You are on page 1of 12

คำนวณหาฟั งก์ชันของแรงที่ขน

ึ้ อยู่กับเวลาในการทุ่มน้ำหนัก
ของนักกรีฑา
The Calculation of the Force Function based on
the Shot Put of Athletics

นางสาวณัฐธยาน์ ช่วยบำรุง

นางสาวธารารัตน์ สำเนียง

นางสาวปภาวี ชุนเกาะ

ครูที่ปรึกษาหลัก นางอรวรีย์ พันธ์ประยูร และ นางเรียม จันปุญ


นะ

ครูที่ปรึกษาร่วม รศ.ดร.อาทิตย์ หู้เต็ม

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์

บทคัดย่อ

การทุ่มน้ำหนักเป็ นกรีฑาประเภทลานที่อาศัยความแข็งแรงของ
ร่างกายในการขว้างลูกน้ำหนักภายใน วงกลมตามกฎกติกา ซึง่ จะต้องมี
ท่าทางและการออกแรงที่เหมาะสม เพื่อให้การขว้างมีประสิทธิภาพและ
ไปได้ ไกลมาที่สุดตามกติกาและเป็ นผู้ชนะ ดังนัน
้ ทางคณะผู้จัดทำจึง
ออกแบบโมเดลแรงทางคณิตศาสตร์เพื่อหา โมเดลที่ทำให้ลูกทุ่มน้ำหนัก
ถูกขว้างไปได้ไกลที่สุด โดยมีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาแรงที่เป็ นฟั งก์ชัน
ทาง คณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ตามกฎกติกาของลูกทุ่มน้ำ
หนัก 2.เพื่อเปรียบเทียบระยะการกระจัด ของลูกทุ่มในแนวระดับที่เป็ น
ฟั งก์ชันของเวลา การกระจัดของลูกทุ่มในเเนวดิ่งที่เป็ นฟั งก์ชันของเวลา
การกระจัดของลูกทุ่มในเเนวดิ่งที่เป็ นฟั งก์ชันของการกระจัดในแนวระดับ
ซึ่งมีวิธีการดำเนินงานดังนี ้ 1.คำนวณความเร็วเริ่มต้นของผู้
ทุ่มน้ำหนัก เมื่อทุ่มด้วยแรงจากโมเดลแรงทัง้ สามฟั งก์ชันคือ ฟั งก์ชัน sin
cos และพหุนาม 2.คำนวณหาระยะทางในแนวแกน x ที่เป็ นฟั งก์ชันของ
ระยะทางในแนวแกน y ของการเคลื่อนที่ลูกน้ำหนัก และนำมาพล็อตก
ราฟและเปรียบเทียบ ได้ผลดังต่อไปนี ้ 1. แรงที่เป็ นฟั งก์ชันทางคณิตศา
สาตร์ที่สอดคล้องกับการ เคลื่อนที่ตามกฎกติกาของลูกทุ่มน้ำหนัก
มี3 แรง คือ F1 (t)  F0 t sin( t) F2 (t )  F0 cos 3 ( t) และ F3 (t )   (t 2  2t  1) 2.ฟั งก์
2

ชันที่มีระยะการกระจัดในแนวแกน x มากที่สุดคือ ฟั งก์ชัน sin รองลงมา


คือพหุ นามและฟั งก์ชัน cos ตามลำดับ 3.ฟั งก์ชันที่มีระยะการกระจัดใน
แนวแกน y มากที่สุดคือ sin รองลงมาคือ ฟั งก์ชัน cos และพหุนามตาม
ลำดับ ซึง่ สามารถสรุปได้ว่าฟั งก์ชัน sin เป็ นฟั งก์ชันของแรงที่ขน
ึ ้ อยู่กับ
เวลาในการ ทุ่มน้ำหนักของนักกรีฑาที่ทำให้ลูกทุ่มเคลื่อนที่ได้ไกลมากกว่า
ฟั งก์ชันพหุนามและ cos

