You are on page 1of 20

สมโอ

กรมสงเสริมการเกษตร
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

สมโอ

ลักษณะทั่วไป

สมโอ เปนผลไมขนาดใหญที่สุดในบรรดาไมผลตระกูลสม สามารถปลูกไดในทุกภาค


ของประเทศ มีรสชาติดี เปนทีน่ ยิ มบริโภคทัง้ ในและตางประเทศ ขอดีของสมโอคือ มีเปลือกหนา
ทนทานตอการขนสงระยะทางไกล และสามารถเก็บรักษาไวไดนาน

พันธุสงเสริม

1. พันธุขาวทองดี แหลงปลูกในภาคกลาง จังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร และราชบุรี


ผลกลมแปน หัวมีจีบเล็กนอยขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางผล ประมาณ 14 – 16
เซนติเมตร ผนังกลีบสีชมพูเรื่อๆ เนื้อกุงฉ่ําน้ําสีชมพูออ น มีความหวานสูง หวานสนิท นิยม
บริโภคทั้งภายในและตางประเทศ
2. พันธุขาวน้ําผึ้ง แหลงปลูกเชนเดียวกับพันธุขาวทองดี ปลูกมากที่อําเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม ผลกลมคอนขางสูง ขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางผลประมาณ 17 เซนติเมตร
ผนังกลีบสีขาวและเนื้อกุงเปนสีน้ําผึ้ง รสหวานอมเปรี้ยวเล็กนอยใหผลดก
3. พันธุขาวหอม แหลงปลูกเชนเดียวกับพันธุขาวทองดี ปลูกมากที่อําเภอสามพราน
จังหวัดนครปฐม ผลกลมขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางผล ประมาณ 12 – 16 เซนติเมตร
ผนังกลีบสีขาว เนื้อกุงสีขาวอมเหลือง รสหวานอมเปรี้ยวเล็กนอย
4. พันธุข าวใหญ แหลงปลูกจังหวัดสมุทรสงคราม นครปฐม และสมุทรสาคร ผลกลมสูง
ขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางผลประมาณ 14 – 18 เซนติเมตร ผนังกลีบสีขาว เนื้อกุงแหง
สีขาวอมเหลือง รสหวานอมเปรี้ยวเล็กนอย
1
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

5. พันธุขาวแตงกวา แหลงปลูกในภาคเหนือตอนลาง จังหวัดชัยนาท นครสวรรคและ


อุทัยธานี ผลกลมแปน ขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางขนาด 14 – 16 เซนติเมตร ผนังกลีบ
สีขาว เนื้อกุงสีขาวอมเหลือง รสหวานอมเปรียวเล็กนอย
6. พันธุขาวพวง แหลงปลูกในภาคกลางจังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี และ
ปราจีนบุรี ผลกลมสูงเล็กนอย หัวจุกสูงมีจีบ ขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางผลประมาณ
18 เซนติเมตร ผนังกลีบและเนื้อกุงสีขาวอมเหลือง รสหวาน อมเปรี้ยวเล็กนอย นิยมใชใน
เทศกาลไหวพระจันทร
7. พันธุขาวแปน แหลงปลูกเชนเดียวกับพันธุขาวพวง ผลกลมแปนไมมีหวั จุกแตมีจีบ
เล็กนอย ขนาดเล็ก เสนผาศูนยกลางผลประมาณ 12 – 15 เซนติเมตร ผนังกลีบและเนือ้ กุง สีขาว
รสหวานอมเปรี้ยว
8. พันธุทาขอย แหลงปลูกในภาคเหนือตอนลาง จังหวัดพิจิตร และพิษณุโลก ผลกลม
สูง หัวมีจีบเล็กนอย ขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางประมาณ 15 – 18 เซนติเมตร ผนังกลีบ
สีชมพู เนื้อกุง สีชมพูออน ฉ่ําน้ํา รสหวานอมเปรี้ยว มีเมล็ดนอยหรือเมล็ดลีบ บางผลไมมีเมล็ด
9. พันธุหอมหาดใหญ ปลูกมากที่อาํ เภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา ผลกลม สูงเล็กนอย
ขนาดปานกลาง เสนผาศูนยกลางประมาณ 15 เซนติเมตร ผนังกลีบสีขาวอมชมพูออ น เนื้อสี
ทับทิมหรือชมพูเขมถึงสีแดง รสหวานอมเปรี้ยว เนื้อกุงฉ่ําน้ําแตแหง

