You are on page 1of 42

ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน
1. ความเป็นมา
แคริ บ เบี ย นหมายถึ งประเทศหรื อประเทศหมู่ เ กาะที่ มี พื้ น ที่ ช ายฝั่ งบางส่ ว นหรื อ ทั้ ง หมดติ ด กั บ ทะเล
แคริบเบียน ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของสหรัฐฯ ทางตะวันออกเฉียงใต้ของเม็กซิโก และทางตอนเหนือของเวเนซุเอลา
โดยประเทศแคริบเบียนสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1.1 ประเทศที่มีพื้นที่บางส่วนติดทะเลแคริบเบียนจํานวน 9 ประเทศ ได้แก่ Belize, Colombia, Costa Rica,
Guatemala, Honduras, Mexico, Nicaragua, Panama และ Venezuela
1.2 ประเทศที่เป็นหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียน จํานวน 30 ประเทศ1 ซึ่งเป็นเขตอาณาดูแลของ สคร. ไมอามี
โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
1.2.1 ประเทศที่เป็นรัฐปกครองเอกราชจํานวน 13 ประเทศ ได้แก่ Antigua and Barbuda,
Bahamas, Barbados, Cuba, Dominica, Dominican Republic, Grenada, Jamaica,
Haiti, St. Kitts and Nevis, St. Lucia, St. Vincent and the Grenadines และ
Trinidad and Tobago
1.2.2 ดินแดนหรือหมู่เกาะที่อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอื่นอีกจํานวน 17 เขตแดน แบ่งเป็น
a) ดิ น แดนหรื อหมู่ เ กาะที่ อ ยู่ ภ ายใต้ การปกครองของอั ง กฤษจํ า นวน 5 เขตแดน ได้ แ ก่
Anguilla, British Virgin Islands, Cayman Islands, Montserrat และ Turks and
Caicos Islands
b) ดิ น แดนหรื อ หมู่ เ กาะที่ อ ยู่ ภ ายใต้ ก ารปกครองฝรั่ ง เศสจํ า นวน 4 เขตแดน ได้ แ ก่
Guadeloupe, Martinique, Saint Barthelemy และ St. Martin
c) ดินแดนหรือหมู่เกาะที่อยู่ภายใต้การปกครองของเนเธอร์แลนด์จํานวน 6 เขตแดน ได้แก่
Aruba, Bonaire, Curacao, Saba, St. Eustatius และ St. Maarteen
d) ดิน แดนหรื อหมู่ เ กาะที่ อยู่ภ ายใต้ การปกครองของสหรั ฐ ฯ จํ านวน 2 เขตแดน ได้ แก่
Puerto Rico และ หมู่เกาะ United States Virgin Islands
2. กลุ่มความร่วมมือทางการค้า เศรษฐกิจ และสังคมในแคริบเบียน
ประเทศในกลุ่มทะเลแคริบเบียนมีการรวมกลุ่มความร่วมมือเพื่อส่งเสริมทางด้านการค้าการลงทุน รวมถึง
การพัฒนทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในกลุ่มสมาชิก ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ดังนี้
1. The Caribbean Community (CARICOM) หรือ The Caribbean Single Market and
Economy (CSME) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2516 โดยมีวัตถุประสงค์การก่อตั้งเพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางด้าน
การค้า เศรษฐกิจ และสังคม โดยเน้นความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกเพื่อสร้างความเท่าเทียมและการกระจาย
ผลประโยชน์ในกลุ่มประเทศสมาชิก มีแนวทางร่วมกันในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศสมาชิกที่ยังด้อยพัฒนา
ภายในเขตอาณา และนโยบายการรวมระบบการค้าและเศรษฐกิจของสมาชิกในภูมิภาคให้เป็นระบบตลาดเดียว
1
Caribbean. http://en.wikipedia.org/wiki/Caribbean
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 1 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

(CARICOM Single Market) โดยประเทศสมาชิกสามารถที่จะเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ เงินทุน และแรงงาน


ภายในกลุ่มประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี รวมถึงการใช้แนวนโยบายทางการเงินและการจัดเก็บภาษีเดียวกัน ปัจจุบัน
มีสมาชิกทั้งสิ้น 20 ประเทศ โดยแบ่งเป็นประเทศสมาชิกถาวรจํานวน 15 ประเทศผสมกันทั้งเขตอาณา/ประเทศที่
เป็นเกาะและที่มีดินแดนติดต่อกับผืนแผ่นดินใหญ่ ได้แก่ Antigua and Barbuda, Bahamas, Barbados, Belize,
Dominica, Grenada, Guyana, Haiti, Jamaica, Montserrat, St. Kitts and Nevis, St. Lucia, St. Vincent
and the Grenadines, Suriname และTrinidad and Tobago และประเทศภาคีสมาชิกจํานวน 5 ประเทศ
ได้แก่ Anguilla, Bermuda, British Virgin Islands, Cayman Islands และ Turks and Caicos Islands มี
สํานักงานเลขาธิการใหญ่ตั้งอยู่ในเมือง Georgetown ประเทศ Guyana
2. Organization of Eastern Caribbean States and the Caribbean Community (OECS)
เป็นสํานักเลขาธิการของกลุ่ม CARICOM ทําหน้าส่งเสริมความร่วมมือในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ
กลุ่มประเทศสมาชิกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2524 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อร่วมกันพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ขจัดปัญหา
ความยากจน ดู แลสิ ทธิ มนุ ษยชนของประชาชน และเสริมสร้ างระบบธรรมาภิ บาลและความน่ า เชื่ อถื อของกลุ่ ม
ประเทศสมาชิกในเขตแคริบเบียนตะวันออก รวมถึงการให้ความช่วยเหลือประเทศสมาชิกเมื่อได้รับผลกระทบจาก
ภัยธรรมชาติ ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 10 ประเทศ โดยแบ่งเป็นประเทศสมาชิกถาวร จํานวน 7 ประเทศ ได้แก่
Antigua and Barbuda, Dominica, Grenada, Montserrat, St. Kitts and Nevis, St. Lucia และ St. Vincent
and the Grenadines เละประเทศภาคีสมาชิกจํานวน 3 ประเทศ ได้แก่ Anguilla, British Virgin Island และ
Martinique มีสํานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่เมือง Castries ประเทศ St. Lucia
3. Association of Caribbean States (ACS) เป็นกลุ่มความร่วมมือทางด้านการค้าเศรษฐกิจและ
สังคมของประเทศในกลุ่มน่านน้ําทะเลแคริบเบียน ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2537 โดยมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งเพื่อ
ส่งเสริมการรั กษาน่านน้ํ าทะเลแคริบ เบีย น ส่งเสริ มการค้า เศรษฐกิจ และธุรกิ จการท่องเที่ย วของกลุ่ มประเทศ
สมาชิก พัฒนาระบบขนส่งทางน้ําและอากาศระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิก และการให้ความช่วยเหลือประเทศ
สมาชิกเมื่อได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 36 ประเทศ โดยแบ่งเป็นประเทศสมาชิก
ถาวรทั้งสิ้น 25 ประเทศ ได้แก่ Antigua and Barbuda, Bahamas, Barbados, Belize, Colombia, Costa
Rica, Cuba, Dominica, Dominican Republic, El Salvador, Grenada, Guatemala, Guyana, Haiti,
Honduras, Jamaica, Mexico, Nicaragua, Panama, St. Kitts and Nevis, St. Lucia, St. Vincent and the
Grenadines, Suriname, Trinidad and Tobago และ Venezuela และประเทศภาคีสมาชิกจํานวน 11
ประเทศ ได้แก่ Aruba, Bonaire, Curacao, French Guiana, Guadeloupe, Martinique, Sabe,
St. Barthelemy, St. Martin, St. Eustatius และ St. Maarteen มีสํานักงานเลขาธิการใหญ่ตั้งอยู่ในเมือง
Port of Spain ประเทศ Trinidad and Tobago
สถิติการค้าไทย – CARICOM ระหว่างปี 2553 – 2557
มูลค่าการค้ารวมระหว่างไทยกับกลุ่มประเทศ CARICOM ลดลงร้อยละ 8.16 จาก 514.90 ล้านเหรียญ
สหรัฐ (ประมาณ 16,991.7 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 472.88 ล้านบาท (ประมาณ 15,605 ล้านบาท) ในปี 2557
โดยมีสาเหตุ หลั กมาจากการที่ไทยนํ าเข้ าสิ นค้า จากกลุ่ ม CARICOM ลดลง โดยเฉพาะสิน ค้าเรือ (HS 89)
อะลูมิเนียม (HS 76) และผลิตภัณฑ์ที่ทําจากไม้ (HS 44) โดยจําแนกเป็นการส่งออกและนําเข้าของไทย ดังนี้
 ไทยส่งออกไป CARICOM เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.99 จาก 240.82 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 7,947
ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 260.05 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 8,581.65 ล้านบาท)
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 2 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ไทยนําเข้าจาก CARICOM ลดลงร้อยละ 22.35 จาก 274.08 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 9,045



ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 212.83 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 7,023 ล้านบาท) ในปี 2557
ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – CARICOM ระหว่างปี 2553 – 2557
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 223.05 224.92 347.24 514.90 472.88 -8.16
ไทยส่งออก 201.85 192.27 221.59 240.82 260.05 7.99
ไทยนําเข้า 21.20 32.65 125.65 274.08 212.83 -22.35
ดุลการค้า 180.65 159.62 95.94 -33.26 47.23 -
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป CARICOM
สินค้าศักยภาพที่ไทยส่งออกไปยังกลุ่ม CARICOM ในปี 2557 ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน
(HS 8704) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 123.91 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 4,089 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 47.65 ของยอด
ส่งออก ทั้งหมด รถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) เป็นมูลค่า 55.72 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,839 ล้านบาท) คิดเป็น
ร้อยละ 21.43 ของยอดส่งออกทั้งหมด ตามด้วยปลาปรุงแต่ง (HS 1604) อุปกรณ์ประกอบรถยนต์ (HS 8708)
อาหารปรุงแต่งอื่น ๆ (HS 2106) นาฬิกาข้อมือ (HS 9101) ยางรถยนต์ใหม่ (HS 4011) น้ําผักและผลไม้ (HS 2009)
เครื่องปรับอากาศ (HS 8415) และพลาสติกปูพื้น (HS 3918) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 10 อันดับที่ไทยส่งออกไป CARICOM
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 83.16 66.71 105.10 132.85 123.91 -6.73
8703 รถยนต์อื่น ๆ 43.81 45.34 32.55 31.99 55.72 74.18
1604 ปลาปรุงแต่ง 23.89 29.44 36.50 31.37 30.79 -1.85
8708 อุปกรณ์ประกอบรถยนต์ 3.95 5.37 5.61 5.11 5.83 14.09
2106 อาหารปรุงแต่งอื่น ๆ 1.84 3.42 3.35 3.51 4.59 30.77
9101 นาฬิกาข้อมือ 0.00 0.37 3.02 2.69 3.13 16.36
4011 ยางรถยนต์ใหม่ 0.78 1.65 3.44 2.90 2.72 -6.21
2009 น้ําผักและผลไม้ 2.01 2.01 1.77 1.63 2.47 51.53
8415 เครื่องปรับอากาศ 1.99 0.98 1.21 1.65 2.23 35.15
3918 พลาสติกปูพื้น 2.21 1.97 2.10 1.98 1.94 -2.02
- อื่น ๆ 38.21 35.01 26.94 25.14 26.72 6.28
รวม 201.85 192.27 221.59 240.82 260.05 7.99
ที่มา: World Trade Atlas
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 3 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก CARICOM
ประเทศในกลุ่ม CARICOM ถือว่าเป็นแหล่งวัตถุดิบแหล่งใหม่ของไทย โดยสินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก
กลุ่ม CARICOM ในปี 2557 ได้แก่ เรือลากจูงหรือเรือดัน (HS 8904) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 112.93 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 3,727 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 53.06 ของยอดนําเข้าทั้งหมด รองลงมาก๊าซปิโตรเลียม (HS 2711) เป็น
มูลค่าทั้งสิ้น 45.73 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,510 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 21.49 ของยอดนําเข้าทั้งหมด ตาม
ด้วย เศษเหล็ก (HS 7204) ปลาแช่แข็ง (HS 0303) ตัวถังหรือหลังคารถยนต์ (HS 8708) สารเจือเหล็ก (HS 7202) อาหาร
ทะเลแช่แข็ง (HS 0306) เรือยอชต์ (HS 8903) ยางสังเคราะห์ (HS 4002) และเศษอะลูมิเนียม (HS 7602) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 10 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก CARICOM
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8904 เรือลากจูงหรือเรือดัน 0.00 7.01 7.47 0.00 112.93 n/a
2711 ก๊าซปิโตรเลียม 0.00 0.00 49.12 0.00 45.73 n/a
7204 เศษเหล็ก 15.16 19.87 54.94 29.80 38.42 28.93
0303 ปลาแช่แข็ง 1.08 0.61 5.08 6.02 6.63 10.13
8708 ตัวถังหรือหลังคารถยนต์ 0.01 0.00 0.06 0.03 3.35 11,066.67
7202 สารเจือเหล็ก 0.00 0.00 0.11 0.00 0.82 n/a
0306 อาหารทะเลแช่แข็ง 0.00 0.00 0.00 0.03 0.56 1,766.67
8903 เรือยอชต์ 0.87 1.41 0.00 0.32 0.47 46.88
4002 ยางสังเคราะห์ 0.17 0.00 0.00 0.20 0.44 120.00
7602 เศษอะลูมเิ นียม 0.28 0.35 0.14 0.00 0.38 n/a
- อื่น ๆ 3.63 3.4 8.73 237.68* 3.1 -98.70
รวม 21.20 32.65 125.65 274.08 212.83 -22.35
ที่มา: World Trade Atlas
ประเทศคู่ค้าศักยภาพของไทยเรียงตามมูลค่าการค้า
ประเทศคู่ค้าสําคัญของไทย 4 ลําดับแรกในกลุ่มประเทศแคริบเบียน ได้แก่ Trinidad and Tobago
ซึ่งมีมูลค่าการค้ากับไทยมากที่สุดเป็นอันดับที่ 1 มีมูลค่าทั้งสิ้น 196.39 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 6,481 ล้านบาท)
คิดเป็นร้อยละ 26.24 ของยอดการค้าไทยกับแคริบเบียนทั้งหมด โดยนําเข้าจากไทยเป็นมูลค่า 132.92 ล้านเหรียญ
สหรัฐ (ประมาณ 4,386 ล้านบาท) และส่งออกมาไทยเป็นมูลค่า 63.47 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,095 ล้าน
บาท) รองลงมา Puerto Rico มีมูลค่าการค้าท้งสิ้น 171.17 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 5,649 ล้านบาท) คิดเป็น
ร้อยละ 22.87 ของยอดการค้าไทยกับแคริบเบียนทั้งหมด นําเข้าจากไทยเป็นมูลค่า 75.46 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 2,490 ล้านบาท) ส่งออกมาไทยเป็นมูลค่า 95.71 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,158 ล้านบาท) ตาม
ด้วย Bahamas มีมูลค่าการค้าทั้งสิ้น 123.70 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 4,082 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ16.53
ของยอดการค้าไทยกับแคริบเบียนทั้งหมด นําเข้าจากไทยเป็นมูลค่า 4.49 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 148 ล้าน
บาท) ส่งออกมาไทยเป็นมูลค่า119.21 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,934 ล้านบาท) และ Dominican Republic
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 4 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ซึ่งมีมูลค่าการค้าทั้งสิ้น 117.17 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,867 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 15.66 ของยอด


การค้าไทยกับแคริบเบียนทั้งหมด นําเข้าจากไทยเป็นมูลค่า 95.76 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,160 ล้านบาท)
ส่งออกมาไทยเป็นมูลค่า 21.41 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 707 ล้านบาท) ส่วนที่เหลือได้แก่ Jamaica, Haiti,
Barbados, Antigua and Barbuda, British Virgin Islands และ Aruba ตามลําดับ
ตารางแสดง 10 อันดับประเทศคู่ค้าในกลุ่มแคริบเบียนที่สําคัญของไทย
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
ปี 2557 จํานวน
ประเทศ มูลค่าการค้า GDP ประชากร
ไทยส่งออก ไทยนําเข้า
รวม (คน)
1. Trinidad and Tobago 196.39 132.92 63.47 24,640 1,341,151
2. Puerto Rico 171.17 75.46 95.71 103,134 3,615,086
3. Bahamas 123.70 4.49 119.21 8,043 377,374
4. Dominican Republic 117.17 95.76 21.41 60,613 10,403,761
5. Jamaica 43.24 38.23 5.01 14,362 2,75,000
6. Haiti 26.80 18.03 8.78 8,459 10,317,461
7. Barbados 15.51 13.06 2.45 4,225 284,644
8. Antigua and Barbuda 8.09 4.09 4.00 1,230 89,985
9. British Virgin Islands 6.26 4.87 1.99 909 28,054
10. Aruba 5.56 4.55 1.71 2,584 102,911
ที่มา: World Trade Atlas
วิเคราะห์ SWOT สถานการณ์การค้าไทย – แคริบเบียน
จุดแข็ง จุดอ่อน
1. ผู้ผลิต/ผู้ส่งออกไทยสามารถผลิตสินค้าได้ตรงตาม 1. ราคาสินค้าไทยเมื่อรวมค่าขนส่งมีราคาค่อนข้างแพง
ความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคในตลาดแคริ บ เบี ย น เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่เช่น จีน
โดยเฉพาะสินค้าในกลุ่มอาหาร และชิ้นส่วนรถยนต์ 2. ผู้ ผ ลิ ต /ส่ ง ออกไทยยั ง ขาดความเข้ า ใจในการ
2. ผู้ บ ริ โ ภคในตลาดแคริ บ เบี ย นเชื่ อ ถื อ ในคุ ณ ภาพ พัฒนาการออกแบบบรรจุ ภัณฑ์ให้ดึงดู ดผู้บริโภคใน
สิน ค้ า ที่ ผลิ ต จากไทย และมี การรับ รู้ ว่ า สิน ค้ าไทย ตลาดแคริบเบียนที่นิยมบริโภคสินค้าหีบห่อขนาดเล็ก
เป็นสินค้าระดับพรีเมี่ยม 3. ผู้ ผลิ ต/ส่ งออกไทยขาดโอกาสในการพบปะเจรจา
3. สภาพทางภู มิ ศ าสตร์ แ ละวิ ถี ก ารดํ า รงชี วิ ต ของ การค้ากับกลุ่มผู้นําเข้าสินค้าในแคริบเบียนเพื่อสร้าง
ประชากรแคริบเบียนบางประเทศคล้ายคลึงกับไทย โอกาสในการขยายธุรกิจมายังภูมิภาคดังกล่าว
โดยเฉพาะการรับประทานอาหารและการแต่งกาย 4. ขนาดตลาดผู้บริโภคในแคริบเบียนค่อนข้างเล็กเมื่อ
เปรียบเทียบกับภูมิภาคอื่น ผู้ผลิต/ผู้ส่งออกไทยเห็น
ว่าไม่คุ้มทุนในการทําตลาด
5. ประเทศ/เขตอาณาในแคริ บเบี ยนมี ขนาดค่ อนข้ าง
เล็ กจึ งมั กสั่ งซื้ อสิ น ค้ า แบบรวมตู้ (Consolidated
Container)

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 5 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

