You are on page 1of 32

ฏ บ

ิ ต
ั ิ
คูมือป
า ว ะ ฉ ก
ุ เ ฉ น

เม อ
่ ื เ ก ด
ิ ภ

1669

1669
ปจจุบันการเจ็บปวยฉุกเฉิน มีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
ทั้งจากอุบัติเหตุ และจากเจ็บปวยฉุกเฉินดวยโรคอันตราย หรือโรคเรื้อรัง
เชน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ฯลฯ รวมทั้งสถานการณของการ
เกิดภัยพิบัติ หรือสาธารณภัย มีความถี่และรุนแรงมากขึ้น ที่อาจจําเปนตอง
ไดรับการชวยเหลือ ณ จุดเกิดเหตุอยางทันทวงที กอนนําสงสถานพยาบาล

คูมือปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉินนี้ ไดรวบรวมความรูการให
ความชวยเหลือผูปวยฉุกเฉินและขอแนะนําในการปฐมพยาบาลเบื้องตน
ณ จุดเกิดเหตุ และการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน สําหรับประชาชนใชประโยขน
ในการดูแลผูเจ็บปวยฉุกเฉินเบื้องตน ผูจัดทําหวังวาคูมือนี้จะเปนประโยชน
และสามารถนําไปใชไดตามความเหมาะสมตอไป

คณะผูจัดทํา
สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติ

3
สารบัญ

ระบบปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน 5
อาการเจ็บป่วยฉุกเฉิน 6
ขั้นตอนการแจ้งเหตุ 1669 7
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR 8
ประโยชน์ของเครื่อง AED 9
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR + AED 10-11
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 12
กล่องปฐมพยาบาล 13
ภัยพิบัติ 14
ภัยจากพายุ 15
ภัยจากความแห้งแล้ง 16
ภัยจากวัตถุต้องสงสัย 17
ภัยจากน�้ำท่วม 18
ภัยจากแผ่นดินไหว และสึนามิ 19
ภัยจากเหตุเพลิงไหม้ 20
ภัยจากสงครามและความขัดแย้ง 21
ภัยจากน�้ำท่วมเฉียบพลัน 22
ภัยหนาว 23
ภัยจากดินโคลนถล่ม 24
การเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ 25
การซ่อมแซมและฟื้นฟูหลังเกิดภัยพิบัติ 26

4
ระบบปฏิบัติการการแพทยฉุกเฉิน

9661
.รทโ นฉ
ิ เกฉ

1669

5
อาการเจ็บปวยฉุกเฉิน คืออะไร?
การเจ็บปวยฉุกเฉิน หมายถึง การไดรับบาดเจ็บหรือมีอาการเจ็บปวยกะทันหัน
ที่มีผลตอชีวิตหรือการทํางานของอวัยวะสําคัญ จําเปนตองไดรับการตรวจและรักษาอยางทันทวงที
เพื่อปองกันการเสียชีวิตหรืออาการเจ็บปวย บาดเจ็บรุนแรงขึ้น

ลักษณะอาการฉุกเฉินที่ควรโทรแจง 1669

1 หมดสติช็อค
2 3
เจ็บหนาอก สิ่งแปลกปลอม
สะลึมสะลือ หายใจเหนื่อย อุดตันทางเดินหายใจ
เรียกไมรูสึกตัว

4 5 6
ปากเบี้ยว ชักเกร็ง ปวดทองรุนแรง
ออนแรงฉับพลัน ชักกระตุก

7 8
ตกเลือด เจ็บทองคลอด
เลือดออก คลอดฉุกเฉิน
ทางชองคลอด

9 บาดเจ็บจากอุบัติเหตุ
เชน รถชน จมนํ้า
1669
ไฟฟาช็อต ไฟไหม
สัตวมีพิษกัดตอย

6
ขั้นตอนการแจงเหตุ 1669

เมื่อพบเหตุเจ็บปวยฉุกเฉิน
ใหตั้งสติ และโทรแจง 1669

ใหขอมูลวาเกิดเหตุอะไร
มีผูปวยหรือผูบาดเจ็บ
ลักษณะใด
บอกสถานที่เกิดเหตุ
เสนทาง จุดเกิดเหตุ
ใหชัดเจน

