You are on page 1of 13

กองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐ

ดอกเบี้ย 1%
ปลอดเงินต้น 3 ปี
ระยะเวลาผ่อนชาระ 7 ปี
หมายเหตุ: - วงเงินกู้สูงสุดรายละไม่เกิน 10 ล้านบาท
- ระยะเวลาปลอดต้น และผ่อนชาระจริงขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะอนุกรรมการฯ

2
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเป็นทุนช่วยเหลือ สนับสนุน SMEs ให้มีการพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมที่มี
มูลค่าสูงตามยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์การปฏิรูปประเทศไทยที่สอดคล้อง
ตามนโยบาย Thailand 4.0

2. เพื่อเป็นกองทุนที่จะช่วยเติมเต็มให้ SMEs ที่มีอุปสรรคไม่สามารถเข้าถึงแหล่ง


เงินทุนปกติได้ มีเงินทุนที่จะสามารถพัฒนาธุรกิจให้มีศักยภาพเพียงพอที่จะเข้าสู่
ระบบการเงินปกติของสถาบันการเงินเอกชนได้ ซึ่งจะทาให้ SMEs เป็นฐาน
การสร้างรายได้และฐานทางเศรษฐกิจของประเทศ

3. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ และยกระดับให้เป็นประเทศที่มีรายได้สูง
โดยเน้นการสร้างความเข้มแข็งจากเศรษฐกิจภายใน (Local economy)
ตามหลักการ Thailand 4.0

3
หลักการให้ความช่วยเหลือกองทุน
1. เป็นการสนับสนุนให้ความช่วยเหลือด้านเงินทุนโดยนากลไก
ประชารัฐมาใช้ประโยชน์ในการดาเนินงาน โดยมีสานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนในท้องถิ่น
ต่างๆ เช่น สภาอุตสาหกรรมฯ สภาหอการค้าฯ สมาพันธ์เอสเอ็มอี
และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในพื้นที่

2. เป็นการให้เงินทุนที่ควบคู่กับการส่งเสริมกระบวนการพัฒนา
ในด้านการพัฒนาเทคโนโลยี/มาตรฐานเพื่อเพิ่มผลิตภาพ
ด้านการบริหารจัดการ โดยการวางแผนธุรกิจให้เป็นระบบ เช่น
การจัดทาบัญชีเดียว ด้านการเข้าสู่ช่องทางการตลาด โดยใช้ IT หรือ
E-commerce มาเข้าช่วย เป็นต้น

4
คุณสมบัติ
คุณสมบัติ
1. เป็นเอสเอ็มอีทมี่ ี 1.1) กิจการประเภท การผลิตสินค้า หรือการให้บริการ ที่เป็นนิติบุคคลสัญชาติไทย โดยมีจานวน
การจ้างงานไม่เกินสองร้อยคน หรือมีมูลค่าสินทรัพย์ถาวรไม่รวมที่ดิน ไม่เกินสองร้อยล้านบาท
ศักยภาพ และมีขนาด
1.2) กิจการประเภท การค้ า ปลี ก หรื อ การค้ า ส่ ง ที่ เ ป็นนิติบุค คลสั ญ ชาติไทย โดยมีจานวน
ของกิจการ ดังนี้ การจ้างงานไม่เกินห้าสิบคน หรือมีมูลค่าสินทรัพย์ถาวรไม่รวมที่ดิน ไม่เกินหนึ่งร้อยล้านบาท
2. เป็นเอสเอ็มอีที่เป็นนิติบุคคลไทย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เฉพาะที่เป็นบริษัท
จากัด ห้างหุ้นส่วนจากัด และห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล หรือ ตามที่คณะกรรมการบริหารกาหนด
3. เป็นเอสเอ็มอีที่ 3.1) กลุ่มธุรกิจ (Sector หรือ Cluster) ที่เป็นกลุ่ม 10 S-Curve หรือ ที่เชื่อมโยงและจะพัฒนา
ไปสู่กลุ่ม 10 S-Curve หรือ
ประกอบธุรกิจในกลุ่ม
3.2) ธุรกิจที่มีความสาคัญเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของจังหวัด
ตามที่คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนพัฒนาเอสเอ็มอีตามแนวประชารัฐประจา
จังหวัดกาหนด
ทั้งนี้ ธุรกิจที่ไม่เข้าข่ายในการให้การสนับสนุน ได้แก่ ธุรกิจที่เกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ธุรกิจผิดกฎหมาย ขัดต่อศีลธรรมอันดีของสังคม

