You are on page 1of 9

สมาร์ ทโฟนเทคโนโลยี 4 G

4 G เทคโนโลยีใหม่ ล่าสุ ด

4 G ความเร็ว 100 Mbps ประเทศไทยมีภาครัฐและเอกชน กระทรวงเทคโนโลยี


สารสนเทศและการสื่ อสาร คณะกรรมการกิจการกระจายเสี ยง กิจการโทรทัศน์และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ ทีโอที กสท.โทรคมนาคม เอไอเอส และดีพีซีเปิ ดบรอดแบนด์ไร้สาย
ความเร็วสู งด้วยเทคโนโลยี 4 G หรื อ Long Term Evolution – LTE โครงการทดสอบเทคโนโลยี
4G แบ่งเป็ น 2 โครงการ คือ โครงการทดสอบและทดลองระบบบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสู ง
Broadband Wireless Access – BWA ในย่านความถี่ 2300 MHz กับโครงการทอสอบและ
ทดลองระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ยคุ ที่ 4 ในย่านความถี่ 1800 MHz เป็ นการทดสอบเชิงเทคนิค
(Technical Trial)

เทคโนโลยี 4 G เป็ นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสู งหรื อเรี ยกว่า Long Term


Evolution (LTE) 4G เป็ นเทคโนโลยีใหม่ที่พฒั นาขึ้นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรับส่ ง
ข้อมูลจากเดิมนัน่ คือ GSM / GPRS /EDGE แสดงเครื่ องหมายตามรู ปที่ 1

โดยเทคโนโลยี 4 G เป็ นเทคโนโลยีที่ต่อยอดจากเทคโนโลยี 3 G ทาให้ 4G หรื อ LTE


เป็ นเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือในยุคที่ 4 ความจริ งเทคโนโลยี 4 G ไม่จาเป็ นต้องเปลี่ยนจาก 3 G
ไป 4 G เพราะเทคโนโลยีหยุดอยูท่ ี่ 3 G HSPA (High Speed Packet Access) พัฒนาการทาง
เทคนิคของมาตรฐานโทรศัพท์เคลื่อนที่ WCDMA เพื่อรองรับการสื่ อสารข้อมูลด้วยอัตรา
ความเร็วที่สูงถือว่าเป็ นเทคโนโลยีที่สมบูรณ์แบบขณะนี้แล้ว การพัฒนาประสิ ทธิภาพทาให้เกิด
เทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น HSUPA หรื อเรี ยกว่า 3.5 G 3.9 G 3 G + เป็ นต้น
4 G เป็ นเทคโนโลยีที่เกิดจากการอับเกรดทางเทคนิค อับเกรดอุปกรณ์กส็ ามารถใช้งานได้แล้ว
เทคโนโลยี 4G เป็ นเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสู งสามารถดาวน์โหลดดาต้าหรื อข้อมูล
ระดับ 100 Mbps และอีกความสามารถการทาความเร็วในการดาวน์โหลดระดับ 1024 Mbps
หรื อ 1 Gbps แสดงอยูร่ ู ปที่ 2

รู ปที่ 1 เครื่องหมายเทคโนโลยี 4G LTE


รู ปที่ 2 4G ความเร็วระดับ 100 Mbps

บริ การ 4 G เร็ วมากในการใช้งานอินเทอร์ เน็ตทัว่ ๆ ไป ส่ วนรัศมีการให้บริ การของ 1 สถานีฐาน


บริ เวณที่โล่งส่ งสัญญาณไปไกลถึง 30 กิโลเมตร ในเมืองภายในตึก ส่ งสัญญาณไปไกลประมาณ 500 เมตร –
1 กิโลเมตร

เทคโนโลยี LTE
เทคโนโลยีของ LTE การใช้งานรับส่ งข้อมูลมีอยู่ 2 ประเภท คือ Time Division Duplex
(TDD) และ Frequency Division (FDD)

Time Division Duplex (TDD) คือ การรับส่ งสัญญาณข้อมูล Downlink และ Uplink ด้วย
ช่วงความถี่เดียวกัน สลับช่วงเวลากันในระยะเวลาที่รวดเร็วมาก

Frequency Division Duplex (FDD) คือ การรับส่ งสัญญาณข้อมูล Downlink และ Uplink
ใช้ความถี่ต่างกัน

รูปที่ 3 โครงสร้ างกรอบ LTE


ความถีข่ องเทคโนโลยี 4G
ความถี่ที่สามารถนามาใช้กบั เทคโนโลยีG4มีมากเช่นย่านความถี่ 2.3GHz และ 2.6GHz

มีการกาหนดมาตรฐานเทคโนโลยี 4G ใช้งานได้ที่ความถี่ยา่ น 1800 MHz และ 700 MHz

เทคโนโลยี 4 G วันแรกของของโลกคือประเทศสวีเดนและนอร์เวย์ โดยโอเปอเรเตอร์ที่


มีชื่อว่า TeliaSonera สิ้ นปี 2555 น่าจะมีเครื อข่ายโอเปอเรเตอร์ท้ งั หมดที่ให้บริ การเครื อข่าย 4 G
มีท้ งั หมดประมาณ 119 รายใน 53 ประเท