จุดแข็ง จุดอ่อน
6. ไม่มีคลังสินค้า/จุดกระจายสินค้าเพื่อตอบสนองการ
สั่งซื้อที่มีปริมาณน้อย
7. ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานและการคมนาคมขนส่ง
ภายในกลุ่มภูมิภาคแคริบเบียนยังไม่สมบูรณ์
8. ระบบจัดเก็บข้อมูลทางด้านการค้า โดยเฉพาะ
ข้อมูลผู้นําเข้าค่อนข้างเข้าถึงยาก
โอกาส อุปสรรค
1. ตลาดแคริ บ เบี ย นเป็ น ตลาดใหม่ ซึ่ ง มี ก ารแข่ ง ขั น 1. การนําเข้าสินค้าจากประเทศนอกกลุ่มความร่วมมือ
ค่อนข้างต่ํายังไม่มีคู่แข่งในตลาดมากนัก ทางเศรษฐกิจในแคริบเบียนจะต้องเสียภาษีนําเข้า
2. มี แ นวโน้ ม ความต้ อ งการนํ า เข้ า สิ น ค้ า จากไทย 2. ระยะทางระหว่างไทยกับกลุ่มแคริบเบียนค่อนข้าง
เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไกล และใช้เวลาในการขนส่งนาน
3. แม้ว่าประเทศในกลุ่มแคริบเบียนจะมีพื้นที่ติดทะเล 3. ประเทศกลุ่มแคริบเบียนค่อนข้างเล็กจึงมักนําเข้า
แต่ ก ารทํ า การประมงส่ ว นใหญ่ ไ ม่ คุ้ ม ทุ น จึ ง นิ ย ม สินค้าแบบรวมตู้ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อผู้ส่งออกไทยที่
นํ า เข้ า สิ น ค้ า อาหารทะเลแช่ แ ข็ ง อาหารทะเล ต้องการส่งออกสินค้าแบบทั้งตู้
กระป๋องจากต่างประเทศ 4. ประเทศแคริบเบีย นนิย มนํ าเข้ าสิ นค้า จากสหรัฐ ฯ
4. กฏระเบียบการส่งออกสินค้าไปตลาดแคริบเบียนไม่ เนื องจากใกล้ ทําให้ ร ะยะเวลาในการรอสิ น ค้ า สั้ น
เข้มงวดเท่าตลาดสหรัฐฯ กว่า
5. บางประเทศในกลุ่มแคริบเบียน เช่น จาเมกา เข้มงวด 5. ผู้ ผ ลิ ต /ผู้ ส่ ง ออกไทยไม่ มี ค วามชํ า นาญในภาษา
ในการอนุญาตให้นําเข้าสินค้าอาหารจากจีนมาก ท้องถิ่นบางประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษา
6. การขุดคลองปานามาทําให้การขนส่งสินค้าทางเรือ หลัก เช่น Dominican Republic เป็นต้น
ไปยังประเทศแคริบเบียนสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
สรุป/ข้อเสนอแนะ
1. ประเทศในกลุ่มแคริบเบียนเป็นตลาดศักยภาพตลาดใหม่ เนื่องจากเป็นกลุ่มประเทศกําลังพัฒนามีรายได้หลัก
มาจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เติบโตมากอย่างก้าวกระโดดในช่วงที่ผ่านมา ดังนั้นจึงจําเป็นจะต้องพึงพา
อาศัยการนําเข้าสินค้าหลายรายการจากต่างประเทศเพื่อตอบสนองความต้องการในการบริโภคภายในประเทศ
2. การนําเข้าจากไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2557 CARICOM นําเข้าสินค้าจากไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ
7.99 เป็ น มูล ค่ า 260.05 ล้า นเหรีย ญสหรั ฐ (ประมาณ 8,582 ล้ า นบาท) สิ น ค้า ศั กยภาพในการทํ า ตลาด
แคริบเบียนได้แก่ รถยนต์และรถบรรทุกประกอบทั้งคัน ชิ้นส่วนรถยนต์รถบรรทุก ผลิตภัณฑ์ที่ทําจากยาง
อาหารกระป๋อง และเครื่องจักร
3. แม้ประเทศในกลุ่มแคริบเบียนมีจะมีขนาดเล็กแต่มีอํานาจการซื้อสูง ระดับรายได้ต่อหัวของประชากรอยู่ใน
ระดับ สูงและมี แนวโน้มสู งขึ้น อย่างต่อเนื่อง ประชากรเหล่านี้จึ งมีความต้องการบริโภคสินค้ าที่ส ร้างความ
สะดวกสบายในการดํารงชีวิตตามแบบชาวตะวันตก

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 6 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

4. ผู้ผ ลิต/ผู้ ส่งออกไทยควรที่จ ะศึ กษาและเข้าใจวั ฒนธรรมและรสนิย มของผู้ บริ โภคที่ มีความหลากหลายใน
ภูมิภาคนี้เพื่อที่จะสามารถตอบสนองความต้องการผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่นนิยมบริโภคสินค้าที่มี
บรรจุภัณฑ์ขนาดเล็กโดยเลือกซื้อบ่อย ๆ หรือนิยมเลือกใช้ของสีฉูดฉาด เป็นต้น
5. ผู้ผลิต/ส่งออกไทยควรหาโอกาสพบปะสร้างสัมพันธ์กับผู้นําเข้าในแคริบเบียน โดยการร่วมออกงานแสดงสินค้า
ในภูมิภาคดังกล่าว เช่น งาน Caribbean Hardware & Construction Show (สินค้าอุปกรณ์ก่อสร้าง) เป็นต้น



ฉบับปรับปรุงครั้งสุดท้าย : ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 7 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

บรรณานุกรม
Anniss, Abiola, (2015, January, 13). CARICOM, Trans-Pacific Partnership, And IP Law & Policy:
What Next?. Intellectual Property Watch. http://www.ip-watch.org/2015/01/13/caricom-
trans-pacific-partnership-agreement-and-ip-law-and-policy-what-next/
About the OECS. The Organization of Eastern Caribbean States. http://www.oecs.org/about-the-
oecs/who-we-are/about-oecs
Caribbean. Wikipedia. http://en.wikipedia.org/wiki/Caribbean
Caribbean Community. Wikipedia.
http://www.caricom.org/jsp/community/community_index.jsp?menu=community
Countries and Economies. The World Bank. http://data.worldbank.org/country
G. Thorpe. Top 10 Caribbean Nations Based on Gross National Income. Atlanta Black Star.
http://atlantablackstar.com/2013/12/19/top-10-richest-countries-in-caribbean-per-
income/5/
Members and Associate Member. Association of Caribbean States. http://www.acs-
aec.org/index.php?q=about/members-and-associate-members
The CARICOM Single Market and Economy (CSME). Caribbean Community Secretariat.
http://www.caricom.org/jsp/single_market/single_market_index.jsp?menu=csme
World Trade Atlas.

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 8 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ภาคผนวก

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 9 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

แผนภาพแสดงเขตที่ตั้งของประเทศในทะเลแคริบเบียน

ที่มา: www.worldatlas.com

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 10 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสถิติไทยส่งออกไปประเทศดินแดนและหมู่เกาะในแคริบเบียนระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
อันดับ ประเทศ
2553 2557 2555 2556 2557
1 Trinidad & Tobago 86.87 79.90 96.12 121.52 132.92
2 Dominican Republic 78.36 185.98 94.26 68.67 95.76
3 Puerto Rico 29.33 34.01 30.46 55.31 75.46
4 Jamaica 31.26 34.40 40.95 38.61 38.23
5 Haiti 21.40 22.96 13.09 12.71 18.03
6 Barbados 8.99 9.65 10.25 10.08 13.06
7 Guadeloupe 6.72 6.76 6.12 3.74 4.87
8 Aruba 3.08 2.32 3.59 3.83 4.78
9 British Virgin Islands 1.00 2.17 4.69 3.54 4.55
10 Bahamas 1.99 1.99 4.48 4.78 4.49
11 Martinique 4.67 4.91 5.69 4.51 4.46
12 St. Lucia 4.80 5.18 5.16 4.33 4.11
13 Antigua & Barbuda 1.00 0.68 0.89 1.59 4.09
14 Grenada 1.13 1.63 1.91 1.76 2.42
15 Curacao 0.00 0.00 0.00 0.96 2.30
16 St. Kitts & Nevis 0.83 0.52 1.23 1.22 2.15
17 Dominica 12.59 3.33 1.43 1.35 1.77
18 Cayman Islands 0.45 0.41 0.95 0.89 0.96
19 St. Vincent & the Grenadines 0.30 0.28 0.52 0.37 0.92
20 St. Martin Island 0.00 0.00 0.00 0.23 0.43
21 U.S Virgin Islands 0.74 0.80 1.22 2.34 0.24
22 St. Maarten 0.00 0.00 0.00 0.03 0.15
23 St. Barthelemy 0.00 0.00 0.00 0.05 0.10
24 Montserrat 0.00 0.00 0.10 0.00 0.08
25 Turks & Caicos Islands 0.00 0.04 0.07 0.15 0.06
26 Anguilla 0.00 0.00 0.00 0.01 0.00
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 11 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสถิติไทยนําเข้าจากประเทศดินแดนและหมู่เกาะแคริบเบียนระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ
อันดับ ประเทศ
2553 2557 2555 2556 2557
1 Bahamas 6.51 7.25 12.00 6.63 119.21
2 Puerto Rico 76.46 94.42 130.26 78.76 95.71
3 Trinidad & Tobago 1.34 7.55 65.11 14.05 63.47
4 Dominican Republic 15.29 24.82 25.02 30.98 21.41
5 Haiti 4.86 3.67 14.52 6.05 8.78
6 Jamaica 1.20 0.98 0.67 2.33 5.01
7 Antigua & Barbuda 0.03 0.35 0.89 0.81 4.00
8 Barbados 1.48 1.04 4.60 1.75 2.45
9 British Virgin Islands 0.16 0.93 1.60 4.12 1.71
10 Aruba 0.12 0.01 0.06 0.27 0.78
11 St. Vincent & the Grenadines 0.87 1.00 0.54 0.09 0.67
12 Cayman Islands 0.17 7.07 9.17 231.88 0.55
13 St. Lucia 0.00 0.00 1.11 0.54 0.44
14 Dominica 0.08 0.08 0.35 0.34 0.39
15 Curacao 0.00 0.00 0.00 0.11 0.28
16 Grenada 0.06 0.04 1.54 0.44 0.11
17 St. Barthelemy 0.00 0.00 0.00 0.02 0.03
18 Anguilla 0.01 0.00 0.00 0.00 0.03
19 St. Kitts & Nevis 0.01 0.00 0.02 0.01 0.02
20 U.S. Virgin Islands 0.00 0.81 0.02 0.02 0.02
21 Turks & Caicos Islands 0.03 0.02 0.07 0.06 0.02
22 Montserrat 0.02 0.03 0.00 0.00 0.02
23 Sint Maarten 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
24 Martinique 0.04 0.09 1.74 0.41 0.00
25 Guadeloupe 0.01 0.01 0.00 0.03 0.00
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 12 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ข้อมูลพื้นฐานประเทศคู่ค้าศักยภาพของไทย 10 อันดับ
1. ประเทศ Trinidad and Tobago

