You are on page 1of 54

http://www.rsunews.net/upload/file/3c9d81a63667c73c185c317282999ef1.

doc

เอกสารเผยแพร่บทวิเคราะห์
“ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่อธ ุรกิจ
อ ุตสาหกรรมไทย”
ดร.อน ุสรณ์ ธรรมใจ ดร.ยศ อมรกิจวิกยั 1
คณะเศรษฐศาสตร์ และศูนย์วิจยั เศรษฐกิจและธ ุรกิจเพื่อการปฏิร ูป มหาวิทยาลัยรังสิต
มหาวิทยาลัยรังสิต เมืองเอก ปท ุมธานี
วันพฤหัสบดีที่ 19 เมษายน 2555

สอบถามรายเอียดเพิ่มเติม
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
โทรศัพท์ 083-856-0129, 083-856-0130
http://www.rsu.ac.th/econ

บทวิเคราะห์
ผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่ อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย

1
ผู้วจิ ยั ขอขอบพระคุณ รศ.ดร.ภิรมย์ จัน่ ถาวร ผศ.พรรณี จรัมพร ดร.นันทรัตน์ ตังวิ
้ ฑรู ธรรม และคุณจุฑาทิพ ลือเลิศยศ สำหรับข้ อมูล
สนับสนุนและความช่วยเหลือในการจัดทำ
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 1
บทนำ - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Economic Community: AEC)

บทวิเคราะห์น้ ีจดั ทำขึ้นโดยคณะเศรษฐศาสตร์ และ ศูนย์วิจยั เศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูปเพื่อศึกษาถึง


ผลกระทบของประชาคมอาเซียนที่มีต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย เป็ นที่ทราบกันดีวา่ อาเซี ยน (ASEAN) หรื อ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2510 โดยในระยะแรกนั้น มีสมาชิกเริ่ มแรก
จำนวน 6 ประเทศ ได้แก่ บรู ไนดารุ สซาลาม อินโดนีเซี ย มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ และไทย ภายหลังได้
มีส มาชิก เพิม่ ขึ้น อีก 4 ประเทศ คือ กัม พูช า ลาว พม่า และเวีย ดนาม หรื อ ที่เ รี ย กกัน ว่า CLMV โดยมี
วัต ถุป ระสงค์เ พื่อสร้า งสัน ติภ าพในภูมิภ าคอัน จะนำไปสู่ ค วามเจริ ญ ก้า วหน้า ทาง เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมและได้มีการรวมกลุ่มเพื่อขยายความร่ วมมือและการค้าระหว่างกันให้มากยิง่ ขึ้น โดยการจัดทำเขต
การค้าเสรี อาเซียน (AFTA) เมื่อปี 2535 ทำให้ปริ มาณการค้าและการลงทุนระหว่างสมาชิกอาเซี ยนได้ขยาย
ตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ต่อมาในปี 2546 อาเซี ยนได้กำหนดทิศทางที่แน่ชดั ว่าความร่ วมมือจะต้องเดินทาง
ไปสู่ ก ารเป็ น ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย น (ASEAN Economic Community: AEC) ภายในปี 2558 ทั้ง นี้
ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย นนั้น ถือ เป็ น เพีย งหนึ่ง ในสามเสาหลัก ของประชาคมอาเซี ย น (ASEAN
Community) โดยอีกสองเสาหลัก คือ ประชาคมความมัน่ คงอาเซี ยน (ASEAN Security Community) และ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community) และได้มีการจัดทำกฎบัตร
อาเซี ยน (ASEAN Charter) เพื่อการดำเนินงานไปสู่ ประชาคมอาเซี ยน ในการที่จะรวมตัวเป็ น “ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซีย น” ภายในปี 2558 นั้น กลุ่ม ประเทศอาเซี ยนได้จดั ทำแผนงานในเชิงบูร ณาการในด้าน
เศรษฐกิจต่างๆ หรื อพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC Blueprint) โดยมีองค์ประกอบที่
สำคัญ 4 เรื่ อง ดังนี้

1. การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว จะนำไปสู่ การใช้กฎระเบียบการค้าในประเทศสมาชิกทั้งหมดเป็ น


อย่างเดียวกัน (Harmonization of Rules and Regulations) ทั้งในด้านมาตรฐาน คุณภาพ ราคา อัตราภาษี
รวมถึงกฎระเบียบในการซื้ อขาย การขจัดมาตรการและข้อกีดกันต่างๆ รวมถึงการมีมาตรการอำนวย
ความสะดวกทางการค้า เงื่อนไขการเคลื่อนย้ายบุคคลสัญชาติอาเซี ยน และประเภทบริ การและการลงทุน
ที่เสรี มากขึ้น

2. การสร้างอาเซียนให้เป็ นภูมิภาคที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันสู ง (Highly Competitive Economic


Region) ในเวทีการค้าโลก ได้แก่ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โทรคมนาคม การเงินการธนาคาร การจัด
ระบบการค้าให้มีการแข่งขันที่เป็ นธรรม และการคุม้ ครองทรัพย์สินทางปั ญญา เป็ นต้น

3. การพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกันระหว่างสมาชิกอาเซี ยน โดยพัฒนา SMEs และเสริ มสร้างขีด


ความสามารถผ่า นโครงการความร่ ว มมือ ต่า งๆ เช่น โครงการริ เ ริ่ ม เพื่อ การรวมกลุ่ม ของอาเซี ย น
(Initiative for ASEAN Integration: IAI) ในการลดช่องว่างการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละประเทศสมาชิก

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 2
4. การเชื่อมโยงของอาเซียนเข้ากับเศรษฐกิจโลก ด้วยการเน้นและปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจอาเซี ยน
กับประเทศนอกภูมิภาค ให้มีท่าทีร่วมกัน โดยการจัดทำเขตการค้าเสรี อาเซี ยนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ
เพื่อให้เครื อข่ายการผลิต/จำหน่ายภายในอาเซี ยนเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจส่ วนอื่นของโลก

หากพิจารณาพิมพ์เขียวของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน เศรษฐกิจโดยภาพรวมของประเทศสมาชิ
ในประชาคมจะได้ประโยชน์โดยตรงจากการขยายตัวของการค้าการลงทุนระหว่างกันและขนาดของตลาดที
ใหญ่ข้ ึนด้วยประชากร 587 ล้านคน สำหรับรายธุรกิจอุตสาหกรรมแล้วก็ตอ้ งพิจารณาว่า ธุรกิจอุตสาหกรรม
นั้น มีค วามสามารถในแข่ง ขัน (Competitiveness) และ ความได้เ ปรี ย บเชิง เปรี ย บเทีย บ(Comparative
Advantage) อย่างไรบ้าง

อีกทั้งให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียมกันหรื อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศสมาชิก โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก
(SMEs) และ โครงการริ เริ่ มเพื่อการรวมตัวกันของกลุ่มสมาชิก (Initiative for ASEAN Integration) ตลอดจน
สนับสนุนให้กลุ่มสมาชิกอาเซียนสามารถเชื่อมโยงกับประเทศนอกภูมิภาค โดยจัดทำเขตการค้าเสรี ระหว่าง
อาเซี ยนกับประเทศคู่เจรจาต่าง ๆ
อีกทั้งให้มีการเร่ งรัดการดำเนินงานรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในกลุ่มอาเซี ยน ทางด้านการค้า การบริ การ การ
ลงทุน แรงงาน และเงินทุน โดยมีสาระสำคัญดังนี้

1. ด้านสิ นค้า: มุ่งลดภาษีสินค้าของประเทศสมาชิกเดิมให้เป็ น 0% ภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010) และมุ่ง


ลดภาษีสินค้าของประเทศสมาชิกใหม่ ปี 2558 (ค.ศ. 2015) รวมทั้ง ยกเลิกมาตรการ (Non-Tariff
Barriers: NTBs) โดยเร็ว ตลอดจนปรับปรุ งกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสิ นค้า (Rules of Origin: ROO)
และใช้พิกดั อัตราศุลกากรที่สอดคล้องกัน
2. ด้านบริ การ: ยกเลิกข้อจำกัดในการประกอบการด้านการค้าบริ การในอาเซี ยน ภายในปี 2563 (ค.ศ.
2020)
3. ด้านการลงทุน: เปิ ดให้มีการลงทุนเสรี ในอาเซี ยนและให้ปฏิบตั ิต่อนักลงทุนอาเซี ยนเปรี ยบเสมือน
นักลงทุนในประเทศ ภายในปี 2553 (ค.ศ. 2010)
4. ด้านแรงงาน: ให้แรงงานฝี มือ สามารถเคลื่อนย้ายภายในอาเซี ยนได้อย่างเสรี
5. ด้านเงินทุน: มุ่งให้มีการไหลเวียนของเงินทุนที่เสรี มากขึ้น และเร่ งรัดการเปิ ดเสรี การค้าสิ นค้าและ
บริ การให้เห็นผลชัดเจนขึ้น
อาเซียนได้มุ่งเน้นให้ประเทศสมาชิก ซื้ อวัตถุดิบและชิ้นส่ วนที่ผลิตในอาเซี ยน โดยกำหนดสาขา
สิ นค้าและบริ การสำคัญ 11 สาขา (11 Priority Sectors) ที่จะดำเนินการโดยเร่ งด่วน เพื่อนำร่ องการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจในสาขาดังกล่าวก่อน ในปี 2550 อาเซี ยนยังได้เห็นชอบให้เพิ่มสาขาโลจิสติกส์ (Logistics) เป็ น
สาขานำร่ อ งการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ สาขาที่ 12 พร้อ มกำหนดประเทศผูป้ ระสานงานหลัก (Country
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 3
Coordinators) ในแต่ละสาขา ได้แก่ พม่าดูแลสาขาผลิตภัณฑ์เกษตร (Agro-based products) และสาขาประมง
(Fisheries) มาเลเซี ยดูแลสาขาผลิตภัณฑ์ย าง (Rubber-based products) และ สาขาสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่ม
(Textiles and Apparels) อินโดนีเซียดูแลสาขายานยนต์ (Automotives) และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้ (Wood-based
products) ฟิ ลิปปิ นส์ดูแลสาขาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) สิ งคโปร์ดูแลเรื่ องสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-
ASEAN) และสาขาสุ ขภาพ (Healthcare) และไทยดูแลสาขาการท่องเที่ยว (Tourism) และสาขาการบิน (Air
Travel) จากการกำหนดสาขาสิ นค้า และบริ ก าร 11 เร่ งด่ว น ภาคอุตสาหกรรมการผลิต ไทย รวมทั้งกลุ่ม
ประเทศสมาชิก อาจได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ นอกเหนือจากภาคการบริ การ อย่างไรก็ได้ ตั้งแต่
วิก ฤตเศรษฐกิจ ในปี 2540 ภาคอุต สาหกรรมในประเทศไทยมีก ารดำ เนิน นโยบาย ปรับ โครงสร้า ง
อุตสาหกรรมโดยเน้นการพัฒนาด้านผลิตภาพ (Productivity) และความสามารถในการแข่งขันที่สูงขึ้น เช่น
การใช้องค์ความรู้ในการผลิต การใช้ความคิดเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมการผลิตใหม่ๆ การเพิ่มมูลค่าของ
สิ นค้าอุตสาหกรรม เป็ นต้น แต่ความเป็ นจริ งแล้ว นโยบายภาคอุตสาหกรรมไทยยังคงให้ความสำคัญด้านการ
ผลิตและการขยายตัวทางเศรษฐกิจเชิงตัวเลขเป็ นหลัก แต่ไม่ได้ความสำคัญการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน
การผลิต และการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมอย่างยัง่ ยืน เช่น การลดการพึ่งพาการนำเข้า เท่าที่ควร จากเหตุผลดัง
กล่าว หากภาคอุตสาหกรรมการผลิตไทยไม่เตรี ยมพร้อมและไม่ตระหนักถึงผลกระทบที่อ าจเกิดขึ้นจาก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ภาคอุตสาหกรรมการผลิตของประเทศอาจสู ญเสี ยโอกาสทางเศรษฐกิจ
ในการที่จะเป็ นผูนำ้ ด้านเศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซี ยน ในอนาคตได้

ทฤษฎีว่าด้ วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ: กรณีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน


มีความชัดเจนมากขึ้นตามลำดับว่า ระบบเศรษฐกิจโลกจะมีการเคลื่อนย้ายศูนย์กลางมายังเอเชียมาก
ขึ้นตามลำดับ ขณะที่ประเทศต่างๆจะเดินหน้าเปิ ดเสรี มากขึ้นเรื่ อยๆ ภาวะไร้พรมแดนจะเป็ นปรากฎการณ์ที่
เกิดขึ้นโดยทัว่ ไปในศตวรรษที่ 21 จะเกิดการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจขนาดใหญ่สามกลุ่ม คือ การรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจในภูมิเอเชียตะวันออก การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในทวีปอเมริ กา การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ในยุโรป ขณะที่มนุษยชาติตอ้ งเผชิญปัญหาในระดับภูมิภาคและระดับโลกที่เป็ นปั ญหาร่ วมกันมากขึ้น โดย
เฉพาะภัยพิบตั ิทางธรรมชาติและภาวะโลกร้อน
. ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดเล็กและปานกลาง ระดับการพัฒนาเศรษฐกิจไม่สูงมีความจำเป็ น
มากกว่าประเทศพัฒนาแล้วในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างอำนาจต่อรอง
ตามทฤษฎีวา่ ด้วยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (Economic Integration) สามารถจัดระดับการรวมกลุ่ม
ได้ 5 ขั้นตอน ได้แก่
1. ความร่ วมมือจัดตั้งเขตการค้าเสรี (Free Trade Area / Agreement: FTA) หมายถึง การร่ วมมือกัน
ของประเทศสมาชิกในภูมิภาค เพื่อขจัดอุปสรรคทางการค้า ยกเลิกภาษีทางการค้าระหว่างกัน มีการ
เคลื่อนย้ายสิ นค้าโดยเสรี ระหว่างประเทศสมาชิก โดยประเทศสมาชิกยังจัดเก็บภาษีศุลกากรกับ
ประเทศนอกกลุ่มได้ตามนโยบายของตนเอง
2. สหภาพศุลกากร (Custom Union) หมายถึง ประเทศสมาชิกนอกจากจะยกเลิกภาษีทางการค้าลด
อุปสรรคระหว่างกันแล้วยังใช้ระบบภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 4
3. ตลาดร่ วม (Common Market) หมายถึง การขยายความร่ วมมือด้านการค้าถึงขนาดที่เปิ ดโอกาสให้
ทุน แรงงาน การประกอบการเคลื่อนไหวอย่างเสรี ภายในกลุ่ม
4. สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) เป็ นการรวมตัวกันตั้งแต่ข้ นั ตอนที่ 1 + 2 + 3 รวมกับการ
กำหนดนโยบายสังคม เศรษฐกิจการเงิน การคลังร่ วมกัน
5. สหภาพการเมือง (Political Union) ถือเป็ นจุดสุ ดท้ายของการบูรณาการทางเศรษฐกิจ หมายถึง การ
ใช้นโยบายการเมืองและความมัน่ คงอันเดียวกัน

เมื่อเปรี ยบเทียบการขั้นตอนการบูรณาการทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคระหว่างอาเซี ยนกับยุโรป จะ


พบว่าการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนั้นข้ามขั้นตอนของการเป็ นสหภาพศุลกากร แม้จะเริ่ มต้นจาก
ความร่ วมมือจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซียนก่อนแล้วค่อยพัฒนาเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน
จุดมุ่งหมายหลักของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน คือ การนำอาเซี ยนไปสู่ การเป็ นตลาดและฐานการ
ผลิตร่ วมกัน (Single Market and Production Base) ซึ่ งหมายถึงการทำให้เกิดการเคลื่อนย้ายอย่างเสรี ใน 5
สาขา คือสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือ และเงินทุน ซึ่งเป็ นที่ แน่นอนว่าการเปิ ดเสรี ดงั กล่าว ย่อมมี
ทั้งผูท้ ี่ ได้ประโยชน์และเสี ยประโยชน์มากน้อยแตกต่างกันตามศักยภาพของผูป้ ระกอบการในแต่ละประเทศ
ดังนั้นในส่ วนนี้จึงขอกล่าวคร่ าวๆ ถึงผลการวิจยั และผลการวิเคราะห์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ
ที่อาจจะเกิดขึ้นดังนี้

การค้ าระหว่ างประเทศและภาคอุตสาหกรรมการผลิตของไทย


ภาคอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing Sector) ในประเทศไทย ถือได้วา่ เป็ นภาคที่มีความสำคัญ
ต่อกิจกรรมเศรษฐกิจของประเทศเป็ นอย่างมาก เนื่องจากกิจกรรมเศรษฐกิจของภาคอุตสาหกรรมการผลิตใน
ปี 2554 มีม ูล ค่า 3,580,777 ล้า นบาท จากผลผลิต มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Products: GDP)
10,539,446 ล้า นบาท (ตารางที่ 1) หรื อ คิด เป็ นร้อ ยละ 33.98 ของ GDP ในปี 2554 (ตารางที่ 2) แต่ห าก
พิจ ารณาส่ ว นกิจ กรรมเศรษฐกิจ ของภาคอุต สาหกรรมการผลิต ไทยระหว่า งปี 2543 – 2554 พบว่า ภาค
อุตสาหกรรมการผลิตยังคงมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยอย่างต่อเนื่อง คิดเป็ นร้อยละ 34.59 ของ GDP ใน
ประเทศ (ตารางที่ 2)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 5
Year 2543 5444 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2543-2554
444,1 468, 514, 615, 668,8 728, 844, 910, 1,049, 1,036, 1,251, 1,406,
Agriculture 85 905 257 854 08 093 614 125 743 586 807 504 828,290
326,3 357, 406, 506, 561,8 623, 736, 812, 955, 931, 1,142, 1,295,
Agriculture, Hunting and Forestry 89 979 809 623 57 738 623 075 710 907 671 906 721,524
117,7 110, 107, 109, 106,9 104, 107, 98, 94, 104, 109, 110,
Fishing 96 926 448 231 51 355 991 050 033 679 136 598 106,766
4,478, 4,664, 4,936, 5,301, 5,820, 6,364, 7,000, 7,615, 8,030, 8,004, 8,853, 9,132, 6,683,62
Non- Agriculture 546 597 386 515 668 800 325 072 723 965 014 942 9
116,7 126, 135, 154, 175,3 222, 257, 278, 315, 306, 346, 385,
Mining and Quarrying 26 232 851 606 50 617 148 935 273 529 631 305 235,100
1,653, 1,715, 1,836, 2,061, 2,235, 2,461, 2,748, 3,037, 3,163, 3,087, 3,599, 3,580, 2,598,53
Manufacturing 658 926 083 572 573 294 707 691 683 741 713 777 5
146,1 166, 175, 191, 210,9 220, 238, 248, 262, 278, 296, 291,
Electricity, Gas and Water Supply 05 683 595 006 03 410 889 125 027 108 583 272 227,142
150,6 154, 165, 174, 194,4 214, 234, 249, 259, 246, 269, 269,
Construction 15 493 719 699 66 004 458 263 223 076 273 762 215,171

Wholesale and Retail Trade, Repair of Vehicles and Personal 847,564 856,098 866,332 888,016 970,806 1,042,043 1,116,528 1,206,866 1,288,332 1,272,556 1,323,916 1,354,399 1,086,121
and Household Goods
275,2 289, 309, 299, 334,2 346, 386, 416, 440, 439, 479, 518,
Hotels and Restaurants 14 175 622 567 22 865 063 758 173 720 145 612 377,928
395,9 427, 449, 457, 492,5 519, 569, 626, 645, 647, 688, 716,
Transport, Storage and Communication 26 049 278 169 30 623 261 456 300 319 136 321 552,864
145,8 151, 170, 202, 233,7 264, 286, 308, 354, 368, 410, 482,
Financial Intermediation 40 360 036 257 19 896 220 915 619 831 048 798 281,628
161,7 163, 171, 177, 188,2 198, 208, 214, 216, 215, 228, 239,
Real Estate, Renting and Business Activities 92 862 751 848 43 521 810 925 681 839 770 971 198,918
211,0 222, 244, 262, 295,8 326, 349, 374, 399, 416, 441, 475,
Public Administration and Defense; Compulsory Social Security 45 161 783 272 85 051 981 043 094 087 420 393 334,851
196,5 202, 211, 221, 248,8 280, 316, 360, 384, 414, 435, 459,
Education 42 318 278 191 76 978 829 446 444 924 246 831 311,075
96,6 104, 107, 106, 116,6 135, 150, 163, 168, 177, 185, 198,
Health and Social Work 78 825 654 836 95 224 013 924 839 188 932 705 142,709
73,8 77, 84, 96, 115,1 123, 128, 119, 123, 123, 138, 149,
Other Community, Social and Personal Service Activities 13 118 949 654 78 743 680 513 353 912 039 354 112,859
7,0 7, 7, 7, 8,2 8, 8, 9, 9, 10, 10, 10,
Private Household with Employed Persons 28 297 455 822 22 531 738 212 682 135 162 442 8,727
4,922, 5,133, 5,450, 5,917, 6,489, 7,092, 7,844, 8,525, 9,080, 9,041, 10,104, 10,539, 7,511,92
Gross Domestic Product 731 502 643 369 476 893 939 197 466 551 821 446 0
Per capita GDP (Baht) 79098 81697 85947 92485 100564 108955 119635 129089 136585 135144 150117 155916 114603
ตารางที่ 1 ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ หน่ วย: ล้านบาท

ที่มา: สำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 6
ตารางที่ 2 ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ จำแนกตามกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (คิดตามสั ดส่ วนร้ อยละ) หน่ วย: ร้ อยละ
Year 2543 5444 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2543-2554
Agriculture 9.02% 9.13% 10.41% 10.41% 10.31% 10.27% 10.77% 10.68% 11.56% 11.46% 12.39% 13.35% 10.81%
Agriculture, Hunting and Forestry 6.63% 6.97% 8.56% 8.56% 8.66% 8.79% 9.39% 9.53% 10.52% 10.31% 11.31% 12.30% 9.29%
Fishing 2.39% 2.16% 1.85% 1.85% 1.65% 1.47% 1.38% 1.15% 1.04% 1.16% 1.08% 1.05% 1.52%
Non- Agriculture 90.98% 90.87% 89.59% 89.59% 89.69% 89.73% 89.23% 89.32% 88.44% 88.54% 87.61% 86.65% 89.19%
Mining and Quarrying 2.37% 2.46% 2.61% 2.61% 2.70% 3.14% 3.28% 3.27% 3.47% 3.39% 3.43% 3.66% 3.03%
Manufacturing 33.59% 33.43% 34.84% 34.84% 34.45% 34.70% 35.04% 35.63% 34.84% 34.15% 35.62% 33.98% 34.59%
Electricity, Gas and Water Supply 2.97% 3.25% 3.23% 3.23% 3.25% 3.11% 3.05% 2.91% 2.89% 3.08% 2.94% 2.76% 3.05%

Construction 3.06% 3.01% 2.95% 2.95% 3.00% 3.02% 2.99% 2.92% 2.85% 2.72% 2.66% 2.56% 2.89%

Wholesale and Retail Trade, Repair of Vehicles and Personal


17.22% 16.68% 15.01% 15.01% 14.96% 14.69% 14.23% 14.16% 14.19% 14.07% 13.10% 12.85% 14.68%
and Household Goods
Hotels and Restaurants 5.59% 5.63% 5.06% 5.06% 5.15% 4.89% 4.92% 4.89% 4.85% 4.86% 4.74% 4.92% 5.05%
Transport, Storage and Communication 8.04% 8.32% 7.73% 7.73% 7.59% 7.33% 7.26% 7.35% 7.11% 7.16% 6.81% 6.80% 7.43%
Financial Intermediation 2.96% 2.95% 3.42% 3.42% 3.60% 3.73% 3.65% 3.62% 3.91% 4.08% 4.06% 4.58% 3.66%
Real Estate, Renting and Business Activities 3.29% 3.19% 3.01% 3.01% 2.90% 2.80% 2.66% 2.52% 2.39% 2.39% 2.26% 2.28% 2.72%
Public Administration and Defense; Compulsory Social Security 4.29% 4.33% 4.43% 4.43% 4.56% 4.60% 4.46% 4.39% 4.40% 4.60% 4.37% 4.51% 4.45%
Education 3.99% 3.94% 3.74% 3.74% 3.84% 3.96% 4.04% 4.23% 4.23% 4.59% 4.31% 4.36% 4.08%
Health and Social Work 1.96% 2.04% 1.81% 1.81% 1.80% 1.91% 1.91% 1.92% 1.86% 1.96% 1.84% 1.89% 1.89%
Other Community, Social and Personal Service Activities 1.50% 1.50% 1.63% 1.63% 1.77% 1.74% 1.64% 1.40% 1.36% 1.37% 1.37% 1.42% 1.53%
Private Household with Employed Persons 0.14% 0.14% 0.13% 0.13% 0.13% 0.12% 0.11% 0.11% 0.11% 0.11% 0.10% 0.10% 0.12%
100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
Gross Domestic Product 100.00% % 100.00% % % % % % % % % % 100.00%

ที่มา: สำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2555)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 7
สำหรับการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิต 2ในปี 25543 มีจำนวนแรงงาน 5.50 ล้านคน หรื อคิดเป็ นร้อย
ละ 14.15 ของผูม้ ีงานทำทั้งหมด 38.86 ล้านคน (กำลังแรงงานทั้งหมด 39.23 ล้านคน)

หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2554 เป็ นข้อมูลเบื้องต้น (ตั้งแต่มกราคม –ตุลาคม)


ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กระทรวงพาณิชย์โดยความร่ วมมือจากกรมศุลกากร
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

