You are on page 1of 59

บทสวดมนต

ทําวัตรเชา – เย็น และสวดมนตแปล


สําหรับรายการ สามเณร ปลูกปญญาธรรม ป ๕

สารบัญ

คําบูชาพระรัตนตรัย
คําทําวัตรเช้ า
คําทําวัตรเย็น
บทสวดทํานองสรภัญญะ
บทสวดมนต์พิเศษ
บารมี ๓๐ ทัศ
คาถาโพธิบาท
บทมงคล ๓๘ ประการ
บทสรภัญญะ..พระคุณครู
บทสรภัญญะ..กราบไหว้ พระคุณบิดามารดา
ปณิธานของลูกพุทธบุตร
บทแผ่เมตตาให้ แก่ตนเอง
บทแผ่เมตตาให้ สรรพชีวิตทังหลาย

บทกรวดนํ ้าอุทิศบุญ (โดยย่อ)
1
บทอุทิศบุญกุศล (แบบเต็ม)
บทกรวดนํ ้าอุทิศบุญตอนเย็น (บทใหญ่)
บทอนุโมทนา อํานวยพร (แปล)
บทอํานวยพร ทํานองสรภัญญะ
บทพิจารณาอาหาร
คําถวายสังฆทานสามัญ
คําถวายทาน (แบบย่อ)
คําอธิฐานก่อนตักบาตร
คํากรวดนํ ้าอุทิศบุญ (โดยย่อ)
คําอาราธนาศีล ๕
คําแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
คําอาราธนาพระปริ ตร
คําอาราธนาธรรม
ข้ อคิดคติธรรม คํากลอนสอนใจ
คุณธรรมนําเด็กไทยสูค่ วามเป็ นเลิศ
อุดมการณ์ของลูกพุทธบุตร
สามเณร คือ เหล่ากอของสมณะ
วิธีเรี ยนที่ดี
หัวใจนักปราชญ์
อยูท่ ี่ใจของเรา
2
สําคัญที่ใจใฝ่ ดี
จงมี..จงเป็ น..จงเจริ ญ
อานิสงส์ของการไหว้ พระสวดมนต์
อานิสงส์ของการฝึ กเจริ ญสติ นัง่ สมาธิ
บรรณานุกรม

3
คําบูชาพระรั ตนตรั ย
อะระหัง (รับพร้ อมกัน) สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้ า, เป็ นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลส
เพลิงทุกข์สิ ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
ข้ าพเจ้ าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้ า, ผู้ร้ ู ผู้ตนื่ ผู้เบิก บาน. (กราบ)
สวากขาโต (รับพร้ อมกัน) ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมเป็ นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้ า ตรัสไว้ ดแี ล้ ว,
ธัมมัง นะมัสสามิ.
ข้ าพเจ้ านมัสการพระธรรม. (กราบ)
สุปะฏิปันโน (รับพร้ อมกัน) ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า ปฏิบตั ิดีแล้ ว,
สังฆัง นะมามิ.
ข้ าพเจ้ านอบน้ อมพระสงฆ์. (กราบ)
บทนอบน้ อมนมัสการพระพุทธเจ้ า
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต
ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส. )
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต,
4
ขอนอบน้ อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้ า, พระองค์นน,
ั้
อะระหะโต, ซึง่ เป็ นผู้ไกลจากกิเลส,
สัมมาสัมพุทธัสสะ.
ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง.
(๓ จบ)

คําทําวัตรเช้ า
(บทพุทธาภิถุต)ิ
(หันทะ มะยัง พุทธาภิถตุ งิ กะโรมะ เส)

โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจ้ านัน้ พระองค์ใด


อะระหัง, เป็ นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ, เป็ นผู้ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปั นโน, เป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต, เป็ นผู้ไปแล้ วด้ วยดี
โลกะวิท,ู เป็ นผู้ร้ ูโลกอย่างแจ่มแจ้ ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
เป็ นผู้สามารถฝึ กบุรุษที่สมควรฝึ กได้

5
อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เป็ นครูผ้ สู อน ของเทวดา
และมนุษย์ทงหลาย ั้
พุทโธ, เป็ นผู้ร้ ู ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้ วยธรรม
ภะคะวา, เป็ นผู้มีความจําเริ ญ จําแนกธรรม
สัง่ สอนสัตว์
โย อิมงั โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพรัหมะกัง,
สัสสะมะณะ พราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง
อะภิญญูา สัจฉิกตั วา ปะเวเทสิ,
พระผู้มีพระภาคเจ้ าพระองค์ใด, ได้ ทรง
ทําความดับทุกข์ให้ แจ้ งด้ วยพระปั ญญา
อันยิ่งเองแล้ ว, ทรงสอนโลกนี ้พร้ อมทัง้
เทวดา, มาร, พรหม, และหมูส่ ตั ว์พร้ อม
ทังสมณะพราหมณ์
้ , พร้ อมทังเทวดาและ

มนุษย์ให้ ร้ ูตาม
โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผู้มีพระภาคเจ้ าพระองค์ใด,
ทรงแสดงธรรมแล้ ว
อาทิกลั ยาณัง, ไพเราะในเบื ้องต้ น
มัชเฌกัลยาณัง, ไพเราะในท่ามกลาง

6
ปะริ โยสานะกัลยาณัง, ไพเราะในที่สดุ
สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริ ปณ ุ ณัง
ปะริ สทุ ธัง พรัหมะจะริ ยงั ปะกาเสสิ,
ทรงประกาศพรหมจรรย์ คือ แบบแห่ง
การปฏิบตั ิอนั ประเสริฐ บริ สทุ ธิ์ บริ บรู ณ์
สิ ้นเชิง,พร้ อมทังอรรถะ
้ (คําอธิบาย)
พร้ อมทังพยั้ ญชนะ (หัวข้ อ)
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ,
ข้ าพเจ้ าบูชาอย่างยิ่ง เฉพาะพระผู้มี
พระภาคเจ้ าพระองค์นนั ้
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ,
ข้ าพเจ้ านอบน้ อมพระผู้มีพระภาคเจ้ า
พระองค์นนั ้ ด้ วยเศียรเกล้ า

(กราบระลึกคุณพระพุทธเจ้ า)

7
(บทธัมมาภิถุต)ิ
(หันทะ มะยัง ธัมมาภิถตุ ิง กะโรมะ เส)

โยโส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,


พระธรรมนันใด, ้ เป็ นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้ าได้ ตรัสไว้ ดีแล้ ว
สันทิฏฐิ โก,
เป็ นสิง่ ที่ผ้ ศู กึ ษาและปฏิบตั ิ พึงเห็นได้ ด้วยตนเอง
อะกาลิโก,
เป็ นสิง่ ที่ปฏิบตั ิได้ และให้ ผลได้ ไม่จํากัดกาล
เอหิปัสสิโก,
เป็ นสิง่ ที่ควรกล่าวกับผู้อนื่ ว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก,
เป็ นสิง่ ที่ควรน้ อมเข้ ามาใส่ตวั
ปั จจัตตัง เวทิตพั โพ วิญญูหิ,
เป็ นสิง่ ที่ผ้ รู ้ ูก็ร้ ูได้ เฉพาะตน
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปชู ะยามิ,
ข้ าพเจ้ าบูชาอย่างยิ่ง, เฉพาะพระธรรมนัน้
ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ,
ข้ าพเจ้ านอบน้ อมพระธรรมนัน้ ด้ วยเศียรเกล้ า

8
(กราบระลึกคุณพระธรรม)

บทสังฆาภิถุติ
(หันทะ มะยัง สังฆาภิถตุ งิ กะโรมะ เส)

โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,


สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ านัน้ หมูใ่ ด ปฏิบตั ิดีแล้ ว
อุชปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด, ปฏิบตั ิตรงแล้ ว
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด
ปฏิบตั ิเพื่อรู้ธรรมเป็ นเครื่ องออกจากทุกข์แล้ ว
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด ปฏิบตั ิสมควรแล้ ว
ยะทิทงั , ได้ แก่บคุ คลเหล่านี ้คือ
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแ่ ห่งบุรุษ ๔ คู่ นับเรี ยงตัวบุรุษ ได้ ๘ บุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นัน่ แหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า
9
อาหุเนยโย, เป็ นสงฆ์ควรแก่สกั การะที่เขานํามาบูชา
ปาหุเนยโย, เป็ นสงฆ์ควรแก่สกั การะที่เขาจัดไว้ ต้อนรับ
ทักขิเณยโย,
เป็ นผู้ควรรับทักษิณาทาน
อัญชะลีกะระณีโย,
เป็ นผู้ที่บคุ คลทัว่ ไปควรทําอัญชลี

อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ,


เป็ นเนื ้อนาบุญของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปชู ะยามิ,
ข้ าพเจ้ าบูชาอย่างยิ่ง, เฉพาะพระสงฆ์หมูน่ นั ้
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ,
ข้ าพเจ้ านอบน้ อมพระสงฆ์หมูน่ นั ้ ด้ วยเศียรเกล้ า

(กราบระลึกคุณพระสงฆ์)

10
คําทําวัตรเย็น
(พุทธานุสสติ)
(หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส)
(เชิญเถิด เราทังหลาย
้ ทําซึง่ ความระลึก ถึงพระพุทธเจ้ าเถิด)
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัลยฺ าโณ กิตติสทั โท อัพภุคคะโต,
ก็กิตติศพั ท์อนั งามของพระผู้มีพระภาคเจ้ านัน้
ได้ ฟ้ งไปแล้
ุ วอย่างนี ้ว่า
อิติปิ โส ภะคะวา,
เพราะเหตุอย่างนี ้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้ านัน้
อะระหัง, เป็ นผู้ไกลจากกิเลส
สัมมาสัมพุทโธ,
เป็ นผู้ตรัสรู้ชอบได้ โดยพระองค์เอง
วิชชาจะระณะสัมปั นโน,
เป็ นผู้ถงึ พร้ อมด้ วยวิชชาและจรณะ
สุคะโต, เป็ นผู้ไปแล้ วด้ วยดี
โลกะวิท,ู เป็ นผู้ร้ ูโลกอย่างแจ่มแจ้ ง
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
เป็ นผู้สามารถฝึ กบุรุษที่สมควรฝึ กได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
11
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
เป็ นครูผ้ สู อนของเทวดาและมนุษย์ทงหลาย ั้
พุทโธ, เป็ นผู้ร้ ู ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้ วยธรรม
ภะคะวา ติ. เป็ นผู้มีความจําเริ ญ จําแนกธรรมสัง่ สอนสัตว์ ดังนี ้

(กราบลง แล้ วกล่าวพร้ อมกันว่า..)


กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้ วยกายก็ดี ด้ วยวาจาก็ดี ด้ วยใจก็ดี
พุทเธ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ ากระทําแล้ ว ในพระพุทธเจ้ า
พุทโธ ปะฏิคคัณฺหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระพุทธเจ้ า จงงดซึง่ โทษล่วงเกินอันนัน้
กาลันตะเร สังวะริ ตงุ วะ พุทเธ .
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจ้ า ในกาลต่อไปฯ

12
(บทธัมมานุสติ)
(หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทังหลาย
้ ทําซึง่ ความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด)

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,


พระธรรม เป็ นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้ า ได้ ตรัสไว้ ดีแล้ ว
สันทิฏฐิ โก, เป็ นสิง่ ที่ผ้ ศู กึ ษาและปฏิบตั ิ พึงเห็นได้ ด้วยตนเอง
อะกาลิโก, เป็ นสิง่ ที่ปฏิบตั ิได้ และให้ ผลได้ ไม่จํากัดกาล
เอหิปัสสิโก, เป็ นสิง่ ที่ควรกล่าวกับผู้อนื่ ว่า ท่านจงมาดูเถิด
โอปะนะยิโก, เป็ นสิง่ ที่ควรน้ อมเข้ ามาใส่ตวั
ปั จจัตตัง เวทิตพั โพ วิญญูหี(ฮี) ติ.
เป็ นสิง่ ที่ผ้ รู ้ ูก็ร้ ูได้ เฉพาะตน ดังนี ้

(กราบลง กล่าวคําพร้ อมกันว่า..)


กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้ วยกายก็ดี ด้ วยวาจาก็ดี ด้ วยใจก็ดี
ธัมเม กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ ากระทําแล้ ว ในพระธรรม
ธัมโม ปะฏิคคัณฺหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระธรรม จงงดซึง่ โทษล่วงเกินอันนัน้
13
กาลันตะเร สังวะริ ตงุ วะ ธัมเม.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไปฯ

บทสังฆานุสสติ
(หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทังหลาย
้ ทําซึง่ ความตามระลึกถึงพระสงฆ์เถิด)

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,


สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด, ปฏิบตั ิดีแล้ ว
อุชปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด, ปฏิบตั ิตรงแล้ ว
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด, ปฏิบตั ิเพื่อรู้ธรรม
เป็ นเครื่ องออกจากทุกข์แล้ ว
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า หมูใ่ ด, ปฏิบตั ิสมควรแล้ ว
ยะทิทงั , ได้ แก่บคุ คลเหล่านี ้ คือ

14
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแ่ ห่งบุรุษ ๔ คู,่ นับเรี ยงตัวบุรุษ ได้ ๘ บุรุษ
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นัน่ แหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้ า
อาหุเนยโย, เป็ นสงฆ์ควรแก่สกั การะที่เขานํามาบูชา
ปาหุเนยโย, เป็ นสงฆ์ควรแก่สกั การะที่เขาจัดไว้ ต้อนรับ
ทักขิเณยโย, เป็ นผู้ควรรับทักษิ ณาทาน
อัญชะลีกะระณีโย, เป็ นผู้ที่บคุ คลทัว่ ไปควรทําอัญชลี
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ.
เป็ นเนื ้อนาบุญของโลก, ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี ้

(กราบลง แล้ วกล่าวคําพร้ อมกันว่า..)


กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ด้ วยกายก็ดี ด้ วยวาจาก็ดี ด้ วยใจก็ดี
สังเฆ กุกมั มัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ ากระทําแล้ วในพระสงฆ์
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระสงฆ์ จงงดซึง่ โทษล่วงเกินอันนัน้
กาลันตะเร สังวะริ ตงุ วะ สังเฆ.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระสงฆ์ ในกาลต่อไปฯ
15
บทสวดพระพุทธคุณ

อิติปิ โส (รับพร้ อมกัน) ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชา


จะระณะสัมปั นโน, สุคะโต โลกะวิท,ู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ

บทสวดทํานองสรภัญญะ

องค์ใดพระสัมพุทธ์ (รับพร้ อมกัน) สุวิสทุ ธสันดาน


ตัดมูลเกลสมาร บ มิหม่นมิหมองมัว
หนึง่ ในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว
ราคี บ พันพัว สุวคนธกําจร
องค์ใดประกอบด้ วย พระกรุณาดังสาคร
โปรดหมูป่ ระชากร มละ โอฆกันดาร
ชี ้ทางบรรเทาทุกข์ และชี ้สุขเกษมศานต์
ชี ้ทางพระนฤพาน อันพ้ นโศกวิโยคภัย
พร้ อมเบญจพิธจัก- ษุจรัสวิมลใส
เห็นเหตุที่ใกล้ ไกล ก็เจนจบประจักษ์ จริ ง
กําจัดนํ ้าใจหยาบ สันดานบาปแห่งชายหญิง

16
สัตว์โลกได้ พงึ่ พิง มละบาปบําเพ็ญบุญ
ข้ าขอประณตน้ อม ศิระเกล้ าบังคมคุณ
สัมพุทธการุญ- ญภาพนัน้ นิรันดร ฯ
(กราบ)
บทสวดพระธรรมคุณ
สวากขาโต (รับพร้ อมกัน) ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิ โก,
อะกาลิโก, เอหิปัสสิโก, โอปะนะยิโก, ปั จจัตตัง, เวทิตพั โพ
วิญญูหี (ฮี) ติ ฯ
บทสวดทํานองสรภัญญะ
ธรรมะคือคุณากร (รับพร้ อมกัน) ส่วนชอบสาธร
ดุจดวงประทีปชัชวาล แห่งองค์พระศาสดาจารย์
ส่องสัตว์สนั ดาน สว่างกระจ่างใจมนท์
ธรรมใดนับโดยมรรคผล เป็ นแปดพึงยลและเก้ ากับทังนฤพาน

สมญาโลกอุดรพิสดาร อันลึกโอฬาร พิสทุ ธิ์พิเศษสุกใส
อีกธรรมต้ นทางครรไล นามขนานขานไข
ปฏิบตั ิปริ ยตั ิเป็ นสอง คือทางดําเนินดุจคลอง
ให้ ลว่ งลุปอง ยังโลกอุดรโดยตรง
ข้ า ขอโอนอ่อนอุตมงค์ นบธรรมจํานง
ด้ วยจิต และกาย วาจา ฯ
(กราบ)
17
บทสวดพระสังฆคุณ
สุปะฏิปันโน (รับพร้ อมกัน) ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อุชปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทงั จัต
ตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
อาหุเนยโย, ปาหุเนยโย, ทักขิเณยโย, อัญชลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
บทสวดสวดทํานองสรภัญญะ
สงฆ์ใดสาวกศาสดา (รับพร้ อมกัน) รับปฏิบตั ิมาแต่องค์สมเด็จภควันต์
เห็นแจ้ งจตุสจั เสร็ จบรร- ลุทางที่อนั ระงับและดับทุกข์ภยั
โดยเสด็จพระผู้ตรัสไตร ปั ญญาผ่องใสสะอาดและปราศมัวหมอง
เหินห่างทางข้ าศึกปอง บ มิลําพองด้ วยกาย และวาจา ใจ
เป็ นเนื ้อนาบุญอันไพ- ศาลแด่โลกัย และเกิดพิบลู ย์พนู ผล
สมญาเอารสทศพล มีคณุ อนนต์อเนกจะนับเหลือตรา
ข้ า ขอนบหมูพ่ ระศรา- พกทรงคุณา-นุคณ ุ ประดุจรํ าพัน
ด้ วยเดชบุญข้ าอภิวนั ท์พระไตรรัตน์อนั อุดมดิเรกนิรัติศยั
จงช่วยขจัดโพยภัย อันตรายใดใดจงดับและกลับเสื่อมสูญ ฯ

(กราบ)
18
บทสวดชยสิทธิคาถา

พาหุง (รับพร้ อมกัน) สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธนั ตัง, ครี เมขะลัง


อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง, ทานาทิธมั มะวิธินา ชิตะวามุนินโท, ตันเตชะ
สา ภะวะตุ เต ชะยะสิทธิ นิจจัง ฯ