การปลูก

แหลงปลูก
สภาพพื้นที่
พื้นที่ดอน หรือที่ลุมไมมีน้ําทวมขัง ความสูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 400 เมตร
ความลาดเอียงไมเกิน 3 เปอรเซ็นต ใกลแหลงน้ําธรรมชาติ หรือคลองชลประทาน การคมนาคม
สะดวก ขนสงผลผลิตไดรวดเร็ว
ลักษณะดิน
ดินรวนเหนียว หรือรวนปนทราย มีความอุดมสมบูรณสงู การระบายน้ําดี ระดับหนาดินลึก
ไมนอยกวา 50 เซนติเมตร คาความเปนกรดดางของดิน ระหวาง 5.5 – 6.5

2
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

สภาพภูมิอากาศ
อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโตประมาณ 25 – 30 องศาเซลเซียส ปริมาณ
น้ําฝนไมนอยกวา 1,200 มิลลิเมตรตอป มีการกระจายของฝนสม่ําเสมอ มีแสงแดดจัด
แหลงน้ํา
มีน้ําเพียงพอสําหรับใชตลอดฤดูปลูก เปนแหลงน้ําที่สะอาดปราศจาก สารอินทรียและ
สารอนินทรียที่มีพิษปนเปอน คาความเปนกรดดางของน้ําระหวาง 5.5 – 7.0
การเตรียมดิน
• วิเคราะหดินเพื่อประเมินคาความอุดมสมบูรณของธาตุอาหารพืชในดินและความ
เปนกรดดางของดิน ปรับสภาพดินตามคําแนะนํากอนปลูก
• ไถดินลึกประมาณ 30 เซนติเมตร ตากดินไว 20 – 25 วัน พรวนยอยดินอีก 2 ครัง้
ปรับระดับดินใหสม่ําเสมอ และคราดเก็บเศษวัชพืชออกจากแปลง
• พื้นที่ดอนที่น้ําไมทวมขัง ไมตองยกรอง ควรทํารองน้ําตามความยาวของพื้นที่
กวาง 25 เซนติเมตร ลึก 20 เซนติเมตรทุกระยะ 100 เมตร ของแนวปลูก หรืออาจยกรอง
เปนลักษณะลูกฟูก เพื่อระบายน้ําโดยทําการกักน้ําเปนจุดๆ ขณะที่น้ําไหลผานรองตลอดเวลา
• พื้นที่ลุมที่มีน้ําทวมขัง ปลูกบนสันรองกวาง 6 – 7 เมตร ระหวางรองกวาง 1 เมตร
ลึก 1 เมตร ควรยกรองในแนวเหนือ – ใต เพื่อใหสมโอไดรับแสงแดดสม่ําเสมอและทั่วถึง
หากเปนที่ลุมมากตองทําคันกั้นน้ํารอบสวน และฝงทอระบายน้ําเขาและออกจากสวนเพื่อ
ควบคุมระดับน้ําในสวนไดตลอดเวลา
ระยะปลูก

• พื้นที่ดอน ระยะปลูกระหวางแถวและตน 6 x 6 เมตร หรือ 8 x 8 เมตร และควร


ปลูกพืชลมลุกดวยในระยะเวลาชวงปที่ 1 – ปที่ 4 เพื่อเพิ่มรายไดกอนที่สมโอจะใหผลผลิต

• พื้นที่ลุม ระยะปลูกระหวางแถวและตน 8 x 6เมตร

3
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

หลุมปลูก
ปลูกชวงตนฤดูฝน ขุดหลุมปลูกขนาดกวาง ยาว ลึก ประมาณ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร
ผสมดินทีไ่ ดจากการขุดหลุมกับปุย คอกทีย่ อ ยสลายดีแลวอัตรา 4 – 6 กิโลกรัม และปุย ร็อคฟอสเฟต
500 กรัมตอหลุม ใสลงในหลุมประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม
การเตรียมพันธุ
การเลือกพันธุใหมีลักษณะตรงตามพันธุ และตลาดตองการ เปนพันธุที่ปลอดโรค หรือ
เปนกิ่งพันธุจ ากแหลงที่ไมมีโรคโคนเนาและรากเนาระบาด โดยคัดเลือกจากตนที่แข็งแรงและ
ไมมอี าการเปนโรค ตนพันธุม คี วามสมบูรณ ตนไมแกจนเกินไป โคนตนตรงและมีเสนผาศูนยกลาง
ไมนอยกวา 1.5 เซนติเมตร ตนสูงไมนอยกวา 60 เซนติเมตร
วิธปี ลูก
1. วางตนพันธุสมโอลงในหลุม ใหรอยตอระหวางตนตอและรากสูงกวาระดับดิน
ปากหลุมเล็กนอย
2. ใชมดี คมกรีดจากกนถุงถึงปากถุงทัง้ สองดาน แลวดึงถุงพลาสติกออกระวังอยาใหดนิ แตก
3. กลบดินทีเ่ หลือลงในหลุม ซึง่ จะนูนเหมือนหลังเตา แลวกดดินบริเวณรอบโคนตนใหแนน
4. ปกไมหลักและผูกเชือกยึดตนเพือ่ ปองกันการโยกคลอนของตนพันธุ
5. คลุมดินบริเวณโคนตนดวยฟางขาวหรือหญาแหง
6. รดน้ําใหชุม

