดและทฤษฏีการต่อรอง กฎแห่งการแลกเปลีย ่ น กระบวนการต่อรอง การเตรียมการเจรจาต่อรอง การกําหนด
วัตถุประสงค์และกลยุทธ์ การประเมินฝ่ ายตรงกันข ้าม การลดข ้อขัดแย ้ง การดําเนินการต่อรอง ภาษาท่าทางและความ
แตกต่างทางวัฒนธรรม การสร ้างบรรยากาศและสภาพแวดล ้อมในการเจราจาต่อรอง การสรุปข ้อตกลง แบบจําลอง
สถานการณ์การเจรจาต่อรอง กรณีศก ึ ษา เป็ นต ้น

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
HUM101 จริยธรรมและสิทธิมนุษยชนในเรือ ่ งการสะกดรอยสมัยใหม่ 3 (3-0)
(Ethics & human rights of new surveillance)
เทคโนโลยีทท ่ ํ ามาประยุกต์ใช ้ในการสืบสวนสะกดรอยสังคมโลกปั จจุบัน ได ้ยกระดับและเพิม
ี่ ันสมัยทีน ่ ประสิทธิภาพใน
การเข ้าถึงข ้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล รวมถึงการตรวจสอบและติดตามพฤติการณ์ของเป้ าหมายหรือบุคคลโดยทั่วไปได ้
ทุกสถานทีแ ่ ละทุกเวลา การละเมิดสิทธิสว่ นบุคคล เส ้นแบ่งระหว่างการสืบสวนสะกดรอยพฤติการณ์ตา่ งๆ เพือ ่ ให ้ได ้มา

ซึงพยานหลักฐานทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการกระทําความผิดทางอาญากับจริยธรรมและสิทธิมนุษยชน ความรู ้ความเข ้าใจ และ
มโนธรรมสํานึกในขอบเขตอํานาจหน ้าทีข ่ องเจ ้าหน ้าทีผ
่ ู ้รักษากฎหมายต่อสังคมส่วนรวม
EDU101 กิจกรรมพลศึกษา (Physical Education Activities) 2 (0-2)
การเสริมสร ้างและฟื้ นฟูสมรรถภาพทางกายด ้วยตารางการฝึ กยกนํ้ าหนั ก และศิลปะการต่อสู ้ป้ องกันตัวพืน้ ฐาน การ
เลือกและใช ้อาวุธมีด อุปกรณ์ใกล ้ตัวประเภทต่างๆ ในการป้ องกันตัว วิธก
ี ารและฝึ กปฏิบัตเิ พือ
่ ทดสอบสมรรถภาพทาง
กาย
CIST111 การสะกดรอยและลักษณะการเคลือ ่ นทีไ่ ด ้ง่ายในสังคมสมัยใหม่ (Surveillance and Mobilities) 3 (3-0)
ลักษณะการเคลือ ่ นทีไ่ ด ้ง่าย ทัง้ ในมิตขิ องเวลา สถานที่ ปริมาณการไหลเวียนของทุน, ข ้อมูลสารสนเทศ, เทคโนโลยี,
การปฏิสม ั พันธ์ระหว่างองค์กร และชนิดของสารสนเทศ ในรูปแบบต่างๆ เช่น ข ้อความ รูปภาพ เสียง วีดท ิ ัศน์ และ
สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ในสังคมโลกยุคปั จจุบันเป็ นไปได ้อย่างรวดเร็ว รูปแบบของลักษณะการเคลือ ่ นทีไ่ ด ้ง่ายอาจอยูใ่ น
รูปแบบทีห ่ ลากหลาย เช่น ตัวบุคคล รถยนต์ กระเป๋ าเดินทาง สัญณาณอนาล็อก และดิจต ิ อล ไมโครเวฟ และกิจกรรม
ต่างๆ เป็ นต ้น จุดประสงค์พน ื้ ฐานของการสะกดรอย เป็ นระบบทีช ่ ว่ ยตอบคําถามว่าใครอยูท ่ ไ่ี หน ณ จุดใดของเวลา และ
กิจ กรรมอะไรทีพ ่ วกเขากํ า ลังทํ า อยู่ การปรั บ เปลีย ่ นปริบ ทของการสะกดรอยหรือ การเฝ้ าสัง เกตให ้มีลักษณะที่
เคลือ ่ นไหวได ้ง่าย สาระสําคัญของการสะกดรอย หรือเฝ้ าสังเกตการณ์ทเี่ กีย ่ วข ้องกับลักษณะการเคลือ ่ นไหวได ้ง่าย ภูม ิ
ประชากรศาสตร์ รูปแบบพฤติกรรมการเคลือ ่ นทีข ่ องอาชญากร การดําเนินกิจกรรมต่างๆ ทีต ่ อ
่ เนือ
่ งกันเป็ นอนุกรม และ
สิง่ ทีเ่ กีย
่ วข ้องสัมพันธ์กบ ั บุคคลนัน ้ ๆ จากจุดศูนย์รวมและการกระจายตัว เช่น สนามบิน ท่าเรือ สถานีขนส่ง ศูนย์การ
การจับจ่ายใช ้สอย แหล่งการค ้าและธุรกิจ ศูนย์กลางทางการเงิน แหล่งท่องเทีย ่ ว ศาสนสถาน สถานศึกษาไปสูม ่ ต
ิ ข
ิ อง
เวลา ขอบเขตของพืน ้ ทีแ ่ ละทิศทางอืน ่ ทีเ่ กีย
่ วข ้อง เป็ นต ้น
CIST112 หลักวิชาและขัน ้ ตอนการสืบสวนปกปิ ด (Covert Techniques and Procedures) 3 (3-0)
เหตุผลและความสําคัญของการสืบสวนแบบปกปิ ด ประเภทการสืบสวนแบบปกปิ ด วิธก ี ารสืบสวนแบบปกปิ ด การ
เตรียมการและวางแผนการปฏิบัตก ิ าร การพัฒนาทักษะในการสังเกตการณ์ การสะกดรอยยานพาหนะ การสือ ่ สาร การ
สะกดรอยด ้วยการเดินเท ้า การสะกดรอยแบบเฝ้ าจุด วัตถุพยานและกฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้อง การถ่ายภาพ เครือ
่ งมือพิเศษ
อืน
่ ๆ การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST113 การสะกดรอย (Fundamentals of Surveillance) 3 (3-0)
ประเภทของการสะกดรอย ลําดับขัน ้ ของการสะกดรอย การเตรียมการก่อนปฏิบัตก ิ ารสะกดรอย เดินสะกดรอย การ
ปฏิบัตต
ิ ัว การวางตําแหน่งและรักษาระยะในการเดินสะกดรอย อุปกรณ์ทน ี่ ํ ามาใช ้ช่วยในปฏิบัตก
ิ ารสะกดรอย การหา
ตําแหน่งทีต่ งั ้ วิธก
ี ารเตรียมการและรักษาสถานทีห ่ รือตําแหน่งทีใ่ ช ้ในการเฝ้ าสังเกตการณ์ เช่น ในเมือง ในชนบท หรือ
ในยานพาหนะ เป็ นต ้น การเตรียมพาหนะเพือ ่ สนั บสนุนการเฝ้ าสังเกตและติดตามเป้ าหมาย การตรวจสอบข ้อมูล
สารสนเทศทีร่ วบรวมขึน ้ มาได ้และการเขียนรายงาน กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการสะกดรอย มีการศึกษานอกสถานที่
CIST211 การจําแนก ชักชวนและควบคุมแหล่งข่าวบุคคล 3 (3-0)
(Identification, recruitment and handling informants)
พืน
้ ฐาน : CIST113
การจัดประเภทลับของแหล่งข่าวบุคคล การชักชวน แรงจูงใจของแหล่งข่าวบุคคล การใช ้รางวัลและค่าตอบแทน การ
บริหารจัดการ ควบคุม และการปฏิบัตก ิ ับแหล่งข่าวบุคคล การพบปะแหล่งข่าวบุคคล สถานะทางกฎหมายของ
แหล่งข่าวบุคคล การเขียนรายงานข่าวสารจากแหล่งข่าวบุคคล
CIST212 เจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง (Fundamentals of Undercover) 3 (3-0)
พืน
้ ฐาน : CIST113
ความหมายและความสําคัญในการปฏิบัตก ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง หลักการพืน ้ ฐานของการใช ้เจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง ความรู ้
ความเข ้าใจในกระบวนการ ขัน ้ ตอน วิธก
ี ารและรายละเอียดอืน ่ ๆ ในการใช ้เจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง ลักษณะภารกิจทีจ ่ ําเป็ น
คุณลักษณะเฉพาะเจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพราง หลักการปฏิบัตริ ะหว่างเจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพรางกับชุดปฏิบัตกิ ารสะกดรอย การรักษา
ความปลอดภัย กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการปฏิบต ั ก
ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง
CIST213 การสังเกตการณ์ การเขียนรายงาน การจําแนกและจัดหมวดหมู่ 3 (3-0)
(Observation, Description & Identification)
พืน
้ ฐาน : CIST113
วิธกี ารติดตามและสังเกตการณ์บคุ คล วัตถุ สถานที่ เหตุการณ์ การจดจํารายละเอียดและข ้อมูลทีจ
่ ําเป็ นและสําคัญ
หลักการเขียนรายงาน และการจําแนกและจัดหมวดหมู่