บทสวดทํานองสรภัญญะ
ปางเมื่อพระองค์ปะระมะพุท- (รับพร้ อมกัน) ธะวิสทุ ธะศาสดา
ตรัสรู้อนุตตะระสะมา- ธิ ณ โพธิบลั ลังก์
ขุนมารสหัสสะพหุพา- หุวิชาวิชิตขลัง
ขี่คีริเมขละประทัง คชะเหี ้ยมกระเหิมหาญ
แสร้ งเสกสะราวุธะประดิษฐ์ กละคิดจะรอนราญ
รุมพลพหลพยุหะปาน พระสมุททะนองมา
หวังเพื่อผจญวะระมุนิน- ทะสุชินะราชา
พระปราบพหลพยุหะมา- ระมเลืองมลายสูญ
ด้ วยเดชะองค์พระทศพล สุวิมลไพบูลย์
ทานาทิธรรมะวิธิกลู ชนะน้ อมมะโนตาม
ด้ วยเดชะสัจจะวะจะนา และนะมามิองค์สาม
19
ขอจงนิกรพละสยาม ชยะสิทธิทกุ วาร
ถึงแม้ จะมีอริ วิเศษ พละเดชะเทียมมาร
ขอไทยผจญพิชิตะผลาญ อริ แม้ นมุนินทร ฯ

(กราบ)

บทสวดมนต์ พิเศษ

บทบารมี ๓๐ ทัศ
ทานะ ปาระมี สัมปั นโน , ทานะ อุปะปารมี สัมปั นโน ,
ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
สีละ ปาระมี สัมปั นโน , สีละ อุปะปารมี สัมปั นโน ,
สีละ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
เนกขัมมะ ปาระมี สัมปั นโน , เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปั นโน ,
เนกขัมมะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
ปั ญญา ปาระมี สัมปั นโน , ปั ญญา อุปะปารมี สัมปั นโน , ปั ญญา
ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
20
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
วิริยะ ปาระมี สัมปั นโน , วิริยะ อุปะปารมี สัมปั นโน ,
วิริยะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
ขันตี ปาระมี สัมปั นโน , ขันตี อุปะปารมี สัมปั นโน ,
ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา,
สัจจะ ปาระมี สัมปั นโน , สัจจะ อุปะปารมี สัมปั นโน ,
สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
อะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปั นโน , อะธิฏฐานะ อุปะปารมี
สัมปั นโน , อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี
กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
เมตตา ปาระมี สัมปั นโน , เมตตา อุปะปารมี สัมปั นโน , เมตตา
ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
อุเปกขา ปาระมี สัมปั นโน , อุเปกขา อุปะปารมี สัมปั นโน ,
อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
ทะสะ ปาระมี สัมปั นโน , ทะสะ อุปะปารมี สัมปั นโน ,
21
ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปั นโน, เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา
อุเปกขา ปาระมีสมั ปั นโน , อิติปิ โส ภะคะวา
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหงั ฯ

คาถาโพธิบาท
(๑) บูระพารัสมิ ง พระพุทธะคุณงั บูรพารัสมิ ง พระธัมเมตัง
บูรพารัสมิ ง พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ ั ชัยเย
สัพพะทุกข์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห์
เสนียดจัญไร วิวญ ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม
รักขันตุ สุรักขันตุ ฯ

รอบต่อไปให้ เปลี่ยนจาก (๑) บูรพารัสมิ ง เป็ น


(๒) อาคเนย์รสั มิ ง (๓) ทักษิ ณรัสมิ ง (๔) หระดีรสั มิ ง
(๕) ปั จจิ มรัสมิ ง (๖) พายัพรัสมิ ง (๗) อุดรรัสมิ ง
(๘) อิ สานรัสมิ ง (๙) ปะฐวีรสั มิ ง (๑๐) อากาศรัสมิ ง ฯ
ตามลําดับ.

22
คําแปล (คาถาโพธิบาท)
ขอพระคุณของพระพุทธเจ้ า พระธรรม พระสงฆ์
จงมาปกป้องคุ้มครองในทิศบูรพา จนถึง ทิศอากาศ,
ขอให้ ทกุ ข์ โรค ภัย จงสูญหายไป ขอให้ ทกุ ข์ทงปวง
ั้
โศกทังปวง
้ โรคทังปวง
้ ภัยทังปวง
้ เคราะห์หามยามร้ าย
เสนียดจัญไรทังปวง้ จงสูญหายไป, ขอให้ ทรัพย์ทงปวงั้
ลาภทังปวง
้ จงเกิดแก่ข้าพเจ้ า ขออานุภาพแห่งพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ และสิ่งศักดิ์ทงปวง ั ้ จงมาปกปั กรักษาด้ วยเถิดฯ
บทมงคลสูตร (ทางแห่งความเจริ ญ ๓๘ ประการ)

พะหู เทวา มนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง,


เทวดาองค์หนึง่ ได้ กราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้ าว่า, หมูเ่ ทวดาและ
มนุษย์ทงหลาย,
ั้ มุง่ หมายความเจริ ญก้ าวหน้ า, ได้ คิดถึงเรื่ องงคลแล้ ว,
อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะมัง,
ขอพระองค์ทรงบอกทางมงคลอันสูงสุดเถิด, พระผู้มีพระภาคเจ้ าทรงตรัส
ตอบดังนี ้ว่า,
อะเสวะนา จะ พาลานัง, การไม่คบคนพาล
ปั ณฑิตานัญจะ เสวะนา, การคบกับบัณฑิต
ปูชา จะ ปูชะนียานัง, การบูชาต่อบุคคลผู้ควรบูชา

23
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสามอย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ, การอยูใ่ นประเทศอันสมควร
ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา, การเป็ นผู้มีบญ ุ ได้ ทําไว้ ก่อนแล้ ว
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ, การตังตนไว้
้ ชอบ (ทําพูดคิดสุภาพ)
เอตัมมังคละมุตตะมัง, กิจสามอย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
พาหุสจั จัญ จะ, การเป็ นผู้ได้ ยินได้ ฟังมาก
สิปปั ญ จะ, การมีศีลปวิทยา
วินะโย จะ สุสิกขิโต, วินยั ที่ศกึ ษาดีแล้ ว
สุภาสิตา จะ ยา วาจา, วาจาที่เป็ นสุภาษิต
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสี่อย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
มาตาปิ ตุอปุ ั ฎฐานัง, การบํารุงเลี ้ยงมารดาบิดา
ปุตตะทารัสสะ สังคะโห, การสงเคราะห์บตุ รและภรรยา
อะนากุลา จะ กัมมันตา, การงานที่ไม่ยงุ่ เหยิงสับสน
เอตัมมังคะลมุตตะมัง, กิจสามอย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
ทานัญ จะ, การบําเพ็ญทาน
ธัมมะจะริ ยา จะ, การดํารงตนอยูใ่ นธรรม
ญาตะกานัญจะ สังคะโห, การสงเคราะห์หมูญ ่ าติ
อะนะวัชชานิ กัมมานิ, การงานอันปราศจากโทษ
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสี่อย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
24
อาระตี วิระตี ปาปา, การงดเว้ นจากบาปกรรม
มัชชะปานา จะ สัญญะโม, การยับยังใจไว้
้ ได้ จากการดื่มนํ ้าเมา
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ, การไม่ประมาทในธรรมทังหลาย้
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสามนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
คาระโว จะ, ความเคารพ
นิวาโต จะ, ความอ่อนน้ อมถ่อมตน
สันตุฏฐี จะ, ความพอใจในสิ่งที่มี ยินดีในสิ่งที่ได้
กะตัญญุตา, ความกตัญญู
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง, การได้ ฟังธรรมตามกาล
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจห้ าอย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
ขันตี จะ, ความอดทน
โสวะจัสสะตา , ความเป็ นคนว่าง่ายสอนง่าย
สะมะนานัญ จะ ทัสสะนัง, การพบเห็นสมณะผู้สงบจากกิเลส
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา, การสนทนาธรรมตามกาล
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสี่อย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
ตะโป จะ, มีความเพียรเผากิเลส
พรัหมะจะริยญั จะ, การประพฤติพรหมจรรย์
อะริ ยะสัจจานะทัสสะนัง, การเห็นความจริ งของพระอริ ยเจ้ า
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ, การทําพระนิพพานให้ แจ้ ง
25
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสี่อย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ, จิตของผู้ใดสงบ มัน่ คง ย่อมไม่หวัน่ ไหว-
จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ, ไปตามกระแสของโลกธรรมทังหลาย, ้
อะโสกัง, เป็ นจิตไม่เศร้ าโศก,
วิระชัง, เป็ นจิตไร้ ธลุ กี ิเลส,
เขมัง, เป็ นจิตเกษมศานต์
เอตัมมังคะละมุตตะมัง, กิจสี่อย่างนี ้ เป็ นมงคลอันสูงสุด
เอตาทิสานิ กัตวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา สัพพัตถะโสตถิง
คัจฉันติ ตันเตสัง มัง คะละมุตตะมันติ.
เทวดาและมนุษย์ทงหลายได้
ั้ กระทํามงคลเหล่านี ้ ให้ มีในตนได้ แล้ ว จึง
เป็ นผู้ไม่พา่ ยแพ้ ในที่ทงปวง
ั้ ย่อมถึงซึง่ ความสวัสดีในทุกสถาน ข้ อนัน้
เป็ นมงคลอันสูงสุด ของเทวดาและมนุษย์ทงหลาย ั้ เหล่านันโดยแท้
้ อิติ
ด้ วยประการฉะนี ้แล ฯ