บอกเพศ บอกระดับ
ชวงอายุ อาการ ความรูสึกตัว
จำนวนผูปวยผูบาดเจ็บ ของผูปวย

บอกความเสี่ยง ชื่อผูแจง
ที่อาจเกิดซ้ำ เบอรโทรศัพท
เชน อยูกลางถนน ที่สามารถติดตอได
รถติดแก็ส ฯลฯ

ชวยเหลือเบื้องตน รอทีมกูชีพมารับ
ตามคำแนะนำ ผูปวย เพื่อนำสง
ของเจาหนาที่ โรงพยาบาล

7
การชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน CPR

เมื่อตัวทานหรือหากทานพบผูที่มีอาการบาดเจ็บ ปวยฉุกเฉิน

ใหรีบโทรแจงที่สายดวน 1669 ทันที เพื่อใหทีมกูชีพรีบไปทำการ

รักษา ณ จุดเกิดเหตุ และนำสงโรงพยาบาลอยางทันทวงที

นอกจากนี้ ทานควรเรียนรูเรื่องการฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน หรือ

การปมหัวใจ เพื่อชวยชีวิตผูปวยโรคหัวใจขาดเลือดที่หมดสติ

ระหวางที่ทีมกูชีพเดินทางไปยังจุดเกิดเหตุ

5 ขั้นตอนของห วงโซแหงการรอดชีวิต
Chain of Survival

9661
.รทโ นิฉเกฉ

1669

เรียกคนชวย เริ่มการทํา กระตุนไฟฟาหัวใจ ปฏิบัติการชวยชีวิต หลังจาก CPR


และรีบแจง 1669 CPR ในทันที โดยเร็วเมื่อจําเปน จากหนวยกูชีพ ดูแลอยางใกลชิด
ขั้นสูง ในโรงพยาบาล

สพฉ. กําลังรณรงคใหภาครัฐและเอกชนเห็นความสําคัญ
และจัดหาเครื่อง AED ไปติดตั้งยังหนวยงานหรือสถานที่สาธารณะตางๆ

8
ประโยชนของเครื่อง

9
10
การชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน
CPR + AED

.รทโ นิฉเกุฉ

9661
1669
11
การปฐมพยาบาลเบื้องตน 1. กรณีมีบาดแผล

? เปนการชวยเหลือเบื้องตนเทาที่จะทําได ระหวางรอความชวยเหลือจาก 1669


กอนจะสงตอไปยังสถานพยาบาล

แผลฉีกขาด

หลีกเลี่ยงการสัมผัส ทําการหามเลือด สังเกตการเสียเลือด กรณีเปนแผลที่แขน ขา


เลือดของผูปวย โดยใชผาสะอาดหรือ เพิม
่ ถาเลือดออก และไมมีกระดูกหัก
โดยตรงเพื่อปองกัน ผากอซปดบาดแผลไว ไมหยุดใหใชผายืดพัน ใหยกสวนนั้นใหสูง
การติดเชื้อ ทับอีกรอบ

แผลอวัยวะถูกตัดขาด

เก็บอวัยวะที่ขาดใสถุง- แชในภาชนะที่ หามเลือดบริเวณปลาย หามแชลงไป


พลาสติก รัดปาก มีนํ้าผสมนํ้าแข็ง อวัยวะสวนที่ ในนํ้าแข็งโดยตรง
ใหแนน อีกชั้น ถูกตัดขาด

แผลไฟไหมนํ้ารอนลวก

ถอดเสื้อผาและเครื่องประดับที่ถูก ใชนํ้าสะอาดลางแผล หามใชโลชั่น ยาสีฟน


เผาไหมออก ถาไหมติดกับผิวหนัง เพื่อทําความสะอาด หรือยาปฏิชีวนะ
เมื่อถอดอาจมีการดึงรั้ง ลดอาการแสบรอน ทาบนแผลเพราะปดกั้น
ควรตัดเสื้อผาในสวนนั้นออก การระบายและ
หามเจาะตุมพอง