การดูแลรักษา

การใหปุย
• สมโออายุ 1 ป เปนชวงทีร่ ากเริม่ งอก ใหปยุ เคมีสตู ร 46 – 0 – 0 + 15 – 15 – 15
หรือ 46 – 0 – 0 + 16 – 16 – 16 สัดสวน 1:1 อัตรา 0.5 กิโลกรัมตอตน ในสภาพดินรวนเหนียว
แบงใส 4 เดือนตอครั้ง ในสภาพดินรวนปนทรายแบงใส 3 เดือนตอครั้ง และใหใสปุยเคมีสูตร
ดังกลาวอัตรา 1 และ 2 กิโลกรัม ตอตนเมื่อสมโออายุ 2 และ 3 ป ตามลําดับ 4
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

• สมโออายุ 4 ป ที่เริ่มใหผลผลิต ใหปุยเคมีสูตร 46 – 0 – 0 + 15 – 15 – 15


สัดสวน 1 : 1 อัตรา 1–3 กิโลกรัมตอตน ในชวงฤดูฝนเพือ่ เรงยอด ใสปยุ เคมีสตู ร 12– 24–12
อัตรา 0.5 – 1 กิโลกรัมตอตน และพนปุย เคมีสตู ร 7 – 13 – 34 + สังกะสี 12.5% อัตรา 30 – 50
กรัมตอน้ํา 20 ลิตร ประมาณ 2 – 3 ครั้ง กอนออกดอก 2 เดือนเพื่อเรงดอก ระยะติดผลใส
ปุยเคมีสูตร 15 –15 –15 อัตรา 1 – 3 กิโลกรัมตอตนเพื่อเพิ่มขนาดผล และใสปุยเคมีสูตร
13 –13 –21 อัตรา 1 – 3 กิโลกรัมตอตนกอนการเก็บเกี่ยว 1– 2 เดือน เพื่อเพิ่มคุณภาพ
ดานรสชาติ
• หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต ในชวงปลายฤดูฝนที่ไมมีฝนตกแลวควรใสปุยหมัก ปุยคอก
ปุยพืชสด หรือตอซังพืชที่ยอยสลายดีแลว อัตรา 10 – 30 กิโลกรัมตอตนโรยรอบทรงพุม และ
ไมตองพรวนดิน
การใหน้ํา
• ความตองการน้ําของสมโอประมาณ 0.6 เทาของอัตราการระเหยน้ํา (มิลลิเมตรตอ
วัน) คูณดวยพื้นที่ใตทรงพุมเชน เมื่ออัตราการระเหยน้ํา วันละ 3.8 – 5.7 มิลลิเมตร มีพื้นที่
ทรงพุม 1 ตารางเมตร เทากับการใหน้ํา 2.3 – 3.4 ลิตรตอวัน
• สมโออายุ 4 ป เริม่ ใหผลผลิต ควรงดใหน้ํา 15–30 วันกอนออกดอก เพือ่ ใหสม โอ
ออกดอก และติดผลไดดี ไมแตกยอดออน
• ควรงดใหน้ําชวงสมโอออกดอก เพื่อปองกันดอกรวง และเริ่มใหน้ําอีกหลังชอดอก
เริ่มพัฒนา โดยเพิ่มปริมาณน้ําทีละนอยจนถึงระดับการใหน้ําปกติ
• ถาใบออนเริ่มหอตัวแสดงวาสมโอขาดน้ํา ควรรีบใหน้ํา
การดูแลระยะติดผล
• เก็บผลที่เปนโรค หรือมีอาการยางไหล นําไปเผาทําลายนอกแปลงปลูก
• ตัดแตงผลออกใหเหลือผลเดี่ยว 2 – 3 ผลตอกิ่ง
• ควรใชไมค้ํายันเพื่อปองกันกิง่ ฉีกหัก
5
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การตัดแตงทรงพุม
• หลังเก็บเกีย่ วผลผลิต ควรตัดแตงกิง่ กระโดง กิง่ แหง กิง่ คดงอ และกิง่ เบียดเสียดออก
เพื่อใหทรงพุมโดยเฉพาะสวนยอดโปรง แสงแดดสองเขาถึงภายในทรงพุม
• หลังการตัดแตงกิง่ ควรทารอยแผลดวยสารปองกันกําจัดเชือ้ ราคอปเปอรออ กซีค่ ลอไรด
หรือปูนขาว หรือปูนแดง
การอนุรักษศัตรูธรรมชาติ
ศัตรูธรรมชาติของแมลงและไรศัตรูสมโอที่สําคัญ มีทั้งชนิดตัวห้ําและตัวเบียน
• ตัวห้ําไดแก แมลงชางปกใส ดวงเตา แมงมุม
• ตัวเบียน ไดแก แมลงเบียน
ซึ่งศัตรูธรรมชาตินี้ มีประสิทธิภาพในการควบคุมแมลงและไรศัตรูสมโอมาก ดังนั้น
การปองกันกําจัดศัตรูสมโอ ควรใชวิธีการที่ปลอดภัยเพื่ออนุรักษศัตรูธรรมชาติดวย
ศัตรูพืชและการปองกันกําจัด
โรคที่สําคัญ
โรคแคงเกอร
สาเหตุ แบคทีเรีย
ลักษณะอาการ เปนแผลตกสะเก็ดบนใบ กิ่งและผล จุดแผลบนใบคอนขางกลม
และมีวงแหวนสีเหลืองลอมรอบ จุดแผลบนกิง่ มีขนาดไมแนนอน
ถาอาการรุนแรงทําใหกิ่งแหง และใบรวง แผลที่ตกสะเก็ดนูน
บนผลจะมียางไหลออกมาดวย เชื้อสาเหตุแพรกระจายไปตาม
ลมและฝน
ชวงเวลาระบาด ระบาดมากในชวงฝนตกชุก และจะรุนแรงมากขึ้นหากมีการ
ทําลายของหนอนชอนใบสม
6
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การปองกันกําจัด 1. ตัดแตงทีเ่ ปนโรค และเก็บใบเปนโรคที่รวงหลนบริเวณ