Abstract
Shot put is a field-type of athletics. This sport relies on
physical strength to putting the shot within the circle
according to the rules. Which must have proper posture and
physical exertion, to make the shot as effective as possible
and go as far as possible. The shot put must follow the rules
to win. Therefore, our team designed the mathematical force
model to find the model that allows putting the shot to be
throw as far as possible. The objectives are as follows: 1. To
study the forces that are mathematical functions
corresponding to the motion according to the Law of Putting
the Shot. 2. To compare the arrangement distance of
throwing in the level that is a function of time. The
displacement of the putting the shot vertically that is a
function of time. The vertical throw displacement that is a
function of horizontal displacement. The method of
operation is as follows: 1. Calculate the initial speed of the
weight-thrower when throwing with force from the force
model. The three functions are the sin cos function and the
polynomial. 2. Calculate the distance in the X-axis as a
function of the Y-axis distance of the ball travel, to plot the
comparison chart, the results are as follows; Forces that are
mathematical functions corresponding to the motion of a
throw-in law has three forces: F1(t)=F0tsin((t)2) ,
F2(t)=F0cos3((t)t) และ F3(t)=(t)K(t2+2t-1). 2. The function with
the largest X-axis displacement is the sin function, followed
by the polynomial and the cos function, respectively. 3. The
function with the greatest displacement in the Y axis is sin,
followed by cos and polynomial functions. In conclusion, the
sin function is a function of the time-dependent force of an
athlete that causes a far greater throw than the polynomial
function and cos.

บทนำ

การทุ่มน้ำหนักเป็ นกรีฑาประเภทลานที่เริ่มต้นครัง้ แรกในกลุ่ม


ประเทศสหราชอาณาจักร และได้รับความนิยมกันมากในไอร์แลนด์และ
สกอตแลนด์ โดยในการแข่งขันจะใช้ก้อนหินขนาดหนักประมาณ 14
ปอนด์รูปทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก์แต่ว่ามีการลบเหลี่ยมและมุมคมๆ ออก
แล้วทุ่ม เพื่อเป็ นการแสดงถึงความแข็งแรงและพละกำลัง ซึ่งปั จจุบันมี
การปรับกฎกติกา อย่างเช่น ผู้เข้าแข่งขันจะต้องเริ่มต้นทุ่มจากท่านิ่ง
ภายในวงกลม ไม่อนุญาตให้วิ่งหรือกระโดดเข้าไปในวงกลม แต่อนุโลมให้
ผู้แข่งขันสัมผัสกับด้านในของขอบวงกลม และกระดานหยุดได้ ลูกน้ำหนัก
จะทุ่มออกไปจากไหล่ ด้วยมือข้างเดียวเท่านัน
้ เมื่อผู้เข้าแข่งขันยืนเพื่อ
เตรียมทุ่มในวงกลม ลูกน้ำหนักจะติดอยู่ที่คอหรือคางและมือต้องไม่ลดต่ำ
ไปกว่านี ้ ในขณะที่ทุ่มออกไป ห้ามเงื้อลูกน้ำหนักออกจนเลยแนวไหล่
ห้ามใช้เครื่องช่วยใด ๆ

ซึ่งในการเล่นดังกล่าวนอกจากผู้เล่นจะมีร่างกายที่มีความกำยำ แข็ง
แรง รวดเร็ว คล่องตัว และมีความสัมพันธ์ทางด้านการประสานงานของ
ร่างกายและกล้ามเนื้ออย่างดี ผู้เล่นจะต้องมีท่าทางและการออกแรงที่
เหมาะสม เพื่อให้การขว้างมีประสิทธิภาพและไปได้ไกลมาที่สุดตามกติกา
และเป็ นผู้ชนะ

ดังนัน
้ ทางคณะผู้จัดทำจึงออกแบบโมเดลแรงทางคณิตศาสตร์เพื่อหา
โมเดลแรงที่ทำให้ลูกทุ้มน้ำหนักถูกขว้างไปได้ไกล เพื่อใช้ในการออกแบบ
ท่าทางการขว้างในการวิจัยต่อไป

วัตถุประสงค์

1. เพื่อหาแรงที่เป็ นฟั งก์ชันทางคณิตศาสตร์ที่สอดคล้องกับการเคลื่อนที่


ตามกฎกติกาของลูกทุ่มน้ำหนัก
2. เพื่อคำนวณการกระจัดของลูกทุ่มในแนวระดับที่เป็ นฟั งก์ชันของ
เวลา,การจัดของลูกทุ่มใน เเนวดิ่งที่เป็ นฟั งก์ชันของเวลา,การกระจัดของ
ลูกทุ่มในเเนวดิ่งที่เป็ นฟั งก์ชันของการกระจัดในแนวระดับ