การส่ งออกในช่ว งปี 2550 – 2554 พบว่า สิ น ค้า อุต สาหกรรมมีส ดั ส่ ว นการส่ ง ออกเฉลี่ย สู ง สุ ด คิด เป็ น
133,153 ล้า นเหรี ย ญสหรัฐ หรื อคิด เป็ นร้อ ยละ 75.99 ของมูลค่า ส่ งออกเฉลี่ย ทั้งหมด นอกจากนี้สิ น ค้า
อุตสาหกรรมการเกษตร มีการส่ งออกเฉลี่ยในช่วงปี 2550 – 2554 คิดเป็ นมูลค่า 12,098 ล้านเหรี ยญ (หรื อ
ร้อยละ 6.90 ของมูลส่ งออกเฉลี่ยทั้งหมด (รู ปภาพที่ 1)

3
จากการสำรวจภาวการณ์ทำ งานของประชาชนในปี 2554 (ตัวเลขล่าสุ ด ณ เดือนธันวาคมซึ่งเป็ น ตัวเลขประจำเดือ น
กันยายน 2554) โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 8
หมายเหตุ : ข้อมูลปี 2554 เป็ นข้อมูลเบื้องต้น (ตั้งแต่มกราคม –ตุลาคม)
ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร กระทรวงพาณิชย์โดยความร่ วมมือจากกรมศุลกากร
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

ในส่ วนของการนำเข้าในช่วงปี 2550 – 2554 พบว่าประเทศไทยมีการนำเข้าวัตถุดิบสำหรับใช้ใน


การผลิตสิ นค้าต่างๆ มากที่สุดคิดเป็ น 70,633 ล้านเหรี ยญสหรัฐ หรื อคิดเป็ นร้อยละ 42.66 ของมูลค่านำเข้า
เฉลี่ยทั้งหมด รองลงมาได้แก่ สิ นค้าทุนคิดเป็ น 42,385 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ร้อยละ 25.60 ของมูลค่านำเข้า
เฉลี่ยทั้งหมด) น้ำมันเชื้อเพลิงคิดเป็ น 31,560 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ร้อยละ 18.82 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ยทั้งหมด)
สิ นค้าอุปโภคบริ โภคคิดเป็ น 14,992 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ร้อยละ 9.06 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ยทั้งหมด) ยาน
พาหนะคิดเป็ น 5,953 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ร้อยละ 3.60 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ยทั้งหมด) และสิ นค้าอื่นๆ คิด
เป็ น 435 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ร้อยละ 0.26 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ยทั้งหมด) (รู ปภาพที่ 2)
การค้ าระหว่ างประเทศของไทยกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน
หากพิจารณาจากการค้าระหว่างประเทศของไทยกับประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซี ยน พบว่าในช่วงปี
2552 - 2554 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่ งออกในกลุ่มประเทศอาเซี ยนคิดเป็ น 1,382,293 ล้านบาท คิดเป็ นร้อย
ละ 22.70 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ยทั้งหมด โดยส่ งออกไปยังมาเลเซี ยมากที่สุด คิดเป็ น 323,014 ล้านบาท หรื อ
คิดเป็ นร้อยละ 5.30 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ยทั้งหมด รองลงมาได้แก่ สิ งคโปร์ คิดเป็ น 295,979 ล้านบาท (ร้อย
ละ 4.86 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ย) อินโดนีเซีย คิดเป็ น 231,882 ล้านบาท (ร้อยละ 3.81 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ย)
ฟิ ลิปปิ นส์ คิดเป็ น 132,561 ล้านบาท (ร้อยละ 2.18 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ย) เวียดนามคิดเป็ น 185, 461 ล้าน
บาท (ร้อยละ 3.05 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ย ) กัมพูชาคิดเป็ น 71,988 ล้านบาท (ร้อยละ 1.18% ของมูลค่าส่ ง
ออกเฉลี่ย ) ลาวคิดเป็ น 69, 284 ล้านบาท (ร้อยละ 1.14 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ย ) พม่าคิดเป็ น 68,054 ล้าน
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 9
บาท (ร้อยละ 1.12 ของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ย) และบรู ไนดารุ สซาลาม 4,071 ล้านบาท (ร้อยละ 0.07 ของมูลค่า
ส่ งออกเฉลี่ย) (ตารางที่ 3)

ส่ วนมูลค่าการนำเข้าจากกลุ่มประเทศอาเซี ยนพบว่ามีมูลค่า 983,396 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ


16.92 ล้านบาทของมูลค่าส่ งออกเฉลี่ยทั้งหมด ในช่วงปี 2552 - 2554 โดยมีนำเข้าจากมาเลเซี ยมากที่สุด คิด
เป็ น 338,399 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 5.82 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ยทั้งหมด รองลงมาได้แก่ สิ งคโปร์ คิด
เป็ น 212,287 ล้านบาท (ร้อยละ 3.65 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) อินโดนีเซี ย คิดเป็ น 179,423 ล้านบาท (ร้อยละ
3.09 ของมูลนำเข้าเฉลี่ย) พม่าคิดเป็ น 95,234 ล้านบาท (ร้อยละ 1.64 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) ฟิ ลิปปิ นส์ คิด
เป็ น 73,225 ล้านบาท (ร้อยละ 1.26 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) เวียดนามคิดเป็ น 51,439 ล้านบาท (ร้อยละ 0.89
ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) ลาวคิดเป็ น 24, 783 ล้านบาท (ร้อยละ 0.43 ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) กัมพูชาคิดเป็ น
4,967 ล้านบาท (ร้อยละ 0.09% ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) และบรู ไนดารุ สซาลาม 3, 639 ล้านบาท (ร้อยละ 0.06
ของมูลค่านำเข้าเฉลี่ย) (ตารางที่ 4)

จากมูลค่าการค้าระหว่างประเทศระหว่างประเทศไทยกับกลุ่มประเทศในภูมิภาคอาเซี ยน (ตารางที่
5) พบว่าในช่วงปี 2542 - 2554 ประเทศไทยมีดุลการค้า เกินดุลในกลุ่มประเทศ ได้แก่ เวีย ดนามคิด เป็ น
134,021 ล้านบาท คิดเป็ นร้อยละ 2.31 ของมูลค่าดุลการค้าทั้งหมด สิ งคโปร์คิดเป็ น 83,692 ล้านบาท (ร้อยละ
1.44 ของมูล ค่า ดุล การค้า ทั้ง หมด) กัมพูช าคิด เป็ น 67,020 ล้า นบาท (ร้อ ยละ 1.55 ของมูล ค่า ดุล การค้า
ทั้งหมด) ฟิ ลิปปิ นส์คิดเป็ น 59,337 ล้านบาท (ร้อยละ 1.02 ของมูลค่าดุลการค้าทั้งหมด) อินโดนีเซี ย คิดเป็ น
52,459 ล้านบาท (ร้อยละ 0.90 ของมูลค่าดุลการค้าทั้งหมด) ลาวคิดเป็ น 44,501 ล้านบาท (ร้อยละ 0.77 ของ
มูลค่าดุลการค้าทั้งหมด) และบรู ไนคิดเป็ น 432 ล้านบาท (ร้อยละ 0.01 ของมูลค่าดุลการค้าทั้งหมด) ส่ วน
ประเทศอาเซี ยนที่ประเทศไทยขาดดุลการค้า ได้แก่ พม่าคิดเป็ น 27,180 ล้านบาท เนื่องจากประเทศไทยนำ
เข้าก๊าซธรรมชาติ คิดเป็ นเป็ นร้อยละ 91.36 ของมูลค่าการนำเข้าจากพม่าและมาเลเซี ย 15,384 ล้านบาท
เนื่องจากมีการนำเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ คิดเป็ นร้อยละ 15.19 ของมูลค่าการนำเข้าจากมาเลเซี ย
และน้ำมันดิบ คิดเป็ นร้อยละ 14.15 ของมูลค่าการนำเข้าจากมาเลเซี ย (ตารางที่ 6)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 10
ตารางที่ 3: มูลค่ าการส่ งออก จำแนกตามกลุ่มประเทศที่สำคัญ หน่ วย: ล้านบาท
2543- 2549- 2552-
  2545 % 2546 2547 2548 2545-2548 % 2549 2550 2551 2551 % 2552 2553 2554 2554 %
สนิ ค้าออก                                  
ญีป่ น
ุ่ 425,065 14.86% 471,956 541,488 602,900 538,781 13.89% 623,931 625,037 661,566 636,845 11.87% 535,880 645,210 725,455 635,515 10.44%
นาฟต ้า 637,190 22.27% 621,185 683,687 740,480 681,784 17.57% 812,058 746,014 744,003 767,358 14.31% 635,226 714,531 748,885 699,547 11.49%
สหภาพยุโรป 462,991 16.18% 507,836 579,458 603,096 563,463 14.52% 685,248 747,953 769,774 734,325 13.69% 618,759 690,082 727,845 678,895 11.15%
อาเซย ี น 559,146 19.54% 684,943 852,487 975,868 837,766 21.60% 1,029,180 1,129,092 1,319,391 1,159,221 21.61% 1,106,493 1,403,599 1,636,787 1,382,293 22.70%
บรูไนดารุส
ซาลาม 1,663 0.06% 1,738 2,274 2,746 2,253 0.06% 3,145 3,211 4,074 3,477 0.06% 4,001 4,077 4,135 4,071 0.07%
อินโดนีเซย ี 62,118 2.17% 94,204 129,210 158,936 127,450 3.29% 126,197 165,971 208,018 166,728 3.11% 158,918 232,856 303,871 231,882 3.81%
มาเลเซย ี 118,673 4.15% 160,508 213,232 232,911 202,217 5.21% 251,961 269,582 325,280 282,274 5.26% 260,837 334,599 373,607 323,014 5.30%
ฟิ ลิปปิ นส ์ 49,835 1.74% 67,197 73,603 82,303 74,367 1.92% 97,800 103,784 115,197 105,594 1.97% 102,928 154,915 139,841 132,561 2.18%
สงิ คโปร์ 237,727 8.31% 243,108 281,997 308,042 277,716 7.16% 318,597 330,737 332,444 327,259 6.10% 257,968 285,187 344,782 295,979 4.86%
ก ัมพูชา 18,941 0.66% 28,676 29,090 36,802 31,522 0.81% 47,003 46,709 67,026 53,579 1.00% 53,918 74,265 87,780 71,988 1.18%
ลาว 16,908 0.59% 18,916 23,383 30,965 24,421 0.63% 38,720 45,185 58,392 47,433 0.88% 56,045 67,606 84,202 69,284 1.14%
พม่า 16,637 0.58% 18,198 24,327 28,382 23,636 0.61% 28,849 33,043 43,859 35,250 0.66% 52,652 65,631 85,877 68,054 1.12%
เวียดนาม 36,644 1.28% 52,399 75,373 94,781 74,184 1.91% 116,907 130,871 165,101 137,626 2.57% 159,224 184,463 212,694 185,461 3.05%
ตะวันออกกลาง 94,702 3.31% 119,595 148,466 179,255 149,105 3.84% 217,635 257,697 313,053 262,795 4.90% 298,446 305,003 312,438 305,296 5.01%
ออสเตรเลีย 65,293 2.28% 89,717 99,083 127,101 105,300 2.71% 165,247 204,711 263,181 211,046 3.93% 291,956 297,099 241,038 276,698 4.54%
จีน 131,026 4.58% 236,058 285,686 367,405 296,383 7.64% 445,978 511,110 532,319 496,469 9.26% 548,760 678,632 825,777 684,390 11.24%
ประเทศอืน ่ ๆ 485,411 16.97% 594,339 683,336 842,587 706,754 18.22% 958,095 1,080,506 1,248,084 1,095,562 20.43% 1,159,077 1,442,146 1,678,315 1,426,513 23.43%
100.00 100.00 100.00
ิ ค้าออก
รวมสน 2,860,824 % 3,325,630 3,873,690 4,438,691 3,879,337 % 4,937,372 5,302,119 5,851,371 5,363,621 100.00% 5,194,597 6,176,302 6,896,541 6,089,147 %

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2555)

ตารางที่ 4: มูลค่ าการนำเข้ า จำแนกตามกลุ่มประเทศที่สำคัญ หน่ วย: ล้านบาท

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 11
2543- 2545- 2549- 2552-
  2545 % 2546 2547 2548 2548 % 2549 2550 2551 2551 % 2552 2553 2554 2554 %
สนิ ค้าเข้า                                  
ญีป่ น
ุ่ 622,755 23.29% 755,896 901,119 1,046,875 901,296 23.12% 985,755 987,891 1,116,459 1,030,035 19.59% 860,125 1,211,476 1,286,807 1,119,470 19.27%
นาฟต ้า 313,662 11.73% 319,683 317,752 378,525 338,653 8.69% 395,316 362,151 422,881 393,449 7.48% 319,075 384,136 459,094 387,435 6.67%
สหภาพยุโรป 308,008 11.52% 324,676 380,380 434,773 379,943 9.75% 432,474 415,994 476,966 441,811 8.40% 415,332 444,947 545,090 468,456 8.06%
อาเซย ี น 442,813 16.56% 522,071 640,317 869,710 677,366 17.38% 905,682 872,246 1,002,145 926,691 17.62% 850,952 972,606 1,126,630 983,396 16.92%
บรูไนดารุส
ซาลาม 18,770 0.70% 13,399 15,638 8,270 12,435 0.32% 4,814 3,900 2,969 3,895 0.07% 3,800 3,100 4,015 3,639 0.06%
อินโดนีเซย ี 59,798 2.24% 73,570 93,568 125,716 97,618 2.50% 131,939 138,550 180,271 150,253 2.86% 130,909 182,215 225,145 179,423 3.09%
มาเลเซย ี 142,561 5.33% 187,802 223,479 325,314 245,532 6.30% 325,327 299,885 322,995 316,069 6.01% 295,287 343,889 376,020 338,399 5.82%
ฟิ ลิปปิ นส ์ 47,010 1.76% 56,014 62,335 75,718 64,689 1.66% 81,260 74,561 75,661 77,161 1.47% 61,277 75,984 82,413 73,225 1.26%
สงิ คโปร์ 129,452 4.84% 135,327 167,368 216,452 173,049 4.44% 218,070 218,680 236,132 224,294 4.27% 197,352 201,897 237,612 212,287 3.65%
ก ัมพูชา 448 0.02% 508 1,113 1,270 963 0.02% 1,323 1,689 3,007 2,006 0.04% 2,660 6,870 5,372 4,967 0.09%
ลาว 3,661 0.14% 4,297 4,611 9,125 6,011 0.15% 19,753 16,295 20,572 18,873 0.36% 15,944 23,936 34,470 24,783 0.43%
พม่า 28,393 1.06% 37,213 54,519 71,913 54,549 1.40% 88,708 80,031 112,426 93,722 1.78% 95,976 90,000 99,725 95,234 1.64%
เวียดนาม 12,721 0.48% 13,942 17,687 35,931 22,520 0.58% 34,489 38,655 48,111 40,418 0.77% 47,748 44,714 61,857 51,439 0.89%
ตะวันออกกลาง 255,534 9.56% 312,356 437,112 614,489 454,652 11.66% 696,865 641,074 932,873 756,937 14.39% 568,840 679,046 928,941 725,609 12.49%
ออสเตรเลีย 57,158 2.14% 65,574 88,818 130,578 94,990 2.44% 130,709 132,190 171,744 144,881 2.76% 131,769 189,087 242,037 187,631 3.23%
จีน 170,822 6.39% 251,072 329,632 448,917 343,207 8.80% 521,524 564,566 670,343 585,478 11.13% 586,143 775,391 933,271 764,935 13.16%
ประเทศอืน ่ ๆ 503,025 18.81% 587,449 705,938 830,158 707,848 18.16% 874,598 894,075 1,169,072 979,249 18.62% 869,745 1,199,902 1,451,780 1,173,809 20.20%
100.00 100.00 100.00
ิ ค้าเข้า
รวมสน 2,673,776 % 3,138,776 3,801,067 4,754,025 3,897,956 100.00% 4,942,923 4,870,186 5,962,482 5,258,530 % 4,601,982 5,856,591 6,973,650 5,810,741 %

ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2555)

ตารางที่ 5: ดุลการค้ า จำแนกตามกลุ่มประเทศทีสำ


่ คัญ หน่ วย: ล้านบาท

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 12
  2543-2545 % 2546 2547 2548 2545-2548 % 2549 2550 2551 2549-2551 % 2552 2553 2554 2552-2554 %
ดุลการค้า                                  
ญีป
่ น
ุ่ -197,690 -7.39% -283,939 -359,631 -443,975 -362,515 -9.30% -361,824 -362,854 -454,894 -393,191 -7.48% -324,245 -566,266 -561,352 -483,954 -8.33%
12.10
นาฟต ้า 323,529 % 301,501 365,935 361,955 343,130 8.80% 416,742 383,863 321,122 373,909 7.11% 316,150 330,395 289,791 312,112 5.37%
สหภาพยุโรป 154,983 5.80% 183,160 199,078 168,323 183,520 4.71% 252,774 331,959 292,808 292,514 5.56% 203,427 245,135 182,755 210,439 3.62%
อาเซย ี น 116,333 4.35% 162,872 212,171 106,158 160,400 4.11% 123,498 256,846 317,247 232,530 4.42% 255,540 430,993 510,158 398,897 6.86%
บรูไนดารุส
ซาลาม -17,108 -0.64% -11,661 -13,364 -5,524 -10,183 -0.26% -1,668 -690 1,105 -418 -0.01% 201 976 120 432 0.01%
อินโดนีเซย ี 2,321 0.09% 20,634 35,642 33,219 29,832 0.77% -5,742 27,420 27,746 16,475 0.31% 28,009 50,641 78,726 52,459 0.90%
มาเลเซย ี -23,888 -0.89% -27,295 -10,247 -92,403 -43,315 -1.11% -73,366 -30,304 2,285 -33,795 -0.64% -34,449 -9,290 -2,413 -15,384 -0.26%
ฟิ ลิปปิ นส ์ 2,825 0.11% 11,183 11,268 6,585 9,679 0.25% 16,540 29,223 39,537 28,433 0.54% 41,652 78,931 57,427 59,337 1.02%
สงิ คโปร์ 108,275 4.05% 107,781 114,629 91,590 104,667 2.69% 100,527 112,057 96,312 102,965 1.96% 60,615 83,290 107,169 83,692 1.44%
ก ัมพูชา 18,493 0.69% 28,168 27,977 35,532 30,559 0.78% 45,680 45,020 64,018 51,573 0.98% 51,258 67,395 82,407 67,020 1.15%
ลาว 13,247 0.50% 14,619 18,772 21,840 18,410 0.47% 18,968 28,890 37,821 28,560 0.54% 40,101 43,670 49,732 44,501 0.77%
พม่า -11,755 -0.44% -19,016 -30,192 -43,531 -30,913 -0.79% -59,859 -46,988 -68,567 -58,471 -1.11% -43,324 -24,369 -13,848 -27,180 -0.47%
เวียดนาม 23,924 0.89% 38,458 57,686 58,849 51,664 1.33% 82,418 92,215 116,990 97,208 1.85% 111,477 139,749 150,838 134,021 2.31%
ตะวันออกกลาง -160,832 -6.02% -192,760 -288,646 -435,234 -305,547 -7.84% -479,230 -383,377 -619,820 -494,142 -9.40% -270,394 -374,043 -616,503 -420,313 -7.23%
ออสเตรเลีย 8,135 0.30% 8,144 10,265 -3,477 10,310 0.26% 34,538 72,522 91,438 66,166 1.26% 160,187 108,012 -998 89,067 1.53%
จีน -39,796 -1.49% -15,014 -43,946 -81,512 -46,824 -1.20% -75,546 -53,457 -138,024 -89,009 -1.69% -37,383 -96,759 -107,494 -80,546 -1.39%
ประเทศอืน ่ ๆ -17,614 -0.66% 6,890 -22,602 12,429 -1,094 -0.03% 83,498 186,430 79,012 116,313 2.21% 289,332 242,244 226,534 252,704 4.35%
ดุลการค้า 187,048 7.00% 186,854 72,623 -315,334 -18,619 -0.48% -5,550 431,933 -111,111 105,090 2.00% 592,615 319,711 -77,109 278,405 4.79%

ทีม
่ า: ธนาคารแห่งประเทศไทย (2555)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 13
ภายใต้ข อ้ ตกลง AEC จะทำให้ไ ทยหันมาค้าขายกับ ประเทศในภูมิภ าคมากขึน้ และมีการค้า กับ
ประเทศตลาดหลักลดลง
1. สิ นค้าไทยส่ งออกไปอาเซียนได้มากขึ้นอันเป็ นผลมาจากการขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งด้านภาษี
และด้านที่ไม่ใช่ภาษี จากการศึกษาเรื่ องประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนของศูนย์วิจยั เศรษฐกิจและธุรกิจ
เพื่อการปฏิรูป ภาพรวมการค้าไทยมีผลกระทบต่อ 10 รายการหลัก ไทยจะเกินดุลการค้าในกลุ่ม
อาเซียนเพิม่ ขึ้นเป็ นมูลค่า 9,000 ล้านเหรี ยญสหรัฐ เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2551 ที่มีการเกินดุล 1,400.8
ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐทั้งนี้การเกินดุลมาจากการส่ งออกไทยไปอาเซี ยนในปี พ.ศ. 2558 จะมี
มูลค่าไม่ต ่ำกว่า 50,000 ล้านเหรี ยญสหรัฐ และสิ นค้าที่ทำให้ไทยส่ งออกเพิ่มขึ้นและเกินดุลมากที่สุด
คือ กลุ่มยานยนต์และชิ้นส่ วนกับกลุ่มเกษตรแปรรู ป ส่ วนอุตสาหกรรมบริ การ ไทยจะเกินดุลใน
ธุรกิจอุตสาหกรรมท่องเที่ยว การส่ งออกและภาคบริ การที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นจะช่วยให้มีการจ้างงาน
เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะงานทางด้านวิศกร การแพทย์และเกษตรกร
2. ไทยจะได้ประโยชน์จากขนาดของตลาดและฐานการผลิตร่ วมกัน เพราะประเทศสมาชิกในอาเซี ยน
แต่ละประเทศมีลกั ษณะ ปริ ม าณและคุณภาพของปั จจัยการผลิต เทคโนโลยีการจัดการและการ
บริ หารที่ต่างกัน ก่อให้เกิดการประหยัดต่อขนาดแก่ผผู ้ ลิตหรื อผูป้ ระกอบการไทยได้
3. เป็ นการสร้างภาพลักษณ์ของไทยในเวทีโลกจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่เข้มแข็งกับประเทศ
สมาชิกอาเซียน จะช่วยสร้างความเชื่อมัน่ ให้กบั ประชาคมโลกเกี่ยวกับพัฒนาการในด้านเศรษฐกิจ
ของไทยและของภูมิภาค
4. คนไทยจะมีสินค้าที่หลากหลายทั้งคุณภาพ รู ปแบบและราคาให้เลือกซื้ อได้ตามความพอใจและ
ระดับของรายได้การเปิ ดเสรี ดา้ นการค้า

ภายใต้เขตการค้าเสรี อาเซียนหรื อ AFTA (ASEAN Free Trade Area)ซึ่ งเริ่ มในปี 2535 โดยมีการ
ทยอยลดอัตราภาษีศุลกากรระหว่างประเทศสมาชิกอาเซี ยนอย่างต่อเนื่อง และในปี 2553 ประเทศอาเซี ยน
เดิม 6 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย สิ งคโปร์ ฟิ ลิปปิ นส์ อินโดนีเซี ย และบรู ไน จะต้องลดอัตราภาษีศุลกากร
ระหว่างกันให้เหลือ 0% ในรายการ Inclusive List ขณะที่ประเทศสมาชิกใหม่อีก 4 ประเทศ คือ กัมพูชา
สปป.ลาว พม่า และเวียดนาม ต้องทยอยลดอัตราภาษีศุลกากรจนเหลือ 0% ภายในปี 2558 เป็ นที่น่าสังเกตว่า
การเปิ ดเสรี การค้าของอาเซียนทำให้สินค้าส่ งออกหลายรายการของไทยได้เปรี ยบคู่แข่ง ในอาเซี ยน ขณะที่
สิ นค้าบางรายการต้องปรับตัวเพื่อรับมือกับการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น โดยกลุ่มสิ นค้าส่ งออกที่คาดว่าจะได้
เปรี ย บจากการเปิ ดเสรี ดงั กล่าวมีห ลายรายการ อาทิ ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ย าง และเฟอร์ นิเ จอร์ ในตลาด
อินโดนีเซี ย เสื้ อผ้าสำเร็ จรู ป เฟอร์ นิเจอร์ รถยนต์ในตลาดมาเลเซี ย เป็ นต้น ขณะที่สินค้าส่ งออกบางรายการ
จำเป็ นต้องปรับตัว รวมทั้งสิ นค้าเกษตรและสิ นค้าอุตสาหกรรม อาทิ ผลิตภัณฑ์มนั สำปะหลัง ผ้าผืน เม็ด
พลาสติก ในตลาดอินโดนีเซีย ยางพารา ผ้าผืนในตลาดฟิ ลิปปิ นส์ เป็ นต้น
ผลกระทบต่อภาคการเกษตรไทย

ประเทศไทยมีภาคการเกษตรที่ใหญ่และสำคัญ มีทรัพยากรธรรมชาติดา้ นการเกษตรอุดมสมบูรณ์ มี


