You are on page 1of 4

www.tisi.go.th/bulletinT/pdf/2555/443May12.

pdf
วิศวกรรมสีเขียว
(Green Engineering)
วิศวกรรมสีเขียว
(Green Engineering)
นวัตวิศวกรรมเพือ ่ สิง่ แวดล ้อม
วิศวกรรมสีเขียว
(Green Engineering)
นวัตวิศวกรรมเพือ ่ สิง่ แวดล ้อม
นางสาวพนิดา ปรารัตน์ (ดร.)
นักวิชาการมาตรฐานปฏิบต ั ก
ิ าร
สำนักพัฒนาโครงสร ้างพืน ้ ฐานด ้านการมาตรฐาน
ปั จจุบนั ปั ญหาสิง่ แวดล ้อมได ้เกิดขึน ้ มากมายไม่วา่ จะเป็ นปั ญหา
มลพิษทางน้ำ ดิน และอากาศรวมถึงการร่อยหรอของทรัพยากรธรรมชาติ
จึงทำให ้ผู ้คนหันมาสนใจรณรงค์เพ􀃱อปกป้ องสิง่ แวดล ้อมทีเ่ หลืออยูน ่ ้อยนิด
กันมากขึน ้ เช่น การลดปริมาณของเสีย (Waste minimization)
โดยนำหลักการ 3Rs มาใช ้ซึง่ ประกอบ
ด ้วยการลดการใช ้ (Reduce) การใช ้ซ้ำ
(Reuse) และการนำกลับมาใช ้ใหม่
(Recycle) การใช ้ผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็ นมิตร
ต่อสิง่ แวดล ้อม (Environmental friendly
products) การประหยัดพลังงาน และอ􀃱นๆ
เป็ นต ้นเพือ่ ให ้การใช ้ทรัพยากรเกิด
ประโยชน์สงู สุดและเกิดการพัฒนา
อย่างยั่งยืน (Sustainability)
“วิศวกรรมสีเขียว” (Green Engineering) คืออะไร
คือ การออกแบบและพัฒนากระบวนการทีม ่ คี วามยั่งยืนทางวิศวกรรม
(Sustainable engineering) ในการผลิตสินค ้าในเชิงพาณิชย์
(Commercialization) โดยคำนึงถึงปั จจัยด ้านสิง่ แวดล ้อม เศรษฐกิจและสังคม
เป็ นสำคัญ วิศวกรรมสีเขียวมุง่ เน ้นการพัฒนาวัตถุดบ ิ (Materials) ผลิตภัณฑ์
(Products) กระบวนการ (Processes) และระบบ (Systems) ทีเ่ ป็ นมิตรกับ
สิง่ แวดล ้อม [1,2] เพ􀃱อป้ องกันการเกิดมลพิษ (Pollution prevention)
ณ แหล่งกำเนิด แนวคิดวิศวกรรมสีเขียวถือกำเนิดเม􀃱อปี 2001
โดย Paul Anastas et al. [3] เป็ นการนำหลักการ “เคมีสเี ขียว (Green
Chemistry)” มาปรับปรุงและพัฒนาจนเกิดเป็ นแนวคิดวิศวกรรมสีเขียวขึน ้
นอกจากนี้แนวคิดวิศวกรรมสีเขียวและเคมีสเี ขียวได ้ถูกนำมาพัฒนาเป็ นแนวคิด
อ􀃱นๆ อีกมากมายเพ􀃱อปกป้ องสิง่ แวดล ้อมและ สุขภาพอนามัย ของมนุษย์ เช่น
เทคโนโลยีสะอาด (Cleantechnology) และ การออกแบบเชิง นิเวศเศรษฐกิจ
(EcoDesign) เป็ นต ้น
12 หลักการของ
Green Engineering [1,4]
• Principle I : Inherent rather than circumstantial
เลือกใช ้วัตถุดบ ิ และแหล่งพลังงานทีป ่ ั จจัยเข ้า (Input) ของกระบวนการผลิตทีไ่ ม่เป็ น
สารอันตรายและเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อมมากทีส ่ ด ่ ะทำได ้ ซึง่ ในการพิจารณา
ุ เท่าทีจ
เลือกใช ้วัตถุดบ ิ และแหล่งพลังงานดังกล่าว ควรพิจารณาครอบคลุมถึงความเป็ น
ไปของการเกิดสาร ประกอบตัวกลาง (Intermediates) ทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ระหว่าง
กระบวนการ
• Principle II : Prevention instead of treatment
ป้ องกันการเกิดมลพิษหรือของเสียตัง้ แต่เริม ่ ต ้นแทนการใช ้วิธก ี ารบำบัด เช่น
การเปลีย ่ นกระบวนการผลิตโดยการปรับเปลีย ่ นเทคโนโลยีการผลิตหรือวัตถุดบ ิ ที่
เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อม เป็ นต ้น