12
การปฐมพยาบาลเบื้องตน

บาดเจ็บทีศ
่ ีรษะ

ทําการหามเลือด ถาเลือดออกมามาก คอยสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงทางสมอง


ดวยวิธีปดแผลโดยตรง ใชผายืด พันรัด เชน ซึมลง ระดับความรูสึกตัวลดลง สับสน
ปวดศีรษะมาก อาเจียนพุงเปนตน

แผลจากวัตถุหักคา

หามดึงวัตถุที่หักคาออก หามเลือดโดยใชผาแหงสะอาด
ยึดวัตถุที่หักคาใหอยูนิ่ง ปดแผลหนาๆ บริเวณรอบวัตถุ

แผลไหมจากสารเคมี

ใชนํ้าสะอาดชําระลาง
โดยใหนํ้าไหลผาน เพื่อลดความเขมขน
ของสารเคมีใหไดมากที่สุด

13
การปฐมพยาบาลเบื้องตน

แผลกระดูกหัก

กรณีไมมีบาดแผล ประคบดวยนํ้าแข็ง
กรณีกระดูกหักและมีแผลเปด มีกระดูกโผล
บริเวณที่ปวดบวมผิดรูป เพื่อลดอาการ
หามดันกระดูกกลับเขาที่เด็ดขาด
ดามกระดูกยึดตรึงสวนที่หักให
หามเลือดตามขั้นตอนเหมือนแผล
อยูนิ่งมากที่สุด
จากวัตถุหักคา

ภาวะช็อก

ภาวะช็อกอาจเกิดจากการเสียเลือดจํานวนมาก จัดทาใหนอนราบ ยกขาสูง


มีอาการเชน ซึม ซีด เหงื่อออก หมผาใหอุน คลายเสื้อผาใหหลวม
ตัวเย็น ชีพจรเบา หายใจเร็ว หามใหอาหารหรือนํ้าจนกวา
คลื่นไสอาเจียน กระหายนํ้า ทีมชวยเหลือจะมาถึง

กรณีเกิดอุบัติเหตุรุนแรง หรือ ตกจากที่สูง

อาจมีการหัก ไมควรยก หรือ


ของกระดูกสันหลังได เคลื่อนยายผูบาดเจ็บ

14
การปฐมพยาบาลเบื้องตน 2. กรณีเจ็บปวยฉุกเฉิน

ผูปวยหอบหืด

ใหผูปวย พาไปยังที่ ถาผูปวยมียาพน หากอาการไมดีขึ้น


นั่งในทาที่สบาย อากาศถายเทสะดวก ใหพนยาที่มีอยู รีบโทรแจง 1669
คลายเสื้อผาใหหลวม

ภาวะกลามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

มีอาการเจ็บแนนหนาอก อาจราวไปที่ใบหนา ปวดกราม อาจมีอาการของระบบประสาท


เหมือนมีอะไรทับหรือ ราวมาถึงสะดือ ปวดจุกแนน เชน หายใจเหนื่อย นอนราบไมได
บีบรัดนานกวา ลิ้นปลามไปที่แขน ไหล เหงื่อออก ใจสั่น คลื่นไสอาเจียน
20 นาที จนถึงปลายนิ้ว หนามืด หมดสติ

เบื้องตนใหนอนพัก สังเกตอาการอยางใกลชิด
ลดการเคลื่อนไหวโดยไมจําเปน ถาพบวาหมดสติ
และโทรแจง 1669 หยุดหายใจใหกดนวดหัวใจตาม
วิธีการชวยฟนคืนชีพขั้นพื้นฐาน
และโทรแจง 1669 ซํ้าอีกครั้ง

15
การปฐมพยาบาลเบื้องตน

ผูปวยหลอดเลือดในสมองแตก/ตีบ/ตัน

มีอาการออนแรง ชาบริเวณใบหนา แขน ขาออนแรง


เรียกดูวารูสึกตัว หรือ
หรือชาครึ่งซีกของรางกาย การพูดผิดปกติ
มีการตอบสนองหรือไม
เชน ลิ้นคับปาก พูดไมชัด อาการมักเกิดขึ้น
ทันทีทันใด รีบโทรแจง 1669 โดยดวน

4
ชม.