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST214 การสอดแนมด ้วยเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ (Fundamentals of Electronic Surveillance) 3 (3-0)
พืน้ ฐาน : CIST112 และ CIST113
ความสําคัญของการการสอดแนมด ้วยเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ การดักฟั งและตรวจสอบเอกสารหรือข ้อมูลข่าวสารที่
่ สารผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ การใช ้เครือ
สือ ่ งและอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ในการสอดแนมและสังเกตการณ์พฤติการณ์
ต่างๆ ่ วข ้องกับ การกระทํ า ความผิดทางอาญาของเป้ าหมาย
ทีเ่ กีย โดยครอบคลุม ประเภทการสอดแนมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ทส ี่ ําคัญได ้แก่ ไปรษณียอ ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ดักฟั งโทรศัพท์ผา่ นทางสายสัญญาณ หรือแบบไร ้สาย หรือผ่าน
สัญญาณดาวเทียม สือ ่ การบันทึกภาพและเสียง การสือ ้ ตอนและ
่ สารระหว่างคอมพิวเตอร์และฐานข ้อมูล เป็ นต ้น ชัน
มาตรการทางกฎหมายในการสอดแนมด ้วยเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ ขอบเขตอํานาจหน ้าที่ และความรับผิดชอบในการ
ตรวจสอบและรวบรวมเอกสารหรือข ้อมูลข่าวสารทีส ่ ง่ ทางไปรษณีย ์ โทรเลข โทรศัพท์ โทรสาร คอมพิวเตอร์ เครือ ่ งมือ
หรืออุปกรณ์ในการสือ ่ สาร สือ
่ อิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต ้น การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST215 มาตรการตอบโต ้การสะกดรอย (Technical Surveillance Countermeasures) 3 (3-0)
พืน
้ ฐาน : CIST112 และ CIST113
ความรู ้ความเข ้าใจในแนวคิดการสะกดรอยด ้วยอุปกรณ์ด ้านอิเล็กทรอนิกส์แบบปกปิ ด และภัยจากการลอบดักฟั งด ้วย
่ งอิเล็กทรอนิกส์ ตัวบ่งชีใ้ นการถูกติดตามสะกดรอย การวางแผนการตรวจจับการสะกดรอย วิธก
เครือ ี ารหลีกเลีย
่ งจาก
การถูกติดตามและการเฝ้ าสังเกต กําหนดวิธก ั งิ าน เช่น การเลือกเส ้นทางเดินทางและการสือ
ี ารปฏิบต ่ สาร การชําระเงิน
ผ่านเครือข่ายธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การประชุมหรือการพบปะในทีน ่ ั ดหมาย การรักษาความปลอดภัยของข ้อมูล
สารสนเทศ การวิเคราะห์เป้ าหมาย การวางแผนเส ้นทาง การเขียนรายงาน กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST216 พืน ้ ฐานการตรวจสอบร่องรอยทางการเงินและเอกสารธุรกิจ 3 (3-1)
(Basic of Financial Investigative & Document Review)
พืน้ ฐาน : CIST113
ความรู ้ความเข ้าใจในตลาดทุน การจัดเตรียมรายการเพือ ่ ใช ้ในตรวจสอบสาระสําคัญทางการเงิน ระบบบัญชี การ
วิเคราะห์งบการเงิน หรือรายการในงบกําไรขาดทุน งบดุล และกระแสเงินสด ระบบการเงินอืน ่ ๆ และรายการเพือ ่ ใช ้ใน
ตรวจสอบเอกสารธุรกิจ หนีส ิ และส่วนของเจ ้าของ บัญชีสน
้ น ิ ทรัพย์ เอกสารการควบคุมจากภายนอก สาระสําคัญที่
เกีย่ วกับภาษี การฟ้ องรองดําเนินคดี ข ้อตกลงอืน
่ ๆ วิธก
ี ารเก็บรวบรวม กลั่นกรอง วิเคราะห์ข ้อมูล และสรุปรายงาน
กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST221 เทคนิคการถ่ายภาพดิจต ิ อลในปฏิบตั กิ ารสืบสวนสะกดรอย 3 (1-2)
(Digital Photography for Surveillance)
พืน
้ ฐาน : CIST112 และ CIST113
เสริมทักษะและความรู ้ ความสามารถในการใช ้กล ้องถ่ายภาพดิจต ิ อลสมัยใหม่ และการผสมผสานกับเทคนิคดัง้ เดิมของ
กล ้องถ่ายภาพแบบอนาล็อก การประยุกต์ใช ้เทคนิคพิเศษอืน ่ ในงานภาคสนาม การรักษาความปลอดภัยข ้อมูล การ
เลือกใช ้ชุดอุปกรณ์ หรือเครือ
่ งมือในการใช ้ปฏิบตั กิ ารสืบสวนสะกดรอย รวมทัง้ คําแนะนํ าในการเก็บภาพพยานหลักฐาน
ในทีเ่ กิดเหตุ
CIST222 อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในการสะกดรอยแบบปกปิ ด (Covert Surveillance Equipment) 3 (3-1)
พืน้ ฐาน : CIST112 และ CIST113
การใช ้เทคโนโลยีและชุดอุปกรณ์ หรือเครือ
่ งทีใ่ ช ้ในการสะกดรอยแบบปกปิ ด ตําแหน่งการติดตัง้ การดัดแปลงและ
ซ่อนอําพราง ระบบและกลไกการทํางานเบือ ้ งต ้น การรักษาความปลอดภัยของเครือ ่ งมือ การแก ้ไขปั ญหาเฉพาะหน ้า
และการรายงานข ้อผิดพลาดจากการใช ้งานข ้อปฏิบัตใิ นการนํ าไปใช ้งาน หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบในการเบิกจ่าย ควบคุม
ฝึ กอบรม สนับสนุนและซ่อมบํารุง
CIST223 อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ทใี่ ช ้ในการสะกดรอย (Electronic Surveillance Equipment) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST112 และ CIST113 และ CIST231
การใช ้เทคโนโลยีและชุดอุปกรณ์ หรือเครือ ่ งมือทางอิเล็กทรอนิกส์ทก ี่ ้าวหน ้าและทันสมัยในการรวบรวมวัตถุพยาน เพือ ่
ประสงค์จะทราบข ้อเท็จจริงและพฤติการณ์ตา่ งๆ อันเกีย ่ วกับการกระทําความผิดทางอาญา รู ้จักชุดอุปกรณ์ หรือ
่ งมือทีใ่ ช ้ในปฏิบัตก
เครือ ิ ารสอดแนมทางอิเล็กทรอนิกส์ทส ี่ ําคัญ ระบบและกลไกการทํางานเบือ ้ งต ้น เช่น ชุดอุปกรณ์
รับส่งสัญญาณ ระบบสายอากาศ อุปกรณ์ควบคุม และอุปกรณ์จ่ายกําลังไฟฟ้ า ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ประเภทการโอน
ถ่ายหรือการแลกเปลีย ่ นข ้อมูลผ่านทางอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์หรือคอมพิวเตอร์ การรักษาความปลอดภัยของเครือ ่ งมือ
มาตรการการตอบโต ้การสอดแนม การแก ้ไขปั ญหาเฉพาะหน ้าและการรายงานข ้อผิดพลาดจากการใช ้งาน ข ้อปฏิบัตใิ น
การนํ าไปใช ้งาน หน่วยงานทีร่ ับผิดชอบในการเบิกจ่าย ควบคุม ฝึ กอบรม สนับสนุนและซ่อมบํารุง
CIST231 พืน ้ ฐานทฤษฎีไฟฟ้ า (Basic Electrical Theory) 3 (3-0)
คํานิยามศัพท์ทางไฟฟ้ าทีเ่ กีย
่ วข ้อง สัญลักษณ์บนแผงวงจร พืน
้ ฐานวงจรไฟฟ้ า เทคนิคพืน
้ ฐานของการวัดค่า
แหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้ าและแบตเตอรี่

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST232 ระบบสือ ่ สารและการสือ ่ สารทางอิเล็กทรอนิกส์ 4 (4-0)
(Communication Systems and Electronic communication)
พืน้ ฐาน : CIST231
องค์ประกอบพืน ้ ฐานของระบบสือ ่ สารข ้อมูล เช่น อุปกรณ์รับ-ส่งข ้อมูล โปรโตคอล ข ้อมูลข่าวสาร สือ
่ กลาง เป็ นต ้น
สมบัตข ิ องสัญญาณและสัญญาณรบกวน สัญญาณจํากัดแถบและสัญญาณรบกวน การวัดค่าและการเข ้ารหัส การสือ ่
สัญญาณแบบเบสแบนด์ และแบบรอดแบนด์ โมดูเลชัน ่ และดีโมดูเลชัน ่ การมัลติเพลกซ์แบบแบ่งเวลา การสือ
่ สารผ่าน
แถบ ส่วนประกอบของระบบสือ ่ สาร ระบบโทรคมนาคมแบบดิจต ิ อลและอนาล็อก อัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณ
รบกวนของเครือ ่ งรับ ความรู ้เกีย่ วกับการทํางานของระบบสือ ่ สารแบบต่าง ๆ โทรศัพท์ดจ ิ อล โทรศัพท์เคลือ
ิ ต ่ นที่
ระบบสือ ่ สารดาวเทียม ระบบเส ้นใยนํ าแสง ระบบเครือข่ายไร ้สายและมาตรฐาน ระบบถ่ายทอดวิทยุไมโครเวฟ ระบบการ
่ สารของประเทศเพือ
สือ ่ ําคัญ
่ นบ ้านทีส
CIST321 อุปกรณ์ทใี่ ช ้ในมาตรการตอบโต ้การสะกดรอย (Countermeasures Equipment) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST112 และ CIST113 และ CIST231
่ งมือทีใ่ ช ้ในการสะกดรอยอิเล็กทรอนิกส์แบบปกปิ ด การใช ้อุปกรณ์ในการ
การใช ้เทคโนโลยีและชุดอุปกรณ์ หรือเครือ
ต่อต ้านการสะกดรอยในภาคสนาม ศึกษาระบบและกลไกการทํางานเบือ ้ งต ้น การรักษาความปลอดภัยของเครือ ่ งมือ
การแก ้ไขปั ญหาเฉพาะหน ้าและการรายงานข ้อผิดพลาดจากการใช ้งาน ข ้อปฏิบัตใิ นการนํ าไปใช ้งาน หน่วยงานที่
รับผิดชอบในการเบิกจ่าย ควบคุม ฝึ กอบรม สนับสนุนและซ่อมบํารุง
CIST341 การประมวลภาพดิจต ิ อล (Digital Image Processing) 3 (3-1)
พืน้ ฐานของภาพดิจติ อล แบบจําลองภาพ การแปลงภาพ การปรับปรุงภาพให ้ดีขน
ึ้ การซ่อมแซมภาพ การลดขนาด
ข ้อมูลภาพ การแบ่งและจําแนกภาพ การแทนและจํากัดความ การรู ้จําและการแปลความหมาย หัวข ้อเกีย
่ วกับการ
ประมวลผลภาพทีน ่ ่าสนใจในปั จจุบน

CIST361 เทคนิคการสะกดรอย (Surveillance Techniques) 3 (3-1)
พืน้ ฐาน : CIST223
การอภิปรายแนวคิด และทักษะทีจ ่ ําเป็ นสําหรับการปฏิบัตก ิ ารสะกดรอย การสะกดรอยแบบปิ ดลับ การวางแผนและ
เตรียมการตามขัน ้ ตอนทางกฎหมายและภารกิจ ข ้อปฏิบต ั แ
ิ ละคุณสมบัตข
ิ องผู ้ปฏิบต
ั งิ าน พยานหลักฐานและกฎหมายที่
เกีย่ วข ้อง วิธก
ี ารสือ ่ สาร เครือ ่ งมือและอุปกรณ์พเิ ศษในการปฏิบัตงิ าน การเดินสะกดรอย การใช ้พาหนะสะกดรอย การ
สะกดรอยแบบอยู่กบ ั ที่ เทคนิคการสะกดรอยอืน ่ ๆ ตามเหตุเฉพาะหน ้า การตอบโต ้และขัดขวางการสะกดรอย การ
วิเคราะห์เป้ าหมาย การวางแผนเส ้นทาง การใช ้สือ ่ บันทึกภาพ การสรุปผลการปฏิบัต ิ ภารกิจ กรณีศก ึ ษา การฝึ กอบรม
บุคลากรเพือ ่ ใช ้ในการปฏิบต ั กิ ารสะกดรอย
CIST374 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือในการติดตามยานพาหนะ 3 (3-1)
(Fundamentals of Tracking Surveillance)
พืน
้ ฐาน : CIST223
การสอดแนมทางอิเล็กทรอนิกส์ด ้านกายภาพ เป็ นกรรมวิธใี นการสืบสวนสะกดรอยโดยใช ้เครือ ่ งมือหรืออุปกรณ์สอ ื่ สาร
แบบพกพาประเภทต่าง ๆ ทีส ่ ามารถส่งสัญญาณระบุตําแหน่งทีต ่ ด ิ
ิ ตัง้ ไปกับตัวบุคคล ยานพาหนะ หรือทรัพย์สน เพือ ่ ใช ้
ในการติดตาม ตรวจสอบ เพือ ่ พิสจ
ู น์ทราบถึงสถานทีต ่ งั ้ และเส ้นทางการเคลื อ
่ นไหว เป็ นต ้น การรวบรวมพยานหลักฐาน
และกฎหมายทีเ่ กีย
่ วข ้อง การเขียนรายงาน
CIST383 การใช ้เทคโนโลยีดจิ ต ิ อลเพือ
่ ยกระดับงานสืบสวน 3 (3-0)
(Improving of Investigation with Digital Technology)
พืน้ ฐาน : CIST223
การอภิปรายแนวคิดในการใช ้เทคโนโลยีดจิ ต ิ อลในงานสืบสวน เสริมทักษะและความรู ้ในด ้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ และ
ความชํานาญในการใช ้สือ ่ ต่าง ๆ ในการบันทึกเสียงและภาพ ความปลอดภัยข ้อมูล การเลือกใช ้ชุดอุปกรณ์ หรือ
เครือ่ งมือในการใช ้ปฏิบตั กิ ารสืบสวนสะกดรอยคําแนะนํ าในการเก็บภาพพยานหลักฐานในทีเ่ กิดเหตุ รวมทัง้ แง่มม ุ ใหม่ๆ
ด ้านกฎหมาย และการผสมผสานเทคโนโลยีสอ ื่ ดิจต
ิ ล
ั ในการรวบรวมพยานหลักฐาน การศึกษาหัวข ้อทีน
่ ่าสนใจในสาขา
การใช ้เทคโนโลยีดจิ ต ิ อลเพือ ่ ยกระดับงานสืบสวน
CIST384 สถาปั ตยกรรมอาคาร และภูมส ิ ถาปั ตยกรรม (Building and Landscape Architecture) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST215
โครงสร ้างและรูปแบบภายในของอาคารสิง่ ปลูกสร ้างประเภทต่างๆ รวมถึงภูมส ิ ถาปั ตยกรรม เช่น อาคารสํานั กงาน
อาคารสูง ห ้างสรรพสินค ้า ศูนย์การค ้า โรงพยาบาล โรงแรม โรงงานอุตสาหกรรม บ ้านจัดสรร คอนโดมิเนียมหรือ
อาคารชุด อพาร์ทเม ้นท์ สวนสาธารณะ สถานีไฟฟ้ าย่อย ท่าขนส่งสินค ้า อาคารภายในสนามบิน อาคารสถานีขนส่ง
เช่น รถไฟ รถไฟฟ้ า รถยนต์ ท่าเรือ เป็ นต ้น ระบบงานวิศวกรรมต่างๆ ของอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้ า ระบบสือ ่ สาร
โทรคมนาคม ระบบปรับอากาศ ระบบการถ่ายเทอากาศ ระบบป้ องกันอัคคีภย ั ระบบสุขาภิบาล ระบบประปา ระบบท่อนํ้ า
ทิง้ ระบบบําบัดนํ้ าเสีย ระบบลิฟท์ จุดติดตัง้ ตําแหน่งอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และห ้องควบคุมการรักษาความปลอดภัย
ภายในและภายนอกของอาคาร ส่วนราชการและเอกชนทีร่ ับผิดชอบในการออกแบบ ควบคุมการก่อสร ้างและเก็บรักษา
แบบพิมพ์เขียวของอาคารทีส ่ ําคัญในส่วนกลางและส่วนภูมภ ิ าค กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องกับอาคารและสิง่ ปลูกสร ้าง มี
การศึกษานอกสถานที่