โคนตนเผาทําลายนอกแปลงปลูก
2. พนสารปองกันกําจัดหนอนชอนใบสม ตามคําแนะนําใน
ตารางที่ 2
3. พนสารปองกันกําจัดโรคแคงเกอร ตามคําแนะนําในตารางที่ 1

โรคกรีนนิ่ง
สาเหตุ เชื้อคลายแบคทีเรีย
ลักษณะอาการ เชื้อโรคอาศัยในทออาหารของตนสมโอทําใหใบแสดงอาการ
คลายขาดธาตุอาหาร คือใบเหลืองซีด เสนใบมีสีเขียว หรือ
ใบดางเหลืองเปนหยอมๆ คลายลักษณะอาการขาดธาตุสังกะสี
เสนใบอาจแตก ตนทรุดโทรม ถาเปนโรครุนแรง ปริมาณรากจะ
ลดนอยลงมาก ทําใหผลหลุดรวงกอนแก เชื้อโรคแพรระบาด
โดยเพลี้ยไกแจสม เปนแมลงพาหะและติดไปกับกิ่งพันธุ
ที่ขยายพันธุจากการตอน ทาบกิ่ง เสียบกิ่ง และติดตา
ชวงเวลาระบาด ระยะแตกใบออนและชอดอก
การปองกันกําจัด 1. เลือกตนพันธุที่ปลอดโรค
2. มีการกําจัดเพลี้ยไกแจสมอยางตอเนื่อง
3. ควรปลูกไมบังลมรอบแปลงปลูก
4. มีการดูแลรักษาตนสมโออยางดีและสม่ําเสมอตาม คําแนะนํา
ไดแก การใหปุย การดูแลรักษาหลังติดผล การตัดแตงและ
ควบคุมทรงพุมหลังเก็บผลผลิต

7
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

โรคทริสเตซา

สาเหตุ เชื้อไวรัส

ลักษณะอาการ ตนสมโอแคระแกร็น ทรุดโทรม ใบเหลืองคลายขาดธาตุอาหาร


ใบมวนงอ และมีอาการเสนใบแตก ตนสมโอที่มอี ายุมาก
เมือ่ ลอกเปลือกบริเวณโคนตนออกจะพบลักษณะเปนหนามเล็ก ๆ
ออกมาจากเนื้อไม เชื้อโรคแพรระบาดโดย เพลี้ยออน และการ
ติดไปกับกิง่ พันธุท ขี่ ยายพันธุจ ากการตอน ทาบกิง่ เสียบกิง่ และติดตา