• Principle III : Design for separation
การออกแบบกระบวนการแยก (Separation) หรือการทำให ้บริสท ุ ธิ์ (Purification)
โดยอาศัยคุณลักษณะทางกายภายหรือเคมีของวัสดุนัน ้ เพ􀃱อลดการเพิม ่ ขัน ้ ตอน
ในกระบวนการหรือระบบ เช่น การแยกขวด PET ออกจากขวดประเภท HDPE
ด ้วยน้ำโดยอาศัยความหนาแน่น (Density) ทีแ ่ ตกต่างกันของวัสดุ ซึง่ ในขัน ้ ตอนนี้
ขวด PET จะลอยแยกออกมา เน􀃱องจากมีความหนาแน่นน ้อยกว่าขวด HDPE
• Principle IV : Maximize mass, energy, space and time efficiency
การออกแบบให ้ผลิตภัณฑ์กระบวนการและระบบเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการ
ดำเนินงาน โดยมีการวางแผนและออกแบบให ้มีการใช ้ทรัพยากร พลังงาน และ
ระยะเวลาในการผลิตอย่างคุ ้มค่า เช่น Heat integration ระหว่าง cold และ
hot process
• Principle V : Output-pulled versus input-pushed คือ
การออกแบบให ้ลดการใช ้ทรัพยากรทีเ่ ป็ นปั จจัยเข ้าแต่ยังคงได ้ผลผลิตตามที่
ต ้องการตัวอย่างเช่น การใช ้ป้ ายอิเล็กทรอนิกส์ (RFID Tag) แทนการใช ้บาร์โค ้ด
เพราะ RFID Tag เขียนทับข ้อมูลได ้จึงทำให ้สามารถนำกลับมาใช ้ใหม่ได ้ ซึง่ จะ
ลดต ้นทุนของการผลิตป้ ายสินค ้า (ป้ ายอิเล็กทรอนิกส์สามารถติดตามข ้อมูล
ของวัตถุดบ ิ หรือผลิตภัณฑ์ 1 ชิน ้ ว่า คืออะไร ผลิตทีไ่ หน ใครเป็ นผู ้ผลิต
ผลิตอย่างไร ผลิตวันไหน เม􀃱อไหร่ ประกอบไปด ้วยชิน ้ ส่วนกีช ่ นิ้ และแต่ละชิน ้ มา
จากทีใ่ ด)
• Principle VI : Conserve complexity
การออกแบบผลิตภัณฑ์ต ้องคำนึงถึงต ้นทุนการผลิต และต ้นทุนในการกำจัด
ซากของผลิตภัณฑ์ (End-of-life) ซึง่ ผลิตภัณฑ์ทม ี่ ค ี วามซับซ ้อนมากจะมี
การบริโภคทรัพยากร พลังงาน และเวลาในการผลิต เป็ นจำนวนมาก ดังนัน ้
หากจำเป็ นต ้องผลิตผลิตภัณฑ์ทม ี วามซับซ ้อน องค์กรควรพิจารณาถึงแนว
ี่ ค
ทางการใช ้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ทห ี่ มดอายุการใช ้งานแล ้ว (End-of-life)
โดยการใช ้ซ้ำหรือการนำกลับมาใช ้ใหม่ เป็ นต ้น โดยทั่วไปผลิตภัณฑ์ทม ี่ ี
ความซับซ ้อนมาก เช่น คอมพิวเตอร์มักให ้ความสำคัญกับการนำชิน ้ ส่วนบาง
ประเภทมาใช ้ซ้ำ อาทิเช่น บริษัท IBM ออกแบบตะปูควง (Screw) ชนิดใหม่ โดยใช ้
ตะปูควงแบบเดียวกัน ในการประกอบติดตัง้ เคร􀃱อง PC ซึง่ การออกแบบดังกล่าว
ทำให ้ผลิตภัณฑ์แต่ละรุน ่ มีชน ิ้ ส่วนบางชิน ้ ส่วนทีใ่ ช ้ร่วมกันได ้
• Principle VII : Durability rather than immortality
ออกแบบผลิตภัณฑ์ให ้มีอายุการใช ้งานทีเ่ หมาะสมเพ􀃱อลดผลกระทบสิง่ แวดล ้อม
เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ทซ ี่ อ่ มบำรุงได ้ง่ายเพ􀃱อยืดช่วงอายุการใช ้งานของ
ผลิตภัณฑ์ ซึง่ จะช่วยลดปริมาณของเสียทีจ ่ น
่ ะเข ้าสูข ั ้ ตอนการทำลาย/กำจัดได ้
มาก นอกจากนีก ้ ารออกแบบให ้ง่ายต่อการกำจัดซากผลิตภัณฑ์ภายหลัง
หมดอายุแล ้ว ได ้แก่ ใช ้วัสดุยอ ่ ยสลายได ้ง่าย ไม่ตกค ้างในสิง่ แวดล ้อมเป็ นเวลานาน
เป็ นต ้น
• Principle VIII : Meet need, minimize excess
ไม่ควรออกแบบกระบวนการผลิตทีม ่ ากเกินความจำเป็ น เพราะจะส่งผลให ้มีการใช ้