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST411 การตรวจสอบและติดตามร่องรอยทางการเงินและเอกสารธุรกิจ 3 (3-0)
(Financial Investigative and Document Review)
พืน
้ ฐาน : CIST222
การวิเคราะห์เศรษฐกิจมหภาคกับวงจรธุรกิจ การวางแผนทางการเงินและวงจรของธุรกิจ เทคนิคทีส ่ ําคัญในการ
วางแผนทางการเงิน การวางแผนทางการเงินเกีย ่ วกับเงินทุนหมุนเวียน การวิเคราะห์ทางการเงิน ค่าของทุน โครงสร ้าง
เงินทุนกับการวางแผนจัดหาทุนระยะยาว การวางแผนเพือ ่ รวมกิจการ ตัวแบบทางการเงิน แนวคิดและแผนผัง
โครงสร ้างทางเศรษฐกิจ การเมือ งของกลุ่ม เครือ ข่า ยทางการเงิน และทุน การรวมศูน ย์แ ละการกระจุ ก ตั ว ของทุ น
แบบจําลองสถานการณ์ทางธุรกิจ การรวบรวมสาระสําคัญทีเ่ กีย ่ วข ้องในหลักการของการตรวจสอบความรับผิดชอบใน
การให ้ข ้อมูลทีถ
่ ก
ู ต ้อง (Due Diligence) การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง เป็ นต ้น
CIST421 การใช ้งานอุปกรณ์สอ ื่ บันทึกภาพแบบความเข ้มแสงตํา่ (Low Light Video Operations) 2 (2-1)
ความรู ้ความเข ้าใจในการใช ้ชุดอุปกรณ์ หรือเครือ ่ การบันทึกภาพทีใ่ ช ้เข ้มแสงตํ่าหลากหลายชนิดในงานสืบสวน
่ งมือสือ
การเลือกใช ้และฝึ กปฏิบัตงิ านใช ้ในปฏิบัตก
ิ ารสอดแนมในสภาพแวดล ้อมทีไ่ ม่สามารถใช ้กล ้องมาตรฐานอืน ่ ๆ ได ้ การ
ประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การรายงานข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน ้ จากการใช ้งาน การรักษาความปลอดภัย
ของเครือ ่ งมือ การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST451 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือระบบหาพิกด ั บนพืน้ โลก 3 (3-1)
(Fundamentals of GPS Tracking Surveillance)
ลักษณะการทํางาน ส่วนประกอบทีส ่ ําคัญ เครือ
่ งรับสัญญาณ การนํ าไปประยุกต์ใช ้งาน การแก ้ไขปั ญหาเฉพาะหน ้า การ
ตรวจสอบและรายงานข ้อผิดพลาดทางเทคนิค เสริมทักษะและความชํานาญในการสะกดรอยแบบติดตามยานพาหนะ
หรือบุคคล โดยเทคโนโลยีระบบการติดตามด ้วยเครือ ้ ําแหน่งทางภูมศ
่ งมือชีต ิ าสตร์ผ่านสัญญาณดาวเทียม การฝึ ก
ั ใิ นการใช ้อุปกรณ์ในสภาพแวดล ้อมและข ้อจํากัดต่าง ๆ ทีแ
ปฏิบต ่ ตกต่างกัน
CIST461 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย
่ วกับเสียง (Fundamentals of Audio Surveillance) 3 (3-1)
พืน้ ฐาน : CIST223
การรวบรวมข่าวกรองซึง่ เกีย ่ วกับการฟั งหรือเกีย ่ วกับคลืน
่ เสียง พืน
้ ฐานการเฝ้ าสังเกตการณ์ในเชิงกายภาพ การรู ้จักชุด
อุปกรณ์ และเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เกีย่ วกับการฟั งหรือเกีย
่ วกับคลืน ่ เสียง ระบบเสียงของวิทยุ โทรทัศน์ และ
เครือ่ งขยายเสียงโดยใช ้ไฟฟ้ า การฝึ กปฏิบต ั กิ ารใช ้งานเครือ
่ งมืออิเล็กทรอนิกส์หลากหลายประเภทในสภาพแวดล ้อมที่
แตกต่างกัน การติดตัง้ และการกู ้คืน การซุกซ่อน การประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การรายงาน
ข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ จากการใช ้งาน การรักษาความปลอดภัยของเครือ ่ งมือ มาตรการการตอบโต ้และขัดขวางการ
ต่อต ้านการสอดแนม การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST462 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย
่ วกับภาพ (Fundamentals of Visual or Video Surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST223
การรวบรวมข่าวกรองซึง่ เกีย ่ วกับการภาพหรือเกีย ่ วกับสัญญาณภาพ การสอดแนมด ้วยสือ ่ บันทึกภาพ การสอดแนมด ้วย
ภาพของโทรทัศน์ วีดท ิ ัศน์ พืน้ ฐานการเฝ้ าสังเกตการณ์ในเชิงกายภาพ การรู ้จักชุดอุปกรณ์ และเครือ่ งมือ
อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เกีย
่ วกับการภาพหรือเกีย ่ วกับสัญญาณภาพ ระบบภาพ โทรทัศน์ และเครือ ่ งรับสัญญาณภาพ การฝึ ก
ปฏิบัตกิ ารใช ้งานเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์หลากหลายประเภทในสภาพแวดล ้อมทีแ ่ ตกต่างกัน การติดตัง้ และการกู ้คืน
การซุกซ่อน การประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การรายงานข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน ้ จากการใช ้งาน การ
รักษาความปลอดภัยของเครื่องมือ มาตรการการตอบโต ้และขัดขวางการต่อต ้านการสอดแนม การรวบรวม
พยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST463 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย
่ วกับเสียงและภาพขัน
้ สูง 3 (3-0)
(Advanced Audio and Video Surveillance)
พืน
้ ฐาน : CIST461 และ 462
การอภิปรายแนวคิดและการประยุกต์ใช ้ในงานสืบสวนการสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ วกับเสียงและภาพ ข ้อมูลด ้าน
่ งมือเกีย
การข่าวเฉพาะด ้านสําหรับเจ ้าหน ้าทีร่ ักษากฎหมาย การรวบรวมข่าวกรองซึง่ เกีย
่ วกับการผสานการฟั งหรือเกีย ่ วกับคลืน

เสียงและภาพหรือเกีย ่ วกับสัญญาณภาพเข ้าด ้วยกัน การออกแบบ และติดตัง้ ระบบเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ในการ
สืบสวนในสภาพแวดล ้อมทีแ ่ ตกต่างกันและในยานพาหนะ การประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การ
้ จากการใช ้งาน การรักษาความปลอดภัยของเครือ
รายงานข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน ่ งมือและข ้อมูล มาตรการการตอบโต ้และ
ขัดขวางการต่อต ้านการสอดแนม การรวบรวมพยานหลักฐานทางเสียงและภาพ
CIST464 การดักฟั งทางโทรศัพท์ (Wiretapping Techniques) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST223
ชนิดและการทํ างานของแถบบันทึกเสียง กรรมวิธใี นการได ้มาซึง่ ข ้อมูลข่าวสารจากการดักฟั งการสนทนาผ่านทาง
โทรศัพท์ โดยผ่านทางสายสัญญาณ ประสิทธิภาพของปั จจัยแวดล ้อมทีม ่ ต
ี อ
่ คุณภาพของเสียงและเครือ ่ งขยายเสียง
การติดตัง้ และกู ้คืนเครือ
่ งมือในการปฏิบัตงิ าน มาตรการตอบโต ้ การรวบรวมเนือ ่ สารของเป้ าหมายทีไ่ ด ้
้ หาการติดต่อสือ
จากการดักฟั ง การรวบรวมและตรวจสอบ การเขียนรายงาน พยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง มีการศึกษานอก
สถานที่