ชวงเวลาระบาด ระยะแตกใบออนและชอดอก

การปองกันกําจัด 1. เลือกตนพันธุที่ปลอดโรค

2. มีการกําจัดเพลี้ยออนอยางตอเนื่อง

3. ควรปลูกตนไมบังลมรอบแปลงปลูก

4. มีการดูแลรักษาตนสมโออยางดีและสม่ําเสมอตาม คําแนะนํา
ไดแก การใหปุย การดูแลรักษาหลังติดผล การตัดแตงและ
ควบคุมทรงพุมหลังเก็บผลผลิต

8
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ตารางที่1 การใชสารเคมีปองกันกําจัดโรคของสมโอ

โรค สารปองกัน อัตราการใช/ วิธีการใช/ หยุดการใชสาร


กําจัดโรคพืช1/ น้ํา20 ลิตร ขอควรระวัง กอนเก็บเกี่ยว
(วัน)

แคงเกอร คอปเปอรออ กซี่ คลอไรด 40 – 60 กรัม พนทุก 7 –10 วัน 14

(85% ดับบลิวพี )

บอโดมิกเจอร 300 + 300 กรัม • ผสมจุนสีและปูนขาว

(จุนสีผสมปูนขาว แยกกัน ในน้ําอยางละ


2 ลิตร แลวนํามาผสม
อัตรา 1 : 1 )
กับน้ําอีก 16 ลิตร
คนใหเขากันกอนพน

• พนทุก 7 – 14 วัน
เมื่อพบการระบาด
รุนแรง

1/
ในวงเล็บ คือ เปอรเซ็นตสารออกฤทธิ์และสูตรของสารปองกันกําจัดโรคพืช

9
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

แมลงและไรศัตรูที่สําคัญ
เพลี้ยไฟ
ลักษณะและการทําลาย ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ปกมี 2 คู คลาย
ขนนก ตัวออนและตัวเต็มวัยมีปากชนิดเขีย่ ดูด ดูดกินน้ําเลีย้ ง
จากยอดใบออนและผลออน ทําใหใบสมโอเรียวแคบกราน
และบิดงอในผลออน ทําใหเกิดรอยแผลเปนทางสีเทาเงิน
จากขั้วผล ถาระบาดมากรอยแผลจะขยายลงมาสวนลาง
ของผลหรือทั่วทั้งผล ทําใหผลแคระแกร็น บิดเบี้ยว
ชวงเวลาระบาด ระยะยอดออน ใบ ดอกและผลออน ระบาดมากระหวาง
เดือนมกราคม – มีนาคม ในสภาพอากาศแหงแลง ฝนทิง้ ชวงนาน
การปองกันกําจัด 1. จัดการดินใหมีความอุดมสมบูรณและใหน้ําสม่ําเสมอ
เพื่อควบคุมใหการแตกยอดออน ใบ ดอกและการติดผล
พรอมกัน สะดวกในการปองกันกําจัด
2. ตัดผลที่ถกู ทําลายอยางรุนแรงทิ้ง เพราะไม สามารถ
เจริญเติบโตตอไปได
3. ถาสํารวจพบปริมาณเพลี้ยไฟที่ใบออนหรือดอก
มากกวา 50% บนผลออนมากกวา 10% ใหทําการ
ปองกันกําจัดตามคําแนะนําในตารางที่ 2

หนอนชอนใบสม
ลักษณะและการทําลาย ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก กางปกกวาง
ประมาณ 8 มิลลิเมตร ลําตัวสีน้ําตาลปนเทา ปกสีเทาเงิน
แวววาว ขอบปกมีขนเปนปุยยาว มีจุดสีดําขางละจุด
วางไขใตใบ หนอนระยะแรกสีเหลืองออนเจาะเขากัดกิน
ชอนไชระหวางผิวใบ ทําใหเกิดรอยเปนทางสีขาวคดเคี้ยว
ไปมาทัง้ ดานหนาใบและหลังใบ ใบบิดเบีย้ ว สังเคราะหแสง
ไดนอย รอยแผลที่เกิดขึ้นทําใหโรคแคงเกอรเขาทําลาย
ในเวลาตอมา

10
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ชวงเวลาระบาด ระยะแตกยอดออน โดยเฉพาะอยางยิ่งใบออนชุดที่แตก