26
บทสรภัญญะพระคุณครู

ข้ าขอเคารพคุณ ต่อคุณครูผ้ อู ารี


ผู้มีใจอาทร ได้ สงั่ สอนศิษย์เรื่ อยมา
ศิษย์นี ้มีความรู้ เพราะคุณครูให้ วิชา
อบรมด้ วยเมตตา ศิษย์นี ้หนาสํานึกคุณ
ศิษย์นี ้จะตังใจ
้ สมที่ครูได้ เกื ้อหนุน
ทําดีตอบแทนคุณ ต่อคุณครูทกุ ๆคน
ให้ คณุ ครูมีความสุข อย่าได้ ทกุ ข์หว่ งกังวล
ลูกศิษย์ทกุ ๆ คน ให้ กศุ ลคุ้มครองครู
สุขภาพพลานามัย จิตผ่องใสไม่อดสู
ก้ มกราบไหว้ คณ ุ ครู ผู้มีคณ ุ ของศิษย์เอย (ซํ ้า)

27
บทสรภัญญะ..กราบไหว้ พระคุณบิดามารดา
ข้ าขอกราบไหว้ คณ
ุ พระบิดาและมารดา
เลี ้ยงลูกเฝ้ารักษา แต่ก่อนมาจึงเป็ นคน (ซํ ้า)
แสนยากลําบากกาย ไม่คิดยากลําบากตน
ในใจให้ กงั วล อยูด่ ้ วยลูกทุกเวลา (ซํ ้า)
ยามกินถ้ าลูกร้ อง ก็ต้องวางวิ่งมาหา
ยามนอนไม่เต็มตา พอลูกร้ องก็ต้องดู (ซํ ้า)
ตัวเรื อดยุงไรมด จะกวนกัดรีบอุ้มชู
อดกินอดนอนสู้ ทนลําบากหนักไม่เบา (ซํ ้า)
คุณพ่อแม่มากนัก เปรี ยบนํ ้าหนักยิ่งภูเขา
แผ่นดินทังหมดเอา
้ เปรี ยบคุณท่านไม่เท่าทัน (ซํ ้า)
เหลือที่จะแทนคุณ ของท่านนันใหญ่้ อนันต์
เว้ นไว้ แต่เรี ยนธรรม เอามาสอนพอผ่อนบุญ (ซํ ้า)
สอนธรรมที่จริ งใจ รูปไม่เที่ยงไว้ เป็ นทุน
แล้ วจึงแสดงคุณ ให้ เห็นจริ งตามทํานอง (ซํ ้า)
นัน่ แหละจึงนับได้ ว่าสนองซึง่ คุณนา
แทนข้ าวที่ป้อนมา และนํ ้านมที่ดื่มกิน (ซํ ้า)
แทนคุณประการอื่น ร้ อยพันหมื่นเป็ นอาจิณ
อย่างใดก็ไม่สิ ้น พระคุณนันอนั ้ นต์เอย (ซํ ้า)
28
ปณิธานของลูกพุทธบุตร
ขอตังจิ
้ ต ปณิธาน อย่างหาญกล้ า ดวงจิตข้ า จะคงมัน่ ไม่หวัน่ ไหว
จะนับถือ สักการะ พระรัตนตรัย ทังกายใจ้ แน่วแน่ ไม่แปรปรวน
จะปฏิบตั ิ ตามหลักธรรม คําสอนสัง่ เพื่อเหนี่ยวรัง้ ดวงใจ ไม่ผนั ผวน
แม้ จะมี ผู้ใด มุง่ ใฝ่ ชวน จะไม่ดว่ น เปลี่ยนใจ ไปศรัทธา
จะแน่วแน่ ซื่อตรง องค์พทุ ธะ ด้ วยสัจจะ ยึดมัน่ พระศาสนา
จะทําทาน รักษาศีล ภาวนา ขอสัญญา ถือตรัยรัตน์ เป็ นฉัตรชัย
จะศึกษา คุณธรรม น้ อมนําจิต สิง่ ใดผิด พร้ อมปรับปรุง และแก้ ไข
เพื่อเลื่อนชัน้ ตัวเอง สูงขึ ้นไป ยกตนให้ สูงค่า กว่าคําคน
ต่อไปนี ้ มีชื่อว่า “พุทธบุตร” ไม่ยงหยุ
ั ้ ด ตังใจ
้ ใฝ่ ฝึ กฝน
จะรักเกียรติ และศักดิศ์ รี ความดีตน เพื่อทุกคน เอาอย่าง ในทางดี
จักเดินตาม รอยบาท องค์พระพุทธ พุทธบุตร ย่อมตระหนัก ในศักดิศ์ รี
ไม่กระทํา สิง่ ตํ่าทราม ความอัปรี ย์ จักทําดี ด้ วยกาย วาจาใจ
จักช่วยเหลือ ผู้อื่น ให้ พ้นทุกข์ เป็ นความสุข ของชีวติ จิตแจ่มใส
ทําความดี โดยไม่หวัง ผลจากใคร แต่ทําเพื่อ ยกจิตใจ ให้ ถงึ ธรรม
สุดท้ ายนี ้ ลูกขอยํ ้า ในคํามัน่ ตามปณิธาน อย่างมัน่ ใจ ไม่ถลํา
แม้ มีทกุ ข์ ปางตาย ไม่ทิ ้งธรรม รักษาความเป็ นพุทธบุตรสุดชีพเอย.

29
บทแผ่ เมตตา

คําแผ่ เมตตาให้ แก่ ตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ, ขอให้ ข้าพเจ้ าจงมีความสุข


นิททุกโข โหมิ, จงปราศจากความทุกข์
อเวโร โหมิ, จงปราศจากเวร
อัพยาปั ชโฌ โหมิ, จงปราศจากอุปสรรคอันตราย
และการเบียดเบียนทังปวง้
อะนีโฆ โหมิ, จงปราศจากความทุกข์กายทุกข์ใจ
สุขี อัตตานัง ปะริ หะรามิ. จงมีความสุขกาย สุขใจ
รักษาตนให้ พ้นจากทุกข์ภยั ทังสิ
้ ้นเทอญฯ

คําแผ่ เมตตาให้ สรรพชีวติ ทัง้ หลาย


สัพเพ สัตตา, สัตว์ทงหลาย
ั้ ที่เป็ นเพื่อนทุกข์
เกิด แก่ เจ็บ ตาย,ด้ วยกันทังหมดทั
้ งสิ
้ ้น
อะเวรา โหนตุ, จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด, อย่าได้ มีเวรต่อกัน
และกันเลย,
อัพยาปั ชฌา โหนตุ จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด

30
อย่าได้ พยาบาท เบียดเบียน
ซึง่ กันและกันเลย,
อะนีฆา โหนตุ, จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด,
อย่าได้ มีความทุกข์กาย ทุกข์ใจเลย,
สุขี อัตตานัง ปะริ หะรันตุ. จงมีความสุขกาย สุขใจ
รักษาตนให้ พ้น จากทุกข์ภยั ,
ทังสิ้ ้นเทอญ ฯ

คํากรวดนํา้ อุทศิ บุญ (โดยย่ อ)


อิทงั เม (โน) ญาตีนงั โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย.
คําแปล
ขอส่วนบุญนี ้, จงสําเร็จแก่ญาติทงหลาย
ั้ ของข้ าพเจ้ า,
ขอให้ ญาติทงหลาย
ั้ ของข้ าพเจ้ า, จงมีความสุขเถิดฯ

ข้ าพเจ้ า ขอตังจิ
้ ต อุทิศผล บุญกุศล นี ้แผ่ไป ให้ ไพศาล
ถึงมารดา บิดา ครูอาจารย์ ้ กหลาน ญาติมิตร สนิทกัน
ทังลู
ประชาชน ทัว่ ไป ทังไกลใกล้
้ ขอให้ ได้ ในกุศล ผลของฉัน
ทังเจ้
้ ากรรม นายเวร และเทวัญ ขอทุกท่าน ได้ กศุ ล ผลนี ้เทอญ.

31
คําอุทศิ บุญกุศล (แบบเต็ม)
อิทงั เม มาตาปิ ตูนงั โหตุ,
ขอส่วนบุญนี ้ จงสําเร็จแก่มารดาบิดาของข้ าพเจ้ า
สุขิตา โหนตุ มาตาปิ ตะโร
ขอให้ มารดาบิดาของข้ าพเจ้ า จงมีความสุข
อิทงั เม ญาตีนงั โหตุ
ขอส่วนบุญนี ้จงสําเร็ จแก่ญาติทงหลายของข้
ั้ าพเจ้ า
สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอให้ ญาติทงหลายของข้
ั้ าพเจ้ า จงมีความสุข
อิทงั เม คะรูปัชฌายาจะริ ยานัง โหตุ
ขอส่วนบุญนี ้ จงสําเร็จแก่ครูอปุ ั ชฌาย์ อาจารย์ ของข้ าพเจ้ า
สุขิตา โหนตุ คะรูปัชฌายาจะริ ยา
ขอให้ ครูอปุ ั ชฌาย์ อาจารย์ ของข้ าพเจ้ าจงมีความสุข
อิทงั สัพพะเทวะตานัง โหตุ
ขอส่วนบุญนี ้ จงสําเร็ จแก่เทวดาทังหลาย

สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
ขอให้ เทวดาทังหลายจงมี
้ ความสุข
อิทงั สัพพะเปตานัง โหตุ
ขอส่วนบุญนี ้ จงสําเร็ จแก่เปรตทังหลาย

32
สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอให้ เปรตทังหลาย
้ จงมีความสุข
อิทงั สัพพะเวรี นงั โหตุ
ขอส่วนบุญนี ้ จงสําเร็จแก่เจ้ ากรรมนายเวรทังหลาย

สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
ขอให้ เจ้ ากรรมนายเวรทังหลาย
้ จงมีความสุข
อิทงั สัพพะสัตตานัง โหตุ
ขอส่วนบุญนี ้ จงสําเร็จแก่สตั ว์ทงหลาย
ั้
สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอให้ สตั ว์ทงหลาย
ั้ จงมีความสุขทัว่ หน้ ากัน เทอญ ฯ

อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (แปล)
บทกรวดนํา้ อุทศิ บุญ บทใหญ่

(หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส)


(เชิญเถิด เราทังหลาย
้ จงสวดบทอุทิศบุญและอธิษฐานเถิด)

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้ วยบุญนี ้ อุทิศให้


อุปัชฌายา คุณตุ ตะรา อุปัชฌาย์ผ้ เู ลิศคุณ
อาจะริ ยปู ะการา จะ และอาจารย์ผ้ เู กื ้อหนุน
33
มาตา ปิ ตา จะ ญาตะกา ทังพ่ ้ อแม่ และปวงญาติ
สุริโย จันทิมา ราชา สูรย์จนั ทร์ และราชา
คุณะวันตา นะราปิ จะ ผู้ทรงคุณ หรื อสูงชาติ
พรัหมะมารา จะ อินทา จะ พรหมมาร และอินทราช
โลกะปาลา จะ เทวะตา ทังทวยเทพ
้ และโลกบาล
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ ยมราช มนุษย์มิตร
มัชฌัตตา เวริ กาปิ จะ ผู้เป็ นกลาง ผู้จองผลาญ
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุขอให้ เป็ นสุขศานติ์
ทุกทัว่ หน้ า อย่าทุกข์ทน
ปุญญานิ ปะกะตานิ เม บุญผองที่ข้าทําจงช่วย
อํานวยศุภผล
สุขงั จะ ติวิธงั เทนตุ ให้ สขุ สามอย่างล้ น
ขิปปั ง ปาเปถะ โว มะตัง ให้ ลถุ งึ นิพพานพลัน
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ด้ วยบุญนี ้ ที่เราทํา
อิมินา อุททิเสนะ จะ และอุทิศ ให้ ปวงสัตว์
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ เราพลันได้ ซึง่ การตัด
ตัณหุปาทานะเฉทะนัง ตัวตัณหา อุปาทาน
เย สันตาเน หินา ธัมมา สิ่งชัว่ ในดวงใจ
ยาวะ นิพพานะโต มะมัง กว่าเราจะถึงนิพพาน

34
นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ มลายสิ ้นจากสันดาน
ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว ทุกๆ ภพที่เราเกิด
อุชจุ ิตตัง สะติปัญญา มีจิตตรงและสติ
ทังปั
้ ญญาอันประเสริฐ
สัลเลโข วิริยมั หินา พร้ อมทังความเพี
้ ยรเลิศ
เป็ นเครื่ องขูดกิเลสหาย
มารา ละภันตุ โนกาสังโอกาสอย่าพึงมี
แก่หมูม่ ารสิ ้นทังหลาย

กาตุญจะ วิริเยสุ เม เป็ นช่องประทุษร้ าย
ทําลายล้ างความเพียรจม
พุทธาธิปะวะโร นาโถ พระพุทธผู้บวรนาถ
ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม พระธรรมที่พงึ่ อุดม
นาโถ ปั จเจกะพุทโธ จะ พระปั จเจกะพุทธสม
สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง ทบพระสงฆ์ที่พงึ่ ผยอง
เตโสตตะมานุภาเวนะ ด้ วยอานุภาพนัน้
มาโรกาสัง ละภันตุ มาขอหมูม่ าร อย่าได้ ช่อง
ทะสะปุญญานุภาเวนะ ด้ วยเดชบุญทังสิ ้ บป้อง
มาโรกาสัง ละภันตุ มาอย่าเปิ ดโอกาสแก่มาร เทอญฯ

35
บทอนุโมทนา อํานวยพร (แปล)

ยะถา วาริ วะหา ปูรา ปะริปเู รนติ สาคะรัง,


ห้ วงนํ ้าที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้ บริ บรู ณ์ได้ ฉันใด,
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ,
ทานที่ทา่ นอุทิศให้ แล้ วในโลกนี ้, ย่อมสําเร็ จประโยชน์
แก่ผ้ ทู ี่ละโลกนี ้ไปแล้ วได้ ฉันนัน,้
อิจฉิตงั ปั ตถิตงั ตุมหัง,
ขออิฏฐะผลที่ทา่ นปรารถนาแล้ ว ตังใจแล้ ้ ว,
ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ,
จงสําเร็จโดยฉับพลัน,
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา,
ขอความดําริ ทงปวงจงเต็
ั้ มที่,
จันโทปั ณณะระโส ยะถา,
เหมือนพระจันทร์ ในวันเพ็ญ,
มะณี โชติระโส ยะถา,
เหมือนแก้ วมณีอนั สว่างไสว ควรยินดี.
สัพพีติโย วิวชั ชันตุ, ความจัญไรทังปวงจงบํ
้ าราศไป,
สัพพะโรโค วินสั สะตุ, โรคทังปวงของท่
้ านจงหาย,
36
มาเตภะวัตวันตะราโย, อันตรายอย่ามีแก่ทา่ น,
สุขี ฑีฆายุโก ภะวะ, ท่านจงเป็ นผู้มีความสุขมีอายุยืน,
อะภิวาทะนะสี ลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน,
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติอายุวณ ั โณ สุขงั พะลัง,
ธรรมสี่ประการคืออายุวรรณะ
สุขะ พละ ย่อมเจริ ญแก่บคุ คล
ผู้มีปกติไหว้ กราบ มีปกติออ่ นน้ อมต่อผู้ใหญ่เป็ นนิจ.

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคลจงมีแก่ทา่ น,


รักขันตุ สัพพะเทวะตา, ขอเหล่าเทวดาทังปวง ้ จงรักษาท่าน,
สัพพะ พุทธา นุภาเวนะ, ด้ วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้ า ทังปวง,

สัพพะ ธัมมา นุภาเวนะ, ด้ วยอานุภาพแห่งพระธรรม ทังปวง,

สัพพะ สังฆา นุภาเวนะ, ด้ วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ ทังปวง,

สะทาโสตถี ภะวันตุเต, ขอความสวัสดีทงหลาย
ั้
จงมีแก่ทา่ น ทุกเมื่อเทอญ.

37
บทอํานวยพร ทํานองสรภัญญะ
สามเณรอํานวยผล แด่หมูช่ นท่านผู้ฟัง
จงสมอารมณ์หวัง ดุจดังอํานวยพร (ซํ ้า)
ขอให้ อายุนนั ้ อยูย่ ืนมัน่ สถาพร
ร้ อยปี อย่ายิ่งหย่อน ได้ เหมือนกลอนพรรณนา (ซํ ้า)
ขอให้ มีผิวกาย พรรณรายงามรจนา
ผ่องใสวิไลตา พิศโสภาน่าชมเชย (ซํ ้า)
ขอให้ มีความสุข นิราศทุกข์แสนเสบย
ธรรมใดที่ได้ เคย อย่าละเลยเลวเสื่อมทราม (ซํ ้า)
ขอให้ มีกําลัง อนันตังมากเหลื
้ อหลาม
เดชาสง่างาม เสร็ จสมตามดังพรเทอญ (ซํ ้า)
บรรดาสามเณร ขอกล่าวกลอนเป็ นทํานอง
ขอบคุณญาติโยมทังผอง ้ ทีมามองเอาใจใส่ (ซํ ้า)
ทําทานด้ วยใจรัก ไม่วา่ หนักแต่อย่างใด
ขอบคุณในนํ ้าใจ เป็ นผู้ให้ เณรพึง่ พา (ซํ ้า)
ปรารถนาสิ่งสิ่งใด ขอให้ ได้ สิ่งนันหนา

เจริ ญในธรรมสัมมา ทุกเวลาตลอดกาล (ซํ ้า)
ทุกข์โศกทังโรคภั
้ ย อันตรายอย่าพ้ องพาน
สุขสันต์ทกุ คืนวัน อายุจิรังดังพรเทอญ (ซํ ้า)

38
บทพิจารณาอาหาร

ปะฏิสงั ขา โยนิโส ปิ ณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ,


เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล้ วฉันบิณฑบาต,
เนวะ ทะวายะ, ไม่ให้ เป็ นไปเพื่อความเพลิดเพลินสนุกสนาน,
นะมะทายะ, ไม่ให้ เป็ นเพื่อความเมามันเกิดกําลังพลังทางกาย,
นะ มัณฑะนายะ, ไม่ให้ เป็ นไปเพื่อประดับ,
นะ วิภสู ะนายะ, ไม่ให้ เป็ นไปเพื่อตกแต่ง,
ยาวะเทวะ อิมสั สะ กายัสสะ ฐิ ติยา,
แต่ให้ เป็ นไปเพียงเพื่อความตังอยู ้ ไ่ ด้ แห่งกายนี ้, ยาปะนายะ,
เพื่อความเป็ นไปได้ ของอัตภาพ,
วิหิงสุปะระติยา, เพื่อความสิ ้นไปแห่งความลําบากทางกาย,
พรัหมะจะริ ยานุคคะหายะ,
เพื่ออนุเคราะห์แก่การประพฤติพรหมจรรย์
อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ,
ด้ วยการทําอย่างนี ้ เราย่อมระงับเสียได้
ซึง่ ทุกขเวทนาเก่า คือความหิว,
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ,
และไม่ทําทุกขเวทนาใหม่ให้ เกิดขึ ้น,

39
ยาตะรา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติ.
อนึง่ เพื่อความเป็ นไปโดยสะดวกแห่งอัตตภาพนี ้ด้ วย,
ความเป็ นผู้หาโทษมิได้ ด้วย, และความเป็ นอยูโ่ ดยผาสุกด้ วย,
จักมีแก่เรา ดังนี ้ ฯ

บทศาสนพิธีต่าง ๆ

คําถวายสังฆทานสามัญ
อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ, สะปะริ วารานิ, ภิกขุสงั ฆัสสะ, โอโณ
ชะยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภิกขุสงั โฆ, อิมานิ ภัตตานิ, สะปะริ วารานิ,
ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.