ทรัพยากรหรือพลังงานอย่างสินเปลือง ตัวอย่างของการออกแบบเกินความ
จำเป็ นในหลักการข ้อนี้ คือ การผลิตจำนวนสินค ้ามากเกินความต ้องการ
ของตลาด (Overcapacity) หรือการเลือกใช ้เทคโนโลยีทม ี่ ต
ี ้นทุนในการผลิต
สูงเกินไป เป็ นต ้น
• Principle IX : Minimize material diversity
การลดความหลากหลายของวัตถุดบ ิ ทีใ่ ช ้ในการผลิตถือว่าเป็ นหลักการสำคัญใน
การออกแบบผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อม เพราะการใช ้วัตถุดบ ิ ทีม่ คี วาม
หลากหลายน ้อยกว่าจะสามารถนำชิน ้ ส่วนต่างๆกลับมาใช ้ซ้ำหรือนำกลับมาใช ้ใหม่
ได ้ง่ายกว่าผลิตภัณฑ์ทม ี่ ค ี วามซับซ ้อนมาก เน􀃱องจากต ้องใช ้หลายขัน ้ ตอน/

กระบวนการในการแยกชินส่วนต่างๆ ทีม ่ คี วามหลากหลายออกจากกัน เช่น
ปั จจุบนั การออกแบบรถยนต์เลือกใช ้วัสดุจำพวกพอลิเมอร์หรือโลหะ (Metal)
ในการผลิต โดยเน ้นการใช ้วัสดุบริสท ุ ธิ์ (Single material) แทนการใช ้โลหะผสม
(Alloy)
• Principle X : Integrate local material and energy flows
ผลิตภัณฑ์ กระบวนการและระบบควรออกแบบให ้มีการใช ้ทรัพยากร (วัตถุดบ ิ และ
พลังงาน) ทีม ่ อ
ี ยูใ่ นสายการผลิตให ้มากทีส ่ ดุ เพ􀃱อให ้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น
ของเสียหรือสารพลอยได ้ (Byproducts) จากกระบวนการ A อาจใช ้เป็ น
วัตถุดบ ิ ของกระบวนการ B ลักษณะดังกล่าวเรียกว่า Mass integration
หรือการผลิตพลังงานแบบ Cogeneration ซึง่ ระบบ cogeneration คือ
กระบวนการใดๆทีแ ่ ปลงพลังงานเชือ ้ เพลิงเป็ นพลังงานไฟฟ้ าและพลังงาน
ความร ้อนได ้ในเวลาเดียวกัน เช่น การเผาไหม ้เชือ ้ เพลิงเพ Nj อเพิม ่ อุณหภูมใิ ห ้น้ำ