ภาคการเกษตรอุตสาหกรรมที่กา้ วหน้าทันสมัย เช่น กลุ่มบริ ษทั ซี พี การผลิตด้านอาหารมนุษย์ อาหารสัตว์
และปั จจัยการผลิตทางการเกษตร เกษตรกรที่กา้ วหน้า และที่ลา้ หลัง จะมีการปรับตัวในด้านการแข่งขัน
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 14
การเคลื่อนย้ายทุนและแรงงานในระหว่างภาคการเกษตร จะเกิดขึ้นมาก การสู ญเสี ยที่ดิน และอุตสาหกรรม
การผลิต ระหว่า งกัน จะเกิด ขึ้น มาก อุตสาหกรรมอาหาร จะมีประสิ ท ธิ ภ าพมากยิง่ ขึ้น ในด้านคุณภาพ
ปริ มาณ และราคาจะถูกลง การขนส่ ง หรื อโลจิสติกทางด้านการผลิตอาหาร การเกษตร และอุตสาหกรรม
จะมีการแลกเปลี่ยนเรี ยนรู้ และพัฒนามากยิง่ ขึ้น แรงงานการเกษตรซึ่ งเป็ นแรงงานระดับต่าง ๆ จะมีการ
เคลื่อนย้าย อพยพ เช่นที่เกิดขึ้นในภาคการผลิตการเกษตรของไทย คนงานไร้ฝีมือจากประเทศเพื่อนบ้าน
ลาว พม่า เขมร อพยพเข้ามาอย่างถูก และไม่ถูกกฏหมายเพื่อจ้างงานในภาคการผลิตอาหารและการเกษตร
ของไทย และคนงานไทยกึ่งมีฝีมือได้เคลื่อนย้ายออกไปยังมาเลย์เซี ย สิ งคโปร์ และนอกกลุ่มอาเซี ยน เช่น
ญี่ปุ่น เกาหลี ตะวันออกกลาง อิสราเอล ออสเตรเลีย ยุโรป และอเมริ กา เป็ นต้น
สิ นค้าเกษตรจำนวนหนึ่งจัด เป็ น สิ น ค้า ในกลุ่ม สิ น ค้า อ่อ นไหวในการเปิ ดเสรี ภ ายใต้ป ระชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน โดยที่อตั ราภาษีไม่ตอ้ งเป็ น 0% แต่ตอ้ งไม่เกิน 5% สิ นค้าเกษตรส่ วนใหญ่ไทยจะมี
ความสามารถในการแข่งขันสูงจึงควรเดินหน้าเปิ ดเสรี เต็มที่ มีสินค้าเกษตรบางประเภท เช่น กาแฟ มันฝรั่ง
มะพร้าวแห้ง ไม้ตดั ดอก เป็ นต้น ที่เราควรยังมีอตั ราภาษี 5% เพื่อปกป้ องกิจการผูผ้ ลิตและควรทะยอยปรับ
ลดภาษีในอนาคตเมื่อเกษตรผูผ้ ลิตปรับตัวรับการแข่งขันได้ดีข้ ึน

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 15
สินค้ าอ่ อนไหว (Sensitive List) ภาษีไม่ ต้องเป็ น 0% แต่ ต้องไม่ เกิน
5%

ASEAN – 6 ภายใน 1 มกราคม 2553

CLMV ภายใน 1 มกราคม 2553 ภาษีนำเข้ า


ไทย กาแฟ มันฝรั่ง มะพร้ าวแห้ ง ไม้ ตดั ดอก 5%
บรูไน กาแฟ ชา 5%
กัมพูชา เนือ้ ไก่ ปลามีชีวิต ผักผลไม้ บางชนิด พืชบางชนิด 5%
ลาว สัตว์ มีชีวิต เนือ้ โคกระบือ สุกรไก่ ผักผลไม้ บางชนิด ข้ าว ยาสูบ 5%
มาเลเซีย สัตว์ มีชีวิตบางชนิด เนือ้ สุกร ไก่ ไข่ พืชและผลไม้ บางชนิด ยาสูบ 5%
พม่ า ถั่ว กาแฟ น้ำตาล ไหม ฝ้าย 5%
ฟิ ลิปปิ นส์ สัตว์ มีชีวิตบางชนิด เนือ้ สุกร ไก่ มันสำปะหลัง ข้ าวโพด 5%
สัตว์ มีชีวิตบางชนิด เนือ้ ไก่ ไข่ พืชบางชนิด เนือ้ สัตว์ ปรุ งแต่ ง 5%
เวียดนาม
น้ำตาล
สิงค์ โปร์ และอินโดนีเซีย ไม่ มี 5%

ผลกระทบต่ อภาคบริการการเงิน
การเปิ ดเสรี การค้าบริ การ อาเซียนได้เริ่ มเปิ ดเสรี การค้าบริ การภายใต้กรอบความตกลงด้านการค้า
บริ การ (ASEAN FrameworkAgreement on Services: AFAS) ในปี พ.ศ.2539 เพื่อขจัดอุปสรรคหรื อข้อจำกัด

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 16
ด้านการค้าบริ การระหว่างกันภายในอาเซียนสำหรับการเปิ ดเสรี ดา้ นบริ การ แม้วา่ สิ งคโปร์มีศกั ยภาพในด้าน
บริ การสู งที่สุดในอาเซียนและน่าจะได้ประโยชน์มากที่สุดจากการเปิ ดเสรี ดา้ นบริ การ เนื่องจากสิ งคโปร์มี
ความพร้อมทั้งทางด้านโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยี อย่างไรก็ตามไทยยังคงมีความได้เปรี ยบในบาง
สาขา เช่น การท่องเที่ยว ด้านการแพทย์และบริ การด้านสุ ขภาพ ดังนั้นการเปิ ดเสรี ดา้ นบริ การจะส่ งผลให้การ
แข่งขันในภาคบริ การรุ นแรงขึ้นซึ่ งจะช่วยพัฒนาและเพิ่มบทบาทของภาคบริ การให้เข้ามามีส่วนในการขับ
เคลื่อนเศรษฐกิจไทยมากขึ้น

การเปิ ดเสรีการค้าบริการ (ตามกรอบ ASEAN Framework Agreement on Services: AFAS)


การเปิ ดเสรี การค้าบริ การ มีเป้ าหมาย คือ ลดอุปสรรคในการเข้าสู่ ตลาดในด้านต่างๆ ลง และเพิ่ม
สัดส่ วนการถือหุน้ ให้กบั บุคคล/นิติบุคคลสัญชาติอาเซี ยน ดังนี้
(1) สาขาบริ การสำคัญ (Priority Integration Sectors: PIS) ได้แก่ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาสุ ขภาพ สาขาการท่องเที่ยว และสาขาโลจิสติกส์
(2) สาขาบริ การอื่น (Non-Priority Services Sector) ครอบคลุมบริ การทุกสาขา นอกเหนือจากสาขา
บริ การสำคัญ (priority services sectors) และการบริ การด้านการเงิน ที่กำหนดเป้ าหมายการเปิ ด
เสรี ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ทั้งนี้ สามารถยกเว้นสาขาที่อ่อนไหวได้

สำหรับสถานะล่าสุ ด อาเซียนได้ดำเนินการเจรจาลดข้อจำกัดด้านการค้าบริ การระหว่างกันและจัดทำ


ข้อผูกพันเปิ ดตลาดมาแล้วทั้งสิ้ นรวม 7 ชุด โดยได้ลงนามพิธีสารอนุวตั ิขอ้ ผูกพันการเปิ ดตลาดการค้าบริ การ
ชุด ที่ 7 ไปเมื่อ วัน ที่ 26 กุม ภาพัน ธ์ 2552 ซึ่ ง ในส่ ว นของไทยได้ผ กู พัน เปิ ดตลาดทั้ง หมด 143 รายการ
ครอบคลุมสาขาบริ การหลัก อาทิเช่น บริ การธุรกิจ (เช่น วิชาชีพวิศวกรรม สถาปั ตยกรรม และบัญชี เป็ นต้น )
คอมพิวเตอร์และการสื่ อสาร การก่อสร้าง การจัดจำหน่าย (เช่น บริ การค้าส่ งเครื่ องกีฬา และบริ การแฟรน
ไชส์ เป็ นต้น) การศึกษาในทุกระดับ บริ การด้านสุ ขภาพ บริ การสิ่ งแวดล้อม และบริ การท่องเที่ยว เป็ นต้น
อย่างไรก็ดี ไทยยังคงสงวนเงื่อนไขต่างๆ ที่เป็ นไปตามกรอบกฎหมายไทย เช่น อนุญาตให้ต่างชาติ
จากประเทศสมาชิกอาเซียนมีสิทธิถือหุน้ ในนิติบุคคลที่เข้ามาประกอบธุรกิจในประเทศไทยได้ไม่เกินร้อยละ
49 ขณะนี้อาเซียนอยูร่ ะหว่างการเจรจาจัดทำข้อผูกพันเปิ ดตลาดชุดที่ 8 ซึ่ งมีกำหนดแล้วเสร็ จในปี 2553 และ
ยังคงต้องเจรจาเพื่อทยอยเปิ ดเสรี สาขาบริ การอื่นๆ เพิ่มเติมจนบรรลุเป้ าหมายการเปิ ดเสรี อย่างครบถ้วน ในปี
2558 (ค.ศ. 2015)

(3) สาขาการบริ การด้านการเงิน จะทยอยเปิ ดเสรี ตามลำดับอย่างเป็ นขั้นตอน เพื่อรักษาไว้ซ่ ึ งความ


มัน่ คงทางการเงิน เศรษฐกิจและสังคม โดยประเทศที่มีความพร้อมสามารถเริ่ มดำเนินการเปิ ด
เสรี ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ในสาขาที่ระบุไว้ก่อน และประเทศสมาชิกที่เหลือสามารถเข้า
ร่ วมในภายหลัง

การค้ าบริการเสรีตามความตกลง GATS


ความตกลงทัว่ ไปว่าด้วยการค้าบริ การ (The General Agreement on Trade in Services) หรื อที่เรี ยก
ว่า “GATS” เป็ นความตกลงพหุภาคีวา่ ด้วยการค้าบริ การระหว่างประเทศ ซึ่ งมีวตั ถุประสงค์เพื่อกำหนดหลัก
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 17
การและกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการเปิ ดเสรี การค้าบริ การระหว่างประเทศสำหรับประเทศสมาชิกองค์การค้าโลก
(World Trade Organization: WTO) ได้ถือปฏิบตั ิ ทั้งนี้ ประเทศสมาชิกทั้งหลายรวมทั้งประเทศไทยจะต้อง
ปฏิบตั ิตามพันธกรณี ต่าง ๆ ภายใต้ GATS อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน เช่น หลักการปฏิบตั ิเยีย่ งชาติที่ได้
รับอนุเคราะห์ยงิ่ (Most-Favored-Nation Treatment: MFN) การเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการใช้กฎหมายและกฎ
ระเบียบต่าง ๆ ที่ควบคุมการค้าบริ การตามหลักความโปร่ งใส (Transparency) โดยให้ประเทศสมาชิกคำนึง
ถึงการใช้มาตรการทางกฎหมายภายในของประเทศตนในลักษณะสมเหตุสมผล เป็ นกลางและปราศจาก
ความลำเอียงหรื อก่อให้เกิดอุปสรรคโดยไม่จำเป็ นต่อการค้าบริ การระหว่างประเทศ

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 18
บทวิเคราะห์น้ ีมุ่งศึกษาเฉพาะในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับบริ การทางการเงิน ในส่ วนของภาคการเงินนั้น
ยุทธศาสตร์ของไทยต้องปรับให้มีความกล้าที่เปิ ดเสรี ทางการเงินให้มากขึ้น เพื่อให้เกิดการแข่งขัน ซึ่ งจะมี
ส่ วนช่วยพัฒนาและเสริ มศักยภาพภาคการเงิน และคุณภาพสถาบันการเงินให้แข็งแกร่ งยิง่ ขึ้นงานวิจยั ของ
ธนาคารแห่งประเทศไทยได้วดั ระดับของเปิ ดเสรี ทางเศรษฐกิจตามเป้ าหมายของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน
และองค์กรการค้าโลกซึ่ งพบว่า ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนเองก็ไม่ได้ต้ งั ใจที่จะเปิ ดเสรี เต็มที่ใ นทุกด้าน
นอกจากนี้ ยังพบว่าระดับการเปิ ดเสรี ของประเทศสมาชิกยังห่างจากเป้ าหมายของประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซี ยนอยู่ และที่สำคัญ การเปิ ดเสรี ของไทยในภาคบริ การทางการเงินและเงินทุนเคลื่อนย้ายยังอยูใ่ นระดับ
ที่ห่างจากประเทศสมาชิกหลักของอาเซียนอื่น ทั้งๆ ที่ ในความเป็ นจริ งแล้วไทยมีความพร้อมใกล้เคียงกับ
ประเทศหลักในอาเชียน โดยประเมินจากเครื่ องชี้ทางเศรษฐกิจและการเงินที่สำคัญ จึงนำไปสู่ นยั เชิงนโยบาย
ว่าไทยน่าจะเร่ งแนวทางปฏิบตั ิเพื่อการเตรี ยมความพร้อมเปิ ดเสรี ทางการเงินตามเป้ าหมายระเบียบ และแผน
แม่บทต่างๆ ของประเทศ เพื่อให้เกิดภาวะบูรณาการที่หนุนเสริ มกันทางเศรษฐกิจ
จากทฤษฎีและข้อมูลเชิงประจักษ์ของงานวิจยั ส่ วนใหญ่พบว่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการ
เปิ ดเสรี ทางการค้าสิ นค้าและภาคบริ การ (ไม่รวมบริ การทางการเงิน) ประเทศสมาชิกจะได้รับประโยชน์ค่อน
ข้างชัดเจน อย่างไรก็ดี จากทฤษฎีและข้อมูลเชิงประจักษ์พบว่า ยังไม่มีผลสรุ ปแน่ชดั ในประเด็นเกี่ยวกับ
ประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นจากการรวมกลุ่มทางการเงินหรื อการเปิ ดเสรี ทางการเงิน ซึ่ งการจะได้รับประโยชน์
หรื อไม่น้ นั ขึ้นอยูก่ บั สองปัจจัยหลัก ได้แก่ ความพร้อมของภาคการเงินและปั จจัยแวดล้อมด้านสถาบันของ
ประเทศ ความพร้อมของโครงสร้างพื้นฐานของระบบเศรษฐกิจ รวมทั้ง คุณภาพของบุคลากรในภาคการเงิน
ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดภาวะบูรณาการที่หนุนเสริ มกันทางเศรษฐกิจ ต้องทำให้การเปิ ดเสรี นำมาซึ่ งการแข่งขันและ
การเรี ยนรู ้จากภายนอก และการถ่ายทอดเทคโนโลยีในภาคการเงิน ส่ งผลให้ประเทศมีระดับการพัฒนา
ของภาคการเงินและปัจจัยแวดล้อมด้านสถาบันที่ดีข้ ึน อันเป็ นการสร้างความมัน่ ใจที่จะเปิ ดเสรี มากขึ้นใน
ที่สุดจากทั้งหมดที่กล่าวมานำไปสู่ คำถามสำคัญของงานวิจยั นี้ที่วา่ ระดับการเปิ ดเสรี ของไทยสอดคล้องกับ
ระดับการพัฒนาของภาคการเงินและปัจจัยแวดล้อมด้านสถาบันหรื อไม่ดงั นั้น เป้ าหมายหลักของวิจยั ครั้งนี้
จึงเป็ นการวัดระดับการเปิ ดเสรี ของประเทศไทย และในอีกด้านหนึ่งคือการวัดระดับความพร้อมของไทยใน
ด้านการพัฒนาภาคการเงินและปัจจัยแวดล้อมด้านสถาบันในด้านการเปิ ดเสรี น้ นั
งานวิจยั เรื่ อง AEC 2015: Ambitions, Expectations and ของคุณปริ วรรต กนิษฐะเสน วัชรกูร จิวากา
นนท์ ชานนท์ บุญนุช ธนาคารแห่งประเทศไทยได้วดั Liberalization gap ซึ่ งเป็ นความแตกต่างระหว่างระดับ
การเปิ ดเสรี สูงสุ ด และการเปิ ดเสรี ที่ระบุไว้ในเป้ าหมายตามแผนของ AEC และ Implementation gap ที่วดั
ระดับการเปิ ดเสรี ของประเทศสมาชิกหลักของอาเซี ยน (ASEAN-5) เทียบกับระดับการเปิ ดเสรี ที่ระบุไว้ใน
เป้ าหมายตามแผนของ AEC สำหรับในด้านความพร้อมนั้น ได้มีการคัดเลือกเครื่ องชี้ วดั ที่สะท้อนถึงระดับ
การพัฒนาภาคการเงินและปัจจัยแวดล้อมด้านสถาบันของไทย และเปรี ยบเทียบกับประเทศสมาชิกหลักของ
อาเซี ยน ทั้งนี้
เพื่อพิจารณาระดับการเปิ ดเสรี และระดับความพร้อมว่ามีความสอดคล้องกันหรื อไม่งานวิจยั ได้ขอ้ สรุ ปหลัก
ดังนี้
ประการแรก: AEC ไม่ได้มีเป้ าประสงค์ที่จะเปิ ดเสรี ระดับสู งสุ ดในทุกด้าน โดยเมื่อพิจารณาเป้ าหมาย
ตามแผนของ AEC พบว่า ภาคบริ การมีเป้ าหมายการเปิ ดเสรี ในระดับที่นอ้ ยกว่าภาคสิ นค้าหรื อการลงทุน
ส่ วนภาคแรงงานฝี มือนั้นยังอยูเ่ พียงขั้นเตรี ยมพร้อมเพื่อการเปิ ดเสรี ในขณะที่กรอบการเปิ ดเสรี ของภาค
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 19
การเงินนั้นมีความยืดหยุน่ มาก คืออนุญาตให้แต่ละประเทศพิจารณาได้เองโดยขึ้นอยูก่ บั สภาวการณ์และ
ความพร้อม และได้ขยายกรอบเวลาไปจนถึงปี 2020 ดังนั้น อาจกล่าวได้วา่ รู ปแบบการรวมกลุ่มของอาเซี ยน
เป็ นการพัฒนารู ปแบบจากการเปิ ดเสรี ทางการค้า โดยมิได้มีความมุ่งหวังไปถึงระดับตลาดร่ วมดังที่เกิดขึ้น
ในการรวมกลุ่มของยุโรป 3

ประการที่ สอง: แม้ AEC จะไม่ได้กำหนดเป้ าหมายการเปิ ดเสรี ไว้ในระดับสู ง แต่ในปั จจุบนั ประเทศสมาชิก
หลักของอาเซียน ก็ยงั เปิ ดเสรี ไม่ถึงเป้ าหมายตามแผนของ AEC ที่กำหนดไว้ โดยในกรณี ของไทยได้เปิ ดเสรี
ด้านสิ นค้าไปในระดับที่ใกล้เคียงกับเป้ าหมายของ AEC แล้ว แต่ที่สำ คัญคือ ระดับการเปิ ดเสรี ของไทยยัง
ตามหลังสมาชิกหลักของอาเซียนในภาคบริ การทางการเงินและเงินทุนเคลื่อนย้าย ซึ่ งส่ วนหนึ่งมาจากความ
ระมัด ระวังในการเปิ ดเสรี ข องไทย อัน สะท้อ นได้จ ากกฎหมายและระเบีย บต่า งๆ ในปัจ จุบ นั ที่ย งั ไม่
สอดคล้องกับเป้ าหมายการเปิ ดเสรี อย่างไรก็ดี ในอีกด้านหนึ่งของวงจรเกื้อกูลนั้น จากการพิจารณาเครื่ องชี้
วัดด้านการพัฒนาภาคการเงินและปัจจัยแวดล้อมด้านสถาบัน สรุ ปได้วา่ ประเทศไทยอยูใ่ นระดับปานกลาง
เมื่อเทียบกับกลุ่มประเทศอาเซียนหลัก

ประการที่ สาม: ทุกภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องจำเป็ นจะต้องมี integration mindset โดยบรรจุเรื่ องการรวมตัวของ


อาเซี ยนเข้าไปในกฎหมาย ระเบียบ และแผนแม่บทต่างๆ ของแต่ละประเทศ เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนแนว
ปฏิบตั ิได้ตามกรอบของเป้ าหมายตามแผนของ AEC ซึ่ งสำหรับประเทศไทยเองนั้น ควรพิจารณาให้มีการเปิ ด
เสรี ทางด้านการเงินเพิ่มมากขึ้นจากปัจจุบนั ที่อยูใ่ นลำดับรั้งท้ายของกลุ่มประเทศสมาชิกหลักของอาเซี ยน
อันจะเป็ นการช่วยพัฒนาให้ไทยมีความพร้อมด้านภาคการเงินและปั จจัยแวดล้อมด้านสถาบันเพิ่มมากขึ้น ทำ

จากการศึกษาของบทวิเคราะห์น้ ีพบว่า ภาคการเงินของไทยมีการปรับตัวมาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะ


อย่างยิง่ ในช่วงหลังวิกฤตการณ์เศรษฐกิจการเงินปี พ.ศ. 2540 มีการปฏิรูปและปรับโครงสร้างภาคการเงิน
ครั้งใหญ่หลังวิกฤติปี 40 ทำให้ภาคการเงินของไทยแข็งแกร่ งพอสมควรและสามารถทนทานต่อวิกฤตการณ์
การเงินโลกในช่วงปี พ.ศ. 2552 อย่างไรก็ตาม ภาคการเงินไทยแม้นแข็งแกร่ งขึ้นกว่าเดิมแต่ดว้ ยฐานทุน ฐาน
เทคโนโลยี การบริ หารจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ เท่าที่มีอยูย่ งั ไม่สามารถทำให้อุตสาหกรรมธนาคาร ธุรกิจ
ตลาดทุนของไทยขึ้นมาอยูใ่ นระดับแนวหน้าของภูมิภาคได้ ศักยภาพในการแข่งขันยังเป็ นรองภาคการเงิน
ของสิ งคโปร์และมาเลเซีย โดยที่ภาคการเงินของสิ งคโปร์และมาเลเซี ยได้ขยายการลงทุนเข้ามาซื้ อ
กิจการและควบรวมกิจการการเงินในประชาคมอาเซี ยนเพื่อให้ตวั เองได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จากการเปิ ด
เสรี ภาคบริ การเงินที่จะเกิดขึ้นในอนาคตภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน
ธุรกิจหลักทรัพย์ ค่านายหน้าและค่าธรรมเนียมต่างๆลดลงอย่างต่อเนื่อง กลุ่มธุรกิจหลักทรัพย์มีการ
เคลื่อนไหวให้ยดื เวลาการเปิ ดเสรี คา่ นายหน้าและธรรมเนียมเพราะเกรงว่าบริ ษทั หลักทรัพย์ขนาดกลางและ
ขนาดเล็กอาจแข่งขันไม่ได้ ภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน การแข่งขันจะรุ นแรงยิง่ ขึ้น การชะลอการเปิ ด
เสรี ทำได้ชวั่ คราวเท่านั้น กระแสการแข่งขันที่รุนแรงจะสร้างภาวะให้เกิดการเร่ งการควบรวมในธุรกิจนี้มาก
ยิง่ ขึ้นในอนาคต
ธุรกิจธนาคาร ปี พ.ศ. 2555 ธนาคารแห่งประเทศไทยอนุญาตให้สาขาธนาคารต่างประเทศ 16 แห่ง
ในไทยยืน่ อนุญาตเป็ นธนาคารพาณิ ชย์ที่เป็ นบริ ษทั ลูกของธนาคารพาณิ ชย์ในต่างประเทศสามารถขยายสาขา
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 20
และบริ การได้กว้างขวางขึ้น แต่คาดว่าจะยังไม่กระทบต่อความสามารถในการแข่งขันและการกำไรของกลุ่ม
ธนาคารไทยมากนักในช่วงแรกเนื่องจากเครื อข่ายสาขามีมากกว่ามาก อย่า งไรก็ตาม ภายใต้ประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน ภาคธนาคารไทยจำเป็ นต้องเตรี ยมความพร้อมเพื่อรองรับธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศ
โดยเฉพาะธุรกรรมทางการเงินในกลุ่มประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนอย่างมีนยั ยสำคัญ และ มีความ
จำเป็ นต้องเปิ ดสาขาหรื อสร้างพันธมิตรทางธุรกิจในกลุ่มอาเซี ยน
นอกจากนี้อาเซียนยังมีความร่ วมมือทางการเงินระหว่างประเทศภายใต้ Chiang Mai Initiative ใน
ช่วงปี 2008-2009 มีจุดทดสอบสำคัญจากวิกฤตการณ์การเงินในสหรัฐอเมริ กาของโครงการความร่ วมมือ
ทางการเงินของอาเซียนดังกล่าวว่าจะบรรลุความสำเร็ จหรื อไม่ในการป้ องกันไม่ให้ภูมิภาคเอเชียเกิดวิกฤติ
ตามไปด้วย ผลที่ออกมา ก็คือ ไม่มีประเทศอาเซี ยนที่ตอ้ งใช้ประโยชน์ของโครงการความร่ วมมือที่มีอยูใ่ น
ช่วงที่เกิดวิกฤติเศรษฐกิจการเงินโลก สาเหตุหนึ่งก็เพราะประเทศในกลุ่มส่ วนใหญ่สามารถดูแลเศรษฐกิจ
ของตนได้ โดยไม่ตอ้ งพึ่งเงินช่วยเหลือ แต่ในอีกด้านหนึ่ง บางประเทศที่อาจต้องการความช่วยเหลือขณะนั้น
ก็เลือกที่จะไม่ใช้ประโยชน์โครงการความช่วยเหลือของกลุ่มอาเซี ยนบวกสามที่มีอยูด่ ว้ ยสองเหตุผล
หนึ่ง การเบิกใช้วงเงินตามสิ ท ธิข องประเทศที่มีก บั โครงการจะเกิด ขึ้น ได้เต็มจำนวน ก็ต่อ เมื่อ
ประเทศที่มีปัญหาเศรษฐกิจสมัค รใจที่จะขอความช่ว ยเหลือ จากกองทุนการเงินระหว่างประเทศในรู ป
โปรแกรมการกูย้ มื พร้อมกันไปด้วย การเชื่อมโยงการช่วยเหลือของโครงการอาเซี ยนบวกสามกับการกูย้ มื
จากไอเอ็มเอฟ จึงเป็ นกลไกสำคัญที่ลดทอนแรงจูงใจให้ประเทศอาเซี ยนใช้ประโยชน์โครงการความช่วย
เหลือของกลุ่มประเทศอาเซียนบวกสามที่ได้จดั ตั้งกันไว้
สอง กลไกการเบิกจ่าย และการอนุมตั ิความช่วยเหลือของโครงการ กลุ่มประเทศอาเซี ยนบวกสามที่
ได้วางไว้กค็ ่อนข้างจะใช้เวลา และมีความไม่แน่นอน ทำให้มีโอกาสสู งที่ความช่วยเหลือจากโครงการดัง
กล่าว อาจไม่ทนั เวลา เมื่อเทียบกับปัญหาและความจำเป็ นที่ตอ้ งใช้เงิน แต่ที่สำคัญ กลไกและการอนุมตั ิจะอยู่
ภายใต้บทบาทนำของกลุ่มประเทศบวกสาม ซึ่ งเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่ลดทอนแรงจูงใจของประเทศอาเซี ยนที่
ต้องการความช่วยเหลือที่จะใช้ประโยชน์โครงการความร่ วมมืออาเซี ยนบวกสามที่มีอยู่
ดังนั้นถึงแม้ประเทศในกลุ่มอาเซียนบวกสามจะประกาศเพิ่มวงเงินช่วยเหลือเป็ นสองเท่าตามที่เป็ น
ข่าวไปเร็ วๆ นี้ แต่ถา้ กลไกที่มีอยูย่ งั ไม่มีการปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เกิดแรงจูงใจให้ประเทศในกลุ่ม
อาเซี ยนใช้ประโยชน์โครงการดังกล่าวในยามจำเป็ น ตัวเลขที่ประกาศ ถึงแม้จะมีมากกว่าเดิม ก็คงจะเป็ น
เพียงเสื อกระดาษ ที่อาจไม่มีใครใช้ประโยชน์ ซึ่ งก็หมายความว่า โดยพฤตินยั ประเทศในกลุ่มอาเซี ยน 10
ประเทศ ก็ยงั ไม่มีกลไกความร่ วมมือทางการเงินในระดับภูมิภาคที่จะมีแรงจูงใจดีพอที่จะใช้พ่ งึ พาได้ในยาม
จำเป็ นจากข้อจำกัดดังกล่า ว ประเทศในอาเซี ยนอาจต้อ งตั้งคำถามกับ ตัว เองว่าจริ งๆ แล้วความร่ ว มมือ
ทางการเงินที่ประเทศอาเซียนต้องการระหว่างกันคืออะไร คำตอบอาจจะอยูท่ ี่การปั ดฝุ่ นโครงการความร่ วม
มือทางการเงินเฉพาะของอาเซียนที่มีอยูเ่ ดิม คือ อาเซี ยนสวอป ให้เป็ นโครงการ สำรอง ที่ประเทศในกลุ่ม
อาเซี ยนจะใช้ประโยชน์ได้ง่ายขึ้น และทันเวลาขึ้นในยามที่ตอ้ งการ ปั จจุบนั ฐานะทางการเงินและทุนสำรอง
ระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศอาเซียนสิ บประเทศดีพอ ที่จะยกระดับโครงการความช่วยเหลือที่มีอยูเ่ ดิม
ให้มีขนาดใหญ่พอที่จะทำหน้าที่ช่วยเหลือประเทศอาเซี ยนทางการเงินเมื่อเกิดวิกฤติ