5
คุณสมบัติ (ต่อ)
คุณสมบัติ
4. เป็นเอสเอ็มอีที่จะใช้เงินทุนเพื่อปรับปรุงเปลี่ยนแปลงกิจการ/สินค้า/บริการ
ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น เช่น การรับรองมาตรฐาน การนานวัตกรรม
หรือ เทคโนโลยีหรือ ที่เกี่ยวกับ Digital เข้ามาใช้ในกิจการ เป็นต้น
5. เป็นเอสเอ็มอีที่เคย หรือ อยู่ระหว่างเข้าร่วมโครงการภาครัฐ หรือ องค์กรเอกชนที่มีลักษณะ
เป็นการบ่มเพาะธุรกิจใหม่ หรือ เพิ่มพูนองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี การตลาด การจัดการ และ
การเงิน ทั้งในรูปกิจกรรมกลุ่ม หรือ การจัดที่ปรึกษาให้ความช่วยเหลือเฉพาะราย หรือ
เป็นผู้ได้รับรางวัลในการประกวดแนวคิด/แผนธุรกิจ หรือ SMEs ดีเด่นด้านต่าง ๆ
จากหน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรเอกชน พร้อมแสดงหลักฐานประกอบ
6. มีระบบบัญชีเดียว หรือ แจ้งความประสงค์ที่จะเข้าสู่ระบบบัญชีเดียว
7. ไม่เป็น NPL หรือ ถูกดาเนินคดี ณ วันยื่นขอเข้าโครงการ
6
คุณสมบัติ (ต่อ)
คุณสมบัติ
8. ไม่เคยปรับเงื่อนไขการชาระหนี้ หรือ ไม่เคยปรับโครงสร้างหนี้ในรอบ 12 เดือนที่ผ่านมาและ
มีประวัติการชาระหนี้ปกติ อย่างน้อย 12 งวด ก่อนวันยื่นขอเข้าโครงการ

9. กรณีทเี่ อสเอ็มอีได้จดทะเบียนก่อตั้งนิติบุคคล มาแล้วไม่เกิน 12 เดือน และเคยดาเนินธุรกิจ


ในนามบุคคลธรรมดาและ/หรือกลุ่มบุคคล มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี การพิจารณาข้อ 7 และ 8 ให้พิจารณา
จากตัวบุคคลและ/หรือกลุ่มบุคคลที่เคยดาเนินธุรกิจ
10. ต้องไม่อยู่ระหว่าง 9.1) กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในโครงการเงินทุนพลิกฟื้นวิสาหกิจ
การได้รับความช่วยเหลือด้าน ขนาดย่อม วงเงิน 1,000 ล้านบาท
การเงินจากทุนหมุนเวียนที่ได้ 9.2) กองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในการดาเนินการตามมาตรการฟื้นฟู
กิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม วงเงิน 2,000 ล้านบาท
ดาเนินการอยู่แล้ว ดังนี้
9.3) เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการส่งเสริมอาชีพอุตสาหกรรมในครัวเรือนและ
หัตถกรรมไทย
11. ยินยอมนาส่งข้อมูลทางบัญชีของกิจการและข้อมูลเครดิตให้กับกองทุน หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากกองทุนตาม
รอบบัญชีทุกปี ตลอดอายุการชาระคืนหนี้
12. หรือเป็นไปตามที่คณะกรรมการบริหารกาหนด 7
แนวทางและกรอบการดาเนินงานการส่งเสริมและพัฒนา
วงเงิน 1,000 ล้านบาท