ชวงฤดูฝน ระหวางเดือนพฤษภาคม – ตุลาคม

การปองกันกําจัด 1.จัดการดินใหมีความอุดมสมบูรณและใหน้ําสม่ําเสมอ
เพื่อควบคุมใหการแตกยอดออน ใบ ดอกและ การติดผล
พรอมกัน สะดวกในการปองกัน กําจัด
2. ตัดใบออนที่ถูกทําลายอยางรุนแรงทิ้งและทําลาย เพื่อ
ลดปริมาณประชากรหนอนชอนใบสมรุนตอไป
3. ถาสํารวจพบใบออนถูกทําลายมากกวา 50% ใหทํา
การปองกันกําจัดตามคําแนะนําในตารางที่ 2

หนอนเจาะสมอฝาย
ลักษณะและการทําลาย ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง กางปกกวาง
ประมาณ 3 – 4 เซนติเมตร ไขเปนฟองเดี่ยววางบนกลีบ
ดอกตูมหรือกานดอก ตัวหนอนกัดกินชอดอก ดอกและ
ผลออน ทําใหรวง
ชวงเวลาระบาด ระยะสมโอออกดอก และมีผลออน
การปองกันกําจัด ถาสํารวจพบการเขาทําลายหรือพบตัวหนอน ใหทําการ
ปองกันกําจัดตามคําแนะนําในตารางที่ 2

11
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

หนอนฝดาษสม

ลักษณะและการทําลาย ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก กางปกกวาง


ประมาณ 5 มิลลิเมตร ปกสีน้ําตาล ไขเปนฟองเดีย่ วบน
เปลือกผลสมโอ หนอนวัยแรกสีเขียว วัยตอมาสีเขียวเขม
และมีแถบสีแดงคาดขวางลําตัว หนอนกัดกินอยูในปม
จนโตเต็มที่ จึงเจาะปมออกมาสรางใยหุมตัวเขาดักแด
ภายนอกผล ใตใบหรือกิ่งสม การทําลายทําใหผิวเปลือก
สมโอไมเรียบเปนปุมปมคลายโรคฝดาษ ถึงแมการ
ทําลายไมถึงเนื้อแตทําใหสมโอราคาต่ํา

ชวงเวลาระบาด ระยะดอกบานและติดผลออน จนผลสมโอมีอายุ


ประมาณ 4 เดือน

การปองกันกําจัด 1. จัดการดินใหมีความอุดมสมบูรณและใหน้ําสม่ําเสมอ
เพือ่ ควบคุมใหการแตกยอดออน ใบ ดอกและการติดผล
พรอมกัน สะดวกในการปองกันกําจัด

2. ตัดแตงผลออนที่ถกู ทําลายอยางรุนแรงทิ้งและทําลาย
เพื่อลดปริมาณประชากรหนอนฝดาษสมรุนตอไป

3. ถาสํารวจพบการทําลายบนผลออน ใหทําการปองกัน
กําจัดตามคําแนะนําในตารางที่ 2

12
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

หนอนเจาะผลสม

ลักษณะและการทําลาย ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง กางปกกวาง


ประมาณ 2.5 – 2.7 เซนติเมตร ปกคูห นาสีเทาปนน้ําตาล
ปกคูหลังสีขาวนวล วางไขเปนกลุมๆ ละ 2 – 19 ฟอง
บนผิวเปลือกสมโอ ไขลกั ษณะแบนกลมสีขาวใสเปนเงา
หนอนระยะแรกสีสม อมชมพู เจาะเขาไปกัดกินในผลสมโอ
เมื่อหนอนโตเต็มที่จะออกมาเขาดักแดในดิน สังเกตการ
ทําลายจากรอยเจาะ หรือมูลของหนอนและอาการยาง
ไหลเยิ้มบริเวณรอยแผลทําใหเกิดผลเนาและรวง

ชวงเวลาระบาด เมื่อผลสมโอมีอายุประมาณ 45 วัน จนถึงระยะเก็บเกี่ยว


พบการทําลายในแหลงที่มีการระบาดประจําทุกป

การปองกันกําจัด 1. สํารวจการทําลายบนผลสมโออยางสม่ําเสมอ ถาพบ


การทําลายใหเก็บผลสมโอฝงหรือเผาไฟ เพื่อปองกัน
ไมใหเกิดการ ระบาดตอไป

2. ในแหลงที่พบการระบาดเปนประจํา ใหทําการปองกัน
กําจัดและหอผลตามคําแนะนําในตารางที่ 2