ข้อมูลพื้นฐาน Trinidad and Tobago


Trinidad and Tobago เป็นประเทศที่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและมีระดับการพัฒนาประเทศสูง
เป็นอันดับต้น ๆ ในประเทศกลุ่มแคริบเบียน ประชากรมีรายได้ต่อหัวมากที่สุดเป็นอันดับที่ 57 ของโลก โดยมี
รายได้หลักมาจากอุตสาหกรรมน้ํามันปิโตรเคมี การผลิต และการเกษตร ทั้งนี้ รายได้ที่มาจากอุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยวมีสัดส่วนค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในกลุ่มแคริบเบียน
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 24,641 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 813,153 ล้านบาท) (103rd )
GNI Per Capita, PPP 26,220 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 865,260 บาท) (57th)
จํานวนประชากร 1,341,151 คน (152nd )
ที่มา: World Bank
อุ ต สาหกรรมหลั ก ของประเทศ ได้ แก่ น้ํ า มั น ปิ โ ตรเลี ย ม ผลิ ต ภั ณฑ์ ปิ โ ตรเลี ย ม ก๊ า ซธรรมชาติ
เมทานอล แอมโมเนีย ยูเรีย เหล็ก อาหาร เครื่องดื่ม ซีเมนต์ และผ้าฝ้าย
 สินค้านําเข้าหลัก ได้แก่ พลังงานธรรมชาติ น้ํามันหล่อลื่น เครื่องจักร อุปกรณ์เกี่ยวกับระบบการ
ขนส่ง สินค้าอุตสาหกรรม อาหาร สารเคมี และสัตว์มีชีวิต โดยนําเข้าจากสหรัฐฯ (ร้อยละ 30.8)
โคลอมเบีย (ร้อยละ 13.9) กาบอง (ร้อยละ 5.0) และ แคนาดา (ร้อยละ 4.1)
 สิ น ค้ า ส่ ง ออกหลั ก ได้ แ ก่ น้ํ า มั น ปิ โ ตรเลี ย ม ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย ม ก๊ า ซธรรมชาติ เมทานอล
แอมโมเนีย ยูเรีย เหล็ก เครื่องดื่ม ซีเรียล น้ําตาล โกโก้ กาแฟ ส้ม ผักสด และดอกไม้ โดยส่งออก
ไปยังสหรัฐฯ (ร้อยละ 40.3) อาร์เจนตินา (ร้อยละ 6.9) ชิลี (ร้อยละ 6.8) จาเมกา (ร้อยละ 4.9)
และสเปน (ร้อยละ 4.3)
สถิติการค้าไทย – Trinidad and Tobago ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Trinidad and Tobago เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.86 จาก 135.57
ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 4,474 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 196.39 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 6,481 ล้าน
บาท) โดยมีสาเหตุหลักมาจากการที่ไทยนําเข้าสินค้าในกลุ่มพลังงานและน้ํามันเพิ่มขึ้น
 ไทยส่งออกสินค้าไป Trinidad and Tobago เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.38 จาก 121.52 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 4,010 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 132.92 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 4,386 ล้าน
บาท) ในปี 2557
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 13 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Trinidad and Tobago เพิ่มขึ้นร้อยละ 351.77 จาก 14.05 ล้านเหรียญ


สหรัฐ (ประมาณ 464 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 63.47 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,095 ล้าน
บาท) ในปี 2557
ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Trinidad and Tobago ระหว่างปี 2553 – 2557
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 88.21 87.45 161.23 135.57 196.39 44.86
ไทยส่งออก 86.87 79.90 96.12 121.52 132.92 9.38
ไทยนําเข้า 1.34 7.55 65.11 14.05 63.47 351.77
ดุลการค้า 85.53 72.35 31.01 107.47 69.45 -35.38
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Trinidad and Tobago
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Trinidad and Tobago ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน
(HS 8704) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 81.24 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,681 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 61.12 ของ
มูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด รองลงมารถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 33.98 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ
1,120 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 25.56 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยปลาปรุงแต่ง (HS 1604) อุปกรณ์
ประกอบรถยนต์ (HS 8708) และยางรถยนต์ใหม่ (HS 4011) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Trinidad and Tobago
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 48.86 37.10 58.33 84.82 81.24 -4.22
8703 รถยนต์อื่น ๆ 21.34 24.68 19.06 18.73 33.98 81.42
1604 ปลาปรุงแต่ง 2.92 4.90 4.79 4.59 5.38 17.21
8708 อุปกรณ์ประกอบรถยนต์ 2.11 2.60 3.56 3.21 3.79 18.07
4011 ยางรถยนต์ใหม่ 0.08 0.16 0.84 0.92 0.82 -10.87
- อื่น ๆ 11.56 10.46 9.54 9.25 7.71 -16.65
รวม 86.87 79.90 96.12 121.52 132.92 9.38
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 14 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Trinidad and Tobago


สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Trinidad and Tobago ได้แก่ ก๊าซปิโตรเลียม (HS 2711) เป็นมูลค่า
ทั้งสิ้น 45.73 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,509 ล้านบาท) คิ ดเป็นร้ อยละ 72.05 ของมู ลค่าไทยนําเข้ าทั้งหมด
รองลงมา เศษเหล็ก (HS 7204) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 12.59 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 415 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ
19.84 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด ตามด้วยปลาแช่แข็ง (HS 0303) เศษอะลูมิเนียม (HS 7602) และไม้แปรรูป
(HS 4407) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Trinidad and Tobago
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
2711 ก๊าซปิโตรเลียม 0.00 0.00 49.12 0.00 45.73 n/a
7204 เศษเหล็ก 1.32 7.19 13.93 10.06 12.59 25.15
0303 ปลาแช่แข็ง 0.00 0.00 0.00 3.93 4.71 19.85
7602 เศษอะลูมเิ นียม 0.00 0.15 0.11 0.00 0.14 n/a
4407 ไม้แปรรูป 0.00 0.00 0.00 0.00 0.09 n/a
- อื่น ๆ 0.02 0.21 1.95 0.06 250.00 250.00
รวม 1.34 7.55 65.11 14.05 63.47 351.74
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 15 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

2. เครือรัฐ Puerto Rico

ข้อมูลพื้นฐาน Puerto Rico


Puerto Rico เป็นเครือรัฐที่อยู่ภายใต้การปกครองของสหรัฐฯ จัดว่าเป็นอาณาเขตที่มีระดับความ
เป็นอยู่และรายได้ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นในกลุ่มแคริบเบียน และเป็นประเทศที่มีระดับรายได้ต่อหัว
มากที่สุดเป็นอันดับที่ 63 ของโลก รายได้ส่วนใหญ่มาจากอุตสาหกรรมการผลิต (ร้อยละ 46.4) การให้บริการทาง
การเงิน (ร้อยละ 19.6) ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (ร้อยละ 12.5) และอื่น ๆ (ร้อยละ 21.5)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 103,135 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3.4 ล้านล้านบาท) (62nd)
GNI Per Capita, PPP 23,840 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 786,720 บาท) (63rd)
จํานวนประชากร 3,615,086 คน (132nd )
ที่มา: World Bank
 อุ ต สาหกรรมหลั ก ของประเทศ ได้ แ ก่ อุ ต สาหกรรมการผลิ ต ยา อุ ป กรณ์ อิ เ ล็ ค ทรอนิ ก ส์
เครื่องนุ่งห่ม อาหาร และการท่องเที่ยว
 สินค้านําเข้าหลัก ได้แก่ สารเคมี เครื่องจักร และชิ้นส่วนเครื่องจักร อาหาร ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี
เครื่องนุ่งห่ม และอาหารทะเล โดยนําเข้าจากสหรัฐฯ (ร้อยละ 55.0) ไอร์แลนด์ (ร้อยละ 23.7)
และญี่ปุ่น (ร้อยละ 5.4)
 สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ สารเคมี อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ เหล้ารัม น้ําผลไม้เข้มข้น อุปกรณ์ทาง
การแพทย์ ปลาทูน่ากระป๋อง และเครื่องนุ่งห่ม โดยส่งออกไปยังสหรัฐฯ (ร้อยละ 90.3) อังกฤษ
(ร้อยละ 1.6) สาธารณรัฐโดมินิกัน (ร้อยละ 1.4) และเนเธอร์แลนด์ (ร้อยละ 1.4)
สถิติการค้าไทย – Puerto Rico ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Puerto Rico เพิ่มขึ้นร้อยละ 27.67 จาก 134.07 ล้าน
เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 4,424 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 171.17 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 5,649 ล้านบาท)
 ไทยส่ ง ออกสิ น ค้ า ไป Puerto Rico เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อยละ 36.43 จาก 55.31 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ
(ประมาณ 1,825 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 75.46 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,490 ล้าน
บาท) ในปี 2557
 ไทยนํ า เข้ า สิ น ค้ า จาก Puerto Rico เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อยละ 21.52 จาก 78.76 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ
(ประมาณ 2599 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 95.71 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 3,158 ล้านบาท)
ในปี 2557

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 16 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Puerto Rico ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 105.79 128.43 160.72 134.07 171.17 27.67
ไทยส่งออก 29.33 34.01 30.46 55.31 75.46 36.43
ไทยนําเข้า 76.46 94.42 130.26 78.76 95.71 21.52
ดุลการค้า -47.13 -60.41 -99.8 -23.45 -20.25 -13.65
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Puerto Rico
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Puerto Rico ได้แก่ รถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 50.77
ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,675 ล้านบาท) คิดเป็ นร้อยละ 67.28 ของมูลค่ าไทยส่งออกทั้งหมด รองลงมา
เครื่องปรับอากาศ (HS 8415) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 7.15 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 234 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ
9.48 ของมูลค่าไทยทั้งหมด ตามด้วยโทรทัศน (HS 8528) ข้าว (HS 1006) และปลาปรุงแต่ง (HS 1604)
ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Puerto Rico
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8703 รถยนต์อื่น ๆ 0.00 0.00 0.00 29.90 50.77 69.80
8415 เครื่องปรับอากาศ 6.65 4.30 5.95 5.40 7.15 32.41
8528 โทรทัศน 0.46 0.67 1.84 1.51 3.51 132.45
1006 ข้าว 1.61 1.25 1.67 1.47 2.64 79.59
1604 ปลาปรุงแต่ง 2.34 3.49 2.33 0.67 2.16 222.39
- อื่น ๆ 18.27 24.30 18.67 16.36 9.23 -43.59
รวม 29.33 34.01 30.46 55.31 75.46 36.43
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 17 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Puerto Rico


สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Puerto Rico ได้แก่ ยารักษาโรค (HS 3004) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 69.38 ล้าน
เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,290 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 72.49 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด รองลงมา เศษเหล็ก
(HS 7204) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 10.09 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 333 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 10.54 ของมูลค่าไทย
นําเข้าทั้งหมด ตามด้วยหม้อแปลงไฟฟ้า (HS 8504) สารฆ่าแมลง (HS 3808) และเครื่องประมวลผลข้อมูล
(HS 8471) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Puerto Rico
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
3004 ยารักษาโรค 55.67 59.97 72.21 46.58 69.38 48.95
7204 เศษเหล็ก 6.84 11.44 30.25 11.36 10.09 -11.18
8504 หม้อแปลงไฟฟ้า 0.84 1.52 3.18 2.35 3.51 49.36
3808 สารฆ่าแมลง 2.01 3.54 0.00 1.79 2.39 33.52
8471 เครื่องประมวลผลข้อมูล 3.83 5.89 3.92 6.61 2.10 -68.23
- อื่น ๆ 7.27 12.06 20.7 10.07 8.24 -18.17
รวม 76.46 94.42 130.26 78.76 95.71 21.52
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 18 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