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST471 การสะกดรอยในเขตเมือง (Urban surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST361
แนวทางและวิธก ี ารปฏิบต ั งิ านสําหรับชุดปฏิบต ั ใิ นการรวบรวมพยานหลักฐานในเขตเมือง เน ้นการปฏิบัตท ี่ ้องใช ้ทักษะ
ิ ต
ทีจ่ ําเป็ นและกลวิธใี นการปฏิบต ้ ทีเ่ ฉพาะ อาคาร โครงข่ายเส ้นทางสัญจร การกําหนดแผนการปฏิบัตงิ าน การ
ั งิ านในพืน
คัดเลือกสมาชิกของชุดปฏิบัตงิ านและอุปกรณ์ การให ้คําแนะนํ าและสิง่ ทีค ่ วรพิจารณาในภาคสนาม ทักษะและความ
ชํานาญพืน ้ ฐานทีจ ่ ําเป็ นต ้องมีในการปฏิบัตงิ าน การควบคุมยานพาหนะ การนํ าทาง และการเลือกเส ้นทาง ยุทธวิธใี น
การเคลือ ่ นย ้ายตําแหน่งทีต ่ งั ้ และการปรับเปลีย ่ นแผน การอําพรางและการปิ ดบัง สถานทีซ ่ น การติดตามร่องรอย การ
่ อ
เฝ้ าสังเกตการณ์เป้ าหมาย การสรุปการปฏิบต ั งิ านตามภารกิจ มีการฝึ กงานภาคสนาม
CIST472 การสะกดรอยในเขตชนบท (Rural surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST361
แนวทางและวิธก ี ารปฏิบัตงิ านสําหรับชุดปฏิบัตใิ นการรวบรวมพยานหลักฐานในเขตชนบทหรือพืน ้ ทีห
่ า่ งไกล เน ้นการ
ปฏิบัตท ี่ ้องใช ้ทักษะทีจ
ิ ต ่ ํ าเป็ นและกลวิธท ี แ
ี่ ตกต่างไปจากการปฏิบัตก
ิ ารในเขตเมือง การกําหนดแผนการปฏิบัตงิ าน
การคัดเลือกสมาชิกของชุดปฏิบัตงิ านและอุปกรณ์ การให ้คําแนะนํ าและสิง่ ทีค ่ วรพิจารณาในภาคสนาม ทักษะและ
ความชํานาญพืน ้ ฐานทีจ่ ํ าเป็ นต ้องมีในการปฏิบัตงิ าน การนํ าทางและการเลือกเส ้นทาง ยุทธวิธใี นการเคลือ ่ นย ้าย
ตําแหน่งทีต ่ งั ้ และการปรับเปลีย ่ นแผน การอําพรางและการปิ ดบังสถานทีซ ่ น การติดตามร่องรอย การเฝ้ าสังเกตการณ์
่ อ
เป้ าหมาย การสรุปการปฏิบต ั งิ านตามภารกิจ มีการฝึ กงานภาคสนาม
CIST473 ปฏิบต ั ก ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพรางและอาชญากรรรมในสํานักงาน 3 (3-0)
(Undercover operations and white collar crime)
พืน
้ ฐาน CIST212 และ CIST222
การอภิปรายแนวคิดการปฏิบัตก ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพรางและการสืบสวนอาชญากรรรมในสํานักงาน การเตรียมการ การ
มอบหมายหน ้าทีแ ่ ละการกําหนดตัวบุคคล แนวทางการพัฒนาหรือการบังคับใช ้กฎหมายเพือ ่ ลด ควบคุม หรือป้ องกัน
การก่ออาชญากรรมในสํานักงาน และการพิจารณาถึงกฎหมายเฉพาะทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการล่อให ้กระทําความผิด และการ
แฝงตัวหรือเจ ้าหน ้าทีท ี่ ฏิบัตงิ านในฐานะจารชน การพิจารณาเอกสารกรณีศก
่ ป ึ ษาทีเ่ ป็ นปั จจุบันทัง้ ในประเทศและ
ต่างประเทศ
CIST474 การสอดแนมทางด ้านโทรคมนาคม (Fundamentals of Telecommunications Surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST223 และ CIST232
ความรู ้ความเข ้าใจในระบบเครือข่า ยโทรคมนาคม และระบบเครือ ข่า ยระบบดิจ ต ิ อล การสอดแนมทางด ้าน
อิเล็กทรอนิกส์ทผ ี่ สมผสานระหว่างเทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย ่ วข ้องกับคอมพิวเตอร์ เน ้น
การรวบรวมข่าวกรองจากโทรศัพท์เคลือ ่ นที่ หรือเครือ ่ สารเคลือ
่ งมือสือ ี ารการรวบรวมสิง่ ทีเ่ ป็ นเนื้อหา และ
่ นที่ วิธก
คุณลักษณะเฉพาะทีม ่ าพร ้อมกับเนื้อหาจากเทคโนโลยีการสือ ่ สาร (ข ้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ ข ้อมูลสารสนเทศที่
่ วข ้องกับบัญชีผู ้ใช ้การสือ
เกีย ่ สาร ชือ ่ ยู่ ปริมาณและรายการการใช ้งาน การชําระค่าใช ้จ่าย)
่ ทีอ
CIST421 การใช ้งานอุปกรณ์สอ ื่ บันทึกภาพแบบความเข ้มแสงตํา่ (Low Light Video Operations) 2 (2-1)
้ชุ
ความรู ้ความเข ้าใจในการใช ดอุปกรณ์ หรือเครือ ่ การบันทึกภาพทีใ่ ช ้เข ้มแสงตํ่าหลากหลายชนิดในงานสืบสวน
่ งมือสือ
การเลือกใช ้และฝึ กปฏิบัตงิ านใช ้ในปฏิบัตก ิ ารสอดแนมในสภาพแวดล ้อมทีไ่ ม่สามารถใช ้กล ้องมาตรฐานอืน ่ ๆ ได ้ การ
ประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การรายงานข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน ้ จากการใช ้งาน การรักษาความปลอดภัย
ของเครือ ่ งมือ การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST451 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือระบบหาพิกด ั บนพืน้ โลก
(Fundamentals of GPS Tracking Surveillance) 3 (3-1)
ลักษณะการทํางาน ส่วนประกอบทีส ่ ําคัญ เครือ
่ งรับสัญญาณ การนํ าไปประยุกต์ใช ้งาน การแก ้ไขปั ญหาเฉพาะหน ้า การ
ตรวจสอบและรายงานข ้อผิดพลาดทางเทคนิค เสริมทักษะและความชํานาญในการสะกดรอยแบบติดตามยานพาหนะ
หรือบุคคล โดยเทคโนโลยีระบบการติดตามด ้วยเครือ ้ ําแหน่งทางภูมศ
่ งมือชีต ิ าสตร์ผ่านสัญญาณดาวเทียม การฝึ ก
ั ใิ นการใช ้อุปกรณ์ในสภาพแวดล ้อมและข ้อจํากัดต่าง ๆ ทีแ
ปฏิบต ่ ตกต่างกัน
CIST461 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย
่ วกับเสียง (Fundamentals of Audio Surveillance) 3 (3-1)
พืน้ ฐาน : CIST223
การรวบรวมข่าวกรองซึง่ เกีย ่ วกับการฟั งหรือเกีย ่ วกับคลืน
่ เสียง พืน
้ ฐานการเฝ้ าสังเกตการณ์ในเชิงกายภาพ การรู ้จักชุด
อุปกรณ์ และเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เกีย่ วกับการฟั งหรือเกีย
่ วกับคลืน ่ เสียง ระบบเสียงของวิทยุ โทรทัศน์ และ
เครือ่ งขยายเสียงโดยใช ้ไฟฟ้ า การฝึ กปฏิบต ั กิ ารใช ้งานเครือ
่ งมืออิเล็กทรอนิกส์หลากหลายประเภทในสภาพแวดล ้อมที่
แตกต่างกัน การติดตัง้ และการกู ้คืน การซุกซ่อน การประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การรายงาน
ข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน้ จากการใช ้งาน การรักษาความปลอดภัยของเครือ ่ งมือ มาตรการการตอบโต ้และขัดขวางการ
ต่อต ้านการสอดแนม การรวบรวมพยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST462 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย
่ วกับภาพ (Fundamentals of Visual or Video Surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST223
การรวบรวมข่าวกรองซึง่ เกีย
่ วกับการภาพหรือเกีย ่ วกับสัญญาณภาพ การสอดแนมด ้วยสือ ่ บันทึกภาพ การสอดแนมด ้วย
ภาพของโทรทัศน์ วีดท ิ ัศน์ พืน้ ฐานการเฝ้ าสังเกตการณ์ในเชิงกายภาพ การรู ้จักชุดอุปกรณ์ และเครือ ่ งมือ

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เกีย
่ วกับการภาพหรือเกีย ่ วกับสัญญาณภาพ ระบบภาพ โทรทัศน์ และเครือ
่ งรับสัญญาณภาพ การฝึ ก
ปฏิบัตกิ ารใช ้งานเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์หลากหลายประเภทในสภาพแวดล ้อมทีแ ่ ตกต่างกัน การติดตัง้ และการกู ้คืน
การซุกซ่อน การประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การรายงานข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน ้ จากการใช ้งาน การ
รักษาความปลอดภัยของเครื่องมือ มาตรการการตอบโต ้และขัดขวางการต่อต ้านการสอดแนม การรวบรวม
พยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง
CIST463 การสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ งมือเกีย
่ วกับเสียงและภาพขัน
้ สูง 3 (3-0)
(Advanced Audio and Video Surveillance)
พืน
้ ฐาน : CIST461 และ 462
การอภิปรายแนวคิดและการประยุกต์ใช ้ในงานสืบสวนการสะกดรอยแบบใช ้เครือ ่ วกับเสียงและภาพ ข ้อมูลด ้าน
่ งมือเกีย
การข่าวเฉพาะด ้านสําหรับเจ ้าหน ้าทีร่ ักษากฎหมาย การรวบรวมข่าวกรองซึง่ เกีย
่ วกับการผสานการฟั งหรือเกีย ่ วกับคลืน

เสียงและภาพหรือเกีย ่ วกับสัญญาณภาพเข ้าด ้วยกัน การออกแบบ และติดตัง้ ระบบเครือ ่ งมืออิเล็กทรอนิกส์ในการ
สืบสวนในสภาพแวดล ้อมทีแ ่ ตกต่างกันและในยานพาหนะ การประยุกต์ใช ้และแก ้ไขปั ญหาในงานภาคสนาม การ
้ จากการใช ้งาน การรักษาความปลอดภัยของเครือ
รายงานข ้อบกพร่องทีเ่ กิดขึน ่ งมือและข ้อมูล มาตรการการตอบโต ้และ
ขัดขวางการต่อต ้านการสอดแนม การรวบรวมพยานหลักฐานทางเสียงและภาพ
CIST464 การดักฟั งทางโทรศัพท์ (Wiretapping Techniques) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST223
ชนิดและการทํ างานของแถบบันทึกเสียง กรรมวิธใี นการได ้มาซึง่ ข ้อมูลข่าวสารจากการดักฟั งการสนทนาผ่านทาง
โทรศัพท์ โดยผ่านทางสายสัญญาณ ประสิทธิภาพของปั จจัยแวดล ้อมทีม ่ ต
ี อ
่ คุณภาพของเสียงและเครือ ่ งขยายเสียง
การติดตัง้ และกู ้คืนเครือ
่ งมือในการปฏิบัตงิ าน มาตรการตอบโต ้ การรวบรวมเนือ ่ สารของเป้ าหมายทีไ่ ด ้
้ หาการติดต่อสือ
จากการดักฟั ง การรวบรวมและตรวจสอบ การเขียนรายงาน พยานหลักฐานและกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้อง มีการศึกษานอก
สถานที่
CIST471 การสะกดรอยในเขตเมือง (Urban surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST361
แนวทางและวิธก ี ารปฏิบต ั งิ านสําหรับชุดปฏิบต ั ใิ นการรวบรวมพยานหลักฐานในเขตเมือง เน ้นการปฏิบัตท ี่ ้องใช ้ทักษะ
ิ ต
ทีจ่ ําเป็ นและกลวิธใี นการปฏิบต ้ ทีเ่ ฉพาะ อาคาร โครงข่ายเส ้นทางสัญจร การกําหนดแผนการปฏิบัตงิ าน การ
ั งิ านในพืน
คัดเลือกสมาชิกของชุดปฏิบัตงิ านและอุปกรณ์ การให ้คําแนะนํ าและสิง่ ทีค ่ วรพิจารณาในภาคสนาม ทักษะและความ
ชํานาญพืน ้ ฐานทีจ่ ําเป็ นต ้องมีในการปฏิบัตงิ าน การควบคุมยานพาหนะ การนํ าทาง และการเลือกเส ้นทาง ยุทธวิธใี น
การเคลือ ่ นย ้ายตําแหน่งทีต ่ งั ้ และการปรับเปลีย ่ นแผน การอําพรางและการปิ ดบังสถานทีซ ่ น การติดตามร่องรอย การ
่ อ
เฝ้ าสังเกตการณ์เป้ าหมาย การสรุปการปฏิบต ั งิ านตามภารกิจ มีการฝึ กงานภาคสนาม
CIST472 การสะกดรอยในเขตชนบท (Rural surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST361
แนวทางและวิธก ี ารปฏิบัตงิ านสําหรับชุดปฏิบัตใิ นการรวบรวมพยานหลักฐานในเขตชนบทหรือพืน ้ ทีห
่ า่ งไกล เน ้นการ
ปฏิบัตท ี่ ้องใช ้ทักษะทีจ
ิ ต ่ ํ าเป็ นและกลวิธท ี่ ตกต่างไปจากการปฏิบัตก
ี แ ิ ารในเขตเมือง การกําหนดแผนการปฏิบัตงิ าน
การคัดเลือกสมาชิกของชุดปฏิบัตงิ านและอุปกรณ์ การให ้คําแนะนํ าและสิง่ ทีค ่ วรพิจารณาในภาคสนาม ทักษะและ
ความชํานาญพืน ้ ฐานทีจ่ ํ าเป็ นต ้องมีในการปฏิบัตงิ าน การนํ าทางและการเลือกเส ้นทาง ยุทธวิธใี นการเคลือ ่ นย ้าย
ตําแหน่งทีต ่ งั ้ และการปรับเปลีย ่ นแผน การอําพรางและการปิ ดบังสถานทีซ ่ น การติดตามร่องรอย การเฝ้ าสังเกตการณ์
่ อ
เป้ าหมาย การสรุปการปฏิบต ั งิ านตามภารกิจ มีการฝึ กงานภาคสนาม
CIST473 ปฏิบต ั ก ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพรางและอาชญากรรรมในสํานักงาน 3 (3-0)
(Undercover operations and white collar crime)
พืน
้ ฐาน CIST212 และ CIST222
การอภิปรายแนวคิดการปฏิบัตก ่ ําพรางและการสืบสวนอาชญากรรรมในสํานักงาน การเตรียมการ การ
ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ
มอบหมายหน ้าทีแ ่ ละการกําหนดตัวบุคคล แนวทางการพัฒนาหรือการบังคับใช ้กฎหมายเพือ ่ ลด ควบคุม หรือป้ องกัน
การก่ออาชญากรรมในสํานักงาน และการพิจารณาถึงกฎหมายเฉพาะทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการล่อให ้กระทําความผิด และการ
แฝงตัวหรือเจ ้าหน ้าทีท ี่ ฏิบัตงิ านในฐานะจารชน การพิจารณาเอกสารกรณีศก
่ ป ึ ษาทีเ่ ป็ นปั จจุบันทัง้ ในประเทศและ
ต่างประเทศ
CIST474 การสอดแนมทางด ้านโทรคมนาคม (Fundamentals of Telecommunications Surveillance) 3 (3-1)
พืน
้ ฐาน : CIST223 และ CIST232
ความรู ้ความเข ้าใจในระบบเครือข่า ยโทรคมนาคม และระบบเครือ ข่า ยระบบดิจ ต ิ อล การสอดแนมทางด ้าน
อิเล็กทรอนิกส์ทผ ี่ สมผสานระหว่างเทคโนโลยีโทรคมนาคมกับเทคโนโลยีสารสนเทศทีเ่ กีย ่ วข ้องกับคอมพิวเตอร์ เน ้น
การรวบรวมข่าวกรองจากโทรศัพท์เคลือ ่ นที่ หรือเครือ ่ สารเคลือ
่ งมือสือ ี ารการรวบรวมสิง่ ทีเ่ ป็ นเนื้อหา และ
่ นที่ วิธก
คุณลักษณะเฉพาะทีม ่ าพร ้อมกับเนื้อหาจากเทคโนโลยีการสือ ่ สาร (ข ้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ ข ้อมูลสารสนเทศที่
่ วข ้องกับบัญชีผู ้ใช ้การสือ
เกีย ่ สาร ชือ
่ ทีอ
่ ยู่ ปริมาณและรายการการใช ้งาน การชําระค่าใช ้จ่าย)