ประโยชน์
ให้สำหรับคนที่สนใจนำไปศึกษา พัฒนาการขว้างของนักกีฬาทุ่มน้ำหนัก

สมมติฐาน

โมเดลแรงฟั งก์ชันตรีโกนมิติจะทำให้เกิดระยะทางในการเคลื่อนที่แนว
ระดับมากที่สุด

ขอบเขตการศึกษา

1. ด้านเนื้อหา: ศึกษาคณิตศาสตร์ แคลคูลัส 1 เรื่อง การอนุพันธ์, การ


Integration By Part
ศึกษาสมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่งแบบเอกพันธ์และไม่เอกพันธ์,การ
เครื่องที่แบบโพรเจกไทล์และการชนแบบโมเมนตัม
2. ด้านเวลา: 1 เดือน
3. ด้านสถานที่: โรงเรียนวิทยานุกูลนารี ถนนสามัคคีชัย ต.ในเมือง
อ.เมือง
จ.เพชรบูรณ์
4. ด้านงบประมาณ: ไม่เสียค่าใช้จ่าย

วิธีการดำเนินการทดลอง
1.วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือพิเศษที่ใช้ในการคำนวณ ได้แก่ คอมพิวเตอร์
1 เครื่อง ความรู้ทางคณิตศาสตร์ Calculus 1 ความรู้ทางคณิตศาสตร์
First-Order Linear Equation โปรแกรม Python โปรแกรม Math
type

2.คำนวณความเร็วเริ่มต้นของผู้ทุ่มน้ำหนัก เมื่อทุ่มด้วยแรง
F1 (t)  F0 t sin( 2 t) , F2 (t )  F0 cos 3 ( t) , F3 (t)   (t 2  2 t  1)

3.คำนวณหาความเร็วปลาย, ระยะทาง, ในแนวแกน x คำนวณหาเวลาที่


เป็ นฟั งก์ชันของ x คำนวณหาความเร็วปลายในแนวแกน y และระยะ
ทางในแนวแกน y ที่เป็ นฟั งก์ชันของเวลา โดยใช้ภาพ ก

ภาพ ก

4.นำระยะทางในแนวแกน y ที่เป็ นฟั งก์ชันของระยะทางในแนวแกน x


มาพล็อตกราฟด้วยโปรแกรม Python โดยแต่ละ
่ กราฟการใช้ค่าความเร็ว
เริ่มต้นของผู้ทุ่มน้ำหนักต่างกัน 3 ค่า คือค่าความเร็วเริ่มต้นจากแรง
F1 (t)  F0 t sin( 2 t) , F2 (t )  F0 cos 3 ( t) และ F3 (t)   (t 2  2 t  1) จากนัน
้ นำกราฟ
ทัง้ 3 มาเปรียบเทียบหาการเคลื่อนที่มีระยพทางในในแนวแกน x มาก
ที่สุด

สรุปผล

แรงที่เป็ นฟั งก์ชันทางคณิตศาสาตร์ที่สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ตามกฎ


กติกาของลูกทุ่มน้ำหนัก มี 3 แรง คือ F1 (t)  F0 t sin( 2 t) , F2 (t )  F0 cos 3 ( t)

และ F3 (t )   (t  2t  1) ซึ่งมีเขียนกราฟระยะทางในแนวแกน y ที่เป็ น


2

ฟั งก์ชันของระยะทางในแนวแกน x ได้ดงั นี ้

ภาพ(ก) แสดงความสัมพันธ์ของระยะกระจัดใน ภาพ(ข) แสดงความสัมพันธ์ของระยะกระจัดใน


แนวระดับและแนวดิ่งอันเนื่ องมาจากฟังก์ชนั sin แนวระดับและแนวดิ่งอันเนื่องมาจากฟังก์ชนั cos
ภาพ(ค) แสดงความสัมพันธ์ของระยะกระจัดในแนว
ระดับและแนวดิ่งอันเนื่ องมาจากฟังก์ชนั พหุนาม