3. เครือรัฐ Bahamas

ข้อมูลพื้นฐาน Bahamas
Bahamas เป็นหนึ่งในเครือรัฐที่มีเสถียรภาพทางด้านเศรษฐกิจอันดับต้น ๆ ในเขตอาณาแคริบเบียน
โดยรายได้หลักมาจากอุตสาหกรรมธุรกิจการท่องเที่ยว (ร้อยละ 60.0) และการให้บริการธุรกรรมทางการเงิน
(ร้อยละ 30.8) รายได้ส่วนที่เหลือมาจากอุตสาหกรรม (ร้อยละ 7.1) และการเกษตร (ร้อยละ2.1)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 8,420 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 277,860 ล้านบาท) (141st)
GNI Per Capita, PPP 22,700 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 749,100 บาท) (70th)
จํานวนประชากร 377,374 คน (173rd)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ การท่องเที่ยว ธนาคาร ซีเมนต์ การขนส่งน้ํามัน เกลือ
เหล้ารัม อะราโกไนต์ อุตสาหกรรมการผลิตยา และท่อเหล็ก
 สิ น ค้ า นํ า เข้ า หลั ก ได้ แ ก่ เครื่ อ งจั ก ร และชิ้ น ส่ ว นเครื่ อ งจั ก รสํ า หรั บ การขนส่ ง เครื่ อ งจั ก ร
อุตสาหกรรม สารเคมี พลังงานธรรมชาติ อาหาร และสัตว์มีชีวิต โดยนําเข้าจากสหรัฐฯ (ร้อยละ
29.9) อินเดีย (ร้อยละ 20.1) สิงค์โปร์ (ร้อยละ 8.7) เกาหลีใต้ (ร้อยละ 6.7) จีน (ร้อยละ 5.0)
โคลอมเบีย (ร้อยละ 4.3) และแคนนาดา (ร้อยละ 4.2)
 สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ สินค้าธรรมชาติ เกลือ สินค้าที่ทํามาจากชิ้นส่วนสัตว์ เหล้ารัม สารเคมี
ผักสด และผลไม้สด โดยส่งออกไปยังสิงค์โปร์ (ร้อยละ 23.7) สหรัฐฯ (ร้อยละ 19.5) สาธารณรัฐ
โดมินิกัน (ร้อยละ 13.4) เอกวาดอร์ (ร้อยละ 9.8) แคนนาดา (ร้อยละ 5.4) และกัวเตมาลา (ร้อยละ
4.4)
สถิติการค้าไทย – Bahamas ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับ Bahamas เพิ่มขึ้นร้อยละ 984.14 จาก 11.41 ล้านเหรียญ
สหรัฐ (ประมาณ377 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 123.70 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 4,082 ล้านบาท) โดยไทย
ขาดดุลการค้าทั้งสิ้น 114.72 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,786 ล้านบาท) เนื่องจากมูลค่าการนําเข้าสินค้ า
ประเภทเรือจาก Bahamas เพิ่มขึ้น 112.93 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,727 ล้านบาท)
 ไทยส่ งออกสิน ค้ า ไป Bahamas ลดลงร้ อยละ 6.09 จาก 4.48 ล้ านเหรีย ญสหรัฐ (ประมาณ
148.84 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 4.49 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 148.17 ล้านบาท) ในปี
2557

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 19 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ไทยนํ า เข้ า สิ น ค้ า จาก Bahamas เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 1,698.22 จาก 6.63 ล้ า นเหรี ย ญสหรั ฐ
(ประมาณ 219 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 119.21 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 3,934 ล้านบาท)
ในปี 2557
ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Bahamas ระหว่างปี 2553 – 2557
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 8.5 9.24 16.48 11.41 123.70 984.14
ไทยส่งออก 1.99 1.99 4.48 4.78 4.49 -6.09
ไทยนําเข้า 6.51 7.25 12.00 6.63 119.21 1,698.22
ดุลการค้า -4.52 -5.26 -7.52 -1.85 -114.72 6,101.08
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Bahamas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Bahamas ได้แก่ ปลาปรุงแต่ง (HS 1604) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 2.07 ล้าน
เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 68.31 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 46.10 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด รองลงมาน้ําผักและ
ผลไม้ (HS 2009) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 0.65 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 21.45 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ14.48 ของ
มูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยรถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน (HS 8704) และอาหาร
ปรุงแต่งอื่น ๆ (HS 2106) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Bahamas
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
1604 ปลาปรุงแต่ง 0.65 0.71 2.86 2.53 2.07 -18.18
2009 น้ําผักและผลไม้ 0.40 0.36 0.30 0.60 0.65 8.33
8703 รถยนต์อื่น ๆ 0.07 0.06 0.17 0.30 0.59 96.67
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 0.06 0.00 0.09 0.48 0.43 -10.42
2106 อาหารปรุงแต่งอื่น ๆ 0.15 0.20 0.23 0.19 0.18 -5.26
- อื่น ๆ 0.66 0.66 0.83 0.68 0.57 -4.39
รวม 1.99 1.99 4.48 4.78 4.49 -6.07
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 20 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Bahamas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Bahamas ได้แก่เรือลากจูงหรือเรือดัน (HS 8904) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น
112.93 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,727 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 94.73 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด รองลงมา
เศษเหล็ก (HS 7204) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 6.10 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 201 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 5.12 ของ
มูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด ตามด้วยเศษอะลูมิเนียม (HS 7602) ตะปูหรือสลักเกลียว (HS 73) และเอทิลแอลกอฮอล์
(HS 22) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Bahamas
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8904 เรือลากจูงหรือเรือดัน 0.00 0.00 0.00 0.00 112.93 n/a
7204 เศษเหล็ก 6.41 7.20 10.76 6.61 6.10 -7.72
7602 เศษอะลูมเิ นียม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.10 n/a
7318 ตะปูหรือสลักเกลียว 0.00 0.00 0.00 0.00 0.07 n/a
2208 เอทิลแอลกอฮอล์ 0.09 0.03 0.05 0.02 0.01 -50.00
- อื่น ๆ 0.01 0.02 1.19 0.00 -1,332.40 -1,332.40
รวม 6.51 7.25 12.00 6.63 119.21 1,698.22
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 21 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

4. ประเทศ Dominican Republic

ข้อมูลพื้นฐาน Dominican Republic


Dominican Republic เป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจขนาดที่สุดเป็นอันดับที่ 9 ในกลุ่มละติน
อเมริกา และเป็นอันดับที่ 2 ของกลุ่มแคริบเบียนและอเมริกากลาง โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากอุตสาหกรรมการ
บริการและการท่องเที่ยว (ร้อยละ 67.5) อุตสาหกรรมการผลิต (ร้อยละ 21.0) และ การเกษตร (ร้อยละ 11.5)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 61,164 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2.02 ล้านล้านบาท) (72nd)
GNI Per Capita, PPP 11,630 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 383,790 บาท) (111st)
จํานวนประชากร 10,403,761 คน (84th)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ เหมืองแร่นิเกิล เหมืองทอง สิ่งทอ ซีเมนต์ ยาสูบ น้ําตาล
และ การท่องเที่ยว
 สิน ค้า นํา เข้ าหลัก ได้แ ก่ อาหาร ปิโ ตรเคมี ฝ้า ย สิ่ง ทอ สารเคมี และยา โดยนํ าเข้า จากสหรั ฐ ฯ
(ร้ อ ยละ 42.5) เวเนซุ เ อลา (ร้ อ ยละ 7.4) จี น (ร้ อ ยละ 6.2) เม็ ก ซิ โ ก (ร้ อ ยละ 5.2) และ
โคลอมเบีย (ร้อยละ 4.2)
 สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ แร่นิกเกิล น้ําตาล ทองคํา เงิน กาแฟ โกโก้ ยาสูบ เนื้อสัตว์ สินค้าและ
อุปโภคบริโภค โดยส่งออกไปยังสหรัฐฯ (ร้อยละ 46.1) เฮติ (ร้อยละ 17.4) และจีน (ร้อยละ 4.2)
สถิติการค้าไทย – Dominican Republic ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Dominican Republic เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.58 จาก 99.65
ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,288 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 117.17 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,867ล้าน
บาท) โดยไทยเกินดุลการค้าทั้งสิ้น 74.35 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,454 ล้านบาท) เนื่องจากมูลค่าการ
ส่งออกสินค้าประเภทรถยนต์และรถบรรทุก และสินค้าที่ทําจากพลาสติกเพิ่มขึ้น
 ไทยส่งออกสินค้าไป Dominican Republic เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.44 จาก 68.67 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 2,266 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 95.76 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 3,160 ล้าน
บาท) ในปี 2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Dominican Republic ลดลงร้อยละ 30.88 จาก 30.98 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 1,022 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 21.41 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 707 ล้านบาท)
ในปี 2557
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 22 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Dominican Republic ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 93.65 210.8 119.28 99.65 117.17 17.58
ไทยส่งออก 78.36 185.98 94.26 68.67 95.76 39.44
ไทยนําเข้า 15.29 24.82 25.02 30.98 21.41 -30.88
ดุลการค้า 63.07 161.16 69.24 37.69 74.35 97.27
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Dominican Republic
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Dominican Republic ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน(HS
8704) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 56.86 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,876 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 59.38 ของมูลค่าไทย
ส่งออกทั้งหมด รองลงมาปลาปรุงแต่ง (HS 1604) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 10.68 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 352 ล้าน
บาท) คิดเป็นร้อยละ 11.15 ของมูลค่าไทยส่งออกไปทั้งหมด ตามด้วยรถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) ยางรถยนต์ใหม่ (HS
4011) และ เครื่องซักผ้า (HS 8450) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Dominican Republic
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 23.75 22.80 57.37 36.41 56.86 56.17
1604 ปลาปรุงแต่ง 10.59 16.54 16.51 11.13 10.68 -4.04
8703 รถยนต์อื่น ๆ 15.80 11.47 1.47 1.10 7.54 585.45
4011 ยางรถยนต์ใหม่ 4.48 3.81 4.22 4.07 4.56 12.04
8450 เครื่องซักผ้า 2.22 1.51 1.01 1.63 1.63 0.00
- อื่น ๆ 21.52 129.85 13.68 14.33 14.49 1.12
รวม 78.36 185.98 94.26 68.67 95.76 39.45
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Dominican Republic
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Dominican Republic ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่ทําด้วยพลาสติกอื่น ๆ (HS 3926)
เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 4.75 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 157 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 22.19 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด
รองลงมาเศษเหล็ก (HS 7204) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 4.53 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 149 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ
21.16 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด ตามด้วยลวดและเคเบิล (HS 8544) อุปกรณ์การแพทย์ (HS 9018) และ
ผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม (HS 3006) ตามลําดับ

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 23 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Dominican Republic