โครงสร้ างตลาดอุตสาหกรรมยานยนต์ และจักรยานยนต์ ของประเทศไทย

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 21
หากพิจารณาจากโครงสร้างการส่ งออกยานยนต์ของไทย ในช่วงปี 2550 – 2554 พบว่า ตลาดใน
ประเทศและตลาดต่า งประเทศถือเป็ นตลาดที่สำ คัญ โดยมีส่ ว นการขายตลาดในประเทศกับ ตลาดต่า ง
ประเทศ คิดเป็ นร้อยละ 48.01 และร้อย 51.99 ตามลำดับ ส่ วนโครงสร้างการส่ งออกจักรยานยนต์ของไทย
พบว่ามีความแตกต่างระหว่างตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศเป็ นอย่า งมาก เนื่อ งจากตลาดใน
ประเทศเป็ นตลาดหลักของอุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์ คิดเป็ นร้อยละ 92.67 ซึ่ งตลาดต่างประเทศมี
สัดส่ วนร้อยละ 7.33 เท่านั้น ซึ่ งโครงสร้างตลาดทั้งยานยนต์และจักรยานยนต์ พบว่าโครงสร้างตลาดยาน
ยนต์มีความเสี่ ย งทางด้า นตลาดน้อยกว่าโครงสร้า งตลาดรถจักรยานยนต์ เนื่อ งจากมีสดั ส่ ว นตลาดต่า ง
ประเทศใกล้เคียงกับตลาดในประเทศ อย่างไรก็ดี ทั้งโครงสร้างตลาดอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ ยัง
สามารถขยายไปยังตลาดต่างประเทศได้แต่ไม่สามารถขยายได้มากนัก เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตยาน
ยนต์มีอตั ราการใช้กำลังการผลิตค่อนข้างสูง อยูท่ ี่ร้อยละ 89.43 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ 79.10 เฉลี่ยตั้งแต่ปี
2546 – 2555) ส่ วนโครงสร้างตลาดจักรยานยนต์มีสดั ส่ วนการขายในตลาดต่างประเทศค่อนข้างต่ำ ซึ่ งยัง
สามารถขยายไปยังตลาดต่างประเทศได้ แต่อาจมีขอ้ จำกัดเรื่ องการใช้กำ ลังการผลิตในอนาคต เนื่องจาก
อุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์มีอตั ราการใช้กำ ลังการผลิตอยูท่ ี่ร้อยละ 76.21 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ
86.9 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 – 2555)

ผลิตภาพแรงงานในอุตสาหรรมผลิตยานยนต์ และจักรยานยนต์
นอกจากนี้ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในตลาดต่างประเทศคือ
ผลิตภาคแรงงานต่อคน ซึ่ ง ณ ปัจจุบนั ดัชนีผลิตแรงงานในอุตสาหกรรมการผลิตอยูใ่ นเกณฑ์ที่ค่อนข้างสู ง
(คิด เป็ น 149.48 ในปี 2554) ซึ่ งสูงกว่าภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตรอื่น ๆ ยกเว้น การเงิน การ
ธนาคารเนื่องจากมีดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อคนสู งที่สุด (คิดเป็ น 182.53 ในปี 2554) แต่หากพิจารณาลงไป
ในอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์และจักรยานยนต์ พบว่าดัชนีผลิตภาพแรงงานต่อคนมีคา่ สู งกว่าดัชนีผลิต
แรงงานต่อคนของภาคอุตสาหกรรมโดยเฉลี่ย โดยอุตสาหกรรมยานยนต์มีดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อคนในปี
2554 อยูท่ ี่ 164.01 ส่ วนอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์มีดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อคนในปี 2554 อยูใ่ นเกณฑ์
สู ง (คิดเป็ น 364.58)

รู ปภาพที่ 3 อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ (ISIC: 3410)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 22
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (2555)

รู ปภาพที่ 4 อุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์ (ISIC: 3591)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 23
ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (2555)
การส่ งออกอุตสาหกรรมยานยนต์ สู่ ตลาดอาเซียน
หากพิจารณาข้อมูลในตารางที่ 6 พบว่า อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ
ของไทย ถือเป็ นสิ นค้านำเข้าที่สำคัญของกลุ่มประเทศอาเซี ยน ในช่วงปี 2550 – 2552 โดย อินโดนีเซี ยนำเข้า
รถยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ คิด เป็ น มูลค่านำเข้าสิ นค้าอันดับที่ 1 ของสิ นค้าที่นำ เข้าทั้งหมดจาก
ประเทศไทย (1,136.60 ล้านเหรี ยญสหรัฐโดยเฉลี่ย หรื อคิดเป็ นร้อยละ 21.57 ของมูลค่าสิ นค้านำเข้าเฉลี่ย
จากประเทศไทย) ฟิ ลิปปิ นส์ ถือเป็ นประเทศที่สำ คัญในการนำเข้ายานยนต์ของประเทศไทย โดยคิดเป็ น
มูลค่านำเข้าอันดับที่ 1 ของสิ นค้านำเข้าจากประเทศไทยทั้งหมด ( 611.13 ล้านเหรี ยญสหรัฐโดยเฉลี่ย หรื อ
คิดเป็ นร้อยละ 19.21 ของมูลค่าสิ นค้านำเข้าเฉลี่ยจากประเทศไทย) นอกจากนี้ยงั มีประเทศในกลุ่มอาเซี ยนที่
นำเข้ายานยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ จากประเทศไทย ได้แก่ สิ งคโปร์ (237.37 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) ลาว
(170 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) เวียดนาม (280.53 ล้านเหรี ยญสหรัฐ4) พม่า (37.07 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) บรู ไนดารุ ส
ซาลาม (34. 37 ล้านเหรี ยญสหรัฐ)

4
แบ่งเป็ นยานยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ คิดเป็ น 157.50 ล้านเหรี ยญสหรัฐ และจักรยานยนต์ และส่ วนประกอบ คิดเป็ น 123.03 ล้าน
เหรี ยญสหรัฐ
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 24
ตารางที่ 6: สิ นค้าส่ งออกไปยังกลุ่มประเทศอาเซียนและสิ นค้ านำเข้ าจากกลุ่มประเทศอาเซียนของไทยที่มีมูลค่ าสู งสุ ด 10 ลำดับแรก
หน่ วย: ล้านดอล์ล่าสหรัฐ
ประเทศ สินค้าส่งออกของไทย มูลค่าเฉลีย ่ 3 ปี % สินค้านำเข้าของไทย มูลค่าเฉลีย
่ 3 %
    (2550-2552)   ปี
(2550-2552)  
บรูไนดารุสซาลาม รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 34.37 30.82% น้ำมันดิบ 100.83 98.30%
ข ้าว 31.73 28.46% เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 0.9 0.88%
อัญมณีและเครือ ่ งประดับ 2.13 1.91% สินแร่โลหะอืน ่  ๆ เศษโลหะและ 0.3 0.29%
หม ้อแปลงไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 2.77 2.48% ผลิ
สัตว์ตแภัละผลิ
ณฑ์ ตภัณฑ์จากสัตว์ 0.17 0.17%
น้ำตาลทราย 2.20 1.97% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 0.37 0.36%
ปูนซิเมนต์ 2.60 2.33% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 102.57 100.00%
เสือ้ ผ ้าสำเร็จรูป 1.87 1.67%
เครือ ่ งจักรกลและส่วนประกอบ 1.13 1.02%
ผลไม ้สดแช่เย็น แช่แข็งและแห ้ง 1.57 1.41%
ผลิตถัณฑ์ยาง 1.63 1.47%
สินค ้าส่งออกอืน ่ ๆทัง้ หมด 29.49 26.45%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 111.49 100.00%    

อินโดนีเซีย รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 1,136.60 21.57% ถ่านหิน 678.90 15.43%


น้ำตาลทราย 381.23 7.23% น้ำมันดิบ 434.10 9.87%
เคมีภัณฑ์อน ิ ทรีย ์ 319.33 6.06% สินแร่โลหะอืน่  ๆ เศษโลหะและ 584.97 13.30%
เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบของ 325.03 6.17% ผลิต
เครือ ภั ณฑ์
่ งจักรและส่วนประกอบ 297.67 6.77%
เครื
เครือ
อ ่่ งงยนต์สนั ดาปภายในแบบ 258.13 4.90% เคมีภัณฑ์ 417.03 9.48%
ลู
ก สู บ
เม็ดพลาสติก 230.17 4.37% ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ 219.60 4.99%
เหล็ก เหล็กกล ้า และผลิตภัณฑ์ 265.40 5.04% เครือ
่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 255.47 5.81%
รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ 172.50 3.27% สัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูปและกึง่ 185.30 4.21%
เครือ
่ งปรับอากาศและส่วนประกอบ 133.43 2.53% กระดาษ และผลิตภัณฑ์กระดาษ 86.30 1.96%
เครือ่ งสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์ 132.30 2.51% เครือ่ งใช ้ไฟฟ้ าในบ ้าน 69.77 1.59%
รักษาผิว
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 25
สินค ้าส่งออกอืน
่ ๆทัง้ หมด 1,916.04 36.36% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 1,169.68 26.59%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 5,270.17 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 4,398.78 100.00%
ประเทศ สินค้าส่งออกของไทย มูลค่าเฉลีย ่ 3 ปี % สินค้านำเข้าของไทย มูลค่าเฉลีย่ 3 %
    (2550-2552)     ปี
(2550-2552)  
มาเลเซีย เครือ
่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วน 818.07 9.66% เครือ
่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วน 1,362.80 15.19%
ประกอบ
รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 816.27 9.64% ประกอบ
น้ำมันดิบ 1,269.43 14.15%
ยางพารา 905.73 10.70% เครือ
่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 769.47 8.58%
น้ำมันสำเร็จรูป 439.60 5.19% ่
สือบันทึกข ้อมูล  ภาพ  เสียง 513.27 5.72%
แผงวงจรไฟฟ้ า 496.37 5.86% เคมีภัณฑ์ 683.70 7.62%
ผลิตภัณฑ์ยาง 236.50 2.79% แผงวงจรไฟฟ้ า 531.47 5.92%
เคมีภัณฑ์ 332.40 3.93% เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบ 383.33 4.27%
เหล็กและเหล็กกล ้า ผลิตภัณฑ์เหล็ก 261.10 3.08% เครือ ่ งใช ้เบ็ดเตล็ด 193.87 2.16%
มอเตอร์และเครือ ่ งกำเนิดไฟฟ้ า 137.43 1.62% เครือ ่ งใช ้เกีย
่ งมือเครือ ่ วกับวิทยาศาสตร์ 247.40 2.76%
เครือ
่ งจักรกลและส่วนประกอบของเครือ่ ง 198.13 2.34% การ
น้ำมันสำเร็จรูป 221.17 2.46%
สินค ้าส่งออกอืน่ ๆทัง้ หมด 3,822.64 45.16% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 2,796.97 31.17%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 8,464.24 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 8,972.87 100.00%

ฟิ ลิปปิ นส ์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 611.13 19.21% แผงวงจรไฟฟ้ า 372.27 18.01%


แผงวงจรไฟฟ้ า 352.03 11.06% ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ 246.57 11.93%
น้ำมันสำเร็จรูป 134.17 4.22% สินแร่โลหะอืน ่  ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ 203.33 9.84%
เครือ
่ งสำอาง สบู ่ และผลิตภัณฑ์รก
ั ษาผิว 106.03 3.33% น้ำมันดิบ 166.67 8.06%
เม็ดพลาสติก 100.83 3.17% เครือ
่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 144.33 6.98%
เคมีภัณฑ์ 87.27 2.74% รถยนต์นั่ง 65.47 3.17%
เครือ ั ดาปภายในแบบลูกสูบ
่ งยนต์สน 98.10 3.08% เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบ 81.70 3.95%
เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 97.77 3.07% เครือ ่ งใช ้เกีย
่ งมือเครือ ่ วกับวิทยาศาสตร์ 77.13 3.73%
ผลิตภัณฑ์ข ้าวสาลีและอาหารสำเร็จรูป 83.40 2.62% การ
เครือ ่ งคอมพิวเตอร์อป ุ กรณ์และส่วน 212.40 10.28%
ผลิตภัณฑ์พลาสติก 73.47 2.31% ประกอบ
ผลิตภัณฑ์ยาสูบ 70.73 3.42%
สินค ้าส่งออกอืน่ ๆทัง้ หมด 1,437.90 45.19% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 426.20 20.62%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 3,182.10 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 2,066.80 100.00%

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 26
ประเทศ สินค้าส่งออกของไทย มูลค่าเฉลีย ่ 3 ปี % สินค้านำเข้าของไทย มูลค่าเฉลีย
่ 3 %
    (2550-2552)     ปี
(2550-2552)  
สิงคโปร์ น้ำมันสำเร็จรูป 1,471.03 16.16% เคมีภัณฑ์อน ิ ทรีย ์ 1,050.20 16.49%
เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 1,133.57 12.45% แผงวงจรไฟฟ้ า 795.23 12.48%
แผงวงจรไฟฟ้ า 815.90 8.96% เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วน 615.90 9.67%
ส่วนประกอบอากาศยานและอุปกรณ์การบิน 572.13 6.29% ประกอบ
่ และสิง่ ก่อสร ้างลอยน้ำ
เรือ 253.80 3.98%
เครือ ่ งจักรกลและส่วนประกอบของเครือ
่ ง 695.27 7.64% เครือ
่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 498.23 7.82%
เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 261.43 2.87% ่ บันทึกข ้อมูลภาพเสียง
สือ 608.63 9.55%
เคมีภัณฑ์ 295.03 3.24% น้ำมันสำเร็จรูป 456.23 7.16%
รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 237.37 2.61% เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบ 345.77 5.43%
ข ้าว 146.73 1.61% เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 122.87 1.93%
เครือ ่ งปรับอากาศและส่วนประกอบ 158.93 1.75% พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 145.97 2.29%
สินค ้าส่งออกอืน ่ ๆทัง้ หมด 3,315.38 36.42% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 1,477.69 23.20%
มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 9,102.78 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 6,370.53 100.00%

ก ัมพูชา น้ำมันสำเร็จรูป 267.40 16.12% พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 28.13 38.95%


น้ำตาลทราย 111.97 6.75% ผัก ผลไม ้และของปรุงแต่งทีทำ
่ จากผัก ผล 7.27 10.06%
ปูนซีเมนต์ 86.90 5.24% ไม ้
สินแร่โลหะอืน
่ ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ 10.63 14.72%
เครือ
่ งดืม
่ 82.07 4.95% เหล็ก เหล็กกล ้า และผลิตภัณฑ์ 10.47 14.49%
เคมีภัณฑ์ 69.03 4.16% เยือ
่ กระดาษและเศษกระดาษ 3.13 4.34%
เหล็ก เหล็กกล ้า และผลิตภัณฑ์ 78.13 4.71% ไม ้ซุง ไม ้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 1.33 1.85%
ผลิตภัณฑ์จากยาง 52.80 3.18% เสือ ้ ผ ้าสำเร็จรูป 1.93 2.68%
เครือ่ งสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รก
ั ษาผิว 44.93 2.71% เนือ้ สัตว์สำหรับการบริโภค 1.23 1.71%
ผ ้าผืน 45.40 2.74% แร่และผลิตภัณฑ์จากแร่ 0.55 0.76%
ั ว์
สินค ้าปศุสต 26.50 1.60% สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 0.63 0.88%
สินค ้าส่งออกอืน่ ๆทัง้ หมด 793.55 47.84% สินค ้านำเข ้าอืน ่ ๆทัง้ หมด 6.92 9.58%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 1,658.68 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 72.23 100.00%

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 27
ประเทศ สินค้าส่งออกของไทย มูลค่าเฉลีย ่ 3 ปี % สินค้านำเข้าของไทย มูลค่าเฉลีย
่ 3 %
    (2550-2552)     ปี
(2550-2552)  
พม่า น้ำมันสำเร็จรูป 191.80 15.01% ก๊าซธรรมชาติ 2,576.10 91.36%
เครือ่ งดืม่ 74.40 13.00% เนือ
้ สัตว์สำหรับการบริโภค 57.37 2.03%
ปูนซิเมนต์ 47.13 13.03% ไม ้ซุง ไม ้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 90.20 3.20%
เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 71.00 22.82% สินแร่โลหะอืน ่  ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ 23.20 0.82%
เคมีภัณฑ์ 68.47 43.47% ผัก ผลไม ้และของปรุงแต่งทีทำ่ จากผัก ผล 14.63 0.52%
รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 37.07 22.47% ไม ้
น้ำมันดิบ 21.15 0.75%
ผ ้าผืน 41.97 30.93% เรือและสิง่ ก่อสร ้างลอยน้ำ 13.40 0.48%
ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตว์ 67.30 45.07% ข ้าวและผลิตภัณฑ์แป้ ง 10.00 0.35%
ผลิตภัณฑ์ข ้าวสาลีและอาหารสำเร็จรู 39.33 31.97% สัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูปและกึง่ 9.37 0.33%
ปอื
เครืน
่อ่ ๆงสำอาง สบู ่ และผลิตภัณฑ์รก
ั ษา 38.20 28.41% พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 4.27 0.15%
ผิ

สินค ้าส่งออกอืน ่ ๆทัง้ หมด 601.29 430.01% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 0.13 0.00%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 1,277.96 56.80% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 2,819.81 100.00%
เวียดนาม น้ำมันสำเร็จรูป 572.30 12.72% น้ำมันดิบ 280.43 21.31%
เม็ดพลาสติก 361.80 8.04% เครือ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วน 286.57 21.78%
เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 311.17 6.91% ประกอบ
เครือ ่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 97.60 7.42%
รถยนต์ อุปกรณ์และสว่ นประกอบ 157.50 3.50% เครือ ้
่ งใชไฟฟ้ าในบ ้าน 29.30 2.23%
เคมีภัณฑ์ 164.93 3.67% ถ่านหิน 40.30 3.06%
ผลิตภัณฑ์ยาง 135.67 3.01% ด ้ายและเส ้นใย 56.73 4.31%
เครือ่ งยนต์สน ั ดาปภายในแบบลูกสูบ 149.33 3.32% สัตว์น้ำสด แช่เย็น แช่แข็ง แปรรูป 44.30 3.37%
รถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ 123.03 2.73% เครือ ่ งใช ้เกีย
่ งมือเครือ ่ วกับวิทยาศาสตร์ 51.03 3.88%
กระดาษและผลิตภัณฑ์กระดาษ 134.47 2.99% การ
ส่วนประกอบและอุปกรณ์จก ั รยานยนต์ 28.47 2.16%
เครือ ่ งจักรและส่วนประกอบของ 139.83 3.11% เลนซ์ แว่นตาและส่วนประกอบ 10.40 0.79%
เครื
สินค่ งจั
อ ้าส่งกออกอื
ร น่ ๆทัง้ หมด 2,250.09 50.00% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 390.87 29.70%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 4,500.12 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 1,316.00 100.00%

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 28
ประเทศ สินค้าส่งออกของไทย มูลค่าเฉลีย
่ 3 % สินค้านำเข้าของไทย มูลค่าเฉลีย
่ 3 %
    ปี
(2550-2552)     ปี
(2550-2552)  
ลาว น้ำมันสำเร็จรูป 326.63 20.72% สินแร่โลหะอืน ่  ๆ เศษโลหะและ 291.27 56.39%
รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 170.97 10.84% ผลิ้ ตเพลิ
เชือ ภัณงฑ์อืน
่  ๆ 92.67 17.94%
เหล็ก เหล็กกล ้าและผลิตภัณฑ์ 125.13 7.94% ไม ้ซุง ไม ้แปรรูปและผลิตภัณฑ์ 60.27 11.67%
เครือ่ งจักรกลและส่วนประกอบของ 94.77 6.01% พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 19.70 3.81%
เครื
เคมี่ ภงัณฑ์
อ 53.23 3.38% ถ่านหิน 8.27 1.60%
ผ ้าผืน 60.63 3.85% ผัก ผลไม ้และของปรุงแต่งทีทำ่ จากผัก  6.33 1.23%
เครือ
่ งดืม
่ 39.67 2.52% ผลไม
เครือ ้
่ งจักรกลและส่วนประกอบ 6.70 1.30%
เครือ่ งสำอาง สบู ่ และผลิตภัณฑ์รักษา 36.27 2.30% ลวดและสายเคเบิล 6.80 1.32%
ผิ

ยานพาหนะอื น
่  ๆ และส่วนประกอบ 40.13 2.55% เครือ
่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ 4.57 0.88%
ผลิตภัณฑ์ยาง 27.63 1.75% รถยนต์นั่ง 3.60 0.70%
สินค ้าส่งออกอืน
่ ๆทัง้ หมด 601.57 38.16% สินค ้านำเข ้าอืน
่ ๆทัง้ หมด 16.38 3.17%
  มูลค่าการส่งออกทัง้ หมด 1,576.64 100.00% มูลค่าการนำเข ้าทัง้ หมด 516.55 100.00%

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิ ชย์ โดยความร่ วมมือจากกรมศุลกากร และธนาคารแห่งประเทศไทย (2555)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 29
ตารางที่ 7: อุตสาหกรรมรถยนต์ และรถจักรยานยนต์ ของประเทศไทย (2550-2554) หน่ วย: คัน
  อุตสาหกรรมรถยนต์
2550 % 2551 % 2552 % 2553 % 2554* %
ปริมาณการผลิตทงหมด
ั้ 1,287,346 1,394,029 999,378 1,645,304 1,500,000

ปริมาณการขายในประเทศ 631,251 47.77% 614,078 44.17% 548,871 50.61% 800,357 47.18% 790,000 50.32%
ปริมาณการส่งออก (CBU) 690,100 52.23% 776,241 55.83% 535,563 49.39% 895,855 52.82% 780,000 49.68%
รวมปริมาณการจ ัดจำหน่วย 100.00
ทงหมด
ั้ 1,321,351 100.00% 1,390,319 100.00% 1,084,434 100.00% 1,696,212 100.00% 1,570,000 %

อุตสาหกรรมรถจ ักรยานยนต์
2550 % 2551 % 2552 % 2553 % 2554 %
ปริมาณการผลิตทงหมด
ั้ 1,653,139 1,923,651 1,635,193 2,026,927 2,260,000