13
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ไรขาว

ลักษณะและการทําลาย เปนไรขนาดเล็กสีขาวใส ตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกิน


น้ําเลีย้ งบนยอดและผลออน ทําใหผลสมโอมีผิวเปนแผล
สีเทา เมื่อสองดูดวยเลนสขยาย จะพบลักษณะคลาย
รางแห ถาถูกทําลายทั้งผล ตองปลิดผลทิ้ง เพราะไม
สามารถเจริญเติบโตตอไปได ถาผลถูกทําลายบางสวน
สามารถเจริญเติบโตได แตจะมีเปลือกหนา เนื้อนอย
น้ําหนักเบา

ชวงเวลาระบาด ระยะติดผลออนจนถึงผลอายุ 2 เดือน พบระบาด


ทําความเสียหายมากในสมปที่ออกดอกและติดผลใน
เดือนมกราคม – กุมภาพันธ

การปองกันกําจัด 1. สํารวจการทําลายบนผลสมโออยางสม่ําเสมอ
และเก็บผลที่ถูกทําลายทิ้ง

2. ถาสํารวจพบการทําลายบนผลออน ใหทําการปองกัน
กําจัดตามคําแนะนําในตารางที่ 2

14
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ตารางที่ 2 การใชชีวินทรียและสารปองกันกําจัดแมลงและไรศัตรูสมโอ
ชีวินทรีย/ อัตราการใช/ วิธีการใช/ หยุดการใชสาร
แมลงและ สารปองกันกําจัด น้ํา20 ลิตร ขอควรระวัง กอนเก็บเกี่ยว
ไรศัตรูพืช (วัน)
แมลงและไรศัตรูพืช1/
เพลี้ยไฟ อิมิดาโคลพริด 10 มิลลิลิตร • สํารวจการทําลายแปลงละ 10 14
(10% เอสแอล ) ตนๆ ละ10 ยอด
• พนสารครั้งแรกเมื่อพบ
โฟซาโลน ( 35% อีซี ) 60 มิลลิลิตร 14
เพลี้ยไฟกอนดอกบาน
เฟนโพรพาทริน(10% อีซี ) 30 มิลลิลิตร 7
• พนซ้ําเมื่อพบปริมาณ
อีไทออน ( 50% อีซี ) 20 มิลลิลิตร เพลี้ยไฟมากกวา 4 ตัว 21
อะบาเม็กติน (1.8% อีซี ) 10 มิลลิลิตร ตอยอด หรือพบการ 7
ทําลายผลออนมากกวา
10 %
หนอนชอน ปโตรเลี่ยมสเปรยออยล 50 – 100 มิลลิลิตร • เปนการพนเพือ่ ปองกัน 1
ใบสม
(83.9% อีซี ) การเขาทําลายของหนอน
ชอนใบสมใชอัตราต่าํ ใน
ระยะใบออนเริ่มผลิและ
ใชอัตราสูงพนซ้ําหางกัน
10 วัน เมื่อพบการระบาด
มากกวา10 % ของยอด
สํารวจ
ฟลูเฟนนอกซูรอน (5% อีซี ) 6 มิลลิลิตร 7
• สํารวจการทําลายแปลงละ
อิมิดาโคลพริด 8 มิลลิลิตร 10 ตนๆ ละ 5 ยอด 14
(10% เอสแอล )
• พนสารเมื่อพบใบออนถูก
อีไทออน (50% อีซี ) 20 มิลลิลิตร ทําลายมากกวา 50 % 21

อะบาเม็กติน (1.8% อีซี ) 10 มิลลิลิตร 7

15
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

ตารางที่ 2 (ตอ)การใชชีวินทรียและสารปองกันกําจัดแมลงและไรศัตรูสมโอ
ชีวินทรีย/ อัตราการใช/ วิธีการใช/ หยุดการใชสาร
แมลงและ สารปองกันกําจัด น้ํา20 ลิตร ขอควรระวัง กอนเก็บเกี่ยว
ไรศัตรูพืช (วัน)
แมลงและไรศัตรูพืช1/
หนอนเจาะ บาซิลลัส ทูริงเยนซิส * 60 – 80 กรัม • สํารวจการทําลายในระยะ 1
สมอฝาย ดอกตูม ถาพบรอยทําลาย
หรือพบหนอนเจาะสมอฝาย
นิวเคลียโพฮีโดรซิลไวรัส * 30 มิลลิลิตร ในชอดอก ใหพน สาร 2 ครัง้
หางกันทุก 5 วัน 1