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
CIST466 การอ่านแผนที่ การใช ้เข็มทิศ (Exploring with Maps and Compass) 2 (3-0)
การอ่านแผนที่ ความหมายสัญลักษณ์ตา่ งๆ การเขียนแผนที่ การใช ้เข็มทิศชนิดต่างๆ ร่วมกับแผนที่ การคํานวณมุม
ระยะทาง กําหนดมุมและการฝึ กปฏิบตั จิ ริงในภาคสนาม
CIST477 ปฏิบต ั ก
ิ ารอําพรางสําหรับเจ ้าหน ้าทีส่ ตรี (Undercover for female officers) 3 (3-0)
พืน้ ฐาน : CIST473
ความหมายและความสําคัญในการปฏิบต ั ก
ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ่ ําพรางทีเ่ ป็ นสตรี หลักการพืน ้ ฐานของการใช ้เจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง
ความรู ้ความเข ้าใจในกระบวนการ ขัน ้ ตอน วิธก ี ารและรายละเอียดอืน ่ ๆ ในการใช ้เจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพรางสตรีในแต่ละ
สถานการณ์ ลักษณะภารกิจทีจ ่ ําเป็ นคุณลักษณะเฉพาะเจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพรางสตรี ภัยอันตรายทีต ่ ้องเผชิญและการแก ้ไข
ปั ญหาเฉพาะหน ้า การเข ้าใจและการใช ้ประโยชน์ในธรรมชาติทางเพศของชาย การหลอกล่อและหลบหลีกจาก
สถานการณ์ทไี่ ม่พงึ ประสงค์อย่างนุ่มนวลและละมุ่นละม่อม หลักการปฏิบัตริ ะหว่างเจ ้าหน ้าทีอ ่ ําพรางกับชุดปฏิบัตก ิ าร
สะกดรอย การรักษาความปลอดภัย กฎหมายทีเ่ กีย ่ วข ้องกับการปฏิบต ั ก
ิ ารเจ ้าหน ้าทีอ
่ ําพราง
CIST478 เจ ้าหน ้าทีค ่ ุ ้มกันและกู ้ชีพ (Close Protection and Rescue Officers) 3 (3-1)
แนวคิดและแนวทางในการคุ ้มกันบุคคลในระยะประชิด การวางแผนและกําหนดยุทธวิธ ี การเลือกใช ้อุปกรณ์และอาวุธ
่ งและ
รู ้จักและใช ้อุปกรณ์และอาวุธในการคุ ้มกัน การหนี การวิเคราะห์สถานการณ์และเป้ าหมาย การประเมินความเสีย
ป้ องกันความเสีย ่ ง การปฐมพยาบาลและเคลือ ่ นย ้ายผู ้บาดเจ็บ เป็ นต ้น

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
ต ัวอย่าง
ข้อบ ังค ับว่าด้วยการฝึ กอบรมบุคลากร

ประกอบด้วยต ัวอย่าง
 การบริหารจ ัดการการฝึ กอบรม
 การใชผ ้ จ ี่ วชาญหรือวิทยากรจากภายนอก
ู ้ ัดการรายวิชาประสานงานก ับผูเ้ ชย
 อืน
่ ๆ

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
ข้อบ ังค ับว่าด้วยการฝึ กอบรมบุคลากรของสา ํ น ักเทคโนโลยีและศูนย์ขอ ้ มูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดี
พิเศษ
ฉบ ับปี พุทธศกราช ั 25xx
หมวด 1
การร ับเข้าฝึ กอบรม
ข ้อ 1 บุคลากร
1.1 บุคลากร คือผู ้ทีก ่ รมสอบสวนคดีพเิ ศษรับเข ้าปฏิบต ั ห
ิ น ้าทีภ่ ายกรม
ข ้อ 2 การเข ้ารับฝึ กอบรม
2.1 การเข ้ารับการฝึ กอบรมโดยการสอบสัมภาษณ์ หรือคัดเลือกด ้วยวิธก ี ารอืน่ ทีเ่ หมาะสม สํานักเทคโนโลยี
และศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ จะกําหนดและประกาศให ้ทราบในแต่ละปี งบประมาณ โดยผู ้สมัคร
เข ้าศึกษาจะต ้องมีคณ ุ สมบัต ิ
ครบถ ้วนตามข ้อ 3
2.2 การเข ้ารั บการฝึ กอบรมโดยการคัด เลือกจากหน่ วยงานอืน ่ ภายนอกกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ สํานั ก
เทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษรับสมัคร และคัดเลือกบุคคลทีม ่ ค
ี ณ
ุ สมบัตค ิ รบถ ้วนตาม
ข ้อ 3 ทีห่ น่วยราชการส่งมาตามนโยบาย หรือตามข ้อตกลงกับกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
ข ้อ 3 คุณสมบัตข ิ องผู ้สมัคร
3.1 สําเร็จขัน ้ ปริญญาตรี
3.2 ไม่เคยต ้องโทษตามคําพิพากษาของศาล เว ้นแต่ในกรณีทโี่ ทษนัน ้ เกิดจากความผิดอันได ้กระทําโดย
ประมาท หรือความผิดอันเป็ นลหุโทษ
3.3 ไม่เคยเป็ นผู ้มีความประพฤติเสียหาย
3.4 ไม่เป็ นคนวิกลจริต และไม่เป็ นโรคติดต่อร ้ายแรงหรือโรคอืน ่ ซึง่ สังคมรังเกียจ
ข ้อ 4 การสมัครเข ้ารับฝึ กอบรม
4.1 การสมัครเข ้ารับฝึ กอบรมโดยวิธส ี อบคัดเลือกตามข ้อ 2.1 ให ้สมัคร ณ สถานทีแ ่ ละกําหนดเวลา ซึง่
สํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษจะประกาศให ้ทราบแต่ละปี งบประมาณ
4.2 การสมัครเข ้ารับฝึ กอบรมโดยวิธอ ี น ื่ ตามข ้อ 2.2 ให ้ยืน ่ ใบสมัครต่อผู ้บัญชาการสํานักเทคโนโลยีและ
ศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบไม่น ้อยกว่าสีส ่ บิ ห ้าวัน ก่อนวันลงทะเบียนของการฝึ กอบรมทีป ่ ระสงค์จะเข ้าศึกษา
หมวด 2
การรายงานต ัวและการลงทะเบียน
ข ้อ 5 การรายงานตัว
5.1 ผู ้ทีส ่ อบคัดเลือกได ้ ผู ้ทีไ่ ด ้รับคัดเลือก ผู ้ทีไ่ ด ้รับอนุมัตใิ ห ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจากหน่วยงานอืน ่ จะต ้อง
เข ้ารายงานตัวเพือ ่ แจ ้งความจํ านง และทําสัญญาการเข ้ารับการฝึ กอบรมไว ้ต่อสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการ
ตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษตามวัน และเวลาทีส ่ ํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบกําหนด พร ้อมด ้วย
หลักฐานต่าง ๆ ทีส ํ
่ านักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษประกาศให ้ทราบ มิฉะนัน ้ ให ้ถือ
ว่าสละสิทธิ์
ข ้อ 6 การลงทะเบียน
6.1 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมจะต ้องไปลงทะเบียนเรียนด ้วยตนเองตามวัน และเวลาทีส ่ ํานั กเทคโนโลยีและศูนย์
ข ้อมูลการตรวจสอบกรมสอบสวนคดีพเิ ศษกําหนด โดยผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมต ้องแสดงบัตรประจําตัว
6.2 การลงทะเบียนของผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมจะต ้องได ้รับความเห็นชอบจากผู ้บัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
6.3 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมทีล ่ าพักการฝึ กอบรม หรือถูกลงโทษทางวินัยให ้พักการฝึ กอบรม หรือไม่สามารถ
ลงทะเบียนเรียนรายวิชาใด ๆ ได ้ในแต่ละภาค จะต ้องไปขอลงทะเบียนเพือ ่ รักษาสถานภาพ
หมวด 3
ระบบการฝึ กอบรม
ข ้อ 7 ระเบียบการฝึ กอบรม
7.1 ปี การฝึ กอบรมหนึง่ แบ่งออกเป็ นสองภาค คือภาคแรก และภาคสอง แต่ละภาคมีระยะเวลาเรียนไม่ตํ่า
กว่าสิบห ้าสัปดาห์
7.2 ปี การฝึ กอบรม สามารถจัดการฝึ กอบรมแบบเข ้มข ้น โดยกําหนดระยะเวลาการฝึ กอบรมแบบต่อเนือ ่ ง
ตามระดับ ตามรายวิชา ให ้สิน ้ สุดลงตามชัว่ โมงทีต ่ ้องการในแต่ละสัปดาห์
7.3 การฝึ กอบรมในแต่ละระดับ สามารถจัดให ้แต่ละระดับเป็ นอิสระต่อกัน ในกรณีนี้ผู ้รับเข ้าการฝึ กอบรม
ต ้องการทบทวนหรือมีความสนใจในบางรายวิชาทีต ่ ้องการนํ ามาพัฒนาทักษะความชํานาญของตน ให ้ผู ้ประสงค์เข ้ารับ
การฝึ กอบรมลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
7.4 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมต ้องการเรียนรู ้ตลอดหลักสูตรเพือ ่ ประสงค์รับประกาศนียบัตร ในกรณีนผ ี้ ู ้เข ้ารับการ
ฝึ กอบรมต ้องเข ้ารับการฝึ กอบรมต่อเนือ ่ งกันทัง้ 4 ระดับ
7.5 รายวิชาทีผ ่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมต ้องศึกษาได ้กําหนดไว ้ในแนวทางการจัดรายวิชาเรียนของผู ้เข ้ารับการ
ฝึ กอบรม เป็ นไปตามแผนการฝึ กอบรมทีก ่ ําหนดไว ้
7.6 การฝึ กอบรมใช ้ระบบหน่วยกิต
7.7 หนึง่ หน่วยกิตของการฝึ กอบรมแต่ละรายวิชา