ปริมาณการขายในประเทศ 1,598,876 94.03% 1,703,375 91.86% 1,535,461 93.02% 1,845,997 92.22% 2,120,000 92.22%
ปริมาณการส่งออก (CBU) 101,560 5.97% 150,948 8.14% 115,280 6.98% 155,688 7.78% 240,000 7.78%
รวมปริมาณการจ ัดจำหน่วย 100.00
ทงหมด
ั้ 1,700,436 100.00% 1,854,323 100.00% 1,650,741 100.00% 2,001,685 100.00% 2,360,000 %
                     
หมายเหตุ * เป็ นข้อมูลประมาณจากแผนการผลิตของผูป้ ระกอบการรถยนต์

ที่มา: สำนักงานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม (2555)

ตารางที่ 8: ดัชนีผลิตภาพแรงงานต่ อคน


  2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 30
ภาคการเกษตร 97.35 110.88 109.93 107.90 108.65 108.85 110.78 112.48 110.58 112.60
เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่ าไม้ 97.53 111.20 108.80 105.85 105.83 106.48 108.25 109.68 106.80 110.05
การประมง 97.93 115.50 124.75 123.75 132.63 134.03 148.30 138.60 153.15 149.68
นอกภาคการเกษตร 102.95 104.50 106.18 109.08 115.20 119.05 119.70 113.05 120.50 119.55
เหมืองแร่ เหมืองหิ น และอื่นๆ 122.08 118.35 103.65 84.40 73.95 76.88 99.95 123.20 152.08 123.35
การผลิต 104.40 110.25 115.55 119.13 127.95 133.08 142.30 135.80 155.13 149.48
การไฟฟ้ า ก๊าซ และประปา 117.85 115.95 115.20 113.95 120.25 131.75 131.85 137.45 145.98 81.80
การก่อสร้าง 95.58 94.35 90.73 94.38 96.45 99.60 90.75 88.15 92.45 86.50
การค้าส่ ง และค้าปลีก 96.83 94.78 93.23 97.53 101.40 105.80 103.50 98.15 97.75 102.70
โรงแรม และภัตตาคาร 98.00 89.45 95.50 93.80 107.35 108.80 108.63 99.55 105.83 118.35
การขนส่ ง สถานที่เก็บสิ นค้า และคมนาคม 106.45 105.18 108.00 112.48 123.15 132.23 124.68 117.53 126.20 140.25
การเงินการธนาคาร 124.25 136.78 149.60 151.88 146.20 153.58 152.23 157.55 173.53 182.53
การค้าอสังหาริ มทรัพย์ ธุรกิจให้เช่าและธุรกิจอื่นๆ 103.65 97.48 92.85 94.33 95.80 92.73 93.13 92.65 93.48 85.38
การบริ หารราชการแผ่นดิน 110.53 116.38 115.08 107.28 102.08 98.68 96.23 92.75 87.73 81.60
การศึกษา 104.53 103.70 101.40 107.33 110.63 121.30 119.90 118.20 109.95 106.35
การบริ การสุขภาพ และสังคมสงเคราะห์ 102.35 90.63 87.33 88.15 94.53 94.38 87.18 86.58 88.53 69.83
การบริ การชุมชน สังคม และส่ วนบุคคล 104.48 107.78 113.55 118.90 121.18 114.03 104.23 103.48 123.18 145.80
ลูกจ้างในครัวเรื อนส่ วนบุคคล 109.55 102.83 112.00 111.95 119.70 117.43 128.70 119.48 119.78 114.65
รวม 102.20 106.93 110.85 114.15 118.55 122.55 123.10 117.95 126.00 124.75

ที่มา สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำนักคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 31
โครงสร้ างตลาดอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าของประเทศไทย
การส ง่ ออกเคร อ ื่ งใช ไฟฟ้ ้ า และอ เิ ล็ก ทรอน ก ิ ส ใ์ นช ว่ งเด อ ื น
มกราคม-ตุล าคม 2554 มีม ล ู ค่า 1,401,771.9 ล ้านบาท เพิม ่ ขน ึ้ ร ้อยละ
5.6 เมือ ่ เทีย บกับ ช ว่ งเดือ นมกราคม-ตุล าคม 2553 เนือ ่ งจากอุป สงค์
เครือ ่ งใชไฟฟ้ ้ ามีแนวโน ้มเพิม ่ ขึน ้ ได ้แก่ ตู ้เย็น เครือ ่ งซก ั ผ ้า เครือ ่ งปรับ
อากาศ เป็ นต ้น อย่างไรก็ด ี สน ิ ค ้าอิเล็กทรอนิกส ม ์ กี ารสง่ ออกชะลอตัว
เนือ ่ งจากตลาดสน ิ ค ้าอิเล็กทรอนิกสโ์ ลกยังคงมีความผันผวนอยู่ รวมถึง
การเก ด ิ อุท กภัย ภายในประเทศ 5 ซ งึ่ ต่า งเป็ นผลกระทบจากปั จ จัย
ภายนอกทัง้ สน ิ้ ซงึ่ ณ ปี 2554 อัตราการใชกำลั ้ งการผลิตอุตสาหกรรม
หลอดอิเล็กทรอนิกสแ ์ ละสว่ นประกอบอิเล็กทรอนิกส ์ (ISIC 3210) อยูท ่ ี่
ร ้อยละ 61.48 (รูปภาพที่ 3) ซงึ่ ยังสามารถเพิม ่ กำลังการผลิตได ้อยู่ ในปี
2554 การสง่ ออกสน ิ ค ้าอิเล็กทรอนิกสส ์ ว่ นใหญ่ เป็ นการสง่ ออกชน ิ้ สว่ น
อ เิ ล็ก ทรอนิก ส ค ์ ดิ เป็ นมีม ล ู ค่า การส ง่ ออก 831,752.3 ล ้านบาท โดย
ตลาดส ง่ ออกทีสำ ่ คัญ สำหรับ ส น ิ ค ้าอิเ ล็กทรอนิก ส ์ ได ้แก่ จีน (ร ้อยละ
19) อาเซย ี น (ร ้อยละ 16) ยุโรป (ร ้อยละ 15) ซงึ่ ประเทศเหล่านีจ ้ ะนำชน ิ้
ส ว่ นดัง กล่าวไปประกอบเป็ นส น ิ ค ้าสำเร็จ รูป นอกจากนี้ หากพิจ ารณา
โครงสร ้างอุตสาหกรรมเครือ ่ งใช ไฟฟ้ ้ าพบว่า ประเทศไทยถือเป็ นฐาน
การผล ต ิ ทีสำ ่ คัญ ของบร ษ ิ ั ท ข ้ามชาต ิ โดยเฉพาะประเทศญีป ่ นและ
ุ่
เกาหลีใต ้ ซงึ่ สง่ ผลให ้การสง่ ออกเครือ ่ งใชไฟฟ้ ้ ายังสามารถเจริญเติบโต
ได ้ และจากการพิจารณาอัตราการใช กำลั ้ งการผลิตในอุตสาหกรรมการ
ผลิตเครือ ่ งรับ โทรทัศน์แ ละอุตสาหกรรมทีเ่ กีย ่ วข ้อง (ISIC 3230) และ
อุตสาหกรรมการผลิตเครือ ่ งใช ในบ ้ ้านเรือน ซงึ่ มิได ้จัดประเภทไว ้ในที่
อืน่ (ISIC 2930) พบว่ามีอต ั ราอยูท ่ รี่ ้อยละ 11.42 และ 60.49 ตามลำดับ
ซงึ่ ยังสามารถทีจ ่ ะเพิม ่ กำลังการผลิตเพือ ่ รองรับการสง่ ออกทีอ ่ าจเพิม ่ ขึน้
ได ้ในอนาคต โดยเครือ ่ งใช ไฟฟ้ ้ าทีม ่ ม ี ลู ค่าการส ง่ ออกสูง สุด 5 อันดับ
แรก ณ ปี 2554 ได ้แก่ เครือ ่ งปรับอากาศ เครือ ่ งตัดต่อและป้ องกันวงจร
ไฟฟ้ า ฯ กล ้องถ่า ย TV/VDO คอมเพรสเซอร์ข องเครือ ่ งทำความเย็น
และตู ้เย็นตลาดสง่ ออกหลักของเครือ ่ งใชไฟฟ้ ้ า ได ้แก่ ตลาดอาเซย ี น (ร ้
อยละ 18) ตลาดสหภาพยุโ รป (ร ้อยละ 14) ตลาดญีป ่ น ุ่ (ร ้อยละ 13.9)
และตลาดจีน (ร ้อยละ 8) นอกจากนีเ้ ครือ ่ งใชไฟฟ้ ้ าทีม ่ ก ี ารจัดจำหน่าย
5
ทั้งนี้อุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในนิคมอุตสาหกรรม ทั้ง 7 แห่ง โดยคิดเป็ น
สัดส่ วนต่อมูลค่าการส่ งออก ประมาณ ร้อยละ 30 ของมูลค่าส่ งออกทั้งหมด และ ผูป้ ระกอบการรายใหญ่ที่ส่งออก 10 อันดับ
แรกของการส่ งออกเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ มีสดั ส่ วนมาก ถึงร้อยละ 20 ของการส่ งออกสิ นค้าเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและ
อิเล็กทรอนิกส์รวม โดยยังไม่หมายรวมถึง Supply Chain ที่ไม่มีวตั ถุดิบในการประกอบและจำหน่าย

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 32
สูงสุด ได ้แก่ เครือ ่ งปรับอากาศทัง้ แบบแยกส ว่ น คอนเดนซงิ่ ยูนติ
และแฟนคอยล์ย น ู ต
ิ คอมเพรสเซอร์ หม ้อหุง ข ้าว พัด ลมตามบ ้าน
เครือ
่ งซกั ผ ้า เครือ
่ งซ กั ผ ้า และตู ้เย็น ซงึ่ ล ้วนแต่เ ป็ นเครือ ้
่ งใช ไฟฟ้ าที่
จำเป็ นต่อการดำเนินชวี ต ิ ของประชากรสว่ นมากในปั จจุบน ั

ผลิตภาพแรงงานในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์


ผลิตภาพแรงงานของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในปี 2554 อยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำเมื่อเปรี ยบเทียบกับผลิต
ภาพแรงงานของอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ย เนื่องจากเมื่อพิจารณาจากตารางที่ 8 และรู ปภาพที่ 5 พบว่า
ดัชนีผลิตภาพแรงงานต่อคนของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (123.3 ในปี 2554) มีคา่ ต่ำกว่าดัชนีผลิตภาพ
แรงงานต่อคนของอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ย (149.48 ในปี 2554) นอกจากนี้ดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อ
คนของอุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ า (เครื่ องรับโทรทัศน์ วิทยุและสิ นค้าที่เกี่ยวข้อง) มีค่าเท่ากับ 32.70 ในปี
2554 ซึ่ งอยูใ่ นเกณฑ์ที่ต ่ำมากเมื่อเปรี ยบเทียบกับดัชนีผลิตภาพแรงงานต่อคนของอุตสาหกรรมการผลิตโดย
เฉลี่ย แต่ดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อคนของอุตสาหกรรมผลิตเครื่ องใช้ในบ้านเรื อน ซึ่ งมิได้จดั ประเภทไว้ในที่
อื่น6 พบว่ามีค่าค่อนข้างสูง (237.31 ในปี 2554) เมื่อเปรี ยบเทียบกับดัชนีอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ย

รู ปภาพที่ 5 การผลิตหลอดอิเล็กทรอนิกส์ และส่ วนประกอบอิเล็กทรอนิกส์ (STIC 3210)

6
อุตสาหกรรมในกลุ่มนี้ รวมสถานประกอบการที่ดำเนินกิจการเกี่ยวกับการผลิตเครื่ องมือ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าสำหรับใช้ในบ้านเรื อน เช่น ตูเ้ ย็น
เครื่ องซักผ้า เครื่ องดูดฝุ่ น พัดลม เครื่ องใช้ในการเตรี ยมหรื อทำอาหาร เครื่ องปั่ น เครื่ องคั้นน้ำผลไม้ เตาอบ เครื่ องปิ้ งขนมปั ง ฯลฯ เครื่ องใช้ไฟฟ้ า
ที่ให้ความร้อน เครื่ องทำน้ำร้อน เตารี ด เครื่ องเป่ าผม ฯลฯเครื่ องใช้ในการหุงต้ม เตาอบ เตาไมโครเวฟ หม้อหุงข้าว เครื่ องปิ้ งขนมปั ง เครื่ องต้ม
กาแฟรวมทั้งการผลิตเครื่ องทำความร้อน เครื่ องที่ใช้ในการหุงต้มที่ไม่ใช้ไฟฟ้ า เช่น เตาแก๊ส เป็ นต้น ยกเว้ น การผลิตเครื่ องอุปกรณ์ที่ใช้ในงาน
อุตสาหกรรมหรื อเชิงพาณิ ชย์ ซึ่ งมีขนาดใหญ่และความทนทานมากกว่าเครื่ องใช้ในบ้านเรื อน จัดประเภทไว้ในหมู่ยอ่ ยที่เหมาะสมในหมู่ใหญ่
291 การผลิตเครื่ องจักรที่ใช้งานทัว่ ไป หรื อหมู่ใหญ่ 292 การผลิตเครื่ องจักรที่ใช้งานเฉพาะอย่างการผลิตเครื่ องจักรสำหรับเย็บ ซึ่ งจะใช้ในครัว
เรื อนหรื อไม่กต็ าม จัดประเภทไว้ในหมู่ยอ่ ย 2926 การผลิตเครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตสิ่ งทอ เครื่ องแต่งกายและเครื่ องหนัง
ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์
บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 33
รู ปภาพที่ 6 การผลิตเครื่องรับโทรทัศน์ และวิทยุ และสิ นค้ าที่เกีย่ วข้ อง (ISIC 323

ที่มา: สำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (2555)

รูปภาพที่ 7 การผลิตเครื่องใช้ ในบ้ านเรือน ซึ่งมิได้ จัดประเภทไว้ ในที่อนื่ (ISIC 2930)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 34
ที่มา เศรษฐกิจอุตสาหกรรม (2555)
การส่ งออกอุตสาหกรรมเครื่องใช้ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
หากพิจารณาข้อมูลในรู ปภาพที่ 8 และ 9 พบว่า อุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ าอิเล็กทรอนิกส์ส่งอออก
ไปยังประเทศกลุ่มอาเซียน เป็ นอันดับ 1 คิดเป็ นมูลค่าการส่ งออก 241,125 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ
17.20 ของมูลค่าส่ งออกเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์) ในปี 2554 ประเทศที่มีการนำเข้าเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
และอิเ ล็ก ทรอนิก ส์ รองลงมาได้แ ก่ กลุ่ม ประเทศอีย ู (203,257 ล้า นบาท หรื อ คิด เป็ นร้อ ยละ 14.50)
สหรัฐอเมริ ก า (159,052 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 14.20) จีน (184, 335 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ
13.15) และญี่ปุ่น (161, 905 ล้านบาท หรื อคิดเป็ นร้อยละ 11.55)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 35
ที่มา เศรษฐกิจอุตสาหกรรม (2555)

นอกจากนี้ จากข้อมูลสิ นค้าส่ งออกของไทยไปยังกลุ่มประเทศอาเซี ยนในตารางที่ 6 พบว่า สิ งคโปร์


เป็ นประเทศหลักที่นำเข้าสิ นค้าเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย โดยนำเข้าเครื่ องคอมพิวเตอร์และ
อุปกรณ์ แผงวงจรไฟฟ้ า เครื่ องปรับอากาศและส่ วนประกอบ คิดเป็ นร้อยละ 23.16 ของมูลค่านำเข้าสิ นค้า
จากประเทศไทย นอกจากนี้ประเทศไทยยังส่ งออกแผงวงจรไปยังกลุ่มประเทศอาเซี ยน ได้แก่ มาเลเซี ย (คิด
เป็ นร้อยละ 5.86 ของมูลค่านำเข้าสิ นค้าจากประเทศไทย) ฟิ ลิปปิ นส์ (คิดเป็ นร้อยละ 11.06 ของมูลค่านำเข้า
สิ นค้าจากประเทศไทย) และอินโดนีเซีย (คิดเป็ นร้อยละ 2.53 ของมูลค่านำเข้าสิ นค้าจากประเทศไทย)

โอกาสและผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่ออุตสาหกรรมยานยนต์
ของประเทศไทย
จากข้อมูลการค้าระหว่า งไทยกับ ประเทศอาเซี ย นในตารางที่ 3-5 พบว่า การเปิ ดเสรี ท างการค้า
ระหว่างประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียน ส่ งผลให้กลุ่มประเทศอาเซี ยนเป็ นตลาดส่ งออกอันดับ 1 ของไทย
นับตั้งแต่ปี 2545 เป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบนั ขณะเดียวกันอาเซี ยนเป็ นแหล่งนำเข้าอันดับที่ 2 ของไทย และหาก
พิจารณาดุลการค้าระหว่างไทยกับอาเซียนพบว่าประเทศไทยมีดุลการค้าเกินดุลกับอาเซี ยน นับตั้งแต่ปี 2536
ตลอดมาจนถึงปัจจุบนั ดังนั้น สามารถสรุ ปได้วา่ การเปิ ดการค้าเสรี ทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกใน
ประเทศอาเซียน ช่วยส่ งเสริ มการส่ งออกของไทยอันเนื่องมาจากปั จจัยที่มากจากการเปิ ดการค้าเสรี ได้แก่
การลดภาษีเหลือต่ำมากเกือบเป็ น 0% ตามพันธกรณี AFTA และการขจัดอุปสรรคทางการค้าจากมาตรการที่
มิใ ช่ภ าษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) ของอาเซี ย น จากเหตุผ ลดัง กล่า ว ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ย น
(ASEAN Economic Community: AEC) ซึ่ งมุ่งเน้นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในกลุ่มอาเซี ยนเพื่อประโยชน์
ทางด้านการค้า การบริ การ การลงทุน แรงงาน และเงินทุน สามารถเพิ่มโอกาสการส่ งออกของอุตสาหกรรม
ไทย โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์สิ่งเป็ นสิ นค้าส่ ง
ออกที่สำคัญของประเทศไทย โดยสามารถสรุ ปสาระสำคัญดังนี้

โอกาสของ AEC ต่ อภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์


1. เพิ่มโอกาสการส่ งออกยานยนต์รวมทั้งจักรยานยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบไปยังประเทศในกลุ่ม
อาเซี ยนมากยิง่ ขึ้น เนื่องจากข้อมูลสิ นค้าการส่ งออกในตารางที่ 6 พบว่า ยานยนต์ถือเป็ นสิ นค้านำเข้าที่
สำคัญของอินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ลาว เวียดนาม พม่า และบรู ไนดารุ สซาลาม และจากการ
ศึกษาของ Deutsche Bank Research (2011) พบว่า ประเทศไทย อินโดนีเซี ย และมาเลเซี ย ถือเป็ น
ตลาดผลิตรถยนต์ที่สำคัญของอาเซียน คิดเป็ นการผลิตมากกว่าร้อยละ 90 ของรถยนต์ที่ผลิตทั้งหมด

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 36
ในปี 2553 โดยมียอดจัดจำหน่ายคิดเป็ นร้อยละ 86 อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ในตลาดอาเซี ยนยัง
มีอตั ราการเจริ ญเติบโตมากกว่าร้อยละ 10 ระหว่างปี 2553 ถึง 2558

นอกจากนี้มีการคาดการณ์วา่ จำนวนรถยนต์จะเพิ่มจาก 26 ล้านคัน เป็ น 40 ล้านคัน ภายในปี 2558


โดยภายในปี 2563 คาดการณ์วา่ จะมีจำ นวนรถยนต์ในกลุ่มประเทศอาเซี ยนถึง 55 ล้านคัน โดยความหนา
แน่นของรถยนต์โดยเฉลี่ยในกลุ่มประเทศอาเซี ยนจะเพิม่ จาก 44 คันต่อประชากร 1,000 คน เป็ น 80 คันต่อ
ประชากร 1,000 คน ซึ่ งจากข้อมูลการใช้รถยนต์ต่อประชากร 1,000 คน ของธนาคารโลก พบว่า พม่ามี
สัดส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 7 คันต่อประชากร 1,000 คน เวียดนาม มีสดั ส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 13 คันต่อ
ประชากร 1,000 คน ฟิ ลิปปิ นส์ มีสดั ส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 33 คันต่อประชากร 1,000 คน อินโดนีเซี ย มี
สัดส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 77 คันต่อประชากร 1,000 คน สิ งคโปร์ มีสดั ส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 150 คันต่อ

ประชากร 1,000 คน มาเลเซีย มีสดั ส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 334 คันต่อประชากร 1,000 คัน บรู ไนดารุ ส
ซาลาม มีสดั ส่ วนการใช้รถยนต์อยูท่ ี่ 696 คันต่อประชากร 1,000 คน ซึ่ งชี้ให้เห็นว่า ตลาดยานยนต์ใน AEC
ยังมีโอกาสเติบโตได้อีกมาก อีกทั้งตลาดอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ของไทย เป็ นการลงทุนจากบริ ษทั
ข้ามชาติประเทศญี่ปุ่น ซึ่ งถือเป็ นจุดแข็งในการส่ งออกไปยังกลุ่มประเทศอาเซี ยนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก
ประเทศไทยจะได้รับผลประโยชน์ในเรื่ องการลดภาษีและการขจัดอุปสรรคทางการค้าจากมาตรการที่มิใช่
ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) ของอาเซี ยนตามข้อตกลงในประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ซึ่ งจะส่ งผลให้
สามารถแข่งขันกับผูผ้ ลิตรถยนต์ในประเทศมาเลเซี ย ได้แก่ เปอโรดัว และ โฟรตอน ซึ่ งคิดเป็ นร้อยละ 60
ของยอดขายรถยนต์ท้ งั หมดในประเทศมาเลเซี ยในปี 2553 นอกจากนี้ประเทศไทยยังสามารถเพิ่มโอกาสการ
ส่ งออกยานยนต์ไปยังประเทศ สิ งคโปร์ เวียดนาม และฟิ ลิปปิ นส์ ซึ่ ง ณ ปั จจุบนั ผูผ้ ลิตรถยนต์เกาหลีใต้ (ฮุน
ได) มีสดั ส่ วนยอดขายค่อนข้างสูงในประเทศเหล่านี้
อย่างไรก็ตามตลาดอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และจักรยานยนต์ไม่สามารถเพิ่มการส่ งออกไป
ยังประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซียนได้มากนัก เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และจักรยานยนต์ มี
อัตราการใช้กำลังการผลิตค่อนข้างสูง อยูท่ ี่ร้อยละ 89.43 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ 79.10 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 –
2555) และอุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์มีอตั ราการใช้กำลังการผลิตอยูท่ ี่ร้อยละ 76.21 ในปี 2555
(หรื อร้อยละ 86.9 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 – 2555) อีกทั้งปั ญหาราคาน้ำมันดิบโลกที่ผนั ผวน ตลอดจนปั ญหา
เรื่ องโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในกลุ่มประเทศอาเซี ยน เช่น สภาพถนนที่ขาดการดูแลและ
ปรับปรุ งในกลุ่มประเทศ อาจส่ งผลต่อการส่ งออกยานยนต์ของไทยได้ในอนาคต ดังนั้นรัฐบาลไทยควรให้
ความสำคัญเรื่ องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์เพิม่ เติม เพื่อเพิม่ กำลังการผลิต
ยานยนต์ในอนาคต นอกจากนี้รัฐบาลควรมีมาตรการช่วยเหลือนักลงทุนต่างชาติ ซึ่ งอาจจะเป็ นการให้สิทธิ
พิเศษด้านการลงทุนต่าง ๆ เพื่อดึงดูดการลงทุนในอนาคต นอกจากนี้รัฐบาลอาจสนับสนุนการส่ งออกการ
ลงทุนด้านการผลิตรถจักรยานยนต์เพิม่ มากขึ้น เพื่อเพิม่ โอกาสการส่ งออก ไปยังประเทศเทศที่มี GNI per
capita อยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำ เช่น ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม ซึ่ งอาจมีกำลังการซื้ อรถยนต์ค่อนข้างต่ำ (ตารางที่
9)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 37
ตารางที่ 9: ข้ อมูลด้านประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียน
ASEAN GNI per capita GNI per capita Projected Population Total Labour Force Total Labour Literacy Rate , Adult total
2010 2010 2012 2016 2009 Participation 2009
  (current US $) (PPP, Current International $) (Millions) (Millions) (Millions) Rate
(% of2009
total (% of people ages 15+)
population
Brunei Darussalam $31,800 $50,180 0.437 0.479 0.19 68 95
Indonesia $2,500 $4,200 243.379 254.517 118.82 69 92
Malaysia $7,760 $14,220 29.219 31.257 12 62 92
Philippines $2,060 $3,980 99.645 105.744 37.56 64 95
Singapore $40,070 $55,790 5.346 5.728 2.65 65 95
Cambodia $750 $2,080 14.576 15.168 7.46 79 78
Lao PDR $1,050 $2,460 6.678 7.187 3.09 78 Nil
Myanmar Nil $1,950 63.672 68.948 25.97 74 92
Vietnam $1,160 $3,070 90.388 94.806 46.93 72 93
Thailand $4,150 $8,190 64.647 66.213 39.62 73 94
               

ที่มา: ธนาคารโลก (2555) และ IMF (2555)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรมใจ ยศ อมรกิจวิกย