TARGET PARTNER SUPPORT Payment

• เป็นเอสเอ็มอีที่ได้รับ • หน่วยงานที่เป็น • ด้านการบริหารจัดการองค์กร • จ่ายในรูปแบบคูปอง


การช่วยเหลือทาง นิติบุคคล หรือ บุคคล • ด้านบัญชีและการเงิน ให้เอสเอ็มอี
การเงิน หรือเอสเอ็มอี ที่ขึ้นทะเบียนกับศูนย์ • ด้านการตลาด (Marketing) • จ่ายให้หน่วยร่วม
ที่มีโอกาสได้รับการ ข้อมูลที่ปรึกษา ดาเนินการที่ได้จัดทา
• ด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล
ช่วยเหลือ กระทรวงการคลัง ต้อง และเสนอโครงการ
(Technology & Digital)
ทางการเงินจากกองทุน ผ่านการคัดเลือกและมี
พัฒนาเอสเอ็มอีตาม รายชื่อเป็นหน่วยร่วม • ด้านการเพิ่มผลิตภาพ
แนวประชารัฐต่อไป ดาเนินการของกองทุน (Productivity)
ในอนาคต พัฒนาเอสเอ็มอีตาม • ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
แนวประชารัฐ (Product Development)
• หน่วยงานที่ให้บริการ • ด้านมาตรฐาน (Standard)
วิเคราะห์ทดสอบ • ด้านอื่น ๆ
ซึ่งผ่านการรับรองจาก
หน่วยงานรัฐ

8
9
แนวทางและหลักเกณฑ์การส่งเสริมและพัฒนาเอสเอ็มอี

แนวทางที่ 1 แบบมาตรฐาน : เอสเอ็มอีทุกรายที่ได้รับอนุมัติสินเชื่อ

• ได้รับบริการวินิจฉัยและ/หรือให้ปรึกษาแนะนาจากหน่วยร่วมดาเนินการ
จานวน 3 Man-day
• ให้บริการวิเคราะห์ทดสอบจากหน่วยให้บริการตามที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน
วงเงิน 30,000 บาท/ราย

10
แนวทางและหลักเกณฑ์การส่งเสริมและพัฒนาเอสเอ็มอี
แนวทางที่ 2 แบบเชิงลึกเฉพาะด้าน
• เอสเอ็มอีที่ผา่ นการส่งเสริมพัฒนาในแบบมาตรฐานและประสงค์จะพัฒนาต่อยอดในเชิงลึก
เฉพาะด้าน สูงสุดไม่เกิน 15 Man-day
• เอสเอ็มอีสามารถขอรับการส่งเสริมและพัฒนา แนวทางที่ 1 และ 2 ควบคู่กันได้ แต่สูงสุดไม่
เกิน 18 Man-day
• กองทุนจะจ่ายเงินสมทบให้เอสเอ็มอีในอัตราร้อยละ 50 ของวงเงินส่งเสริมและพัฒนา
(กองทุน 50% : เอสเอ็มอี 50%) ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
- ด้านบัญชีการเงิน
- ด้านการตลาด
- ด้านเทคโนโลยีและดิจิทัล
- ด้านการเพิ่มผลิตภาพ
- ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์
- ด้านมาตรฐาน
- ด้านอื่น ๆ 11
แนวทางและหลักเกณฑ์การส่งเสริมและพัฒนาเอสเอ็มอี
แนวทางที่ 3 แบบโครงการพิเศษ
• จัดทาเป็นโครงการการส่งเสริมและพัฒนาเอสเอ็มอีที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด
เพื่อยกระดับให้พร้อมที่จะเข้าสู่ยุค 4.0

12
ขอขอบพระคุณ

13

You might also like