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
7.7.1 เทียบเท่าการบรรยายและหรือการอภิปราย สัปดาห์ละหนึง่ ชัว่ โมงต่อหนึง่ ภาคการฝึ กอบรม
หรือ
7.7.2 เทียบเท่าการปฏิบต ั ก ิ ารสัปดาห์ละสองถึงสามชัว่ โมงต่อหนึง่ ภาคการฝึ กอบรม
ข ้อ 8 ระเบียบการฝึ กอบรม
8.1 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมในแต่ละระดับหรือเฉพาะรายวิชาตามข ้อ 7.3 หรือตามข ้อ 7.4 ต ้องเข ้ารับการฝึ กอบรม
ติดต่อกันทุกภาคการฝึ กอบรม ตามตารางการฝึ กอบรมตามช่วงเวลาทีก ่ ําหนดไว ้ ในกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับฝึ กอบรมต ้องการลา
พักการฝึ กอบรมชัว่ คราวในภาค การฝึ กอบรมใด หรือปี การฝึ กอบรมใดโดยมีเหตุผลอันสมควร ให ้ยืน ่ คําร ้องขออนุมัต ิ
ตามระเบียบการลาพักการฝึ กอบรมข ้อ 15.3 ต่อผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
8.2 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมตามข ้อ 7.3 ต ้องสอบไล่ได ้ตามรายวิชาและหน่วยกิต และได ้ระดับคะแนน S และ U
ใช ้สําหรับรายวิชาทีผ ่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
8.3 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมตามข ้อ 7.4 ต ้องสอบไล่ได ้ครบรายวิชาและหน่วยกิตตามหลักสูตรครบ 4 ระดับและได ้
แต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมไม่ตํา่ กว่า 2.00 จึงจะมีสท ิ ธิขอรับประกาศนียบัตร
8.4 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมต ้องสอบไล่ได ้ทุกรายวิชาทีล ่ งทะเบียนไว ้ ในกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับฝึ กอบรมสอบตกรายวิชา
เลือกเสรี จะเลือกเรียนรายวิชาอืน ่ ทดแทนได ้
8.5 การเทียบชัน ้ เรียนของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม ให ้ถือเกณฑ์ดงั นี้
8.5.1 สอบไล่ได ้ 1-34 หน่วยกิต ให ้เทียบเป็ นระดับ 1
8.5.2 สอบไล่ได ้ 35 หน่วยกิตขึน ้ ไป ให ้เทียบเป็ นระดับ 2
8.5.3 สอบไล่ได ้ 69 หน่วยกิตขึน ้ ไป ให ้เทียบเป็ นระดับ 3
8.5.4 สอบไล่ได ้ 109 หน่วยกิตขึน ้ ไป ให ้เทียบเป็ นระดับ 4
8.6 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมตามข ้อ 7.4 จะต ้องรับการฝึ กอบรมตามหลักสูตรไม่ตํา่ กว่า 4 ภาค และใช ้เวลาทัง้ หมด
ไม่เกิน 2 เท่าของจํานวนปี การฝึ กอบรมทีก ่ ําหนดไว ้ในหลักสูตร จึงจะมีสท ิ ธิขอรับประกาศนียบัตร
8.7 การของดเรียนรายวิชาหนึง่ รายวิชาใดทีล ่ งทะเบียนไว ้
8.7.1 ผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมจะต ้องยืน ่ คําร ้องของดเรียนภายในสามสิบวัน หรือภายใน 2 วันในกรณีการ
ฝึ กอบรมแบบเข ้มข ้น นับแต่วน ั เปิ ดภาคการฝึ กอบรม
8.7.2 การของดเรียนของผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมจะต ้องได ้รับความเห็นชอบจากผู ้จัดการรายวิชาของภาคการ
ฝึ กอบรมนัน ้ ๆ
8.7.3 ขัน ้ ตอนและวิธป ี ฏิบัตใิ นการของดเรียนให ้เป็ นไปตามประกาศของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์
ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
8.7.4 หากผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมไม่ปฏิบต ั ต ิ ามขัน ้ ตอนและวิธป ี ฏิบัตข ิ องการของดเรียนรายวิชา ตามทีส ่ ํานัก
เทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษกําหนด ให ้ถือว่าผู ้เข ้ารับฝึ กอบรมยังคงลงทะเบียนเรียน
รายวิชานัน ้
8.8 การเปลีย ่ นและการเพิม ่ รายวิชาลงทะเบียนเรียน
8.8.1 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องยืน ่ คํ าร ้องขอเปลีย ่ นแปลงและเพิม ่ รายวิชาเรียน ภายในสาม
สัปดาห์ หรือภายใน 1 วันในกรณีการฝึ กอบรมแบบเข ้มข ้น นับแต่วน ั เปิ ดการฝึ กอบรมของภาค
8.8.2 การขอเปลีย ่ นและการขอเพิม ่ รายวิชาทะเบียนเรียนของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม จะต ้องได ้รับ
ความเห็นชอบจากผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ
8.8.3 ขัน ้ ตอนและวิธป ี ฏิบต ั ใิ นการขอเปลีย ่ น และขอเพิม ่ รายวิชาลงทะเบียนเรียนให ้เป็ นตามประกาศ
ของสํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ
8.8.4 หากผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมไม่ปฏิบัตต ิ ามขัน ้ ตอนและวิธป ี ฏิบัตข ิ องการขอเปลีย ่ น หรือการขอ
เพิม ่ รายวิชาลงทะเบียนตามทีส ่ ํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ กรมสอบสวนคดีพเิ ศษกําหนด ให ้ถือว่าผู ้
เข ้ารับการฝึ กอบรมไม่ได ้ขอเปลีย ่ นหรือขอเพิม ่ รายวิชาลงทะเบียนเรียนนัน ้
8.9 การลงทะเบียนเรียนรายวิชาหนึง่ รายวิชาใดทีม ่ วี ช
ิ าบังคับก่อน จะต ้องสอบได ้วิชาบังคับก่อน มิฉะนั น ้ ให ้
ถือว่าการลงทะเบียนเรียนรายวิชานัน ้ ๆ เป็ นโมฆะ
8.10 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทีเ่ รียนวิชาบังคับก่อนแล ้วสอบตก จะขอลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อเนือ ่ งนัน ้ ได ้ก็
ต่อเมือ ่ ลงทะเบียนเรียนรายวิชาบังคับก่อนทีส ่ อบตก ควบคูไ ่ ปกับรายวิชาต่อเนื่อง โดยความเห็นชอบของผู ้จัดการ
รายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ ทัง้ นีห้ ากตกรายวิชาบังคับก่อน ผลการเรียนรายวิชาต่อเนือ ่ งไม่ปรากฏทัง้ ชือ ่ รายวิชา
และแต ้มคะแนนในระเบียนคะแนน และใบแสดงผลการฝึ กอบรม การงดเรียนรายวิชาบังคับก่อนต ้องงดเรียนรายวิชา
ต่อเนือ ่ งด ้วย
8.11 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมขาดเรียนโดยไม่ได ้รับอนุญาตเกินกว่าร ้อยละ 20 ในวิชาใด จะหมดสิทธิเข ้าสอบ
ไล่ และถือว่าสอบวิชานัน ้ ตก
ข ้อ 9 จํานวนหน่วยกิตต่อภาคการฝึ กอบรม
9.1 การลงทะเบียนเรียนแต่ละภาคการฝึ กอบรมปกติ ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องลงทะเบียนเรียนไม่ตํ่ากว่า
6 หน่วยกิต แต่ไม่เกินกว่า 22 หน่วยกิต (ทัง้ นีไ ้ ม่นับหน่วยกิตรายวิชาทีล ่ งทะเบียนเรียนแบบไม่นับหน่วยกิต) ในกรณีท ี่
ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมมีความจําเป็ นจะต ้องลงทะเบียนเรียนนอกเหนือไปจากเกณฑ์นี้ ให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมยืน ่ คําร ้อง
ขอความเห็นชอบผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนั น ้ ๆ แล ้วเสนอผู ้บังคับบัญชาสํานั กเจ ้าสังกัดเพือ ่ พิจารณา
อนุมัต ิ