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย ั Page 38
2. ลดต้นทุนการผลิตยานยนต์ เนื่องจากผูผ้ ลิตในประเทศสามารถนำเข้าวัตถุดิบ และชิ้นส่ วนส่ วน
ประกอบยานยนต์ซ่ ึ งถือเป็ นสิ นค้าขั้นกลาง ได้ราคาที่ต ่ำลง และเพิ่มทางเลือกให้ผผู ้ ลิตสามารถนำเข้า
ได้จากหลายแหล่งมากขึ้น ดังนั้นสามารถสร้างความได้เปรี ยบและความสามารถในการแข่งขันด้าน
ราคาแก่ผผู้ ลิตยานยนต์ในประเทศไทย โดยไทยสามารถเลือกใช้ประโยชน์จากอาเซี ยนตามความ
หลากหลายและความชำนาญของแต่ละประเทศซึ่ งสอดคล้องกับหลักการได้เปรี ยบโดยเปรี ยบเทียบ
(Comparative Advantage) อันจะนำมาซึ่ งสวัสดิการทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศสมาชิกที่สูงขึ้น

3. เพิ่มการจ้างงานของประชากรภายในประเทศ เนื่องจากการขยายตัวทางการค้าของประเทศไทยสู่
ประเทศสมาชิก จะทำให้การจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์เพิม่ สู งขึ้น นอกจากนี้การ
ลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) จากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยนที่อาจเพิ่ม
ขึ้นอนาคต จะส่ งผลให้เกิดผลกระทบที่ส่ งผ่านจะประเทศ (Spillover Effect) ทางด้านเทคโนโลยี
ความรู้ใหม่ๆและการจัดการ ซึ่ งจะส่ งผลให้แรงงานไทยในอุตสาหกรรมยานยนต์ จำเป็ นต้องแสวงหา
ความรู้ใหม่ ๆ โดยจะทำให้ผลิตภาพแรงงาน (Labour Productivity) เพิ่มสู งขึ้น
ผลกระทบของ AEC ต่ อภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์
อย่างไรก็ตาม การเปิ ดการค้าเสรี ทางการค้า จากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในกลุ่มอาเซี ยนเพื่อ
ประโยชน์ทางด้านการค้า การบริ การ การลงทุน แรงงาน และเงินทุน ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน
(ASEAN Economic Community: AEC) อาจส่ งผลกระทบต่อตลาดยานยนต์ในประเทศ ซึ่ งอาจมีการนำเข้า
รถยนต์ที่ผลิตจากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนเพิ่มมากขึ้น เช่น เปอโรดัว และ โฟรตอน จากประเทศมาเลเซี ย
หรื อยานยนต์ที่ผลิตจากประเทศอินโดนีเซีย โดยที่มาเลเซี ยและอินโดนีเซี ยต่างเป็ นประเทศอันดับต้นในการ
ผลิตรถยนต์ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน แต่ผลกระทบอาจไม่มากนักเนื่องจากยีห่ อ้ รถยนต์ที่ผลิตใน
ประเทศมาเลเซีย ยังถือว่าเป็ นสิ นค้าใหม่ในตลาดรถยนต์ในประเทศไทย ซึ่ งยังต้องใช้เวลาในการสร้างความ
เชื่อมัน่ และความจงรักภักดี (Brand Loyalty) ของผูบ้ ริ โภคในประเทศพอสมควร นอกจากนี้ กลุ่มผูผ้ ลิตยาน
ยนต์ในประเทศอินโดนีเซียส่ วนใหญ่ต่างเป็ นกลุ่มผูผ้ ลิตรถยนต์ในญี่ปุ่นที่มีฐานการผลิตในอินโดนีเซี ย ซึ่ ง
เป็ นกลุ่มเดียวกันกับผูผ้ ลิตรถยนต์ในประเทศไทย ดังนั้นหากรัฐบาลสามารถสร้างความเชื่อมัน่ ต่อนักลงทุน
บริ ษทั ข้ามชาติญี่ปุ่นให้ลงทุนในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง เช่น เพิ่มการลงทุนขยายฐานการผลิตรถยนต์หรื อ
อุปกรณ์ส่วนประกอบยานยนต์ในประเทศ ก็สามารถสร้างความได้เปรี ยบเชิงการค้าและการลงทุนของไทยได้
อย่างยัง่ ยืน อันจะส่ งผลต่อความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการจ้างงานของประเทศได้ในอนาคต เนื่องจาก
หากประเทศไทยไม่มีการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน (Infrastructure) ที่ดี และประสิ ทธิ ภาพการผลิตของแรงงาน
(Labor productivity) อยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำ อีกทั้งไม่มีการปรับปรุ งกฎระเบียบ หรื อกฎหมาย ให้มีความทันสมัยและ
ไม่เป็ นอุปสรรคต่อการลงทุน อาจส่ งผลให้บริ ษทั ข้ามชาติ ย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเท
ศอื่นๆ ใน ASEAN ที่เหมาะสมกว่า
โอกาสและผลกระทบของประชาคมอาเซียนต่ออุตสาหกรรมการผลิต
เครื่องใช้ไฟฟ้ าละอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
โอกาสของ AEC ของอุตสาหกรรมการผลิตเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 39
1. เพิ่มโอกาสการส่ งออกชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยน อาทิ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย
ฟิ ลิปปิ นส์ และอินโดนีเซีย เพิ่มขึ้นเนื่องจากประเทศไทยจะได้รับผลประโยชน์ในเรื่ องการลดภาษีและการ
ขจัดอุปสรรคทางการค้าจากมาตรการที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) ของอาเซี ยนตามข้อตกลงใน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่ งจากข้อมูลในตารางที่ 5 สิ งคโปร์เป็ นประเทศหลักที่นำเข้าสิ นค้าเครื่ องใช้
ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย นอกจากนี้ประเทศไทยยังส่ งออกแผงวงจรไปยังกลุ่มประเทศอาเซี ยน
ได้แก่ มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และอินโดนีเซี ย

หากพิจาณาจากข้อมูลในตารางที่ 8 พบว่าบางประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซี ยนมีการนำเข้าสิ นค้าที่เกี่ยวกับ


เทคโนโลยีส ารสนเทศ ซึ่ งมีมูล ค่า ค่อ นข้า งสู ง เมื่อ เปรี ย บเทีย บกับ มูล ค่า การนำเข้า สิ น ค้า ทั้ง หมด ได้แ ก่
ฟิ ลิปปิ นส์ (ร้อยละ 36.67) มาเลเซีย (ร้อยละ 31.2) สิ งคโปร์ (ร้อยละ 29.03) และอินโดนีเซี ย (ร้อยละ 8.30)
นอกจากนี้ สิ งคโปร์ มาเลเซีย บรู ไนดารุ สซาลาม และเวียดนาม ต่างเป็ นประเทศที่มีการใช้อินเตอร์เน็ทต่อ
จำนวนประชากรค่อนข้างสูงเมื่อเทียบประเทศอื่นๆในกลุ่มอาเซี ยน

ตารางที่ 8: การค้าระหว่างประเทศของสินค้าเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุ่มประเทศอาเซียน
ASEAN ICT goods exports ICT goods imports Internet users
2007-2009 2007-2009 2010
  (% of total goods exports) (% of total goods imports) (per 100 people)

Brunei
Darussalam Nil Nil 50
Indonesia 5.2 8.3 9.1
Malaysia 35.3 31.2 55.3
Philippines 55.47 37.67 9
Singapore 35.83 29.03 70.1
Cambodia 0.1 4 1.4
Lao PDR Nil Nil 7

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 40
Myanmar Nil Nil 0.2
Vietnam 4.7 7.65 27.8
Thailand 20.47 17.43 21.2
ที่มา: ธนาคารโลก (2555)
2. ลดต้นทุนการผลิตสิ นค้าเครื่ องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ เนื่องจากผูผ้ ลิตในประเทศสามารถลดต้นทุนนำเข้า
วัตถุดิบ และส่ วนประกอบต่างๆ ซึ่ งถือเป็ นสิ นค้าขั้นกลาง ในการผลิตสิ นค้าสำเร็ จรู ป และมีทางเลือกใน
การนำเข้าวัตถุดิบและส่ วนประกอบ พิ่มมากขึ้น ส่ งผลให้ผผู ้ ลิตในประเทศไทยสามารถแข่งขันกับประเทศใน
กลุ่มอาเซี ยนได้มากขึ้น

3. เพิ่มการจ้างงานในประเทศ เนื่องจากการขยายตัวทางการค้าของประเทศไทยสู่ ประเทศสมาชิก จะทำให้การ


จ้างงานในภาคอุตสาหกรรมการผลิตอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มสู งขึ้นนอกจากนี้การลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign
Direct Investment: FDI) ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยนที่อาจเพิม่ ขึ้นในอนาคต จะส่ งผลให้ Spillover
Effects สู่ อุตสาหกรรมในประเทศ เช่น ทางด้านเทคโนโลยี ความรู ้ใหม่ๆ และการจัดการ ซึ่ งจะส่ งผลให้ผลิต
ภาพแรงงาน (Labour Productivity) เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจาก ณ ปั จจุบนั ผลิตภาพแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรม
อิเล็กทรอนิกส์อยูใ่ นเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลิตภาพแรงงานของอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ย
นอกจากนี้ผลิตภาพแรงงานต่อคนของอุตสาหกรรมเครื่ องใช้ไฟฟ้ า ก็อยูใ่ นเกณฑ์ที่ต ่ำ ยกเว้นผลิตภาพแรงงาน
ต่อคนของอุตสาหกรรมผลิตเครื่ องใช้ไฟฟ้ าอื่นๆ ในบ้านเรื อน พบว่ามีค่าค่อนข้างสู ง เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลิต
ภาพแรงงานของอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ย

4. เพิ่มส่ วนเกินผูบ้ ริ โภค กล่าวคือ ผูบ้ ริ โภคได้รับประโยชน์จากการลดภาษีสินค้านำเข้าสิ นค้า ซึ่ งส่ งผลให้ราคา
สิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ านำเข้าจากกลุ่มประเทศอาเซี ยนถูกลง และถือเป็ นการเพิ่มอำนาจซื้ อ
ของผูบ้ ริ โภคในประเทศ นอกจากนี้ยงั ช่วยกดดันให้ราคาสิ นค้าชนิดเดียวกันหรื อสิ นค้าทดแทนที่ผลิตใน
ประเทศปรับลดราคาให้ใกล้เคียงกับราคาสิ นค้าที่นำเข้า อันเป็ นผลมาจากการแข่งขันที่สูงขึ้น นอกจากนี ้ยงั ส่ ง
ผลให้ผบู ้ ริ โภคสามารถเลือกบริ โภคสิ นค้าที่หลากหลายขึ้น

ผลกระทบของ AEC ต่ อภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์


1. คูแ่ ข่งขันและสภาพการแข่งขันในตลาดเพิ่มสู งขึ้น เนื่องอาจมีสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ า
ราคาถูกนำเข้าจากกลุ่มประเทศสมาชิกในอาเซี ยนเช่น มาเลเซี ย สิ งคโปร์ อินโดนีเซี ย และ ฟิ ลิปปิ นส์
ซึ่ งมีการส่ งออกแผงวงจรไฟฟ้ า คอมพิวเตอร์ และเครื่ องใช้ไฟฟ้ าอื่นๆ เนื่องจากโครงสร้างการส่ งออก
สิ นค้าในประเทศเหล่านี้มีลกั ษณะคล้ายกับประเทศไทย ผูป้ ระกอบการและอุตสาหกรรมการผลิต
อิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ า อาจได้รับผลกระทบอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง ทำให้ผผู ้ ลิตในประเทศ
ต้องปรับตัวเพื่อที่จะสามารถแข่งขันกับกลุ่มประเทศอาเซี ยนได้ในอนาคต โดยเร่ งปรับปรุ งมาตรฐาน
การผลิต เน้นการทำวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ทนั สมัยมากยิง่ ขึ้น เพื่อรองรับความต้องการสิ นค้า
เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 41
2. สิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ ที่ไม่ได้มาตรฐานหรื อคุณภาพต่ำ อาจเข้ามาวางจำหน่าย
ในตลาดในประเทศมากขึ้นหากไม่มีมาตรการป้ องกันอย่างรัดกุมเพียงพอ ซึ่ งสิ นค้าเหล่านี้อาจเป็ น
อันตรายต่อผูบ้ ริ โภคในประเทศ ดังนั้น รัฐบาลควรเพิ่มมาตรการป้ องกันสิ นค้าด้อยคุณภาพที่อาจนำ
เข้ามาขายในประเทศได้ เนื่องจากนโยบายในการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยที่มีเป้ าหมายในการ
พัฒนาสิ นค้าให้มีคุณภาพสูงขึ้นในกลุ่มอุตสาหกรรมต่างๆ อาจเกิดปัญหาอุปสรรคได้ เนื่องจากไม่มี
ตลาดภายในประเทศรองรับ รวมทั้งอาจส่ งผลทางจิตวิทยาแก่ผปู ้ ระกอบการไทย ในการพัฒนาขีด
ความสามารถในการผลิตได้

บทสรุป
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนถือเป็ นเสาหลักที่สำ คัญ ในการขับเคลื่อ นให้เกิดการรวมตัวกันของเศรษฐกิจ
อาเซี ยนตามแผนงานเพื่อจัด ตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ย น (AEC Blueprint) โดยมุ่งเน้น ให้กลุ่ม ประเทศ
สมาชิกมีตลาดและฐานการผลิตร่ วม (Single Market and Single Production Base) และมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า
และบริ การ การลงทุน เงินลงทุน และแรงงานฝี มืออย่า งเสรี นอกจากนี้ผบู ้ ริ โภคในกลุ่มประเทศสมาชิก
สามารถเลือกซื้ อสิ นค้าและบริ การได้อย่างหลากหลาย และสามารถเดินทางในกลุ่มประเทศสมาชิกได้อย่างเสรี
เพิ่ม ขึ้น นอกจากนี้ ยังมุ่งเน้น ให้ก ลุ่ม ประเทศสมาชิก อาเซี ย นมีค วามสามารถในการแข่ง ขัน สู ง (Highly
Competitive Economic Region) ในเวทีโลกโดยส่ งเสริ มให้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โทรคมนาคม การ
เงินการธนาคาร และการคุม้ ครองสิ นทรัพย์ทางปั ญญา อีกทั้งให้กลุ่มประเทศสมาชิกมีการพัฒนาเศรษฐกิจ
อย่างเท่าเทียมกันหรื อลดช่องว่างทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น การพัฒนา
เศรษฐกิจของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) และ โครงการริ เริ่ มเพื่อการรวมตัว กันของกลุ่ม
สมาชิก (Initiative for ASEAN Integration) ตลอดจนสนับสนุนให้กลุ่มสมาชิกอาเซี ยนสามารถเชื่อมโยงกับ
ประเทศนอกภูมิภาค โดยจัดทำเขตการค้าเสรี ระหว่างอาเซี ยนกับประเทศคู่เจรจาต่าง ๆ
อุตสาหกรรมไทยภาคอุตสาหกรรมการผลิต (Manufacturing Sector) ในประเทศไทย ถือได้ว า่ เป็ นภาคที่มี
ความสำคัญต่อกิจกรรมเศรษฐกิจของประเทศเป็ นอย่างมาก เนื่องจากพิจารณาส่ วนกิจกรรมเศรษฐกิจของภาค
อุตสาหกรรมการผลิตไทย พบว่าภาคอุตสาหกรรมการผลิตยังคงมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยอย่างต่อเนื่อง
คิดเป็ นร้อยละ 34.59 ของ GDP ในประเทศ ระหว่างปี 2543 – 2554 อย่างไรก็ดี นโยบายภาคอุตสาหกรรมไทย
ในช่วงที่ผา่ นมายังคงให้ความสำคัญด้านการผลิตและการขยายตัวทางเศรษฐกิจเชิงตัวเลขเป็ นหลัก แต่ไม่ได้ให้
ความสำคัญการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการผลิต และการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมอย่างยัง่ ยืน เช่น การลด
การพึ่งพาการนำเข้าเท่าที่ควร จากเหตุผลดังกล่าว หากภาคอุตสาหกรรมการผลิตไทยไม่เตรี ยมพร้อมและไม่
ตระหนักถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC) ภาคอุตสาหกรรมการผลิตของ
ประเทศอาจสูญเสี ยโอกาสทางเศรษฐกิจ ในการที่จะเป็ นผูนำ ้ ด้านเศรษฐกิจกลุ่มประเทศอาเซี ยน ในอนาคตได้

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 42
โดยเหตุผลดังกล่าว การเตรี ยมความในแต่ภาคอุตสาหกรรมการผลิตจึงมีความสำคัญ เพื่อที่จะสามารถแข่งขัน
กับกลุ่มประเทศอาเซียนได้ในอนาคต หรื อปรับตัวโครงสร้างอุตสาหกรรมการผลิตไทย เพื่อรองรับผลกระทบ
ที่อาจเกิดขึ้นได้จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)

อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์
อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ไทยมีส่วนการขายตลาดในประเทศคิดเป็ นร้อยละ 48.01 และใน
ตลาดต่างประเทศคิดเป็ นร้อย 51.99 ตามลำดับ ส่ วนโครงสร้างการส่ งออกจักรยานยนต์ของไทยพบว่ามีความ
แตกต่างระหว่างตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศเป็ นอย่างมาก เนื่องจากตลาดในประเทศเป็ นตลาด
หลักของอุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์ คิดเป็ นร้อยละ 92.67 ซึ่ งตลาดต่างประเทศมีสดั ส่ วนร้อยละ 7.33
เท่านั้น นอกจากนี้อุตสาหกรรมยานยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ ของประเทศไทย ถือเป็ นสิ นค้านำเข้าที่
สำคัญของกลุ่มประเทศอาเซียน ซึ่ งในช่วงปี 2550 - 2552 อินโดนีเซี ยนำเข้ารถยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ
คิดเป็ นมูลค่านำเข้าสิ นค้าอันดับที่ 1 ของสิ นค้าที่นำเข้าทั้งหมดจากประเทศไทย (1,136.60 ล้านเหรี ยญสหรัฐ
โดยเฉลี่ย หรื อคิดเป็ นร้อยละ 21.57 ของมูลค่าสิ นค้านำเข้าเฉลี่ยจากประเทศไทย) ฟิ ลิปปิ นส์ ถือเป็ นประเทศที่
สำคัญ ในการนำเข้า ยานยนต์ข องประเทศไทย โดยคิด เป็ นมูล ค่า นำเข้า อัน ดับ ที่ 1 ของสิ น ค้า นำเข้า จาก
ประเทศไทยทั้งหมด (611.13 ล้านเหรี ยญสหรัฐโดยเฉลี่ย หรื อคิดเป็ นร้อยละ 19.21 ของมูลค่าสิ นค้านำเข้า
เฉลี่ยจากประเทศไทย) นอกจากนี้ยงั มีประเทศในกลุ่มอาเซี ยนที่นำเข้ายานยนต์ อุปกรณ์และส่ วนประกอบ จาก
ประเทศไทย ได้แก่ สิ งคโปร์ (237.37 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) ลาว (170 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) เวียดนาม (280.53 ล้าน
เหรี ยญสหรัฐ) พม่า (37.07 ล้านเหรี ยญสหรัฐ) บรู ไนดารุ สซาลาม (34. 37 ล้านเหรี ยญสหรัฐ)อย่างไรก็ดี
ทั้งโครงสร้างตลาดอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ ยังสามารถขยายไปยังตลาดต่างประเทศได้แต่
ไม่สามารถขยายได้มากนัก เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์มีอตั ราการใช้กำลังการผลิตค่อนข้างสู ง อยู่
ที่ร้อยละ 89.43 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ 79.10 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 – 2555) ส่ วนโครงสร้างตลาดจักรยานยนต์มี
สัดส่ วนการขายในตลาดต่างประเทศค่อนข้างต่ำ ซึ่ งยังสามารถขยายไปยังตลาดต่างประเทศได้ แต่อาจมีขอ้
จำกัดเรื่ องการใช้กำลังการผลิตในอนาคต เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์มีอตั ราการใช้กำลังการ
ผลิตอยูท่ ี่ร้อยละ 76.21 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ 86.9 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 – 2555)
นอกจากนี้ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในตลาดต่างประเทศคือผลิตภาค
แรงงานต่อคน ซึ่ ง ณ ปัจจุบนั ดัชนีผลิตแรงงานในอุตสาหกรรมการผลิตอยูใ่ นเกณฑ์ที่ค่อนข้างสู ง (คิดเป็ น
149.48 ในปี 2554) ซึ่ งสูงกว่าภาคการเกษตรและนอกภาคการเกษตรอื่นๆ ยกเว้น การเงินการธนาคารเนื่องจาก
มีด ชั นีผ ลิต ภาพแรงงานต่อ คนสูง ที่สุ ด (คิด เป็ น 182.53 ในปี 2554) นอกจากนี้ห ากพิจ ารณาลงไปใน
อุตสาหกรรมผลิตยานยนต์และจักรยานยนต์ พบว่าดัชนีผลิตภาพแรงงานต่อคนมีค่าสู งกว่าดัชนีผลิตแรงงาน
ต่อคนของภาคอุตสาหกรรมโดยเฉลี่ย โดยอุตสาหกรรมยานยนต์มีดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อคนในปี 2554 อยูท่ ี่
164.01 ส่ วนอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์มีดชั นีผลิตภาพแรงงานต่อคนในปี 2554 อยูใ่ นเกณฑ์สูง (คิดเป็ น
364.58)

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 43
โอกาสและผลกระทบของ AEC ต่ อภาคอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์
การรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ช่วยเพิ่มโอกาสการส่ งออกยานยนต์รวมทั้งจักรยานยนต์
อุปกรณ์และส่ วนประกอบไปยังประเทศในกลุ่มประเทศอาเซี ยน เช่น อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ซึ่ งยาน
ยนต์ถือเป็ นสิ นค้านำเข้าที่สำคัญของ โดยประเทศไทย อินโดนีเซี ย และมาเลเซี ย ถือผูผ้ ลิตรถยนต์รายใหญ่ของ
อาเซี ยน คิดเป็ นการผลิตมากกว่าร้อยละ 90 ของรถยนต์ที่ผลิตทั้งหมดในปี 2553 โดยมียอดจัดจำหน่ายคิดเป็ น
ร้อยละ 86 อุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ใ นตลาดอาเซี ย นยัง มีอตั ราการเจริ ญ เติบ โตมากกว่า ร้อ ยละ 10
ระหว่างปี 2553 ถึง 2558 อีกทั้งมีการคาดการณ์วา่ จำนวนรถยนต์ในท้องถนนจะเพิ่มจาก 26 ล้านคัน เป็ น 40
ล้านคัน ภายในปี 2558 โดยภายในปี 2563 คาดการณ์วา่ จะมีจำนวนรถยนต์ในกลุ่มประเทศอาเซี ยนถึง 55 ล้าน
คัน โดยความหนาแน่นของรถยนต์โดยเฉลี่ยในกลุ่มประเทศอาเซี ยนจะเพิ่มจาก 44 คันต่อประชากร 1,000 คน
เป็ น 80 คันต่อประชากร 1,000 คน ซึ่ งชี้ให้เห็นว่า ตลาดยานยนต์ใน AEC ยังมีโอกาสเติบโตได้อีกมาก อีกทั้ง
ตลาดอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ของไทย เป็ นฐานการลงทุนจากบริ ษทั ข้ามชาติประเทศญี่ปุ่นซึ่ งถือเป็ นจุด
แข็งในการส่ งออกไปยังกลุ่มตลาดลูกค้าใหม่ เช่น มาเลเซี ย ซึ่ ง ณ ปั จจุบนั รถยนต์ที่ผลิตและจำหน่วยมากกว่า
ร้อยละ 60 เป็ นยีห่ อ้ รถยนต์ในประเทศมาเลเซี ย นอกจากนี้ประเทศไทยยังสามารถเพิม่ โอกาสการส่ งออกยาน
ยนต์ไปยังประเทศ สิ งคโปร์ เวียดนาม และฟิ ลิปปิ นส์ ซึ่ ง ณ ปั จจุบนั ผูผ้ ลิตรถยนต์เกาหลีใต้ (ฮุนได) มีสดั ส่ วน
ยอดขายค่อนข้างสูงในประเทศเหล่านี้ อย่างไรก็ตามตลาดอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์และจักรยานยนต์ไม่
สามารถเพิม่ การส่ งออกไปยังประเทศสมาชิกในกลุ่มอาเซี ยนได้มากนัก เนื่องจากอุตสาหกรรมการผลิตยาน
ยนต์และจักรยานยนต์ มีอตั ราการใช้กำ ลังการผลิตค่อนข้างสู ง อยูท่ ี่ร้อยละ 89.43 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ
79.10 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 – 2555) และอุตสาหกรรมการผลิตจักรยานยนต์มีอตั ราการใช้กำลังการผลิตอยูท่ ี่ร้อย
ละ 76.21 ในปี 2555 (หรื อร้อยละ 86.9 เฉลี่ยตั้งแต่ปี 2546 – 2555) อีกทั้งปั ญหาราคาน้ำมันดิบโลกที่ผนั ผวน
ตลอดจนปัญหาเรื่ องโครงสร้างสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานในกลุ่มประเทศอาเซี ยน เช่น สภาพถนนที่ขาดการ
ดูแลและปรับปรุ งในกลุ่มประเทศ อาจส่ งผลต่อการส่ งออกยานยนต์ของไทยได้ในอนาคต ดังนั้นรัฐบาลไทย
ควรให้ความสำคัญเรื่ องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการผลิตอุตสาหกรรมยานยนต์เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มกำลังการ
ผลิตยานยนต์ในอนาคต นอกจากนี้รัฐบาลควรมีมาตรการช่วยเหลือนักลงทุนต่างชาติ ซึ่ งอาจจะเป็ นการให้
สิ ทธิ พิเศษด้านการลงทุนต่าง ๆ เพื่อดึงดูดการลงทุนในอนาคต นอกจากนี้รัฐบาลอาจสนับสนุนการส่ งออกการ
ลงทุนด้านการผลิตรถจักรยานยนต์เพิ่มมากขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสการส่ งออก ไปยังประเทศเทศที่มี GNI per
capita อยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำ เช่น ลาว กัมพูชา พม่า และเวียดนาม ซึ่ งอาจมีกำลังการซื้ อรถยนต์ค่อนข้างต่ำ นอกจากนี้
ผูป้ ระกอบการในประเทศจะได้รับประโยชน์จากต้นทุนการผลิตยานยนต์ที่ลดลง เนื่องจากผูผ้ ลิตในประเทศ
สามารถนำเข้าวัตถุดิบ และชิ้นส่ วนของส่ วนประกอบยานยนต์ซ่ ึ งถือเป็ นสิ นค้าขั้นกลาง ได้ราคาที่ต ่ำลง และ
เพิ่มทางเลือกให้ผผู้ ลิตสามารถนำเข้าได้จากหลายแหล่งมากขึ้น ดังนั้นสามารถสร้างความได้เปรี ยบและความ
สามารถในการแข่งขันด้านราคาแก่ผผู้ ลิต ยานยนต์ในประเทศไทย โดยไทยสามารถเลือกใช้ประโยชน์จาก
อาเซี ยนตามความหลากหลายและความชำนาญของแต่ละประเทศซึ่ งสอดคล้องกับหลักการได้เปรี ยบโดย
เปรี ยบเทียบ (Comparative Advantage) อันจะนำมาซึ่ งสวัสดิการทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศสมาชิกที่
สู งขึ้น ประโยชน์อีกประการจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนคือเพิม่ การจ้างงานของประชากรภายในประเทศ
เนื่องจากการขยายตัวทางการค้าของประเทศไทยสู่ ประเทศสมาชิก จะทำให้การจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม
การผลิตยานยนต์เพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้การลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment: FDI) จากกลุ่ม
ประเทศสมาชิกอาเซียนที่อ าจจะเพิม่ ขึ้น ในอนาคต จะส่ งผลให้เกิด Spillover Effects ต่างๆ เช่น ทางด้าน