คําแปล
ข้ าแต่พระสงฆ์ผ้ เู จริ ญ, ข้ าพเจ้ าทังหลาย,
้ ขอน้ อมถวาย,ภัตตาหาร,
กับทังบริ
้ วารทังหลายเหล่
้ านี ้, แด่พระสงฆ์, ขอพระสงฆ์จงรับ, ซึง่
ภัตตาหาร, กับทังบริ
้ วารทังหลายเหล่ ้ านี ้, ของข้ าพเจ้ าทังหลาย,
้ เพื่อ
ประโยชน์และความสุข, แก่ข้าพเจ้ าทังหลาย, ้ สิ ้นกาลนานเทอญ ฯ

40
คําถวายทาน (แบบย่ อ)
สุทินนัง วะตะ เม ทานัง, อาสะวักขะยะวะหัง โหตุ
(ว่า ๓ จบ)
ทานอันเราถวายดีแล้ วหนอ, ขอผลทานนี ้,
จงเป็ นเหตุนํามา ซึง่ ความสิ ้นอาสวะ ด้ วยเทอญ ฯ
คําอธิฐานก่อนตักบาตร
( ตังนะโม
้ ๓ จบ แล้ วกล่าวพร้ อมกันว่า )
ทานของข้ าพเจ้ า บริ สทุ ธิ์ดงั่ ดอกบัว
ยกขึ ้นเหนือหัว บูชาคุณพระพุทธ
บูชาคุณพระธรรม น้ อมนําตักบาตรพระสงฆ์
ด้ วยเจตจํานง มุง่ ตรงพระนิพพาน
ขอให้ พบดวงแก้ ว ขอให้ แคล้ วบ่วงมาร
ขอให้ ถงึ พระนิพพาน ในเร็ ววันอันใกล้ นี ้เทอญฯ

คํากรวดนํา้ อุทศิ บุญ (โดยย่ อ)


อิทงั เม (โน) ญาตีนงั โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย.
(คําแปล) ขอส่วนบุญนี ้, จงสําเร็จแก่ญาติทงหลาย
ั้ ของข้ าพเจ้ า,
ขอให้ ญาติทงหลาย
ั้ ของข้ าพเจ้ า, จงมีความสุขเถิดฯ

41
ข้ าพเจ้ า ขอตังจิ
้ ต อุทิศผล บุญกุศล นี ้แผ่ไป ให้ ไพศาล
ถึงมารดา บิดา ครูอาจารย์ ทังลู
้ กหลาน ญาติมิตร สนิทกัน
ประชาชน ทัว่ ไป ทังไกลใกล้
้ ขอให้ ได้ ในกุศล ผลของฉัน
้ ากรรม นายเวร และเทวัญ
ทังเจ้ ขอทุกท่าน ได้ กศุ ล ผลนี ้เทอญ.

คําอาราธนาศีล ๕
มะยัง ภันเต (วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ) ติสะระเณนะ สะหะ
ปั ญจะ สีลานิ ยาจามะ,
ทุติยมั ปิ มะยัง ภันเต (วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ) ติสะระเณนะ
สะหะ ปั ญจะสีลานิ ยาจามะ,
ตะติยมั ปิ มะยัง ภันเต (วิสงุ วิสงุ รักขะณัตถายะ) ติสะระเณนะ
สะหะ ปั ญจะ สีลานิ ยาจามะ,

คําแปล
ข้ าแต่ทา่ นผู้เจริ ญ, ข้ าพเจ้ าทังหลาย,
้ ขอศีล ๕ พร้ อมทังไตรสรณ

คมน์เพื่อจะรักษา (ต่างๆ กัน หรื อแยกรักษาแต่ละข้ อ) แม้ ครัง้ ที่ ๒ .....
แม้ ครัง้ ที่ ๓.....
หมายเหตุ :- ถ้ าคนเดียวพึงเปลี่ยนคําว่า “มะยัง ”เป็ น “อะหัง”, “ยา
จามะ” เป็ น “ยาจามิ” ถ้ าศีล ๘ ให้ เปลี่ยน “ปั ญจะ” เป็ น “อัฏฐะ”

42
คําแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
เอเต มะยัง ภันเต, สุจิระปะริ นิพพุตมั ปิ , ตัง ภะคะวันตัง, สะระณัง
คัจฉามิ, ธัมมัญจะ, สังฆัญจะ, พุทธมามะโกติ, มัง สังโฆ ธาเรตุ.

ข้ าแต่พระสงฆ์ผ้ เู จริ ญ, ข้ าพเจ้ าทังหลาย,


้ ขอถึงพระผู้มีพระภาค
เจ้ าพระองค์นน,ั ้ แม้ ปริ นิพพานไปนานแล้ ว, ทังพระธรรมและพระสงฆ์
้ ,
เป็ นสรณะที่นบั ถือ, ขอพระสงฆ์จงจําข้ าพเจ้ าไว้ วา่ , เป็ นพุทธมามกะ, ผู้รับ
เอาพระพุทธเจ้ าเป็ นของตน, คือ ผู้นบั ถือพระพุทธเจ้ า ฯ

คําอาราธนาพระปริตร
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปั ตติสิทธิยา
สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริ ตตัง พรูถะ มังคะลัง,
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปั ตติสิทธิยา
สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริ ตตัง พรูถะ มังคะคัง
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปั ตติสิทธิยา,
สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริ ตตัง พรูถะ มังคะลัง

43
คําแปล
ขอพระคุณเจ้ าโปรดสวดพระปริ ตรอันมงคล, เพื่อป้องกันความวิบตั ิ เพื่อ
สําเร็จสมบัตทิ กุ ประการ, เพื่อให้ ทกุ ข์ ภัย โรค อันตรายใดๆ ทุกชนิด, จง
พินาศสูญไป ฯ

หมายเหตุ...ใช้ อาราธนาเวลาพระเจริญพระพุทธมนต์ในงานมงคลต่างๆ.

คําอาราธนาธรรม
พรัหมา จะ โลกาธิปะติ, สะหัมปะติ, กัตอัญชะลี
อันธิวะรัง อะยาจะถะ, สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา,
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกมั ปิ มัง ปะชัง.
คําแปล
ท้ าวสหัมบดี ผู้เป็ นอธิบดีแห่งโลก, ได้ ประคองอัญชลี, ทูล
วิงวอน พระพุทธเจ้ าผู้ประเสริ ฐว่า,สัตว์ผ้ มู ีธุลีในดวงตาน้ อยมีอยูใ่ นโลก,ขอ
พระคุณเจ้ าโปรดแสดงธรรมอนุเคราะห์ด้วยเถิด.

หมายเหตุ...ใช้ อาราธนาเวลาพระแสดงธรรมและสวดงานอวมงคล

44
ข้ อคิด คติธรรม คํากลอนสอนใจ
บทที่ ๑
๑. เศษแก้ วบาดคม เศษคารมบาดใจ
คนรูปงาม แต่ถ้าวาจาทรามจะงามสักแค่ไหน
๒. ความสวยสะดุดตา แต่ความดีสะดุดใจ
ความสวยไม่คงที่ แต่ความดีนี ้คงทน
๓. แข็งแรงนันดี้ แต่อย่าแข็งกระด้ าง
อ่อนน้ อมนันดี้ แต่อย่าอ่อนแอ
๔. ความอ่อนน้ อมถ่อมตน ไม่เคยทําให้ คนเสียหาย
วิชาสร้ างอํานาจ มารยาทสร้ างเสน่ห์
๕. วาจาสุภาพเป็ นเสน่ห์ กริ ยาสุภาพน่าเลื่อมใส
วาจาหยาบโลนเป็ นพิษ กริ ยาหยาบคายน่ารังเกียจ
๖. วาจาอ่อนหวาน ลูกหลานใกล้ ชิด
วาจาเป็ นพิษ ญาติมิตรห่างไกล
๗. ผู้ชอบทะเลาะวิวาท ย่อมมีมิตรน้ อย
มีมิตร ๕๐๐ คน นับว่าน้ อยไป
มีศตั รูเพียง ๑ คน นับว่ามากเกินพอ
๘. โกรธให้ เขา เท่ากับจุดไฟเผาใจตนเอง

45
โกรธคือโง่ โมโหคือบ้ า ไม่โกรธดีกว่า ไม่บ้าไม่โง่
๙. จงทําในสิง่ ที่ถกู ต้ อง มากกว่าสิง่ ที่ถกู ใจ
เพราะสิง่ ที่ถกู ใจ ส่วนใหญ่มกั จะไม่ถกู ต้ อง
ฝื นไว้ ..ได้ กําไร ตามใจ..ขาดทุน
๑๐. ทําดี..ย่อมได้ ดี ทําชัว่ ..ย่อมได้ ชวั่
ดีชวั่ ..อยูท่ ี่ตวั ทํา สูงตํ่า..อยูท่ ี่ทําตัว