ถาระดับความรูสึกตัวลดลง หรือไมรูสึกตัว นําสงโรงพยาบาล


ใหนอนตะแคง ปองกันการสําลัก ที่ใกลที่สุด ภายใน 4 ชั่วโมง

ผูปวยชัก

วางผูปวยนอนบนพื้น หามกดลิ้น งัดปาก หลังหยุดชัก


ปองกันอันตราย หรือยึดตรึงผูปวยขณะชัก ดูแลทางเดินหายใจ
กับสิ่งรอบขาง อาจทําใหเกิดอาการบาดเจ็บ จัดใหนอนตะแคงกึ่งควํ่า

16
กลองปฐมพยาบาล

สำลี
ใชคูกับน้ำเกลือลางแผล
ยาฆาเชื้อ เบตาดีน
แอลกอฮอล

ถุงมือ
เพื่อปองกันมิใหสัมผัสถูกเลือด
อาเจียน สารคัดหลั่งตางๆ

ผาทำแผล (ผากอซ)
ผายืด(อีลาสติกแบนเอด) ใชพันเมื่อเกิด
การบาดเจ็บกลามเนื้อหรือใชพันยึดกับ
กรรไกร/ อุปกรณอื่นๆ เพื่อดามกระดูก
พลาสเตอรเทปปดแผล

ถุงพลาสติก
สำหรับใสเศษขยะ
เชน ผาเปอนเลือด เปนตน

ยา
อาทิ ยาแกปวด ยาแกทองเสีย
ยาแกเมารถ ผงเกลือแร

17
ภัยพิบัติ

การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศโลกในปจจุบันสืบเนื่องมาจากสิ่งแวดลอม
ถูกทําลาย จึงกอใหเกิดภัยพิบัติ ทางธรรมชาติซ่ึงเปนเรื่องใกลตัวมนุษย เกิดขึ้น
บอยครัง้ และนับวันจะทวีความรุนแรงยิง ่ ขึน
้ สรางความเสียหายทัง ้ ตอชีวต
ิ และทรัพยสนิ
ซึ่งเหตุการณและปญหาที่เกิดขึ้นในแตละครั้ง เปนสถานการณที่ไมทันรูตัว หรือรูตัว
แตไมทันเตรียมการในการปองกัน หรือขาดความรู ทักษะและประสบการณ ในการ
เตรียมความพรอมทีจ ่ ะรับมือกับเหตุการณตา ง ๆ ทีเ่ กิดขึน
้ ซึง
่ ประเทศไทยมีความเสีย ่ ง
ตอภัยพิบัติตางๆ อาทิ ภัยนํ้าทวม ดินถลม แผนดินไหว สึนามิ ภัยแลง ฯลฯ ในขณะ
เดียวกันมีประชาชนจํานวนมากที่ไมมีขอมูลสําหรับการเตรียมพรอมรับมือภัยพิบัติ
จึงไมสามารถหาทางปองกันและปฏิบัติตนไดอยางถูกตองเมื่อเกิดภัย

ดังนั้น เพื่อเปนการใหความรูและสรางความตระหนักแกประชาชนเกี่ยวกับ
ภัยพิบัติตางๆ สถาบันการแพทยฉุกเฉินแหงชาติรวมกับสภากาชาดไทยไดพัฒนา
และรวบรวมขอมูลอันเปนประโยชน เพื่อเตรียมพรอมรับมือกับภัยพิบัติ ขึ้น

18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
@niems1669

You might also like