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 44
เทคโนโลยี ความรู้ใหม่ๆ และการจัดการ ซึ่ งจะส่ งผลให้แรงงานไทยในอุตสาหกรรมยานยนต์ จำเป็ นต้อง
แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ โดยจะทำให้ผลิตภาพแรงงาน (Labour Productivity) เพิ่มสู งขึ้น อย่างไรก็ตาม การเปิ ด
เสรี ทางการค้า จากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในกลุ่มอาเซี ยนเพื่อประโยชน์ทางด้านการค้า การบริ การ การ
ลงทุน แรงงาน และเงินทุน ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community: AEC) อาจส่ ง
ผลกระทบต่อตลาดยานยนต์ในประเทศ ซึ่ งอาจมีการนำเข้ารถยนต์ที่ผลิตจากกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยนเพิ่ม
มากขึ้น เช่น เปอโรดัว และ โฟรตอน จากประเทศมาเลเซี ย หรื อยานยนต์ที่ผลิตจากประเทศอินโดนีเซี ย โดยที่
มาเลเซี ยและอินโดนีเซียต่างเป็ นประเทศอันดับต้นในการผลิตรถยนต์ในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยน แต่ผลก
ระทบอาจไม่มากนักเนื่องจากยีห่ อ้ รถยนต์ที่ผลิตในประเทศมาเลเซี ย ยังถือว่าเป็ นสิ นค้าใหม่ในตลาดรถยนต์ใน
ประเทศไทย ซึ่ งยังต้องใช้เวลาในการสร้างความเชื่อมัน่ และความจงรักภักดี (Brand Loyalty) ของผูบ้ ริ โภคใน
ประเทศพอสมควร นอกจากนี้ กลุ่มผูผ้ ลิตยานยนต์ในประเทศอินโดนีเซี ยส่ วนใหญ่ต่างเป็ นกลุ่มผูผ้ ลิตรถยนต์
ในญี่ปุ่นที่มีฐานการผลิตในอินโดนีเซีย ซึ่ งเป็ นกลุ่มเดียวกันกับผูผ้ ลิตรถยนต์ในประเทศไทย ดัง นั้นหาก
รัฐบาลสามารถสร้างความเชื่อมัน่ ต่อนักลงทุนบริ ษทั ข้ามชาติญี่ปุ่นให้ลงทุนในประเทศไทยอย่างต่อเนื่อง เช่น
เพิ่มการลงทุนขยายฐานการผลิตรถยนต์หรื ออุปกรณ์ส่วนประกอบยานยนต์ในประเทศ ก็สามารถสร้างความ
ได้เปรี ยบเชิงการค้าและการลงทุนของไทยได้อย่างยัง่ ยืน อันจะส่ งผลต่อความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ
การจ้างงานของประเทศได้ในอนาคต เนื่องจากหากประเทศไทยไม่มีการพัฒนาปั จจัยพื้นฐาน (Infrastructure)
ที่ดี และประสิ ทธิภาพการผลิตของแรงงาน (Labor productivity) อยูใ่ นเกณฑ์ต ่ำ อีกทั้งไม่มีการปรับปรุ งกฎ
ระเบียบ หรื อกฎหมาย ให้มีความทันสมัยและไม่เป็ นอุปสรรคต่อการลงทุน อาจส่ งผลให้บริ ษทั ข้ามชาติ ย้าย
ฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเทศอื่นๆ ใน ASEAN ที่เหมาะสมกว่า

โอกาสและผลกระทบของ AEC ของอุตสาหกรรมการผลิตเครื่ องใช้ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์


การรวมตัวกันของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนช่วยเพิ่มโอกาสการส่ งออกชิ้นส่ วนอิเล็กทรอนิกส์ และแผงวงจร
ไปยังกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ สิ งคโปร์ มาเลเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ และอินโดนีเซี ย ซึ่ งสิ งคโปร์เป็ นประเทศ
หลักที่นำ เข้าสิ นค้าอิเล็กทรอนิกส์ของไทย จากการศึกษาพบว่าประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซี ยนมีการนำเข้า
สิ นค้าที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่ งมีมูลค่าสู งเมื่อเปรี ยบเทียบกับมูลค่าการนำเข้าสิ นค้าทั้งหมด ได้แก่
ฟิ ลิปปิ นส์ (ร้อยละ 36.67) มาเลเซีย (ร้อยละ 31.2) สิ งคโปร์ (ร้อยละ 29.03) และอินโดนีเซี ย (ร้อยละ 8.30)
นอกจากนี้ สิ งคโปร์ มาเลเซีย บรู ไนดารุ สซาลาม และเวียดนาม ต่างเป็ นประเทศที่มีการใช้อินเตอร์เน็ทต่อ
จำนวนประชากรค่อนข้างสูงเมื่อเทียบประเทศอื่นๆในกลุ่มอาเซี ยน นอกจากนี้ยงั ช่วยลดต้นทุนการผลิตสิ นค้า
เครื่ อ งใช้ไ ฟฟ้ าและอิเ ล็กทรอนิกส์ เนื่องจากผูผ้ ลิต ในประเทศสามารถลดต้น ทุนนำเข้า วัตถุดิบ และส่ ว น
ประกอบต่างๆ ซึ่ งถือเป็ นสิ นค้าขั้นกลาง อีกทั้งเพิ่มทางเลือกในการนำเข้าวัตถุดิบและส่ วนประกอบ นอกจากนี้
ยังช่วยในเรื่ องการจ้างงานในประเทศ นอกจากนี้ยงั เพิ่มการลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment:
FDI) ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่ งส่ งผลให้เกิด Spillover Effects สู่ อุตสาหกรรมในประเทศ เช่น ทาง
ด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ๆ และการจัดการ โดยจะทำให้ผลิตภาพแรงงาน (Labour Productivity) ไทยเพิ่มสู ง
ขึ้น ซึ่ ง ณ ปัจจุบนั ผลิตภาพแรงงานในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการผลิตผลิตเครื่ องใช้ไฟฟ้ าบาง
ชนิดอยูใ่ นเกณฑ์ค่อนข้างต่ำ เมื่อเปรี ยบเทียบกับผลิตภาพแรงงานของอุตสาหกรรมการผลิตโดยเฉลี่ย
นอกจากนี้ผ บู้ ริ โ ภคได้รับ ประโยชน์จ ากการลดภาษีสิ น ค้า นำเข้า สิ น ค้า ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ร าคาสิ น ค้า
อิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ านำเข้าจากกลุ่มประเทศอาเซี ยนถูกลง อีกทั้งช่วยกดดันให้ราคาสิ นค้าชนิด
เดียวกันหรื อสิ นค้าทดแทนที่ผลิตในประเทศปรับลดราคาให้ใกล้เคียงกับราคาสิ นค้าที่นำเข้า อันเป็ นผลมาจาก

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 45
การแข่งขันที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตามผูป้ ระกอบการในประเทศอาจได้รับผลกระทบจากสภาพการแข่งขันใน
ตลาดที่เพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากอาจมีสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ าราคาถูกนำเข้าจากกลุ่มประเทศ
สมาชิก ในอาเซีย นเช่น มาเลเซีย สิ งคโปร์ อิน โดนีเ ซี ย และ ฟิ ลิป ปิ นส์ ซึ่ ง มีก ารส่ ง ออกแผงวงจรไฟฟ้ า
คอมพิวเตอร์ และเครื่ องใช้ไฟฟ้ าอื่นๆ เนื่องจากโครงสร้างการส่ งออกสิ นค้าในประเทศเหล่านี้มีลกั ษณะคล้าย
กับประเทศไทย ผูป้ ระกอบการและอุตสาหกรรมการผลิตอิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ า อาจได้รับผลกระ
ทบอย่างไม่อาจหลีกเลี่ยง ทำให้ผผู้ ลิตในประเทศต้องปรับตัวเพื่อที่จะสามารถแข่งขันกับกลุ่มประเทศอาเซี ยน
ได้ในอนาคต โดยเร่ งปรับปรุ งมาตรฐานการผลิต เน้นการทำวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ทนั สมัยมากยิง่ ขึ้น
เพื่อรองรับความต้องการสิ นค้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ ว สิ นค้า นอกจาก
นี้อิเล็กทรอนิกส์และเครื่ องใช้ไฟฟ้ าต่างๆ ที่ไม่ได้มาตรฐานหรื อคุณภาพต่ำ อาจเข้ามาวางจำหน่ายในตลาดใน
ประเทศมากขึ้นหากไม่มีมาตรการป้ องกันอย่างรัดกุมเพียงพอ ซึ่ งสิ นค้าเหล่านี้อาจเป็ นอันตรายต่อผูบ้ ริ โภคใน
ประเทศ ดังนั้น รัฐบาลควรเพิ่มมาตรการป้ องกันสิ นค้าด้อยคุณภาพที่อาจนำเข้ามาขายในประเทศได้ เนื่องจาก
นโยบายในการพัฒ นาอุตสาหกรรมของไทยที่มีเป้ าหมายในการพัฒ นาสิ นค้าให้มีคุณภาพสู งขึ้น ในกลุ่ม
อุตสาหกรรมต่างๆ อาจเกิดปัญหาอุปสรรคได้ เนื่องจากไม่มีตลาดภายในประเทศรองรับ รวมทั้งอาจส่ งผลทาง
จิตวิทยาแก่ผปู ้ ระกอบการไทยในการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตได้

ผลของประชาคมอาเซียนต่ อภาคแรงงาน – การเปิ ดเสรีภาคบริการแรงงาน

ข้อตกลงการค้าบริ การขององค์การการค้าโลก ได้ระบุให้มีการเปิ ดเสรี การเคลื่อนย้ายแรงงาน โดยถือ


เป็ น 1 ใน 4 รู ปแบบของการค้าบริ การด้วย แต่ปรากฏว่าการเปิ ดเสรี ดงั กล่าวในแต่ละประเทศกลับจำกัดความ
ว่า “แรงงาน” อยูใ่ นวงแคบๆ โดยการเปิ ดเสรี เฉพาะแรงงานระดับสู งในภาคบริ การเท่านั้น เช่น นักบริ หาร ผู ้
จัดการ ผูไ้ ปฝึ กงานในต่า งประเทศ หรื อ นักวิชาชีพเฉพาะสาขา เช่น วิศวกร ฯลฯ ซึ่ งแรงงานเหล่า นี้เ ป็ น
ทรัพยากรที่ประเทศด้อยพัฒนาขาดแคลนอยูแ่ ล้ว และมีไม่เพียงพอแม้แต่จะนามาใช้เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศตนเอง การเปิ ดเสรี แรงงานในภาคดังกล่าวจึงไม่เป็ นประโยชน์ต่อประเทศกำลังพัฒนาและด้อย
พัฒนามากนัก ในทางตรงกันข้าม สิ่ งที่ประเทศกาลังพัฒนามีอย่างเหลือล้นและพร้อมที่จะส่ งออกก็คือ แรงงาน
ระดับล่างไม่วา่ จะเป็ น กรรมกร แม่บา้ น คนงานก่อสร้าง ซึ่ งเป็ นกลุ่มแรงงานที่ประเทศพัฒนาแล้วมีความ
ต้องการเช่นกัน
ในความเป็ นจริ ง ประเทศพัฒนาแล้วทั้งหลายต่างต้องการผลักดันให้มีการเปิ ดเสรี ภาคบริ การในรู ป
แบบที่ 3 คือ การจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริ การ (Commercial Presence) ซึ่ งเป็ นการจัดตั้งธุรกิจในต่างประเทศ โดย
พยายามเรี ยกร้องให้ประเทศต่างๆ ยกเลิกกฎเกณฑ์ที่จากัดการเข้าไปตั้งสาขาของบริ ษทั ต่างชาติในประเทศของ
ตน เช่น การเรี ยกร้องให้ประเทศไทยยกเลิกกฎหมายที่กำหนดห้ามมิให้ต่างชาติเข้ามาถือหุน้ ในกิจการของ
ประเทศไทยเกินกว่า 49% หรื อกฎหมายห้ามมิให้ต่างชาติถือครองที่ดินแต่มีสิทธิ เช่าได้ เป็ นต้น แต่สาหรับ
ประเทศกาลังพัฒนานั้น รู ปแบบการเปิ ดเสรี ที่แต่ละประเทศต้องการมากที่สุดก็คือ รู ปแบบที่ 4 คือ การให้
บริ การด้านแรงงานโดยบุคคลธรรมดา เป็ นการเข้าไปทำงานประกอบอาชีพในสาขาบริ การด้านต่างๆ เป็ นการ
ชัว่ คราวในประเทศผูร้ ับบริ ก าร โดยการอนุญาตให้ค นงานจากต่างประเทศเดินทางเข้าไปทางานได้อย่าง
สะดวก นอกจากนี้ ยังมีความพยายามที่จะผลักดันให้รวมแรงงานนอกภาคบริ การเข้าไว้ดว้ ย เช่น แรงงานภาค

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 46
เกษตร ภาคอุตสาหกรรมก่อสร้าง ตัดเย็บเสื้ อผ้า แต่ปรากฎว่าประเทศพัฒนาแล้วกลับต่อต้านอย่างเต็มที่ ด้วย
เกรงว่าแรงงานระดับล่างจากประเทศด้อยพัฒนาจะไหลทะลักเข้าประเทศ จนทำลายระบบสวัสดิการ เศรษฐกิจ
และสังคมภายในประเทศไป ด้วยเหตุน้ ีการค้าบริ การในรู ปแบบที่ 4 หรื อการเคลื่อนย้ายแรงงานไปยังประเทศ
อื่นนั้น จึงมีมูลค่าเพียง 1.4% ของการค้าบริ การระหว่างประเทศทุกรู ปแบบเท่านั้น ในขณะที่รูปแบบที่ 3 หรื อ
การตั้งกิจการในต่างประเทศ กลับมีมูลค่าถึง 56.3%
ประเด็นของการเปิ ดเสรี ดา้ นการเคลื่อนย้ายแรงงานก็เป็ นประเด็นที่น่าจับตามอง เปิ ดเสรี ดงั กล่าวอาจ
ทำให้แรงงานฝี มือในอาเซีย นย้า ยจากประเทศที่มีค ่า ตอบแทนต่ำ (ประเทศในแถบอิน โดจีน ฟิ ลิป ปิ นส์
อิน โดนีเ ซี ย รวมถึงไทย) ไปยังประเทศที่มีคา่ แรงสู งกว่า และมีก ารใช้ภ าษาอังกฤษอย่า งแพร่ ห ลาย อาทิ
สิ งคโปร์และมาเลเซีย ซึ่งมีความน่าเป็ น ห่วงว่าการเปิ ดเสรี แรงงานฝี มือดังกล่าว จะทำให้แรงงานผีมือของไทย
ในบางสาขาย้ายไปทำงานในมาเลเซียและสิ งคโปร์ โดยเฉพาะสาขาการแพทย์และวิศวกร มีผลให้ในอนาคต
ไทยอาจขาดแคลนแรงงานฝี มือ ดังนั้นจึงควรมีการพัฒนาฝี มือแรงงานในวิชาชีพต่างๆ ของไทย ต้องเร่ งพัฒนา
ทักษะเพื่อรับมือกับการแข่งขัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ด้านภาษา ซึ่ งบุคลากรไทยยังเสี ยเปรี ยบคู่แข่งอยู่ รวมทั้ง
ปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานการทำงานสากล
การค้าเสรี ได้ส่งผลกระทบในเชิงบวกต่อการขยายตัวของภาคการผลิตและภาคแรงงาน ซึ่ งจะนำไปสู่
ความต้องการแรงงานไร้ฝีมือและกึ่งฝี มือมากขึ้นในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยาง สิ่ งทอ อัญมณี
และเครื่ องประดับ ซึ่ งจะส่ งผลให้อตั ราค่าจ้างสู งขึ้น นอกจากนี้ มาตรฐานแรงงาน หรื อคุณภาพชีวิตของผูใ้ ช้
แรงงานในกระบวนการผลิตต่า งๆ จะสูง ขึ้น ความก้า วหน้า ในอาชีพสำหรับ แรงงานที่มีฝี มือ และกลุ่ม ผู ้
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจะอยูใ่ นระดับที่สูงขึ้น การเปิ ดเสรี ทางการค้าจะช่วยส่ งเสริ มสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน
ให้ดีข้ ึน ตลอดจนสวัสดิการของผูใ้ ช้แรงงานในธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ดีข้ ึน
องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization: ILO) ได้ประเมินไว้วา่ ปั จจุบนั มี
แรงงานต่า งด้า วในทุกประเทศทัว่ โลกประมาณ 86 ล้า นคน ยอดเงิน ที่แรงงานต่า งด้า วส่ ง เงิน กลับ ไปยัง
ครอบครัวของตนในประเทศกาลังพัฒนานั้น คิดเป็ นเงินประมาณ 160,000 ล้านเหรี ยญสหรัฐต่อปี ซึ่ งมากกว่า
เงินช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Development Aid) ที่ประเทศกำลังพัฒนาได้รับถึง 3 เท่า แต่แม้จ ะมีจ านวน
มหาศาลเพียงใด จานวนเงินที่แรงงานต่างด้าวส่ งกลับบ้านนั้นเป็ นเพียง 13% ของรายได้ที่แรงงานกลุ่มดังกล่าว
ได้รับเท่านั้น หมายความว่า รายได้ที่เหลืออีก 87% ของแรงงานต่างด้าวจะยังคงอยูใ่ นประเทศเจ้าบ้าน คิดเป็ น
มูลค่าประมาณ 1 ล้านล้านเหรี ยญสหรัฐฯ นับได้วา่ แรงงานต่างด้าวได้ช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจของประเทศเจ้า
บ้านอย่างมากมาย 6
การแข่งขันด้านการค้าบริ การนั้นจะมีลกั ษณะที่แตกต่างจากการแข่งขันของสิ นค้าโดยเฉพาะการ
บริ การวิชาชีพซึ่ งจะมีลกั ษณะเฉพาะหรื อผูป้ ระกอบวิชาชีพอิสระ เช่น สถาปนิก วิศวกร นักบัญชี นักกฎหมาย
ในหลายประเทศมักมีการทำความตกลงเปิ ดเสรี ดา้ นวิชาชีพ โดยจัดหาความตกลงยอมรับคุณสมบัติวิช าชีพ
ของกันและกันไว้ หรื อที่เรี ยกว่า Mutual Recognition Agreement: MRA ซึ่ งจะทำให้ผปู ้ ระกอบวิช าชีพจาก
ประเทศหนึ่งสามารถเข้าไปทำงานในอีกประเทศหนึ่งได้ ผลกระทบจากการค้าบริ การเสรี จึงขึ้นอยูก่ บั ว่า
วิชาชีพนั้นเป็ นสาขาที่มีความสามารถในการแข่งขันกับผูป้ ระกอบวิชาชีพเดียวกันจากต่างประเทศหรื อไม่ บาง
สาขาวิชาชีพอาจมีความเสี่ ยงต่อการแข่งขันมากกว่าสาขาวิชาชีพอื่นที่มีลกั ษณะเฉพาะ เช่น วิชาชีพกฎหมายซึ่ ง
ผูป้ ระกอบวิชาชีพจาเป็ นต้องเรี ยนรู้ระบบกฎหมายของประเทศนั้น และสอบประกาศนียบัตรให้ได้ก่อนถึงจะ
ประกอบอาชีพได้ จึงเป็ นการยากที่ทนายความของประเทศหนึ่งจะสามารถไปประกอบอาชีพทนายความใน
อีกประเทศหนึ่งได้ เพราะระบบกฎหมายของแต่ละประเทศแตกต่างกัน หรื อในการประกอบวิชาชีพบัญชี ก็

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 47
ต้องสอบประกาศนียบัตรเช่นเดียวกัน อย่างไรก็ดี แม้ระบบบัญชีของแต่ละประเทศจะมีความแตกต่างกันบ้าง
แต่กไ็ ม่เท่ากับกรณี ของการบริ การด้านกฎหมาย
ทั้งนี้ นักเรี ยนนักศึกษา จึงควรที่จะเตรี ยมความพร้อมในด้านต่างๆ เช่น ภาษาอังกฤษ สำหรับใช้ใน
การสื่ อสารและการทำงาน รวมทั้งความรู้ดา้ นวิชาการในแขนงต่างๆ โดยเฉพาะในสาขาวิชาหลักที่ได้มีการจัด
ทำข้อตกลงยอมรับร่ วมกันแล้ว 7 สาขา คือ วิศวกรรม พยาบาล สถาปั ตยกรรม การสารวจ แพทย์
ทันตแพทย์ และนักบัญชี ซึ่ งเป็ นสาขาที่จาเป็ นต้องมีพ้ืนฐานด้านคณิ ตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มาก่อน อย่างไร
ก็ดี จากการสำรวจของกรมการจัดหางาน 8 เรื่ อง ความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ใน
ประชาคมอาเซียน : ศึกษาเฉพาะกรณี นกั เรี ยนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุ งเทพมหานคร จานวน 736
คน ผลปรากฏว่า กลุ่มตัวอย่างส่ วนใหญ่ หรื อร้อยละ 99.46 ยังไม่ทราบเรื่ องการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ใน
ประชาคมอาเซียน มีเพียงร้อยละ 0.54 เท่านั้น ที่มีความรู ้ความเข้าใจ ดังนั้น ทุกภาคส่ วนที่เกี่ยวข้องจึงควรมี
การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ในเรื่ องนี้ให้มากขึ้น เพื่อสถาบันการศึกษาต่างๆ จะได้จดั เตรี ยมความ
พร้อมให้แก่นิสิตนักศึกษาที่จะเข้าสู่ ตลาดแรงงานเสรี ซึ่ งจะมีการแข่งขันกันมากขึ้นอย่างแน่นอน
ปั จจุบนั ประเทศไทยประสบปัญหาการลักลอบเข้าเมืองของแรงงานข้ามชาติซ่ ึ งมีจานวนเพิ่มมากขึ้น
เรื่ อยๆ จนส่ งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒ นธรรม และการเมืองระหว่างประเทศ นับ ตั้งแต่ปี
พ.ศ.2535 เป็ นต้นมา จากเหตุการณ์ในประเทศพม่าที่มีการปราบปรามประชาชนจนกลายเป็ นจลาจลทางการ
เมือง ทำให้มีประชาชนจากพม่าลักลอบเข้าประเทศไทยเป็ น จำนวนนับแสนคน อีกทั้งสภาวะเศรษฐกิจของ
ไทยที่พฒั นาและเจริ ญเติบโตสูงขึ้น โดยเฉพาะในภาคก่อสร้างและภาคประมง จึงเกิดความต้องการแรงงาน
ระดับล่างจำนวนมาก รัฐบาลไทยจึงต้องใช้นโยบายที่ยดื หยุน่ ขึ้น โดยอนุญาตให้มีการจ้างแรงงานข้ามชาติจาก
ประเทศพม่า ลาว และกัมพูชาที่มีสถานะเป็ นผูห้ ลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมายได้ โดยอาศัยมติคณะรัฐมนตรี
หรื อเพื่อยกเว้นกฎหมายสาคัญ 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ.2522 และพระราชบัญญัติการ
ทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2521 อนุญาตให้มีการจ้างผูห้ ลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมายจากทั้งสามประเทศ ให้
อาศัยอยูแ่ ละทำงานในประเทศไทยเป็ นการชัว่ คราวระหว่างรอการส่ งกลับ ทั้งนี้ การกำหนดนโยบายในรู ป
ของมติค ณะรัฐมนตรี ได้ว างแนวทางปฏิบ ตั ิก ารอนุญ าตจดทะเบีย นแรงงานข้า มชาติเ ป็ น รายปี ตั้ง แต่ปี
พ.ศ.2535 เป็ นต้นมาจนถึงปัจจุบนั
ปั ญหาของแรงงานต่างด้าวที่เข้าประเทศผิดกฎหมายนี้ ได้ก่อให้เกิดปั ญหาแก่ประเทศไทยใน 4 มิติ คือ
9 รายงานการวิจยั เรื่ อง "แรงงานต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมายกับปั ญหาความมัน่ คงแห่งชาติ ปัญหาสาธารณสุ ข
สังคม และเศรษฐกิจ" วุฒิสภา 2546
ก. ด้านความมัน่ คง เป็ นปัญหาซึ่ งส่ งผลกระทบด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ปั ญหา
ชนกลุ่มน้อย แรงงานเถื่อน กฎหมายและนโยบายแรงงานที่ไม่ชดั เจน ไม่มีการวางมาตรการอย่าง
เป็ นระบบ ยืดหยุน่ ผ่อนผันในนโยบายจนก่อให้เกิดปั ญหาที่สะสมมาอย่างยาวนาน การไม่ปฏิบตั ิ
ตามกฎหมายของผูป้ ระกอบการและความไม่เคร่ งครัดของเจ้าหน้าที่ มีการคอร์รัปชัน การขาดการ
ประสานงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ระบบข้อมูลที่ไม่ชดั เจนและไม่สามารถเชื่อมโยงข้อมูลกัน
ได้
ข. ด้านการสาธารณสุ ข เกิดปัญหาด้านการควบคุมโรค การจากัดผลกระทบของโรคร้ายแรง การ สุ ข
อนามัยและสิ่ งแวดล้อมในการทางาน การสุ ขาภิบาลสิ่ งแวดล้อมที่ไม่มีระบบ ภาระงบประมาณของ
ประเทศในการให้บริ การและรักษาแรงงานต่างด้าว