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
3926 ผลิตภัณฑ์ทําด้วยพลาสติกอื่น ๆ 0.98 1.04 1.83 3.69 4.75 28.73
7204 เศษเหล็ก 5.27 14.77 11.47 12.79 4.53 -64.58
8544 ลวดและเคเบิล 3.47 3.33 3.19 4.76 3.96 -16.81
9018 อุปกรณ์การแพทย์ 0.78 1.33 1.54 1.84 2.40 30.43
3006 ผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม 0.55 0.90 2.19 1.67 2.03 21.56
- อื่น ๆ 4.24 3.45 4.80 6.23 3.74 -39.97
รวม 15.29 24.82 25.02 30.98 21.41 -30.89
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 24 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

5. ประเทศ Jamaica

ข้อมูลพื้นฐาน Jamaica
ระบบเศรษฐกิจของ Jamaica เป็นแบบผสมผสานระหว่างกลุ่มธุรกิจรัฐวิสาหกิจและกลุ่มธุรกิจเอกชน
ในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกัน โดยรายได้ส่วนใหญ่มาจากการท่องเที่ยวและการให้บริการทางการเงิน (ร้อยละ 64.1)
ส่วนที่เหลือมาจาก อุตสาหกรรมการผลิตและเหมืองแร่ (ร้อยละ 29.4) และ การเกษตร (ร้อยละ 6.5)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 14,362 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 473,946 ล้านบาท) (121st)
GNI Per Capita, PPP 8,490 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 280,170 บาท) (130th)
จํานวนประชากร 2,715,000 คน (140th)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ การท่องเที่ยว เหมืองแร่บอกไซต์ เหมืองแร่อะลูมิเนียม
อุตสาหกรรมผลิตอาหาร เหล้ารัม ซีเมนต์ โลหะ กระดาษ สารเคมี และการสื่อสาร
 สิ น ค้ า นํ า เข้ า หลั ก ได้ แ ก่ อาหาร สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค วั ต ถุ ดิ บ สํ า หรั บ อุ ต สาหกรรม พลั ง งาน
เครื่องจักร และอุปกรณ์สําหรับการขนส่ง และวัสดุก่อสร้าง โดยนําเข้าจากสหรัฐฯ (ร้อยละ 30.1)
เวเนซุเอลา (ร้อยละ 14.8) ตรินิเดดและโตเบโก (ร้อยละ 14.4) และจีน (ร้อยละ 11.9)
 สิ น ค้ า ส่ ง ออกหลั ก ได้ แ ก่ แร่ อะลู มิ เ นี ย ม แร่ บ อกไซต์ น้ํ า ตาล เหล้ า รั ม กาแฟ เผื อก เครื่ องดื่ ม
สารเคมี และพลังงานธรรมชาติ โดยส่งออกไปยังสหรัฐฯ (ร้อยละ 38.7) รัสเซีย (ร้อยละ 8.1)
แคนาดา (ร้อยละ 7.8) และ สโลเวเนีย (ร้อยละ 5.6)
สถิติการค้าไทย – Jamaica ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Jamaica เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.62 จาก 40.94 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 1,351 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 43.24 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,427 ล้านบาท) โดยไทยเกินดุล
การค้าทั้งสิ้น 33.22 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,096 ล้านบาท)
 ไทยส่งออกสินค้าไป Jamaica ลดลงร้อยละ 1 จาก 38.61 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,274
ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 38.23 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 1,262 ล้านบาท) ในปี 2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Jamaica เพิ่มขึ้นร้อยละ 115.37 จาก 2.33 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ
77 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 5.01 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 165 ล้านบาท) ในปี 2557

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 25 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Jamaica ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 32.46 35.38 41.62 40.94 43.24 5.62
ไทยส่งออก 31.26 34.40 40.95 38.61 38.23 -1.00
ไทยนําเข้า 1.20 0.98 0.67 2.33 5.01 115.37
ดุลการค้า 30.06 33.42 40.28 36.28 33.22 -8.43
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Jamaica
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Jamaica ได้แก่ ปลาปรุงแต่ง (HS 1604) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 13.78 ล้าน
เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 455 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 36.04 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด รองลงมารถยนต์อื่น ๆ
(HS 8703) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 11.77 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 388 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 30.79 ของมูลค่า
ไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยรถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน (HS 8704) อาหารปรุงแต่งอื่น ๆ (HS 2106) และ
ข้าว (HS 1006) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Jamaica
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
1604 ปลาปรุงแต่ง 10.88 12.82 16.43 14.33 13.78 -3.84
8703 รถยนต์อื่น ๆ 5.90 6.52 5.33 6.97 11.77 68.87
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 6.81 3.05 9.08 9.51 4.06 -57.31
2106 อาหารปรุงแต่งอื่น ๆ 0.65 1.48 1.96 2.01 2.72 35.32
1006 ข้าว 0.52 0.64 0.63 0.88 0.65 -26.14
- อื่น ๆ 6.5 9.89 7.52 4.91 5.25 6.92
รวม 31.26 34.40 40.95 38.61 38.23 -0.98
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Jamaica
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Jamaica ได้แก่ เศษเหล็ก (HS 7204) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 4.81 ล้านเหรียญ
สหรัฐ (ประมาณ 156 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 96.01 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด รองลงมาเอทิลแอลกอฮอล์ (HS
2208) อุปกรณ์ประกอบจักยานยนต์ (HS 8714) วงจรอิเล็กทรอนิกส์ (HS 8542) และ เศษอะลูมิเนียม (HS 7602)
ตามลําดับ

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 26 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Jamaica


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
7204 เศษเหล็ก 0.53 0.74 0.52 2.22 4.81 116.67
2208 เอทิลแอลกอฮอล์ 0.01 0.01 0.02 0.02 0.05 150.00
8714 อุปกรณ์ประกอบจักยานยนต์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.05 n/a
8542 วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 0.00 0.00 0.00 0.03 0.03 0.00
7602 เศษอะลูมเิ นียม 0.20 0.00 0.00 0.00 0.03 n/a
- อื่น ๆ 0.46 0.23 0.13 0.06 0.04 -33.33
รวม 1.20 0.98 0.67 2.33 5.01 115.02
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 27 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

6. ประเทศ Haiti

ข้อมูลพื้นฐาน Haiti
สถานะทางเศรษฐกิจของ Haiti ค่อนข้างยากจนและขาดเสถียรภาพเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มประเทศ
ในทวีปอเมริกา โดยยังจําเป็นต้องพึงพาความช่วยเหลือจากองค์กรความช่วยเหลือระหว่างประเทศในด้านต่าง ๆ
เช่น International Monetary Fund (IMF) รายได้ส่วนใหญ่จากการให้บริการทางด้านการเงินและการท่องเที่ยว
(ร้อยละ 55.3) ส่วนที่เหลือมาจากการเกษตร (ร้อยละ 25.7) และอุตสาหกรรมการผลิตขนาดเล็ก (ร้อยละ 19.0)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 8,459 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 279,147 ล้านบาท) (140th)
GNI Per Capita, PPP 1,720 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 56,760 บาท) (191st)
จํานวนประชากร 10,317,461 คน (86th)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ น้ําตาล แป้ง สิ่งทอ ซีเมนต์ และอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
 สินค้ านํ าเข้าหลัก ได้แ ก่ อาหาร สิน ค้า อุต สาหกรรม เครื่ องจั กร และอุ ปกรณ์ สํา หรับ การขนส่ ง
พลังงาน และวัตถุดิบในการผลิตอื่น ๆ โดยนําเข้าจากสาธารณรัฐโดมินิกัน (ร้อยละ 35.9) สหรัฐฯ
(ร้อยละ 24.7) เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส (ร้อยละ 9.8) และจีน (ร้อยละ 6.6)
 สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม สินค้าอุตสาหกรรม น้ํามัน โกโก้ มะม่วง และกาแฟ โดย
ส่งออกไปยังสหรัฐฯ (ร้อยละ 81.5)
สถิติการค้าไทย – Haiti ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Haiti เพิ่มขึ้นร้อยละ 42.91 จาก 18.76 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 619 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 26.81 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 885 ล้านบาท) โดยไทยเกินดุล
การค้าทั้งสิ้น 9.25 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 305 ล้านบาท)
 ไทยส่งออกสินค้าไป Haiti เพิ่มขึ้นร้อยละ 41.78 จาก 12.71 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 419
ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 18.03 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 595 ล้านบาท) ในปี 2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Haiti เพิ่มขึ้นร้อยละ 45.12 จาก 6.05 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 200
ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 8.78 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 290 ล้านบาท) ในปี 2557

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 28 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Haiti ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 26.26 26.63 27.61 18.76 26.81 42.91
ไทยส่งออก 21.40 22.96 13.09 12.71 18.03 41.78
ไทยนําเข้า 4.86 3.67 14.52 6.05 8.78 45.12
ดุลการค้า 16.54 19.29 -1.43 6.66 9.25 38.89
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Haiti
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Haiti ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน (HS 8704) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น
13.17 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 435 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 73.04 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด รองลงมา
ส่วนประกอบรถยนต์ (HS 8708) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1.02 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 34 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ
5.66 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยรถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) ยางรถยนต์ใหม่ (HS 4011) และ อาหารปรุง
แต่งที่ทําจากแป้ง (HS 1901) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Haiti
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 9.93 9.48 10.23 10.02 13.17 31.44
8708 ส่วนประกอบรถยนต์ 0.36 0.79 0.54 0.67 1.02 52.24
8703 รถยนต์อื่น ๆ 6.72 6.16 0.49 0.65 0.98 50.77
4011 ยางรถยนต์ใหม่ 0.14 0.14 1.00 0.75 0.71 -5.33
1901 อาหารปรุงแต่งที่ทําจากแป้ง 0.00 0.00 0.00 0.02 0.39 1,850.00
- อื่น ๆ 6.96 8.78 9.03 8.53 11.83 38.69
รวม 21.40 22.96 13.09 12.71 18.03 41.86
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Haiti
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Haiti ได้แก่ เศษเหล็ก (HS 7204) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 8.54 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 282 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 97.27 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด รองลงมาหม้อแปลงไฟฟ้า (HS 8504)
เสื้อยืด (HS 6109) เศษอะลูมิเนียม (HS 7602) และตัวถังหรือหลังคารถยนต์ (HS 8708) ตามลําดับ

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 29 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Haiti


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
7204 เศษเหล็ก 4.70 3.57 14.36 5.70 8.54 49.82
8504 หม้อแปลงไฟฟ้า 0.00 0.00 0.05 0.20 0.07 -65.00
6109 เสื้อยืด 0.00 0.00 0.00 0.04 0.04 0.00
7602 เศษอะลูมเิ นียม 0.04 0.03 0.00 0.00 0.04 n/a
8708 ตัวถังหรือหลังคารถยนต์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 n/a
- อื่น ๆ 0.12 0.07 0.11 0.11 0.06 -50.42
รวม 4.86 3.67 14.52 6.05 8.78 45.00
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 30 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