บทที่ ๒
๑. ไม่มีอะไรยาก ถ้ าหากตังใจจริ
้ ง
ร้ อยปี ฝั น ไม่เท่าหนึง่ วันที่ทําจริ ง
๒. การเรี ยนแม้ เหนื่อยยาก ทนลําบากอย่าท้ อถอย
สุดทางที่รอคอย คืออนาคตอันงดงาม
๓. อดีตไม่ขยัน ปั จจุบนั ไม่ขวนขวาย
อนาคตไม่ต้องทํานาย ลําบากแน่นอน
๔. ความสะดวกสบายทําลายคน ความลําบากสร้ างคน
๕. ความอดทนเป็ นรากฐาน ของการสร้ างความดีทกุ ๆอย่าง
ความอดทนทําให้ คนต้ องขมขื่น แต่หวานชื่นเมื่อภายหลัง
๖. ความอดทนทําให้ คนเป็ นคนดี อดทนถึงที่ได้ ดีทกุ คน
๗. ท้ อแท้ ทําให้ หงอยเหงา ท้ อถอยทําให้ พา่ ยแพ้
ทะเลสวยก็เพราะมีคลื่น ชีวติ จะราบรื่ นก็ต้องมีอปุ สรรค
๘. โอกาสดีๆไม่มีบอ่ ย อย่าปล่อยให้ เลยไป
46
ทะเลไม่กลัวฝน คนกล้ าไม่กลัวอุปสรรค
๙. อย่าท้ อแท้ เมื่อถูกหยาม จงพยายามให้ ถงึ ที่สดุ
ชีวติ มันมีขึ ้น..ก็มีลง ยามขึ ้น..อย่าหลง ยามลง..อย่ายอมแพ้
๑๐. เดินเรื อต้ องมีเข็มทิศ ดําเนินชีวติ ก็ต้องมีจดุ หมาย
ระยะทางพิสจู น์ม้า กาลเวลาพิสจู น์คน

บทที่ ๓
๑. ความกตัญญูกตเวที เป็ นเครื่ องหมายของคนดี
ร้ อยความดี ความกตัญญูกตเวทีมาเป็ นที่หนึง่
๒. นรกหรื อสวรรค์ของพ่อแม่ อยูท่ ี่การกระทําของลูก ๆ
เพียงไม่ดื ้ออย่างเดียว ทุกอย่างก็ดีหมด
๓. ชีวติ มีดีจงึ มีคา่ ที่ชีวติ ไร้ คา่ เพราะไร้ ดี
ความดีไม่มีขาย อยากได้ ต้องทําเอง
๔. เจริ ญทางวัตถุ จะคุเป็ นไฟ
เจริ ญทางใจ แจ่มใสใจสงบ
๕. เมาเพศหมดราคา เมาสุราหมดความสําคัญ
เมาการพนันหมดตัว เมาเพื่อนชัว่ หมดดี
๖. การปล่อยตัว ปล่อยใจ และปล่อยเวลาให้ เสียไป
อย่างไร้ ประโยชน์ ถือเป็ นการสูญเสียความมีคา่ ของชีวติ
๗. ทําอะไรตามอารมณ์ ทุกข์ระทมจะตามมา
ทําความดีแล้ วตาย ดีกว่าอยูส่ บาย แล้ วไม่ทําประโยชน์
47
๘. ความสําราญ ที่ไม่มีธรรมเป็ นรากฐาน
ก็คือ ความทุกข์ทรมานที่กําลังรอเวลาอยู่
๙. สติคือเพื่อนแท้ กันแก้ ทกุ ข์ภยั นานา
สติมาปั ญญาเกิด สติเตลิดจะเกิดปั ญหา
๑๐. คิดดี พูดดี ทําดี คบคนดี ไปสูส่ ถานที่ดี ดีแน่นอน
คิดไม่ดี พูดไม่ดี ทําไม่ดี ไปสูส่ ถานที่ ที่ไม่ดี อัปปรี ย์แน่นอน

บทที่ ๔
๑. คนที่ใช้ ชีวติ อย่างคนรวย จะจน
คนที่ใช้ ชีวติ อย่างคนเจียมตน จะรวย
๒. อยากมัง่ มี อย่าดีแต่จา่ ย
ถ้ าขาดความพอดี จะมีแต่เดือดร้ อน
๓. ถ้ ากินเพื่ออิ่ม จะมีปัญหาน้ อย
ถ้ ากินเพื่ออร่อย จะมีปัญหามาก
๔. กินเกินพอดี ไม่กี่ปีก็ไม่มีกิน
พูดดีมีกําไร พูดร้ ายขาดทุน
๕. อยากรวย..ต้ องขยัน อยากไปสวรรค์..ต้ องทําทาน
อยากไปนิพพาน..ต้ องมีสติ
๖. แบ่งกันดี ได้ ดีทกุ คน แย่งกันดี ไม่ได้ ดีสกั คน
แบ่งกันกิน ได้ กินทุกคน แย่งกันกิน ไม่ได้ กินสักคน

48
๗. ไม่อยากผิดหวัง ให้ ระวังความโลภ
ไม่มีเศร้ าโศก ถ้ ามองโลกเป็ นอนิจจัง
๘. คิดให้ จงึ ให้ มีแต่ได้ กบั ได้ คิดเอาจึงให้ จึงมีได้ มีเสีย
๙. ยินดีในสิง่ ที่ตนได้ พอใจในสิง่ ที่ตนมี คือคนที่โชคดีที่สดุ ในโลก
๑๐. เศรษฐกิจพอเพียง คือ พอใจ พอใช้ พอมี พออยู่ พอกิน พอดี
๑๑. กระบวนการของเงินตรา คือ ต้ องรู้จกั หา รู้จกั ห่วง รู้จกั ให้
รู้จกั ใช้ ให้ เกิดประโยชน์

บทที่ ๕
๑. ผู้ให้ สงิ่ ที่ชอบใจ ย่อมได้ รับสิง่ ที่ชอบ
๒. ผู้ให้ ยอ่ มเป็ นที่รัก ผู้ให้ ยอ่ มผูกไมตรี ไว้ ได้
๓. จิตที่คดิ จะให้ เบิกบาน และยิ่งใหญ่ กว่าใจที่คดิ จะรับ
๔. จงเป็ นอยูใ่ ห้ เขารัก จากไปให้ เขาคิดถึง
๕. ถ้ าต้ องการสามัคคีกลมเกลียว ต้ องรู้จกั ให้ อภัยซึง่ กันและกัน
๖. คนดี คือ จิตใจดี ว่านอนสอนง่ายดี
เลี ้ยงง่ายดี กระทําแต่ความดี
๗. ถ้ าอยากมีความสุขในชีวิต
ของมีพิษอย่ากิน ของผิดกฎหมายอย่าทํา
๘. คนชอบโกหก ย่อมไม่มีความสุข
โกหกเพียงครัง้ เดียว ถูกสงสัยตลอดกาล
๙. ทุกข์มีเพราะยึด ทุกข์ยืดเพราะอยาก ทุกข์มากเพราะพลอย
49
ทุกข์น้อยเพราะหยุด..ทุกข์หลุดเพราะปล่อย
๑๐. เหนื่อยกายหลับสนิท เหนื่อยจิตหลับไม่ลง
เหนื่อยก็พกั หนักก็วาง วุน่ แล้ วทําให้ วา่ ง

คุณธรรมนําเด็กไทยสู่ความเป็ นเลิศ

ยึดมัน่ กตัญญู
ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรี ยน
มีความเพียรเสมํ่าเสมอ
ไม่เผลอใจใฝ่ ตํ่า
เชื่อฟั งคําผู้หลักผู้ใหญ่
รักไทยธํารงไทย
ใส่ใจในโลกกว้ าง
ยึดแบบอย่างที่ดี
รู้รักสามัคคีตลอดเวลา
ใช้ ศาสนาดําเนินชีวิต คือสูตรพิชิตความสําเร็จ

50
อุดมการณ์ ของลูกพุทธบุตร

น อนริ ยํ กริ สฺสามิ


ลูกพุทธบุตร จักไม่กระทําสิ่งที่ตํ่าทราม
ลูกพุทธบุตร จักกระทําแต่สิ่งที่ดีงาม
ลูกพุทธบุตร จักช่วยเหลือผู้อื่นให้ พ้นทุกข์
นี ้คือความสุขของพวกเราชาว “พุทธบุตร”

สามเณร คือ เหล่ากอของสมณะ


เราบวชเณร ฝึ กนิสยั ใฝ่ ความดี
เป็ นศักดิ์ศรี เป็ นทายาท พระศาสนา
มีโอกาส สนองคุณ บิดามารดา
เป็ นทางพา ให้ พ้นทุกข์ เราสุขใจ
สามเณร คือเหล่ากอ ของสมณะ พระจอมไตร
เราจะได้ มีวชิ า ผาสุกเอย

51
วิธีเรียนที่ดี

จําขึ ้นใจ ในวิชา ดีกว่าจด


จําไม่หมด จดไว้ ดู เป็ นครูสอน
ทังจดจํ
้ า ทําวิชา ให้ ถาวร
อย่านิ่งนอน รี บจดจํา หมัน่ ทําเอย.