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 48
ค. ด้านสังคม ปัญหาความปลอดภัยของชีวิตทรัพย์สิน การก่ออาชญากรรม การแบ่งแยกเชิงสังคม
ขบวนการลักลอบเข้าเมืองและการค้ามนุษย์ การสร้างอิทธิ พลกลุ่มชนชาติ ยาเสพติด ปั ญหาโสเภณี
ภาระของรัฐในการจัดปัจจัยพื้นฐานและการสาธารณูปโภค การพึ่งพาบริ การโรงเรี ยนของรัฐ การ
เลือกปฏิบตั ิดา้ นมนุษยธรรม ปัญหาเด็กต่างด้าวและเด็กเลือดผสมที่เกิดในประเทศไทย
ง. ด้านเศรษฐกิจ ปัญหาต้นทุนค่าแรงงาน การแย่งงาน การพัฒนาฝี มือแรงงาน การปรับปรุ งโครงสร้าง
อุตสาหกรรมที่ใช้ทกั ษะสูง เกิดธุรกิจนอกระบบ ความต้องการ ความจาเป็ น
และจานวนแรงงานต่างด้าวที่แท้จริ ง ที่ทาให้ไม่สามารถสร้างตลาดแรงงานที่แท้จริ งได้ ตลอดจน
การไม่สามารถกาหนดนโยบายการจัดสรรทรัพยากรและแรงงานต่างด้าวในประเภทอุตสาหกรรม
ต่างๆ เพราะไม่มีตวั เลขที่ชดั เจน

แม้ปัจจุบนั บรรดาแรงงานต่างด้าวจะได้ใบอนุญาตทางานชัว่ คราวเท่านั้น แต่ในอนาคตหากแนวคิด


ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนบรรลุผลสาเร็ จ ก็ยอ่ มเปิ ดโอกาสให้แรงงานต่างด้าวเหล่านี้เข้ามาทางานได้
อย่างเสรี โดยเฉพาะแรงงานทักษะฝี มือต่างๆ ซึ่ งจะส่ งผลกระทบสาคัญต่อแรงงานไทย
การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี จะส่ งผลดีที่เห็นได้ชดั ต่อตลาดแรงงาน ในด้านที่ทำให้ตลาดแรงงานมีความ
ยืดหยุน่ มากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิง่ เศรษฐกิจทัว่ โลกในปั จจุบนั มีแนวโน้มที่จะผนวกเข้าหากัน แรงงานในแต่ละ
ประเทศจะมีโอกาสเลือกทางานในสถานที่หรื อในประเทศที่มีโอกาสที่เขาจะสามารถแสดงศักยภาพได้สูงสุ ด
และก่อให้เกิดรายได้ที่สูงขึ้นตามไปด้วย ซึ่ งจะทาให้ประเทศมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างกว้างขวาง ส่ วน
ผลเสี ยอันเกิดจากการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี น้ นั ก็คือ อุตสาหกรรมบางประเภทอาจได้รับผลกระทบจากการ
ไหลเข้าของแรงงานที่มาจากประเทศอื่นซึ่ งเข้ามาแข่งขันในอีกประเทศหนึ่ง นายจ้างจะมีทางเลือกที่จะจ้าง
แรงงานของประชากรอาเซียนในประเทศใดประเทศหนึ่งที่มีค่าแรงถูกกว่า เกิดปั ญหาระหว่างคนในชาติและ
ชาวต่างชาติ และทาให้เกิดปัญหาการเหยียดเชื้อชาติตามมา อย่างไรก็ดี เพื่อการเตรี ยมพร้อมในการรองรับการ
เคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ที่จะมีข้ ึนในอนาคต ภาครัฐควรเตรี ยมการดังนี้

1. การพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะผู้ใช้ แรงงาน
ประเทศไทยมีจุดแข็งอย่างมากในภาคบริ การการท่องเที่ยว การบริ การด้านสุ ขภาพ การรักษาพยาบาล
การดูแลผูส้ ู งอายุ และด้านศัลยกรรม จึงเป็ นที่คาดหมายว่าเมื่อมีการเปิ ดเสรี ภาคบริ การในอาเซี ยน ภาคบริ การ
ดังกล่าวจะเป็ นภาคธุรกิจที่ได้รับประโยชน์ค่อนข้างมาก และในอนาคตการส่ งออกแรงงานจะเป็ นช่องทางหา
รายได้จากต่างประเทศเข้าสู่ ประเทศไทยจำนวนมหาศาลต่อปี โดยเฉพาะแรงงานประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น
อาทิ พ่อครัว พนักงานสปา หมอรักษา โรคด้วยยาสมุน ไพรสู ตรแผนโบราณ หรื อ หมอนวดแผนโบราณ
ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้องเตรี ยมการพัฒนาแรงงานที่อยูใ่ นตลาดแรงงานและแรงงานที่จะออกสู่ ตลาดแรงงาน
ให้มีสมรรถนะ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านภาษาอังกฤษหรื อภาษาอื่นในชีวิตประจาวัน
นอกจากนี้ ประะเทศในภูมิภาคอาเซี ยนทั้งหลายควรร่ วมกันจัดตั้งหน่วยงานเหนือชาติหรื อระดับ
นานาชาติข้ ึนมาดูแลปัญหาของกลุ่มคนงานที่ได้รับผลกระทบจากการเปิ ดเสรี ด้วยการฝึ กอบรมความรู ้ความ
ชำนาญใหม่ การฝึ กอบรมจะทำให้ตลาดแรงงานมีความยืดหยุน่ และทำให้การเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศและ
ระหว่างภูมิภาคนั้นดีข้ ึน นอกจากการฝึ กฝนทักษะแรงงานเพื่อเข้าไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซี ยนด้วยกัน
แล้ว การฝึ กฝนทักษะแรงงานเพื่อป้ อนสู่ ตลาดโลกก็มีความสาคัญไม่ยงิ่ หย่อนไปกว่ากัน ดังนั้น ภาครัฐจึงควร
กำหนดเป็ นนโยบายสำคัญของประเทศและเปิ ดหลักสู ตรอบรมวิช าชีพให้กบั ประชาชนในสาขาวิชาอาชีพ

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 49
ต่างๆ เป็ นต้นว่า ช่างก่อสร้าง ช่างซ่อมรถ ช่างประกอบอัญมณี ช่างคอมพิวเตอร์ พนักงานดูแลเด็กและผูส้ ู งอายุ
แม่บา้ น บุรุษพยาบาล ผูป้ ระกอบอาหารไทย พนักงานสปา หมอนวดแผนโบราณ ซึ่ งแรงงานเหล่านี้เป็ นที่
ต้องการของต่างประเทศจำนวนมาก หากรัฐบาลให้การส่ งเสริ มและสนับสนุนอย่างจริ งจัง ในอนาคตแรงงาน
เหล่านี้จะเป็ นกำลังสำคัญในการออกไปนำรายได้เข้าประเทศ
ภายใต้ขอ้ ตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนทางด้านตลาดแรงงานอาจเกิดภาวะ “สมองไหล” เมื่อการ
เดินทางระหว่างประเทศทาได้ง่ายหรื อเดินทางไปได้โดยเสรี จึงเกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานของบรรดาผูใ้ ช้
แรงงานที่มีทกั ษะฝี มือ ผูบ้ ริ หาร นักวิชาการหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านจากประเทศหนึ่งไปยังประเทศภาคี
สมาชิกอื่นของอาเซียนมากขึ้น ไม่วา่ ด้วยสาเหตุใดก็ตาม เช่น ค่าตอบแทน สวัสดิการ หรื อการดำรงชีวิตที่ดี
กว่าประเทศไทย จึงทำให้เกิดสภาพ “สมองไหล” ของประชากรที่มีคุณภาพโดยเฉพาะอย่างยิง่ บุคลากรทาง
ด้านวิชาการ และก่อให้เกิดปัญหาในการพัฒนาประเทศตามมา ดังนั้น การที่จะทำให้ไม่เกิดสภาวะการณ์สมอง
ไหล ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้องคำนึงถึงสวัสดิการและค่าตอบแทนที่ดีและจูงใจ ซึ่ งอาจยับยั้งการไหลออกของ
แรงงานเหล่านี้ได้
กฎหมายที่เกี่ยวกับแรงงานและสวัสดิการแรงงานในประเทศไทย ได้แก่ พระราชบัญญัติคุม้ ครอง
แรงงาน พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ.2533 พระ
ราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 พระราชบัญญัติแรงงานวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.2543 และพระราชบัญญัติการ
ทางานของคนต่างด้าว พ.ศ.2542 กฎหมายเหล่านี้ถูกนามาใช้กบั คนต่างประเทศที่เข้ามาทำงานในประเทศไทย
ด้วย ดังนั้น หากประเทศไทยสามารถจัดการกฎหมายสวัสดิการแรงงานได้ดี ก็จะทำให้แรงงานมีฝีมือจากต่าง
ประเทศเข้ามาทางานในประเทศไทยมากขึ้น และทำให้เกิดการลงทุนตามมา รวมทั้งแรงงานมีฝีมือ หรื อผู ้
เชี่ยวชาญเฉพาะด้านของไทยก็จะไม่มีความจาเป็ นที่จะต้องเดินทางไปทำงานในต่างประเทศ
ทั้งนี้ เพื่อป้ องกันไม่ให้แรงงานฝี มือไหลออกนอกประเทศนั้น ประเทศไทยจึงควรกำหนดนโยบาย
และมาตรการ ดังต่อไปนี้
1. ส่ งเสริ มให้บริ ษทั และสิ นค้าของประเทศไทยแข่งขันกับบริ ษทั ต่างชาติได้ในทุกด้าน
2. ปรับค่าตอบแทนและค่าจ้างของคนทำงานตามทักษะและผลิตภาพโดยที่มีอตั ราผลตอบแทนและ
สวัสดิการที่สามารถแข่งขันกับประเทศในกลุ่มสมาชิกอาเซี ยนได้
รัฐบาลไทยควรมีนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับประเด็นแรงงานอย่างมียทุ ธศาสตร์และบูรณาการ
กับมิติอื่นๆทางเศรษฐกิจและสังคม การเปิ ดเสรี และกระแสโลกาภิวฒั น์น้ ีอาจทำให้เกิดช่องว่างระหว่างผูใ้ ช้
แรงงานและเจ้าของทุนมากขึ้นและความแตกต่างระหว่างแรงงานที่มีทกั ษะฝี มือกับแรงงานที่ไร้ฝีมือ รัฐควร
เข้ามามีบทบาทในการกระจายรายได้และความมัง่ คัง่ อันเกิดจากการเปิ ดเสรี ลงสู่ ประชาชนเพื่อความสามารถ
ในการแข่งขันระหว่างประเทศ รัฐต้องเข้ามากระตุน้ ให้เกิดการพัฒนาของนวัตกรรม การพัฒนาความรู ้และ
ทักษะด้านการจัดการชั้นสูง การพัฒนาเครื อข่ายอุตสาหกรรมร่ วมทุนเพื่อให้เกิดการถ่ายโอนเทคโนโลยี และที่
สำคัญต้องพัฒนาทรัพยากรมนุษย์อย่างต่อเนื่อง โดยกำหนดนโยบายต่างๆ ในภาพรวมเบื้องต้น ดังนี้
1. พัฒนาศักยภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการเชื่อมโยงข้อมูลด้านแรงงานและข้อมูลด้าน
เศรษฐกิจกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อ สามารถกำหนดยุท ธศาสตร์ก ารสร้า งงานเพื่อ รองรับ กลุ่ม
แรงงานที่อาจได้รับผลกระทบได้อย่างชัดเจน ส่ งเสริ มการพัฒนาฝี มือแรงงาน โดยเน้นความสามารถในการ
ทำงานที่สามารถตอบสนองความต้องการของภาคการผลิตได้
2. ปรับปรุ งกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุม้ ครองสิ ทธิ ของแรงงาน เช่น พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พระราชบัญญัติคุม้ ครองแรงงาน โดยครอบคลุมไปถึงแรงงานภาคเกษตร และแรงงานนอกระบบ เป็ นต้นว่า

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 50
ผูร้ ับงานไปทาที่บา้ น และการจ้า งงานแบบชัว่ คราว รวมทั้งการปรับ ปรุ งมาตรการส่ งเสริ ม การลงทุน ให้
สามารถเชื่อมโยงกับสิ ทธิของผูใ้ ช้แรงงานในเรื่ องของความปลอดภัยในการทางาน สวัสดิการและความมัน่ คง
ทางสังคม เพื่อก้าวเข้าสู่ การแข่งขันในตลาดเสรี ดา้ นแรงงาน
กล่า วโดยสรุ ป ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซี ย นนับ เป็ น จุด เปลี่ย นผ่า นสำคัญ ที่ท า้ ทายต่อ เศรษฐกิจ
การเมือ งและสัง คมไทย การเปิด เสรี ท างการค้า การบริ ก าร และการลงทุน ในภาพรวมจะส่ ง ผลดีแ ก่
ประเทศไทยแต่จะบางภาคส่ วนที่มีผลกระทบทางลบอยูบ่ า้ ง ผลกระทบทางลบเหล่านี้สามารถเตรี ยมการรับมือ
และปรับตัวหากมีการวางแผนไว้อย่างเป็ นระบบ ในด้านการค้า ตลาดสิ นค้าของไทยจะขยายตัวเพิ่มมากขึ้นทั้ง
ในภูมิภาคอาเซียนเองและขยายออกไปสู่ ภูมิภาคอื่นในโลก โดยการทำข้อตกลงการค้าเสรี กบั ประเทศนอกกลุ่ม
ไม่วา่ จะเป็ นอาเซียนบวก 3 บวก 6 หรื อความร่ วมมือกับกลุ่มสหภาพยุโรป ส่ วนภาคบริ การนั้น มีบทบาทอย่าง
มากในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวและด้านสุ ขภาพ ส่ วนภาคการเงินไทยอาจจะยังไม่
พร้อมที่จะแข่งกับกลุ่มทุนการเงินจากสิ งคโปร์และมาเลเซี ย แต่ควรเดินหน้าเปิ ดเสรี เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพให้
เกิดขึ้นในระบบการเงิน การเปิ ดเสรี ดา้ นแรงงานจะทำให้การแข่งขันมีมากขึ้น นายจ้างจะมีโอกาสเลือกจ้างงาน
ในประชากรอาเซียนที่มีคา่ แรงถูกกว่า ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่แรงงานทักษะทั้งหลายจำเป็ นต้องเพิ่มความรู ้ดา้ น
ภาษาต่างประเทศเป็ นภาษาที่สองหรื อที่สาม และพัฒนาให้เข้าสามารถทำงานได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐาน
สากล
ประเทศไทยมีประชากรประมาณ 66 ล้านคน มีรายได้ประชาชาติประมาณ 4 พันกว่าล้านบาท ไม่
สามารถแข่งขันกับประเทศมหาอานาจใหม่ทางเศรษฐกิจอย่างจีนหรื ออินเดียได้ แต่ถา้ รวมกันเป็ นประชาคม
อาเซี ยนที่เป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียวสาเร็ จ ประชากรของอาเซี ยนประมาณ 600 ล้านคน หรื อ 1 ใน 10
ของประชากรโลก ที่มีรายได้ประชาชาติรวมกันมากกว่า 30,000 ล้านล้านบาท นับเป็ นตลาดและแหล่งเงินทุน
ที่มีศกั ยภาพมหาศาล และยังเป็ นฐานเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยในการค้ากับตลาดอื่นนอกภูมิภาคอีกด้วย การ
รวมกลุ่มกันภายในภูมิภาคอาเซียนจึงเป็ นหนทางหนึ่งที่จะนาไปสู่ ความเท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจ เกิดการแบ่ง
ปันทรัพยากรด้านต่างๆ แก่กนั มีการเอื้อประโยชน์และให้การสนับสนุนระหว่างกัน รวมทั้งมีการส่ งเสริ มการ
ค้าระหว่างกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับประเทศอื่นๆ นอกภูมิภาค

ปัญหาความท้ าทายของเศรษฐกิจไทย

ผูเ้ ขียนขอทิ้งท้ายบทวิเคราะห์น้ ี โดยตั้งโจทย์ปัญหาท้าทายต่อเศรษฐกิจไทยภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจ


อาเซี ยนเพื่อผูเ้ กี่ยวข้องจะได้เตรี ยมการรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนในปี พ.ศ. 2558 ต่อไป ได้แก่ ค่าใช้
จ่ายด้านโลจิสติกส์ของไทยยังแพงมาก ความสนใจเรื่ องประชาคมเศรษฐกิจของผูป้ ระกอบการยังน้อยและอาจ
ไม่ได้ใช้ประโยชน์หรื อโอกาสจากประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนได้อย่างเต็มที่ ผูบ้ ริ โภคยังไม่ให้ความสนใจและ
ไม่เข้าใจ ระบบกฎหมายหลายส่ วนยังไม่ได้ปรับปรุ งให้สอดคล้องกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน ฝ่ ายกำหนด
นโยบายหรื อรัฐบาลขาดความต่อเนื่อง เจ้าหน้าที่รัฐบาลและระบบการศึกษายังไม่พร้อม ยังมีปัญหาการนำเข้า
สิ นค้าบางตัวอย่างเสรี อาจมีผลกระทบทางด้านการเมือง อาจสร้างแรงกดดัน ทำให้มีการทบทวนหรื อชะลอก
ารปฎิบตั ิตามข้อตกลงได้ ทั้งหมดนี้เป็ นเพียงปั ญหาท้าทายบางส่ วนที่สงั คมไทยต้องช่วยกันเตรี ยมพร้อมรับมือ
เพื่อให้ผคู ้ นจำนวนมากที่สุดได้รับประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนและเพื่อผลประโยชน์และความ
เจริ ญรุ่ งเรื องของภูมิภาคอาเซียนร่ วมกัน

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 51
บรรณานุกรม

กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (2552). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: ASEAN Economic Community:


AEC. กรุ งเทพฯ : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์.

กรมอาเซี ยน. (2553). สถิตริ ายการสินค้าที่ไทยค้ ากับอาเซียนแต่ ละประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้


จากhttp://www.thaifta.com/thaifta/Home/tabid/36/ctl/Details/mid/582/ItemID/6259/Default.aspx. (วันที่คน้
ข้อมูล : 14 เมษายน 2555).

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2554). ASEAN Economic Community ภายใต้ โครงการร่ วมคิดร่ วมพัฒนา


อุตสาหกรรมไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้
จากhttp://www.industry.go.th/ops/pio/nakhonphanom/Lists/News/Disp.aspx?List=ac4ae0a1%2D8bae
%2D4b99%2Db985%2D9fa9ee646282&ID=274. (วันที่คน้ ข้อมูล : 14 เมษายน 2555).

สถาบันวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมอุตสาหกรรมการผลิต และ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย.


(2554). ถนนสู่ AEC เพือ่ SME ไทย: ภายใต้ โครงการกิจการเสริมสร้ างความแข็งแกร่ งให้ SMEs ภาคการผลิต
เพือ่ รองรับการเข้ าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC). [ออนไลน์]. เข้า
ถึงได้จาก http://www.smi.or.th/webdatas/download/dl_114.pdf. (วันที่คน้ ข้อมูล : 13 เมษายน 2555).

สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2555). สรุ ปภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมปี 2554 และแนวโน้ มปี 2555.


กรุ งเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศ


ไตรมาสที่ 4/2554. กรุ งเทพฯ : สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). สินค้าออกและสิ นค้ าเข้ าจำแนกตามกลุ่มสิ นค้ า. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก


http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/ContactPerson/Pages/Contact.aspx. (วันที่คน้ ข้อมูล : 14 เมษายน 2555).
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). สินค้าออกและสิ นค้ าเข้ าจำแนกตามกลุ่มประเทศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/ContactPerson/Pages/Contact.aspx. (วันที่คน้ ข้อมูล : 14 เมษายน 2555).

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 52
Deutsche Bank Research. (2011). ASEAN Auto Market: Growing in the Shadow of China and India.
[Online]. Available : http://www.dbresearch.com/PROD/DBR_INTERNET_EN-
PROD/PROD0000000000278738.PDF. (Access date : April 13, 2012).
กองวิจยั ตลาดแรงงาน ฝ่ ายวิเคราะห์ตลาดแรงงาน. เงื่อนไขเกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ใน
ประชาคมอาเซียน, กรุ งเทพฯ : กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน, 2553.

ตีรณ พงศ์มฆพัฒน์ รศ.ดร., รศ.ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์, ผศ. สถิตพงศ์ ธนวิริยะกุล, ผศ.ดร.ไพฑูรย์

ไกรพรศักดิ์ โครงการวิจยั ผลกระทบของการเปิ ดการค้าเสรี ต่อแรงงานไทย กรม


สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน 2544.

ธนาคารแห่งประเทศไทย 2552.

พรเทพ เบญญาอภิกลุ GATS ความตกลงว่าด้วยการค้าบริ การ โครงการ WTO Watch (จับกระแส


องค์การการค้าโลก) สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยั (สกว.) 2548.

รายงานการวิจยั เรื่ อง "แรงงานต่างด้าวเข้าเมืองผิดกฎหมายกับปั ญหาความมัน่ คงแห่งชาติ ปั ญหา

สาธารณสุ ข สังคม และเศรษฐกิจ" วุฒิสภา 2546

วิไลลักษณ์ ถิรนุทธิ “เปิ ดเสรี แรงงานต่างด้าว – ปัญหาที่รอการแก้ไข” สถาบันระหว่างประเทศเพื่อ


การค้าและการพัฒนา 2550

ปริ วรรต กนิษฐะเสน วัชรกูร จิวากานนท์ ชานนท์ บุญนุช AEC 2015: Ambitions, Expectations and
Challenges ASEAN’s path towards Greater Economic and Financial Integration เอกสารวิจยั สัมมนาประจำ
ปี 2554

ส่ วนความร่ วมมืออาเซียน สานักเศรษฐกิจการเกษตรระหว่างประเทศ 15 ตุลาคม 2550.

อภิญญา เลื่อนฉวี รศ.ดร. กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ กรุ งเทพ : วิญญชน 2552.

Kwan S.Kim “Global Integration, Capital and Labor: A North-South Comparative Perspective”

Economic Liberalization and Labor Markets, USA: Greenwood Press, 1988.

Parviz Dabir-Alai, Mehmet Odekon, “Political Economy, Liberalization and Labor's Absorption”

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 53
Economic Liberalization and Labor Markets, USA: Greenwood Press, 1988.
http://www.mfa.go.th
http://www.moc.go.th
http://www.bot.or.th

กลุ่มพหุภาคี สำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ, “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน มีความสำคัญ


อย่างไร”, 15 มีนาคม 2554.

สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, สำนักงานส่ งเสริ มวิสาหกกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, “ถนนสู่ AEC เพื่อ


SMEs ไทย”, 2553.
 จุไรรัตน์ แสงบุญนำ. ความรู ้เรื่ องประชาคมอาเซี ยน (การเตรี ยมความพร้อมของไทยเพื่อการก้าวเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน) ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2554-2558) เอกสารอัดสำเนา, 2554.
 ความเป็ นมาของอาเซี ยน. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก
http://www.thaimaster.info/pompilai/wannisa/asean/ asean_info.html#end สื บค้น 5 มิถุนายน 2554.
 สื บค้นและรวบรวมโดย : สำเภา สมบูรณ์ นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มยุทธศาสตร์
และบูรณาการการศึกษา สำนักบริ หารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 9

อนุสรณ์ ธรรมใจ และ คณะ รายงานวิจยั เรื่ อง วงจรสถิติในรอบ 15 ปี กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ


ประเทศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ สิ งหาคม 2551
อนุสรณ์ ธรรมใจ พลวัตประเทศไทย สำนักพิมพ์ Bizbook 2550
อนุสรณ์ ธรรมใจ ปฏิรูปเศรษฐกิจก่อนวิกฤติยอ้ นรอย สำนักพิมพ์สุขภาพใจ 2554

ี นต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไทย โดย อนุสรณ์ ธรรม


บทวิเคราะห์ ผลกระทบประชาคมเศรษฐกิจอาเซ ย
ใจ ยศ อมรกิจวิกย
ั Page 54

You might also like