และจากการเปรียบเทียบกราฟการกระจัดของลูกทุ่มน้ำหนักในแนวดิ่งที่
เป็ นฟั งก์ชันของการกระจัดในแนวระดับ กราฟของฟั งก์ชันที่มีการกระจัด
ในแนวแกน x ที่มากที่สุด คือ กราฟของฟั งก์ชัน sin 27.5 เมตร รองลงมา
คือกราฟของฟั งก์ชันพหุนาม 21 เมตร และกราฟของ ฟั งก์ชัน cos 19.2

เมตร สรุปได้ว่า การขว้างลูกทุ่มน้ำหนักด้วยแรง F1 (t)  F0 t sin( t) ดีกว่า


2

F2 (t )  F0 cos 3 ( t) และ F3 (t )   (t 2  2t  1)

อภิปราย

ผลการทดลองเป็ นไปตามสมมติฐาน เพราะกราฟของฟั งก์ชันพหุ


นามเป็ นกราฟพาราโบลาซึ่งไม่สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของลูกทุ่มน้ำ
หนักที่มีลักษณะคล้ายโพรเจกไทล์ ดังนัน
้ กราฟของฟั งก์ชัน sin ที่มี
ลักษณะคล้ายรูปคลื่นจึงมีการกระจัดในแนวระดับมากกว่า ส่วนการที่
กราฟของฟั งก์ชัน sin มีระยะการกระจัดในแนวระดับมากกว่ากราฟของ
ฟั งก์ชัน cos แม้ว่าทัง้ คู่จะเป็ นกราฟรูปคลื่นเหมือนกันทัง้ คู่ มีอิทธิพลมา
จากการ
ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะการนำผลการศึกษาไปใช้ ในการนำผลการทดลองไป
ใช้อ้างอิง ควรระบุค่าตัวแปรที่ใช้จากการทดลอง เนื่องจากผลการทดลอง
ที่เกิดขึน
้ เกิดจากการใช้ค่า ตัวแปร F =100 ; M=0.18 ; u0=25 ; δ=0.002 ;
g=9.8 ; y0=2 ; θ=3 α=0.008 ้ และการขว้างลูก
; ω=1 ; t1=0.08 ; σ=1 ; เท่านัน

ทุ่มน้ำหนักด้วยแรง F1 (t)  F0 t sin( ดีกว่า F2 (t )  F0 cos 3 ( t) และ


2
t)

F3 (t )   (t 2  2t  1) เพียงแค่ 2 ฟั งก์ชัน ไม่นับฟั งก์ชันอื่นๆ

ข้อเสนอแนะการศึกษาครัง้ ต่อไป ควรเปรียบเทียบกับฟั งก์ชันที่


หลากหลายมากขึน
้ รวมทัง้ ใช้ค่าตัวแปรที่แตกต่าง เพื่อหาฟั งก์ชันแรงที่ดี
ที่สุด

เอกสารอ้างอิง
ถาวร เรืองบุญ ,สุระ วุฒิพรหม (2559) ศึกษาการออกแบบและ
พัฒนาชุดยิงโพรเจกไทล์ด้วยการ เหนี่ยวนำแม่เหล็กไฟฟ้ า Tracker

อมรรัตน์ คำบุญ (2561) ศึกษาการพัฒนาชุดทดลองการเคลื่อนที่


แบบโพรเจกไทล์ด้วยระบบปรับมุมอัตโนมัติ การศึกษาวิจัยครัง้ นีม
้ ีจุด
ประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาชุดทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ด้วย
ระบบปรับมุมอัตโนมัติ

อนุชา แป้ นจันทร์ ,ธิติยา บงกชเพชร และคณะ (2555) ศึกษาการ


เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เพื่อพัฒนาความเข้าใจมโนทัศน์และความ
สามารถการประยุกต์ใช้ความรู้ในชีวิตประจำวัน
น.ส. ณัฐณิชา มะสูงเนิน และน.ส.ธารารัตน์ สำเนียง(2560)
ศึกษาการสร้างแบบจำลองแรงเสิร์ฟที่เป็ นฟั งก์ชันของเวลาสำหรับนักกีฬา
เทนนิส

You might also like