7. ประเทศ Barbados

ข้อมูลพื้นฐาน Barbados
Barbados เป็นประเทศที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วนับตั้งแต่ได้รับเอกราชจากประเทศ
อังกฤษ โดยเปลี่ยนแปลงจากประเทศผู้ผลิตน้ําตาลไปเป็นประเทศเป้าหมายการเดินทางของนักท่องเที่ยว (Travel
Destination) อันดับต้น ๆ ของโลก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวชาวอเมริกัน รายได้ส่วนใหญ่จึงมาจากอุตสหกรรมการ
ให้ บ ริ ก ารและการท่ องเที่ ย ว (ร้ อ ยละ 83.3) ส่ ว นที่ เ หลื อ มาจาก อุ ต สาหกรรมการผลิ ต (ร้ อยละ 13.6) และ
การเกษตร (ร้อยละ 3.1)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
2
GDP 4,225 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 279,147 ล้านบาท) (154th)
GNI Per Capita, PPP2 15,090 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 56,760 บาท) (95th)
จํานวนประชากร 284,644 คน (177th)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ การท่องเที่ยว น้ําตาล อุตสาหกรรมขนาดเล็ก และการประกอบ
สินค้าเพื่อส่งออก
 สิ น ค้ า นํ า เข้ า หลั ก ได้ แ ก่ สิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภค เครื่ อ งจั ก ร อาหาร อุ ป กรณ์ ก่ อ สร้ า ง สารเคมี
พลังงาน และชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์ โดยนําเข้าจากตรินิเดดและโตเบโก (ร้อยละ 37.9) สหรัฐฯ
(ร้อยละ 25.7) และจีน (ร้อยละ 5.4)
 สินค้า ส่งออกหลัก ได้แ ก่ สิ นค้า อุตสาหกรรม น้ํา ตาล กากน้ํ าตาล เหล้า รัม อาหาร เครื่ องดื่ ม
สารเคมี ชิ้นส่วนอิเล็คทรอนิกส์ โดยส่งออกไปยังตรินิเดดและโตเบโก (ร้อยละ 21.3) สหรัฐฯ (ร้อย
ละ 11.0) เซนต์ลูเซีย (ร้อยละ 9.9) เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ (ร้อยละ 6.1) แอนติกาและ
บาร์บูดา (ร้อยละ 5.0) เซนต์คิตส์และเนวิส (ร้อยละ 4.7) จาเมกา (ร้อยละ 4.5) อังกฤษ (ร้อยละ
4.1) และ โคลอมเบีย (ร้อยละ 4.0)
สถิติการค้าไทย – Barbados ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Barbados เพิ่มขึ้นร้อยละ 31.11 จาก 11.83 ล้านเหรียญ
สหรัฐ (ประมาณ 390 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 15.51 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 512 ล้านบาท) โดยไทย
เกินดุลการค้าทั้งสิ้น 10.61 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 350 ล้านบาท)

2
ข้อมูลปี 2555
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 31 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ไทยส่งออกสินค้าไป Barbados เพิ่มขึ้นร้อยละ 29.59 จาก 10.08 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ



333 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 13.06 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 431 ล้านบาท) ในปี 2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Barbados เพิ่มขึ้นร้อยละ 39.78 จาก 1.75 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ
58 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 2.45 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 81 ล้านบาท) ในปี 2557
ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Barbados ระหว่างปี 2553 – 2557
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 10.47 10.69 14.85 11.83 15.51 31.11
ไทยส่งออก 8.99 9.65 10.25 10.08 13.06 29.59
ไทยนําเข้า 1.48 1.04 4.60 1.75 2.45 39.78
ดุลการค้า 7.51 8.61 5.65 8.33 10.61 27.37
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Barbados
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Barbados ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน (HS 8704) เป็นมูลค่า
ทั้งสิ้น 5.82 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 192 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 44.56 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด
รองลงมาปลาปรุงแต่ง (HS 1604) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 2.99 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 99 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ
22.89 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยรถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) น้ําผักและผลไม้ (HS 2009) และ
เครื่องปรับอากาศ (HS 8415) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Barbados
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 5.01 4.23 4.78 6.34 5.82 -8.20
1604 ปลาปรุงแต่ง 1.95 3.32 4.02 1.49 2.99 100.67
8703 รถยนต์อื่น ๆ 0.85 0.80 0.31 0.99 2.89 191.92
2009 น้ําผักและผลไม้ 0.11 0.15 0.08 0.03 0.26 766.67
8415 เครื่องปรับอากาศ 0.26 0.17 0.18 0.54 0.17 -68.52
- อื่น ๆ 0.81 0.98 0.88 0.69 0.93 29.18
รวม 8.99 9.65 10.25 10.08 13.06 35.09
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 32 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Barbados
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Barbados ได้แก่ เศษเหล็ก (HS 72) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 2.21 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 73 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 90.20 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด รองลงมาเอทิลแอลกอฮอล์ (HS 2208)
เศษอะลูมิเนียม (HS 7602) เครื่องเอกซเรย์ (HS 9021) และตัวต้านทานไฟฟ้า (HS 8533) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Barbados
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
7204 เศษเหล็ก 0.57 0.80 4.42 1.60 2.21 38.13
2208 เอทิลแอลกอฮอล์ 0.12 0.11 0.12 0.03 0.19 533.33
7602 เศษอะลูมเิ นียม 0.00 0.00 0.00 0.00 0.03 n/a
9021 เครื่องเอกซเรย์ 0.02 0.00 0.01 0.01 0.01 0.00
8533 ตัวต้านทานไฟฟ้า 0.00 0.00 0.01 0.00 0.01 n/a
- อื่น ๆ 0.77 0.13 0.04 0.11 0.00 -100.25
รวม 1.48 1.04 4.60 1.75 2.45 39.78
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 33 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

8. ประเทศ Antigua and Barbuda

ข้อมูลพื้นฐาน Antigua and Barbuda


Antigua and Barbuda เป็นประเทศขนาดเล็กในกลุ่มประเทศแคริบเบียนมีรายได้หลักมาจากการ
ให้บริ การทางการเงิน และการท่องเที่ยว (ร้ อยละ 78.3) อุ ตสาหกรรมการผลิ ตขนาดเล็ก (ร้อยละ 19.6) และ
การเกษตร (ร้อยละ 2.1)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 1,201 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 39,633 ล้านบาท) (175th)
GNI Per Capita, PPP 20,490 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 676,170 บาท) (79th)
จํานวนประชากร 284,644 คน (194th)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ การท่องเที่ยว การก่อสร้าง และ อุตสาหกรรมขนาดเล็ก เช่น
เครื่องนุ่งห่ม แอลกอฮอล์ และเครื่องใช้ภายในบ้าน
 สิ น ค้ า นํ า เข้ า หลั ก ได้ แ ก่ อาหาร สั ต ว์ มี ชี วิ ต เครื่ อ งจั ก รและอุ ป กรณ์ สํ า หรั บ การขนส่ ง สิ น ค้ า
อุ ต สาหกรรม สารเคมี และน้ํ า มั น โดยนํ า เข้ า จากสหรั ฐ ฯ (ร้ อยละ 20.3) จี น (ร้ อยละ 15.7)
สิงคโปร์ (ร้อยละ 12.2) เยอรมนี (ร้อยละ 10.9) และสเปน (ร้อยละ 6.3)
 สิ น ค้ า ส่ ง ออกหลั ก ได้ แ ก่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเคมี เครื่ องนอน หั ต ถกรรม ชิ้ น ส่ ว นอิ เ ล็ ค ทรอนิ ก ส์
อุปกรณ์สําหรับการขนส่ง อาหาร และสัตว์มีชีวิต
สถิติการค้าไทย – Antigua and Barbuda ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Antigua and Barbuda เพิ่มขึ้นร้อยละ 237.08 จาก 2.40
ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 79 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 8.09 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 267 ล้านบาท)
 ไทยส่งออกสินค้าไป Antigua and Barbuda เพิ่มขึ้นร้อยละ 157.67 จาก 1.59 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 52 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 4.09 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 135 ล้านบาท) ในปี
2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Antigua and Barbuda เพิ่มขึ้นร้อยละ 394.84 จาก 0.81 ล้านเหรียญ
สหรัฐ (ประมาณ 27 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 4.00 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 132 ล้านบาท)
ในปี 2557

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 34 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Antigua and Barbuda ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 1.03 1.03 1.78 2.40 8.09 237.08
ไทยส่งออก 1.00 0.68 0.89 1.59 4.09 157.67
ไทยนําเข้า 0.03 0.35 0.89 0.81 4.00 394.84
ดุลการค้า 0.97 0.33 0.00 0.78 0.09 -88.46
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Antigua and Barbuda
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Antigua and Barbuda ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน
(HS 8704) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1.59 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 52 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 38.88 ของมูลค่าไทย
ส่งออกทั้งหมด รองลงมาเครื่องปรับอากาศ (HS 8415) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1.07 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 35
ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 26.16 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยรถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) วงจรอิเล็กทรอนิกส์
(HS 8542) และอุปกรณ์ก่อสร้าง (HS 7308) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Antigua and Barbuda
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 0.11 0.06 0.50 1.10 1.59 44.55
8415 เครื่องปรับอากาศ 0.00 0.00 0.00 0.00 1.07 n/a
8703 รถยนต์อื่น ๆ 0.47 0.30 0.10 0.16 0.46 187.5
8542 วงจรอิเล็กทรอนิกส์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.39 n/a
7308 อุปกรณ์ก่อสร้าง 0.04 0.05 0.02 0.06 0.12 100.00
- อื่น ๆ 0.38 0.27 0.27 0.27 0.46 70.37
รวม 1.00 0.68 0.89 1.59 4.09 157.23
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Antigua and Barbuda
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Antigua and Barbuda ได้แก่ ตัวถังหรือหลังคารถยนต์ (HS 8708) เป็น
มูลค่าทั้งสิ้น 3.31 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 109 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 83.00 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด
รองลงมา เศษเหล็ก (HS 7204) เครื่องประดับ (HS 7113) ผ้าใบเรือ (HS 6306) อุปกรณ์เขียนแบบคณิตศาสตร์ (HS
9017) และ ตามลําดับ

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 35 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Antigua and Barbuda


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8708 ตัวถังหรือหลังคารถยนต์ 0.00 0.00 0.00 0.00 3.31 n/a
7204 เศษเหล็ก 0.00 0.00 0.86 0.68 0.68 0.00
7113 เครื่องประดับ 0.01 0.00 0.00 0.00 0.01 n/a
6306 ผ้าใบเรือ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 n/a
9017 อุปกรณ์เขียนแบบคณิตศาสตร์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 n/a
- อื่น ๆ 0.02 0.35 0.03 0.13 0.00 -99.25
รวม 0.03 0.35 0.89 0.81 4.00 394.84
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 36 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