หัวใจนักปราชญ์
ผู้ฉลาด ผู้มีความรอบรู้
สุ. ตังใจฟั
้ งให้ ดี อย่าขี ้เกียจ
จิ. คิดให้ ละเอียด ข้ อสงสัย
ปุ. หมัน่ ถามตามเนื ้อหา ที่ข้องใจ
ลิ. เขียนไว้ เมื่อสงสัย ได้ เปิ ดดู
สุ. นัน่ หรื อคือฟั ง ตังสติ

จิ. ดําริ ตริ ตรอง ต้ องเหตุผล
ปุ. หมัน่ ถามความกังขา อย่านิ่งทน
ลิ. ลิขิตจนจํามัน่ ไม่ฟั่นเฟื อน

52
อยู่ท่ ใี จของเรา
สุขหรื อทุกข์ อยูท่ ี่ใจ มิใช่หรื อ
ถ้ าใจถือ ก็เป็ นทุกข์ ไม่สขุ สม
ถ้ าไม่ถือ ก็เป็ นสุข ไม่ทกุ ข์ตรม
เราอยากได้ ความสุข หรื อทุกข์เอย
ใครชอบ ใครชัง ช่างเถิด
ใครเชิด ใครชู ช่างเขา
ใครเบื่อ ใครบ่น ทนเอา
ใจเรา ร่มเย็น เป็ นพอ

ฉันว่าแล้ ว ในโลกนี ้ มีปัญหา


เขาไม่ดา่ ก็ชื่นชม หรื อเฉยๆ
สามประการ ที่วา่ นี ้ ไม่ผิดเลย
โปรดวางเฉย ใครถือสา จะบ้ าตาย
ก่อนจะทํา สิ่งใด ใจต้ องคิด
ถูกหรื อผิด ทําสิ่งนี ดี้ หรื อไม่
ถ้ าเห็นว่า ไม่ดี มีโทษภัย
ต้ องหาทาง ทําใหม่ ทําให้ ดี
53
คนจะงาม งามนํ ้าใจ ใช่ใบหน้ า
คนจะสวย สวยจรรยา ใช่ตาหวาน
คนจะแก่ แก่ความรู้ ใช่อยูน่ าน
คนจะรวย รวยศีลทาน ใช่บ้านโต

ความอดทน เป็ นสมบัติ ของนักสู้


ความรู้ เป็ นสมบัติ ของนักปราชญ์
ความฉลาด เป็ นสมบัติ ของนักคิด
ความเป็ นระเบียบทุกชนิด เป็ นสมบัติ ของคนดี
อ่อนน้ อมถ่อมกาย จิตใจสุภาพ
ซึมซาบใจชน ผู้คนสรรเสริ ญ
กระด้ างถือดี ไม่มีเจริ ญ
น่ารักเหลือเกิน อ่อนน้ อมถ่อมกาย

สําคัญที่ใจใฝ่ ดี
ตังอก
้ ตังใจ
้ ตังไว้
้ ให้ ดี
ตังแต่
้ บัดนี ้ ขอจง ตังใจ ้
ตังตั ้ ว ตังต้
้ น ตังตน
้ ตังมั
้ น่
54
ฝึ กฝน ใฝ่ ฝั น ฝ่ าฟั น ฝั นใฝ่
อบรม บ่มเพาะ เจาะจิต เจาะใจ
ส่งเสริ ม สอดไส้ สวมใส่ ศีลธรรม
ทําแต่..ความดี ทุกที่..ทุกเวลา สาธุ..สาธุ

จงมี..จงเป็ น..จงเจริ ญ
จง...ยิ ้มแย้ มแจ่มใส
จง...ให้ อภัยทุกผู้
จง...ทําดีแม้ ศตั รู
จง...เป็ นอยูด่ ้ วยเมตตา
จง...มอบความรักแก่ทกุ คน
จง...อย่าดิ ้นรนด้ วยตัณหา
จง...ทํา พูด คิดด้ วยเมตตา
จง...สร้ างปั ญญาให้ กล้ าคม

55
อานิสงส์ ของการไหว้ พระสวดมนต์

๑. ช่วยเสริมสร้ างสติปัญญา ให้ ร้ ูแจ้ งอรรถ แจ้ งธรรมที่กําลังสาธยาย


๒. เป็ นการฝึ กอบรมจิตใจ ให้ สะอาด สว่าง สงบ เกิดสมาธิ ไม่ฟ้ งซ่ ุ าน
๓. เท่ากับได้ เข้ าเฝ้าพระพุทธเจ้ าด้ วยกาย วาจา ใจ ของตนเอง
๔. จิตใจเกิดปี ติ ประณีต เอิบอิ่ม กายสงบระงับ ผ่อนคลาย เป็ นสุข
๕. เป็ นบุญกิริยา เป็ นวาสนาบารมี และเป็ นสุขทางใจ
๖. เป็ นสิริมงคลแก่ชีวิตของตนเอง ครอบครัว และบริ วาร
๗. เป็ นตัวอย่างที่ดีงามแก่อนุชนคนรุ่นหลัง
๘. ช่วยเสริ มสร้ างความพร้ อมเพียง สามัคคีให้ เกิดขึ ้นในหมูค่ ณะ
๙. เป็ นการรักษาวัฒนธรรมประเพณีที่ดีของชาวพุทธให้ คงอยู่
๑๐. เป็ นการต่อยอดอายุพระพุทธศาสนาให้ ยงั่ ยืนสถาพรสืบไป

อานิสงส์ ของการฝึ กเจริญสติ นั่งสมาธิ

๑. ทําให้ จิตใจความสะอาด สว่าง สงบ บริ สทุ ธิ์ ผ่องใส แช่มชื่น


เบิกบาน โปร่ง โล่ง เบาสบาย คลายเครี ยด (เป็ นจิตแห่ง
ความสุข)
๒. ทําให้ มีจิตใจดีงาม มีความอ่อนน้ อมถ่อมตน รู้จกั ละอายชัว่
กลัวบาป มีความเมตตากรุณา รู้จกั เสียสละเอื ้อเฟื อ้ แก่ผ้ อู ื่น
(เป็ นจิตแห่งความดี)
56
๓. ทําให้ มีจิตใจหนักแน่น แน่วแนว เชื่อมัน่ ในตัวเอง มีความอดทน
มุง่ มัน่ พยายาม ไม่วอกแวก ช่วยให้ การเรี ยน และการทํางาน
มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น (เป็ นจิตแห่งความสําเร็ จ)
๔. ส่งเสริ มให้ มีสขุ ภาพร่างกายให้ แข็งแรง มีบคุ ลิกลักษณะ
สง่างาม นุ่มนวล กระฉับกระเฉง กระปรี ก้ ระเปร่า หนักแน่น
มัน่ คง อดทนต่อการทํางาน และการบําเพ็ญภาวนา
๕. ช่วยทําให้ ร่างกายสงบ ระงับ ผ่อนคลาย สมองโปร่งโล่ง
ผิวพรรณผ่องใส แก่ช้า มีอายุยืน ไม่คอ่ ยมีโรคภัยเบียดเบียน
ช่วยทําให้ บรรเทา และหายจากโรคภัยไข้ เจ็บต่างๆ ได้
๖. ช่วยทําให้ การกระทํา หรื อการแสดงออกทางกาย ทางวาจา
เป็ นไปอย่างสุจริ ต ถูกต้ อง เรี ยบร้ อย นุ่มนวล อีกทังยั้ ง
สามารถตัดกิเลสอย่างหยาบ คือ ลด ละ เลิก อบายมุขและสิ่ง
เสพติดได้
๗. ทําให้ ครอบครัวมีความสงบสุข ทุกคนตังมั ้ น่ อยูใ่ นศีลปรองดองกัน
ด้ วยธรรม เด็กเคารพผู้ใหญ่ ผู้ให้ เมตตาเด็ก ทุกคนรักใคร่
สามัคคีเป็ นนํ ้าหนึง่ ใจเดียวกัน
๘. ทําให้ ครอบครัวมีความเจริ ญก้ าวหน้ า เพราะสมาชิกต่างตังใจทํ ้ า
หน้ าที่ของตนโดยไม่บกพร่อง เป็ นผู้มีใจคอหนักแน่น เมื่อมี
ปั ญหาหรื อมีอปุ สรรคอันใด ย่อมร่วมใจกันแก้ ไขปั ญหานันให้ ้ ลลุ ว่ ง
ไปได้
57
๙. ทําให้ เข้ าใจถึงคําสอนของพระพุทธศาสนาได้ อย่างถูกต้ อง
และรู้ซึ ้งถึงคุณค่าของพระพุทธศาสนา ร่วมทังได้
้ ร้ ูเห็นด้ วย
ตนเองว่า การฝึ กสมาธิไม่ใช่เรื่ องเหลวงไหล หากแต่เป็ นหนทาง
เดียวที่จะทําให้ พ้นทุกข์ ตัดกรรม ดับกิเลส จนเข้ าถึงพระนิพพาน
ได้ อย่างแท้ จริ ง
๑๐. ช่วยสืบทอดอายุพระพุทธศาสนาให้ ดํารงอยู่ได้ อย่างแท้ จริ ง

58
บรรณานุกรม
กรมการศาสนา, ระเบียบวิธีสวดมนต์ไหว้ พระสําหรับโรงเรี ยน,
กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๔๕.
กลุม่ พัฒนาจิตเพื่อชีวติ ดีงาม. คูม่ ือสวดมนต์ทําวัตรเช้ า-เย็น,
กรุงเทพฯ : ๒๕๕๔.
นิราลัย, โอวาทท่านอาจารย์พทุ ธทาส แด่..ยุวชน, กรุงเทพฯ :
สํานักพิมพ์ธรรมสภา, ๒๕๓๖.
พระมหาวีระพันธ์ ชุตปิ ั ญโญ, ศาสตร์ และศิลป์แห่งการอบรม,
๒๕๔๖.
มหาวีโรภิกขุ, ทําใจเป็ น ก็เป็ นสุข, กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์พิมพ์ดี,
๒๕๕๔.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, คูม่ ือสวดมนต์ทําวัตร
เช้ า-เย็น แปล, โครงการบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดู
ร้ อน, กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๓.
ศูนย์สืบอายุพระพุทธศาสนาวัดชลประทานรังสฤษฏ์, พรอันประเสริ ฐ
จากหลวงพ่อปํ ญญานันทะ.
สวนโมกขพลาราม ไชยา. คูม่ ืออุบาสกอุบาสิกาสิกา,
กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพ์ธรรมสภา, ๒๕๔๕.

59

You might also like