4 G ในประเทศไทย
โดยความร่ วมมือเครื อข่าย AIS และดิจิตอลโฟนในเครื อ AIS ร่ วมกับ กสทช. ทีโอที
กสท. และกระทรวงไอซีที โดยทาง AIS ได้ขอทดสอบเครื อข่าย 4 G โครงการทดสอบและ
ทดลองระบบบรอดแบนด์ไร้สายความเร็วสู ง Broadband Wireless Access-BWA บนย่านความถี่
2300 MHz โดย AIS ร่ วมมือกับ TOT ในพื้นที่กรุ งเทพมหานคร จานวนสถานีฐาน 20 แห่งใช้
ความถี่ประเภท Time Division Duplex (TDD) แสดงตามรู ปที่ 4

รู ปที่ 4 พืน้ ทีก่ รุงเทพมหานคร บริเวณกลางใจเมือง


โครงการทดสอบและทดลองระบบโทรศัพท์ เคลือ่ นที่ยุคที่ 4 บนย่ านความถี่ 1800 MHz
โดยดิจิตอลโฟนร่ วมมือกับ กสท. ในพื้นที่จงั หวัดมหาสารคามในเขตมหาวิทยาลัย
มหาสารคามและมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามจานวนสถานีฐาน 8 แห่งใช้ความถี่ในประเภท
Frequency Division Duplex (FDD) แสดงตามรู ปที่ 5

รู ปที่ 5 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยราชภัฏหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

เทคโนโลยี 4 G ทาง dtac มีโครงการขอทดสอบต่อ กสทช. ในย่าน 1800 MHz โดยจาก


งานสัมมนาต่างๆ ทางรัฐบาลและหน่วยงานอย่าง กสทช. รวมไปถึงรัฐวิสาหกิจอย่าง TOT และ
CAT ก็ให้คามัน่ สัญญาว่าจะผลักดันเทคโนโลยี 4 G ให้เกิดขึ้นให้ได้อย่างเร็วที่สุด อาจจะมีการ
ประมูลใบอนุญาต 4G ได้ในปี 2557
บริการและการใช้ งานที่จะเกิดขึน้ ใน 4G
เรื่ องการศึกษา ผูเ้ รี ยนที่อยูท่ ี่อยูใ่ นพื้นที่ห่างไกลมาก ๆ สามารถค้นหาข้อมูลการเรี ยนการ
สอนได้อย่างรวดเร็ว วิดีโอการสอนหรื อการสอนแบบสดให้มาปรากฏอยูท่ ี่หน้าจอได้ทนั ที ทา
ให้การเรี ยนรู ้เท่าเทียมกัน

เรื่ องการแพทย์ ผูใ้ ช้ที่เป็ นคนไข้สามารถส่ งข้อมูล อาการ วิธีรักษาเบื้องต้นทาวิดีโอสอน


การรักษาให้แพทย์ที่อยูพ่ ้นื ที่ห่างไกลอื่นๆ ได้ดูทนั ทีทนั ใดผูเ้ ป็ นหมอสามารถที่จะรับข้อมูลได้
อย่างทันที

เรื่ องความบันเทิง มัลติมีเดียสามารถทางานได้อย่างราบรื่ นและแสดงผลของวิดีโอต่างๆ


ในรู ปแบบของความละเอียดสู งหรื อ HD และการประชุมขององค์กรต่างๆ

เรื่ องการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตในพื้นที่ห่างไกลสามารถทาเป็ น Wi-Fi แสดงตามรู ปที่ 6

รู ปที่ 6 4G การเข้ าถึงอินเทอร์ เน็ตพืน้ ทีห่ ่ างไกลกับ Wi-Fi

4G ออกแบบมาให้บริ การในรู ปแบบเฉพาะจุด เฉพาะพื้นที่ในบริ เวณที่มีความต้องการใช้


งานดาต้าในปริ มาณที่สูงและหนาแน่นมากกว่าอาจจะควบคู่ไปกับการให้บริ การ Wi-Fi ที่
ให้บริ การดาต้าแบบอยูก่ บั ที่เสริ มกับเครื อข่าย 3G ในบริ เวณชานเมืองเป็ นต้น แสดงตามรู ปที่ 7
ส่ วนเรื่ องอุปกรณ์รองรับ 4G สามาร์ทโฟน มีแอร์การ์ดหรื อดองเกิลชิมการ์ดใหม่ ราคายัง
อยูใ่ นระดับที่สูงมาก

สรุ ปเทคโนโลยี 4 G การสื่ อสารความเร็วสู งล่าสุ ด แบบไร้สายเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพ


ยิง่ ขึ้น แสดงตามรู ปที่ 8

รู ปที่ 7 เครือข่ าย 4G ทาควบคู่กนั ไปกับ 3G 2G


รู ปที่ 8 โทรศัพท์ 4G
เอกสารอ้างอิง
ประทีป หาญลิ่วลมวิบูลย์. (2555,มีนาคม). 4G เทคโนโลยีใหม่ล่าสุ ด HOT ISSUE. นิตยสาร

โทรศัพท์เคลื่อนที่ฉบับแรกของประเทศไทย รายเดือน. (ฉบับที่ 121), 032-037

You might also like