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
ข ้อ 10 ระเบียบการสอบ
10.1 การสอบแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
10.1.1 การสอบย่อย เป็ นการทดสอบในระหว่างการฝึ กอบรมแต่ละรายวิชา กําหนดเวลา จํานวนครัง้
และวิธก ี ารสอบให ้อยูใ่ นดุลพินจ ิ ของอาจารย์ประจํารายวิชา
10.1.2 การสอบใหญ่ เป็ นการทดสอบในระหว่างการฝึ กอบรมแต่ละรายวิชา โดยมีการประกาศให ้ผู ้
เข ้ารับการฝึ กอบรมทราบล่วงหน ้า กําหนดเวลา จํานวนครัง้ และวิธก ี ารสอบให ้อยูใ่ นดุลพินจ ิ ของอาจารย์ประจําวิชา
10.1.3 การสอบไล่ เป็ นการทดสอบครัง้ สุดท ้าย ของแต่ละรายวิชาทีส ่ อนจบหลักสูตรทีก ่ ําหนดไว ้ใน
ภาคการฝึ กอบรมนั น ้ มีการประกาศให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทราบล่วงหน ้า กําหนดเวลาและวิธก ี ารทดสอบให ้อยู่ใน
ดุลพินจ ิ ของอาจารย์ประจํารายวิชา หรือสํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
10.2 ในการสอบทุกครัง้ ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมต ้องเข ้าสอบตามวัน เวลา และสถานทีท ่ อ
ี่ าจารย์ประจํารายวิชา
หรือสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบกําหนดไว ้ หากไม่เข ้าสอบโดยไม่มส ี าเหตุจําเป็ น ให ้ถือเป็ นขาด
สอบ
10.3 ในกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมไม่สามารถเข ้าสอบด ้วยเหตุจําเป็ น
10.3.1 ให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมยืน ่ คําร ้องผ่านผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ เพือ ่ เสนอขอ
สอบชดใช ้ ต่ออาจารย์ประจํ ารายวิชาภายในเจ็ดวัน นับตัง้ แต่วันทีไ่ ม่ได ้เข ้าสอบ การอนุมัตใิ ห ้สอบชดใช ้ให ้อาจารย์
ประจํารายวิชาเป็ นผู ้พิจารณา
10.3.2 เมือ ่ ได ้รับอนุมัตแ ิ ล ้ว ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องสอบให ้เสร็จภายในกําหนดเวลาสามสิบวัน
นับตัง้ แต่วน ั ทีไ่ ม่ได ้เข ้าสอบ
10.4 ในการสอบทุกครัง้ ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องใช ้กระดาษสอบทีอ ่ าจารย์ประจํารายวิชา หรือสํานัก
เทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบจัดให ้ และจะนํ ากระดาษสอบนีอ ้ อกจากห ้องสอบมิได ้
10.5 การสอบทุกครัง้ ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องปฏิบัตต ิ ามระเบียบการสอบ และคําชีแ ้ จงของผู ้ควบคุม
การสอบ
10.6 ในการสอบทุกครัง้ หากผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมผู ้ใดไม่ปฏิบัตต ิ ามระเบียบการสอบ หรือคําชีแ ้ จงของผู ้
ควบคุมการสอบหรือทําการทุจริตหรือส่อทุจริตในการสอบด ้วยวิธใี ดก็ตาม ให ้ถือว่าสอบตกในรายวิชานั น ้ การฝึ กอบรม
ใด หรือปี การฝึ กอบรมใดโดยมีเหตุผลอันสมควร ให ้ยืน ่ คําร ้องขออนุมัตต ิ ามระเบียบการลาพักการฝึ กอบรมข ้อ 15.3 ต่อ
ผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
10.6.1 ให ้ผู ้ควบคุมการสอบ รายงานความประพฤติและหรือการกระทําของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมต่อ
ผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนั น ้ ๆ และเสนอต่อผู ้บังคับบัญชาสํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
เพือ ่ สัง่ การลงโทษให ้สอบตก
10.6.2 ให ้ผู ้ควบคุมการสอบรายงานความประพฤติ และหรือการกระทําของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
ต่อรองอธิบดีฝ่ายทีเ่ กีย ่ วข ้อง เพือ ่ ดําเนินการให ้คณะกรรมการในข ้อ 19.2 พิจารณาโทษทางวินัยด ้วย
10.6.3 ให ้ผู ้สัง่ การลงโทษในข ้อ 10.6.1 และ 10.6.2 แจ ้งการลงโทษให ้ฝ่ ายทะเบียนการฝึ กอบรม
และผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัดทราบต่อไป
ข ้อ 11 ผลการเรียน
11.1 ผลการเรียนเป็ นสิง่ ทีแ ่ สดงความสามารถในการเรียนรู ้ของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม ซึง่ สามารถวัดได ้จาก
การสอบข ้อเขียนและหรือการปฏิบัตงิ าน และหรือผลงานอืน ่ ๆ ทีไ่ ด ้รับมอบหมายจากอาจารย์ประจํ ารายวิชา แล ้ว
ประเมินเป็ นระดับคะแนน การรายงานผลการเรียนให ้รายงานทัง้ ระดับคะแนน และแต ้มระดับคะแนน
11.2 ระดับคะแนน เทียบเป็ นแต ้มระดับคะแนน ดังนี้
ระดับคะแนน A แต ้มระดับคะแนน 4.0
ระดับคะแนน B+ แต ้มระดับคะแนน 3.5
ระดับคะแนน B แต ้มระดับคะแนน 3.0
ระดับคะแนน C+ แต ้มระดับคะแนน 2.5
ระดับคะแนน C แต ้มระดับคะแนน 2.0
ระดับคะแนน D+ แต ้มระดับคะแนน 1.5
ระดับคะแนน D แต ้มระดับคะแนน 1.0
ระดับคะแนน F แต ้มระดับคะแนน 0
I ยังไม่สมบูรณ์ (incomplete)
S พอใจ (satisfactory)
U ยังไม่พอใจ (unsatisfactory)
N ยังไม่ทราบระดับคะแนน (grade not reported)
P ผ่าน (pass)
ระดับคะแนน S และ U ใช ้สําหรับรายวิชาทีผ ่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมลงทะเบียนเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต
ระดับคะแนน N ฝ่ ายทะเบียนการฝึ กอบรมเป็ นผู ้ใช ้และให ้ใช ้ระดับคะแนนนี้ เฉพาะกรณีทย ี่ ังไม่ไ◌่ด ้รับ
รายงานผลการเรียน
ระดับคะแนน P ใช ้สําหรับรายวิชาทีไ่ ม่มห ี น่วยกิต และการฝึ กงานทีไ่ ม่มห ี น่วยกิตหรือรายวิชาทีม ่ ก
ี าร
เปรียบเทียบ
ระดับคะแนน I ใช ้เฉพาะกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมมีงานบางส่วนในวิชานัน ้ ยังไม่สมบูรณ์

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
11.3 ระดับคะแนนต่าง ๆ มีความหมาย ดังนี้
A = ดีเยีย ่ ม (excellent)
B+ = ดีมาก (very good)
B = ดี (good)
C+ = ค่อนข ้างดี (above average)
C = พอใช ้ (average)
D+ = อ่อน (below average)
D = อ่อนมาก (poor)
F = ตก (fail)
11.4 การแก ้ไขระดับคะแนน I จะต ้องกระทําให ้เสร็จสิน ้ ก่อนสิน
้ ภาคการฝึ กอบรมถัดไปหากไม่ปฏิบัตต ิ ามนี้
ให ้ถือว่าผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมผู ้นัน ้ สอบตกรายวิชานัน ้ โดยอัตโนมัต ิ
11.5 การคิดแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสม
11.5.1 การคิดแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม ให ้คิดจากแต ้มระดับคะแนนทุก
รายวิชาทีผ ่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมลงทะเบียนเรียน ทัง้ รายวิชาทีส ่ อบได ้ และรายวิชาทีส ่ อบตก ในกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับการ
ฝึ กอบรมสอบตกรายวิชาเลือกเสรี และได ้รับการอนุมัตใิ ห ้เรียนรายวิชาเลือกอืน ่ ทดแทนได ้ ให ้นํ าแต ้มระดับคะแนน
รายวิชาเลือกทีส ่ อบตกนัน ้ มาคิดแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมด ้วย
11.5.2 การคิดแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสม เพือ ่ พิจารณาสถานภาพทางการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการ
ฝึ กอบรมตามเกณฑ์ในข ้อ 16.4.6 และ 16.4.7 นัน ้ ให ้คิดปี ละสองครัง้ คือเมือ ้ สุดการฝึ กอบรมภาคแรกและภาคสอง
่ สิน
ข ้อ 12 การฝึ กงาน
12.1 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องรับการฝึ กงานตามทีร่ ะบุไว ้ในหลักสูตร ถ ้าผู ้ใดปฏิบัตงิ านไม่ครบถ ้วน ให ้ถือ
ว่าการฝึ กอบรมยังไม่สมบูรณ์ตามความต ้องการแห่งหลักสูตร
12.2 ในระหว่างการฝึ กงาน ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะต ้องประพฤติตนและปฏิบัตงิ านตามระเบียบวินัยทุก
ประการ หากฝ่ าฝื น ผู ้ควบคุมซึง่ เป็ นอาจารย์หรือบุคคลจากภายนอกอาจพิจารณาส่งตัวกลับ และให ้ถือว่าการฝึ กงานนัน ้
ไม่สมบูรณ์
ข ้อ 13 การเรียนเพือ ่ เปลีย่ นแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสม
13.1 รายวิชาทีจ ่ ะขอเรียนเพือ่ เปลีย่ นแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสม ถ ้าเป็ นการเรียนซํ้าจะต ้องเป็ นรายวิชาที่
ได ้แต ้มระดับคะแนนตํา่ กว่า 2.0 ถ ้าเป็ นรายวิชาอืน ่ จะต ้องได ้รับอนุมัตจิ ากผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
13.2 การคิดแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมจะต ้องคิดทัง้ คะแนนเดิม และคะแนนใหม่สําหรับรายวิชาทีเ่ รียนซํ้า
13.3 ในแบบลงทะเบียนเรียน และในใบแสดงผลการฝึ กอบรม ให ้ระบุตอ ่ รายวิชาทีเ่ รียนซํ้าไว ้ด ้วยว่า
่ ท ้ายชือ

เรียนซําเพือ ่ ยกระดับคะแนน หรือ regrade
13.4 ในแต่ละภาคการฝึ กอบรม ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะลงทะเบียนเรียนซํ้าได ้โดยต ้องเรียนรายวิชาอืน ่ ๆ ใน
หลักสูตรไม่ตํา่ กว่า 6 หน่วยกิต ยกเว ้นในกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมเรียนครบหน่วยกิตตามหลักสูตรแล ้ว แต่ระดับแต ้ม
คะแนนเฉลีย ่ สะสมไม่ถงึ เกณฑ์ ก็อาจเรียกซํ้าเฉพาะวิชาทีจ ่ ะเรียนเพือ่ ยกระดับคะแนนได ้
13.5 การเรียนซํ้าต ้องได ้รับความเห็นชอบจากผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ และผู ้บังคับบัญชา
สํานักเจ ้าสังกัดทุกรายวิชา

หมวด 4
การเสนอให้ร ับประกาศนียบ ัตร
ข ้อ 14 การขอรับและอนุมัตป ิ ระกาศนียบัตร
14.1 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทีจ ่ ะมีสท ิ ธิขอรับประกาศนียบัตร ต ้องศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ ้วนตามความ
ต ้องการแห่งหลักสูตรและข ้อกําหนดของสํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ โดยมีแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่
สะสมตลอดหลักสูตรตัง้ แต่ 2.00 ขึน ้ ไป และมีเวลาศึกษาครบตามระเบียบ
14.2 ให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมยืน ่ คําร ้องแสดงความจํ านงขอรับประกาศนียบัตรต่อผู ้จัดการรายวิชาของภาค
การฝึ กอบรมนัน ้ ๆ และผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัดตามลําดับ ภายใน 30 วัน นับแต่วันเปิ ดเรียนของภาคการฝึ กอบรม
่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมคาดว่าจะสอบได ้หน่วยกิตครบถ ้วนตามหลักสูตร ผู ้บัญชาการสํานักเทคโนโลยีและศูนย์
สุดท ้าย ทีผ
ข ้อมูลการตรวจสอบเป็ นผู ้พิจารณาเสนอชือ ่ ผู ้สมควรได ้รับประกาศนียบัตร
14.3 คณะกรรมการทีร่ ับผิดชอบในมาตรฐานทางวิชาการการฝึ กอบรม เป็ นผู ้พิจารณาอนุมัตป ิ ระกาศนียบัตร
14.4 กําหนดการมอบประกาศนียบัตรปี ละหนึง่ ครัง้
หมวด 5
การลาและสภาพผูเ้ ข้าร ับการฝึ กอบรม
ข ้อ 15 การลา
15.1 การลาแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท
15.1.1 การลาป่ วยหรือลากิจ
15.1.2 การลากพักการฝึ กอบรม
15.1.3 การลาออก
15.2 การลาป่ วยและลากิจ
15.2.1 ให ้ยืน่ ใบลาต่อผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ ทุกครัง้