9. หมู่เกาะ British Virgin Island

ข้อมูลพื้นฐาน British Virgin Island


British Virgin Island เป็นหมู่เกาะที่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในกลุ่มแคริบเบียนถึงแม้จะเป็นอาณา
เขตขนาดเล็ก รายได้หลักมาจากการให้บริการทางการเงินและการท่องเที่ยว (ร้อยละ 92.0) อุตสาหกรรมการผลิต
ขนาดเล็ก (ร้อยละ 6.2) และ การเกษตร (ร้อยละ 1.8)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
3
GDP 909 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 29,997 ล้านบาท)
GNI Per Capita, PPP3 29,436 เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 1,873,080 บาท)
จํานวนประชากร 28,054 คน
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ การท่องเที่ยว และบริการทางการเงิน
 สินค้านําเข้าหลัก ได้แก่ อุปกรณ์ก่อสร้าง รถยนต์ อาหาร และเครื่องจักร โดยนําเข้าจากหมู่เกาะ
เวอร์จินของสหรัฐฯ และเปอร์โตริโก
 สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ เหล้ารัม ปลาสด ผลไม้ หิน และทราย โดยส่งออกไปยังหมู่เกาะเวอร์จิน
ของสหรัฐฯ และเปอร์โตริโก
สถิติการค้าไทย – British Virgin Island ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ British Virgin Island ลดลงร้อยละ 18.21 จาก 7.66 ล้าน
เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 253 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 6.26 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 207 ล้านบาท) โดย
ไทยเกินดุลการค้าทั้งสิ้น 2.84 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 94 ล้านบาท)
 ไทยส่งออกสินค้าไป British Virgin Island เพิ่มขึ้นร้อยละ 28.46 จาก 3.54 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 117 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 4.55 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 150 ล้านบาท) ในปี
2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก British Virgin Island ลดลงร้อยละ 58.58 จาก 4.12 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 136 ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 1.71 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 56 ล้านบาท) ในปี
2557

3
ที่มา: UN Data https://data.un.org/CountryProfile.aspx?crName=British%20Virgin%20Islands
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 37 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – British Virgin Island ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 1.16 3.10 6.29 7.66 6.26 -18.28
ไทยส่งออก 1.00 2.17 4.69 3.54 4.55 28.46
ไทยนําเข้า 0.16 0.93 1.60 4.12 1.71 -58.58
ดุลการค้า 0.84 1.24 3.09 -0.58 2.84 -589.66
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป British Virgin Island
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง British Virgin Island ได้แก่ นาฬิกา (HS 91) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 3.13 ล้าน
เหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 103 ล้า นบาท) คิด เป็ นร้ อยละ 68.79 ของมูล ค่าไทยส่ งออกทั้งหมด รองลงมาสิ นค้ า
รถยนต์รถบรรทุก (HS 87) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 1.03 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 34 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 23.00
ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด ตามด้วยเครื่องจักร (HS 84) เครื่องใช้ไฟฟ้า (HS 85) และสิ่งทอ (HS 60) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป British Virgin Island
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
9101 นาฬิกาข้อมือ 0.00 0.37 3.02 2.69 3.13 16.36
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 0.24 0.44 0.31 0.66 1.02 54.55
8443 เครื่องพิมพ์ 0.00 0.26 0.02 0.00 0.13 n/a
8504 หม้อแปลงไฟฟ้า 0.00 0.05 0.00 0.00 0.13 n/a
8428 เครื่องจักรสําหรับยก ขนย้ายอื่น ๆ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.04 n/a
- อื่น ๆ 0.76 1.05 1.34 0.19 0.1 -47.37
รวม 1.00 2.17 4.69 3.54 4.55 28.53
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก British Virgin Island
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก British Virgin Island ได้แก่ สารเจือเหล็ก (HS 7202) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 0.82
ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 27 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 47.95 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด รองลงมา เรือยอชต์
(HS 8903) อะลูมิเนียม (HS 7601) ถ่านหิน (HS 2704) และไม้ที่ยังไม่แปรรูป (HS 4403) ตามลําดับ

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 38 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก British Virgin Island


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
7202 สารเจือเหล็ก 0.00 0.00 0.00 0.00 0.82 n/a
8903 เรือยอชต์ 0.00 0.43 0.00 0.32 0.47 46.88
7601 อะลูมิเนียม 0.00 0.24 0.41 0.89 0.21 -76.40
2704 ถ่านหิน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.06 n/a
4403 ไม้ที่ยังไม่แปรรูป 0.00 0.00 0.00 0.00 0.05 n/a
- อื่น ๆ 0.16 0.26 1.19 2.91 0.10 -96.72
รวม 0.16 0.93 1.60 4.12 1.71 -58.58
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 39 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

10. เกาะ Aruba

ข้อมูลพื้นฐาน Aruba
Aruba เป็นเกาะที่มีรายได้หลักมาจากการให้บริการทางการเงินและการท่องเที่ยว (ร้อยละ 66.3)
อุตสาหกรรมการผลิตขนาดเล็ก (ร้อยละ 33.3) และ การเกษตร (ร้อยละ 0.4)
ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจ ปี 2556
GDP 2,584 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 85,272 ล้านบาท) (163th)
GNI Per Capita, PPP4 23,367เหรียญสหรัฐต่อคน (ประมาณ 771,111 บาท)
จํานวนประชากร 102,911 คน (192th)
ที่มา: World Bank
 อุตสาหกรรมหลักของประเทศ ได้แก่ การท่องเที่ยว การขนส่ง และการกลั่นน้ํามัน
 สินค้านําเข้าหลัก ได้แก่ เครื่องจักร อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ น้ํามันดิบ สารเคมี และอาหาร โดย
นําเข้าจากสหรัฐฯ (ร้อยละ 54.6) เนเธอร์แลนด์ (ร้อยละ 12.0) และอังกฤษ (ร้อยละ 4.7)
 สินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ สัตว์และชิ้นส่วนสัตว์ งานศิลปะ เครื่องจักร อุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ และ
อุปกรณ์สําหรับการขนส่ง โดยส่งออกไปยังปานามา (ร้อยละ 29.7) โคลอมเบีย (ร้อยละ 17.0)
เนเธอร์แลนด์แอนทิลลิส (ร้อยละ 13.2) สหรัฐฯ (ร้อยละ 11.3) เวเนซุเอลา (ร้อยละ 10.9)
และเนเธอแลนด์ (ร้อยละ 9.2)
สถิติการค้าไทย – Aruba ระหว่างปี 2553 – 2557
ในปี 2557 มูลค่าการค่าระหว่างไทยกับ Aruba เพิ่มขึ้นร้อยละ 35.61 จาก 4.10 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 135 ล้านบาท) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 5.56 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 183 ล้านบาท) โดยไทยเกินดุล
การค้าทั้งสิ้น 4.00 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 132 ล้านบาท)
 ไทยส่งออกสินค้าไป Aruba เพิ่มขึ้นร้อยละ 25.07 จาก 3.83 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 126
ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 5.56 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 183 ล้านบาท) ในปี 2557
 ไทยนําเข้าสินค้าจาก Aruba เพิ่มขึ้นร้อยละ 184.07 จาก 0.27 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 9
ล้านบาท) ในปี 2556 เป็น 0.78 ล้านเหรียฐสหรัฐ (ประมาณ 26 ล้านบาท) ในปี 2557

4
ที่มา: UN Data https://data.un.org/CountryProfile.aspx?crName=Aruba
สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 40 / 42
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงมูลค่าการค้าไทย – Aruba ระหว่างปี 2553 – 2557


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
มูลค่าการค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
มูลค่าการค้า 3.20 2.33 3.65 4.10 5.56 35.61
ไทยส่งออก 3.08 2.32 3.59 3.83 4.78 25.07
ไทยนําเข้า 0.12 0.01 0.06 0.27 0.78 184.07
ดุลการค้า 2.96 2.31 3.53 3.56 4.00 12.36
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไป Aruba
สินค้าสําคัญที่ไทยส่งออกไปยัง Aruba ได้แก่ รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน (HS 8704) เป็นมูลค่า
ทั้งสิ้น 2.02 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 66.66 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 42.26 ของมูลค่าไทยส่งออกทั้งหมด
รองลงมารถยนต์อื่น ๆ (HS 8703) สัตว์ปีก (HS 0207) เครื่องปรับอากาศ (HS 8415) และเนื้อสัตว์แปรรูป (HS
0201) ตามลําดับ
ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยส่งออกไป Aruba
มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
8704 รถยนต์ขนส่งขนาดต่ํากว่า 5 ตัน 1.55 0.74 2.10 1.97 2.02 2.54
8703 รถยนต์อื่น ๆ 0.60 0.45 0.42 0.66 1.78 169.70
0207 สัตว์ปีก 0.00 0.00 0.00 0.22 0.25 13.64
8415 เครื่องปรับอากาศ 0.03 0.01 0.18 0.26 0.23 -11.54
0210 เนื้อสัตว์แปรรูป 0.00 0.00 0.17 0.00 0.09 n/a
- อื่น ๆ 0.9 1.12 0.72 0.72 0.41 -43.06
รวม 3.08 2.32 3.59 3.83 4.78 24.80
ที่มา: World Trade Atlas
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Aruba
สินค้าสําคัญที่ไทยนําเข้าจาก Aruba ได้แก่ เศษเหล็ก (HS 72) เป็นมูลค่าทั้งสิ้น 0.78 ล้านเหรียญสหรัฐ
(ประมาณ 26 ล้านบาท) คิดเป็นร้อยละ 100 ของมูลค่าไทยนําเข้าทั้งหมด

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 41 / 42


ข้อมูลเศรษฐกิจการค้าไทย – แคริบเบียน

ตารางแสดงสินค้าสําคัญ 5 อันดับที่ไทยนําเข้าจาก Aruba


มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐ อัตราการ
ขยายตัว
HS สินค้า
2553 2554 2555 2556 2557 57/56
(ร้อยละ)
7204 เศษเหล็ก 0.10 0.00 0.05 0.27 0.78 188.89
5407 ผ้าใยสังเคราะห์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 n/a
4901 อากรแสตมป์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 n/a
0506 ชิ้นส่วนซากสัตว์ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 n/a
3206 วัตถุแต่งสีอื่น ๆ 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 n/a
- อื่น ๆ 0.02 0.01 0.01 0.00 0.00 n/a
รวม 0.12 0.01 0.06 0.27 0.78 188.89
ที่มา: World Trade Atlas

สํานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ เมืองไมอามี ประเทศสหรัฐอเมริกา หน้า 42 / 42

You might also like