กลายเป็ นไอน้ำในหม ้อ Boiler ซึงโดยปกติแล ้วก็จะมี Pressure Reducing Valve
(PRV) เพือ ่ ลดแรงดันไอน้ำลงสูร่ ะดับทีต ่ ้องการใช ้งาน เม􀃱อนำระบบ Cogeneration
มาใช ้ อาจติดตัง้ Steam Turbine แทน PRV ซึง่ สามารถลดแรงดันไอน้ำ
เพ􀃱อนำไปใช ้งานได ้พร ้อมกับได ้ผลพลอยได ้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า เพ􀃱อใช ้ใน
กระบวนการผลิตอืน ่ ๆ ต่อไป [5]
• Principle XI : Design for commercial "Afterlife"
การออกแบบกระบวนการหรือระบบทีส ่ ามารถนำผลิตภัณฑ์ทห ี่ มดอายุการใช ้งาน
แล ้วมาใช ้ประโยชน์ เพือ ่ ลดปริมาณของเสียและเพิม ่ มูลค่าทางเศรษฐกิจ เช่น
การออกแบบขบวนการรีไซเคิลขวด PET โดยการทำปฏิกริ ย ิ ากับสารเมทานอล
ด ้วยความร ้อน ทำให ้ได ้พอลิเอสเทอร์ทส ี่ ามารถใช ้เป็ นวัตถุดบ ิ ตัง้ ต ้นในการผลิต
ขวด PET และสารพลอยได ้จำพวก antifreeze and coolant ทีใ่ ช ้ป้ องกันการ
แข็งตัว และช่วยระบายความร ้อนของน้ำในหม ้อน้ำ เป็ นต ้น
• Principle XII : Renewable rather than depleting
ควรใช ้ทรัพยากรทีส ่ ามารถฟื้ นฟูได ้มากกว่าใช ้ทรัพยากรทีใ่ ช ้แล ้วหมดไป
เพ􀃱อให ้เกิดความยั่งยืนทางวิศวกรรม (Sustainable engineering) เช่น
การใช ้พลังงานลม แสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานความร ้อนใต ้พิภพ
(Geothermal) หรือชีวมวล (Biomass) ในการผลิตไฟฟ้ าเพ􀃱อใช ้ในกระบวนการ
ผลิตแทนการใช ้เชือ ้ เพลิงจำพวกถ่านหิน หรือก๊าซธรรมชาติ เป็ นต ้น
ประโยชน์ของวิศวกรรมสีเขียว
12 หลักการของ Green Engineering เปรียบเสมือนเคร􀃱องมือ
ทีช ่ ว่ ยในการประเมินให ้การออกแบบผลิตภัณฑ์ กระบวนการ และระบบมีความ
เหมาะสมและยั่งยืนมากทีส ่ ด

• ลดการเกิดมลพิษจากกระบวนการนำกลับมาใช ้ใหม่และใช ้ซ้ำ และมีการจัดสรร
และใช ้ทรัพยากรอย่างคุ ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด
• เพิม ่ ประสิทธิภาพการผลิตและกำไรจากการประหยัดวัตถุดบ ิ และพลังงาน
อันนำไปสูก ่ ารลดต ้นทุนการผลิตซึง่ เป็ นการเพิม ่ กำไรและขีดความสามารถ
ในการแข่งขัน
• มีผลิตภัณฑ์ทเี่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล ้อมมากขึน ้ เนือ ่ งจากต ้องมีการแข่งข ้นใน
ระดับสากล เพือ ่ ยกระดับคุณภาพของผลิตภัณฑ์
เอกสารอ ้างอิง
[1] Anastas, P.T. and Zimmerman, J.B. (2003) ‘Design Through the 12 Principles
of Green Engineering’, Environmental Science and Technology. March
1, 2003, ACS Publishing.
[2] Retrieved from “http://www.epa.gov/oppt/greenengineering/”
[3] Anastas, P. T. and Warner, J. C. (1998) Green Chemistry: Theory and
Practice, Oxford University Press, New York.
[4] Anastas, P.T., Heine, P.T. and Williamson, T.C. (2001) Green Engineering:
Introduction, American Chemical Society, Oxford University Press, Oxford.
[5] จิระ อาชายุทธการ และพงษ์ศก ั ดิ์ มฤคทัต. การตรวจวัดประสิทธิภาพกระบวนการผลิต
Cogeneration สำหรับ SPP และ VSPP, การไฟฟ้ าฝ่ ายผลิตแห่งประเทศไทย, 2550.
วิศวกรรมสีเขียว....การออกแบบและพัฒนากระบวนการทีม ่ คี วาม
ยั่งยืนทางวิศวกรรม เพ􀃱อให ้การใช ้วัตถุดบ ิ พลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและก่อให ้เกิดผลกระทบความเสีย ่ งต่อมนุษย์และ

สิงแวดล ้อมน ้อยทีส ่ ด ุ

You might also like