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
15.2.2 การลาป่ วยติดต่อกันเกินสิบห ้าวัน ต ้องมีหนังสือรับรองแพทย์แนบมาด ้วย
15.2.3 การลาติดต่อกันเกินสิบห ้าวัน ต ้องมีหนั งสือรับรองของผู ้บังคับบัญชาสํานั กเจ ้าสังกัดแนบมา
กับใบลาด ้วย
15.2.4 ผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ มีอํานาจอนุญาตให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมลาได ้ครัง้
ละไม่เกิน 2 วันและผู ้บังคับบัญชาขัน ้ ต ้นของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมสังกัด มีอํานาจอนุญาตให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมลาได ้
ครัง้ ละไม่เกิน 3 วัน นอกเหนือจากนีเ้ ป็ นอํานาจของผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
15.2.5 การลาทุกครัง้ เมือ ่ ได ้รับอนุญาตจากผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนั น ้ ๆ ผู ้บังคับบัญชา
ขัน้ ต ้นหรือจากผู ้บังคับบัญชาสํานั กเจ ้าสังกัดแล ้ว ให ้ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมนํ าหลักฐานการขออนุญาตนั น ้ ไปแสดงต่อ
ฝ่ ายทะเบียนการฝึ กอบรม เพือ ่ ขอรับใบแจ ้งการอนุญาตให ้หยุดเรียนไปแสดงต่ออาจารย์ประจํารายวิชารับทราบ แล ้วนํ า
หลักฐานการอนุญาตมาคืนให ้ผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ เก็บไว ้เป็ นหลักฐาน
15.3 การลาพักการฝึ กอบรม
15.3.1 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมอาจยืน ่ คําร ้องขอลาพักการฝึ กอบรมได ้ในกรณีใดกรณีหนึง่ ดังต่อไปนี้
(1) ปฏิบต ั ริ าชการลับ
(2) ได ้รับการคัดเลือกเข ้าฝึ กอบรมระหว่างหน่วยงาน หรือการฝึ กอบรมอืน ่ ใด ซึง่ กรมสอบสวน
คดีพเิ ศษเห็นควรสนับสนุน
(3) ประสบอุบต ั เิ หตุ ภยันตราย หรือเจ็บป่ วย จนไม่สามารถศึกษาต่อไปให ้ได ้ผลดีได ้
15.3.2 เมือ ่ มีเหตุอน ั ควรได ้รับพิจารณาให ้ลาพักการฝึ กอบรม ให ้ยืน ่ ใบลา พร ้อมด ้วยพิจารณานํ าเสนอ
ขออนุญาตต่อผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
15.3.3 การลาพักการฝึ กอบรม ตามข ้อ (1) และข ้อ (2) ของข ้อ 15.3.1 นัน ้ อนุมัตใิ ห ้ได ้ครัง้ ละไม่เกิน
สองภาคการฝึ กอบรม ในกรณีทผ ี่ ู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมยังมีความจํ าเป็ นทีจ ่ ะต ้องลาพักต่อไปอีก ให ้ยืน ่ คําร ้องขอลาพัก
ใหม่
15.3.5 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทีไ่ ด ้รับอนุญาตให ้ลาพักการฝึ กอบรม เมือ ่ จะกลับเข ้าศึกษาจะต ้องยืน ่ คํา
ร ้องเพือ่ ขอกลับเข ้ารับการฝึ กอบรม พร ้อมด ้วยหลักฐานการอนุญาตให ้ลาพักการฝึ กอบรมต่อฝ่ ายทะเบียนการฝึ กอบรม
ไม่น ้อยกว่าสองสัปดาห์กอ ่ นวันเปิ ดภาคการฝึ กอบรม
15.4 การลาออก ต ้องยืน ่ ใบลาพร ้อมด ้วยหนังสือพิจารณาอนุมัตข ิ องผู ้บังคับบัญชาสํานักเจ ้าสังกัด
15.5 การลาทุกประเภท ตามข ้อ 15.3 และข ้อ 15.4 เมือ ่ ได ้ดําเนินการเรียบร ้อยแล ้วให ้ถือวันทีผ ่ ู ้บังคับบัญชา
สํานั กเจ ้าสังกัดอนุมัตเิ ป็ นวันทีม ่ ผ
ี ลในการลา และให ้ฝ่ ายธุรการสํานั กเจ ้าสังกัดส่งสําเนาใบลาให ้ฝ่ ายทะเบียนการ
ฝึ กอบรม เพือ ่ ใช ้เป็ นหลักฐานประกอบการดําเนินการต่าง ๆ ทีจ ่ ําเป็ นต่อไป
ข ้อ 16 สถานภาพผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
16.1 ผู ้ปฏิบัตต ิ ามระเบียบข ้อบังคับการฝึ กอบรมบุคลากรของสํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ
กรมสอบสวนคดีพเิ ศษ โดยถูกต ้องสมบูรณ์ ถือว่ามีสถานภาพผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม การกําหนดระดับของผู ้เข ้ารับการ
ฝึ กอบรมให ้เป็ นไปตามเกณฑ์ในข ้อ 8.5
16.2 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมปกติ คือผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทีส ่ อบได ้แต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมไม่ตํ่ากว่า
2.00
16.3 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมรอพินจ ิ คือ ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทีส ่ อบได ้แต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมตํ่ากว่า
2.00
16.4 สถานภาพผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะสิน ้ สุดลงด ้วย
16.4.1 ถึงแก่กรรม
16.4.2 ลาออก
16.4.3 ขาดคุณสมบัตข ิ ้อหนึง่ ข ้อใดในข ้อ 3
16.4.4 พักการฝึ กอบรมโดยไม่ได ้รับอนุญาต ตามระเบียบทีก ่ ําหนดไว ้ในข ้อบังคับนี้
16.4.5 ดํารงสถานภาพผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมครบกําหนดสองเท่าของจํานวนปี การฝึ กอบรมทัง้ หมด ที่
กําหนดไว ้ในหลักสูตร หรือสองเท่าของจํานวนภาคการฝึ กอบรมปกติทจ ี่ ําเป็ นต ้องศึกษา เพือ ่ ให ้ได ้หน่วยกิตทีต ่ ้องเรียน
จบครบถ ้วนตามหลักสูตร แต่ยังศึกษาไม่ครบตามความต ้องการแห่งหลักสูตร
16.4.6 มีแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมตํา่ กว่า 1.50 ยกเว ้นผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมใหม่ทเี่ ข ้าฝึ กอบรมเป็ น
ภาคแรกตามข ้อ 2.1 และข ้อ 2.2
16.4.7 มีแต ้มระดับคะแนนเฉลีย ่ สะสมตํ่ากว่า 1.75 เป็ นเวลาสองภาคการฝึ กอบรมติดต่อกัน ทัง้ นีไ ้ ม่
นับภาคการฝึ กอบรมแรกของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมใหม่ตามข ้อ 2.1 และ 2.2
16.4.8 ปลอมลายเซ็นผู ้บังคับบัญชาหรือลายเซ็นบุคคลอืน ่ เพือ ่ ใช ้เป็ นหลักฐานต่อกรมสอบสวนคดี
พิเศษ
16.4.9 ถูกลงโทษทางวินัยให ้ไล่ออกหรือให ้ออก
16.4.10 ต ้องโทษโดยคําพิพากษาถึงทีส ่ ดุ ให ้จําคุก เว ้นแต่ความผิดทีเ่ ป็ นลหุโทษหรือความผิดอันได ้
กระทําโดยประมาท

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11
หมวด 6
ความประพฤติและวิน ัยผูเ้ ข้าร ับการฝึ กอบรม
ข ้อ 17 บริเวณกรม
17.1 บริเวณกรม หมายถึง บริเวณทีต ่ งั ้ ของกรม สํานักงานสาขา และทีฝ ่ ึ กงานภาคสนาม และบริเวณทีต ่ งั ้
ของสํานักต่าง ๆ ของกรม
ข ้อ 18 วินัยผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
18.1 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทุกคนมีหน ้าทีป ่ ฏิบัตต ิ นตามระเบียบและข ้อบังคับของกรมสอบสวนคดีพเิ ศษทุก
ประการ และรักษาวินัยโดยเคร่งครัดเสมอ
18.2 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทุกคนมีหน ้าทีป ่ ฏิบต ั ต
ิ ามหลักศีลธรรมและวัฒนธรรมของสังคมไทยในทุกโอกาส
18.3 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทุกคนมีหน ้าทีร่ ักษาชือ ่ เสียงของกรม โดยละเว ้นการประพฤติใด ๆ ทีน ่ ํ ามา หรือ
อาจนํ ามาซึง่ ความเสียหายแก่ตนเองและกรม
18.4 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมมีหน ้าทีร่ ักษาความสามัคคีในหมูค ่ ณะ และละเว ้นความประพฤติใด ๆ ซึง่ อาจนํ ามา
ซึง่ การแตกความสามัคคีในหมูค ่ ณะ
18.5 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมต ้องไม่เสพสุรา หรือสิง่ เสพติดอืน ่ ใดในบริเวณกรม ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมจะไม่เสพ
สุราจนครองสติไม่อยู่ หรือเสพสิง่ เสพติดใด ๆ จนเป็ นสาเหตุให ้เสือ ่ มเสียแก่ตนเอง ผู ้บังคับบัญชา และเกียรติคณ ุ ของ
กรม
18.6 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมไม่กอ ่ งวิวาทกับผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมด ้วยกัน หรือบุคคลอืน
่ เรือ ่ ภายใน หรือ
ภายนอกบริเวณกรม
18.7 ผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมไม่เล่นการพนันขันต่อไม่วา่ ประการใดในบริเวณกรม
ข ้อ 19 การลงโทษทางวินัย
19.1 การลงโทษผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมทีก ่ ระทําผิดทางวินัยมี 6 สถาน
19.1.1 ตักเตือนด ้วยวาจาหรือลายลักษณ์อก ั ษร แล ้วแต่กรณี
19.1.2 ภาคทัณฑ์และทําทัณฑ์บน
19.1.3 ให ้ชดใช ้ค่าเสียหาย
19.1.4 ให ้พักการฝึ กอบรมมีกําหนดตัง้ แต่ 1 ภาคการฝึ กอบรม
19.1.5 ระงับการให ้ประกาศนียบัตร มีกําหนดไม่เกิน 1 ปี
19.1.6 ระงับการออกประกาศนียบัตร มีกําหนดไม่เกิน 1 ปี การฝึ กอบรม
19.2 รองอธิบดีฝ่ายทีเ่ กีย ่ วข ้องมีอํานาจแต่งตัง้ คณะกรรมการ เพือ ่ ทําหน ้าทีพ ่ จิ ารณาหรือสอบสวนการกระทํา
ผิดทางวินัยของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม และเสนอตามควรแห่งความผิดต่ออธิบดี และเมือ ่ ได ้ดําเนินการลงโทษประการใด
ไปแล ้ว ให ้ฝ่ ายทะเบียนการฝึ กอบรมบันทึกลงในระเบียนประวัตก ิ ารฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
หมวด 7
ระเบียบอืน ่ ๆ
ข ้อ 20 สิทธิและหน ้าทีข ่ องผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
20.1 ผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม หมายถึง บุคลากรทีไ่ ด ้รับการแต่งตัง้
โดยผู ้บัญชาการสํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบ เพือ ่ ให ้ทําหน ้าทีค
่ วบคุมแนะนํ า และให ้คําปรึกษาด ้าน
การฝึ กอบรมและด ้านอืน ่ ๆ ทีเ่ กีย
่ วข ้องกับการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
20.2 ผู ้จัดการรายวิชาของภาคการฝึ กอบรมนัน ้ ๆ ของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม มีสท ิ ธิและหน ้าทีด ่ งั นี้
20.2.1 ให ้คํ าแนะนํ าและทํ าแผนการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรมร่วมกับผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
ให ้ถูกต ้องตามหลักสูตรทีก ่ ําหนดไว ้
20.2.2 ให ้คําแนะนํ าในเรือ ่ งระเบียบข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรม
20.2.3 รับผิดชอบในการลงทะเบียนเรียน การเปลีย ่ นรายวิชา การเพิม ่ รายวิชาการงดเรียนบางรายวิชา
และจํานวนหน่วยกิตต่อภาคการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
20.2.4 แนะนํ าวิธเี รียน ให ้คําปรึกษา และติดตามผลการฝึ กอบรมของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม
20.2.5 พิจารณาคําร ้องต่าง ๆ ของผู ้เข ้ารับการฝึ กอบรม และดําเนินการให ้ถูกต ้องตามระเบียบ
ข ้อ 21 บทเบ็ดเตล็ด
21.1 ผู ้บัญชาการสํานั ก และผู ้เกีย ่ วข ้องและรับผิดชอบโดยตรงกับการฝึ กอบรม มีหน ้าทีร่ ักษาการ ตาม
ข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมฉบับนี้ ในกรณีทม ี่ ไิ ด ้กําหนดไว ้ในข ้อบังคับ ให ้อธิบดีมอ ี ํ านาจสั่งปฏิบัตก ิ ารตามที่
เห็นสมควร
21.2 สํานั กเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบอาจเปลีย ่ นแปลง แก ้ไข ต่อเติม และหรือตัดทอน
ข ้อบังคับฉบับนีไ้ ด ้ทุกตอนและทุกโอกาส ในกรณีเช่นนี้ สํานักเทคโนโลยีและศูนย์ข ้อมูลการตรวจสอบจะประกาศให ้ผู ้ที่
เกีย่ วข ้องทราบทุกครัง้
21.3 ข ้อบังคับว่าด ้วยการฝึ กอบรมบุคลากรฉบับนี้ ใช ้บังคับตัง้ แต่ภาคการฝึ กอบรมปี 25XX เป็ นต ้นไป
ประกาศ ณ วันที่ XX เดือน XXXX พุทธศักราช 25XX
(ลงชือ ่ )
อธิบดีกรมสอบสวนคดีพเิ ศษ

C:\RunningHorse\Old-timer.doc 2006.04.11

You might also like