หนอน ไซเพอรเมทริน / โฟซาโลน 20 มิลลิลิตร • ในแหลงที่มีการระบาด 14


ฝดาษสม (6.25/22.5% อีซี ) เปนประจําใหพนสาร
2–3ครั้ง ทุก 10–14 วัน
เมื่อสมโอติดผล จนผลมี
ขนาดเสนผาศูนยกลาง
5–10 เซนติเมตร

หนอนเจาะ ไซเพอรเมทริน / โฟซาโลน 20 มิลลิลิตร • ในแหลงทีม่ กี ารระบาดเปน 14


ผลสม (6.25/22.5% อีซี ) ประจําใหพน สาร 3 –4 ครัง้
ทุก 10 วัน
• เมือ่ สมโอติดผล หอผลดวย
ถุงพลาสติก หรือถุงรีเมย
ขนาด 25 x 30 เซนติเมตร
โดยเปดกนถุงไว

ไรขาว ปโตรเลี่ยมสเปรยออยล 100 – 140 • เปนการพนเพือ่ ปองกัน 1


มิลลิลิตร การเขาทําลายของไรขาว
(83.9% อีซี ) ใชอตั ราต่าํ ในระยะผลออน
และใชอัตราสูงพนซ้ําหาง
กัน 10 วัน เมือ่ พบการ
ระบาดมากกวา 10 %
ของผลสมโอ

อามีทราช (20% อีซี ) 30 มิลลิลิตร • พนใหทั่วตนทุก 5 วัน 7


เมื่อสํารวจพบผลออนถูก
โพรพาไกต(30% ดับบลิวพี ) 30 กรัม ทําลายมากกวา 10% 14
ทุกครั้ง –
เฮกซีไทอะซอกซ(1.8% อีซี ) 30 มิลลิลิตร

1/
ในวงเล็บ คือ เปอรเซ็นตสารออกฤทธิ์และสูตรของสารปองกันกําจัดแมลงและไรศัตรูพืช
* ชีวินทรีย 16
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

วัชพืช
การปองกันกําจัด
1. คราดเก็บเศษซาก ราก เหงา หัว และไหลของวัชพืชออกจากแปลงหลังพรวนดิน
กอนปลูกสมโอ
2. กําจัดวัชพืชรอบโคนตนสมโอดวยแรงงาน
3. ตัดวัชพืชระหวางแถวและระหวางตนสมโอดวยแรงงาน หรือเครื่องจักรกลใหสั้น
ประมาณ 3 – 5 เซนติเมตร กอนทีว่ ัชพืชจะออกดอก
4. คลุมโคนตนดวยวัสดุตางๆ เชน ใบและเศษซากวัชพืช
5. ปลูกพืชแซมระหวางแถวขณะที่ตน สมโอยังเล็ก
6. ปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่ว
7. ในกรณีที่การกําจัดวัชพืชดวยแรงงานและเครื่องจักรกลไมมีประสิทธิภาพ เพียงพอ
อาจเลือกใชสารกําจัดวัชพืชตามคําแนะนําในตารางที่ 3

ตารางที่ 3 การใชสารกําจัดวัชพืชในสวนสมโอ

วัชพืช สารกําจัดวัชพืช1/ อัตราการใชสาร/ วิธีการใช/ขอควรระวัง


น้ํา 20 ลิตร2/

วัชพืชฤดูเดียว พาราควอท 75 –100 มิลลิลิตร


(27.6% เอสแอล )
• พนกอนวัชพืชออกดอก
กลูโฟซิเนต – แอมโมเนีย 200 – 250 มิลลิลิตร เฉพาะบริเวณที่มีวัชพืช
(15 % เอสแอล ) ระวังละอองสารสัมผัสตน
และใบไมพนในชวงสมโอ
วัชพืชขามป กลูโฟซิเนต – แอมโมเนีย 400 – 500 มิลลิลิตร ออกดอกจนถึงเก็บเกี่ยว
ผลผลิต
(15% เอสแอล )
ไกลโฟเสท 125 – 150 มิลลิลิตร
(48% เอสแอล )

1/
ในวงเล็บ คือ เปอรเซ็นตสารออกฤทธิ์และสูตรของสารกําจัดวัชพืช
2/
ใชน้ําอัตรา 80 ลิตร / ไร
17
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

การเก็บเกี่ยว
ระยะเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม
• เก็บผลผลิตหลังดอกบาน 6.5 – 7.5 เดือน ถาเก็บผลอายุมากขึ้น คุณภาพของ
เนื้อจะลดลง คือ เนื้อจะแข็งรวน คลายขาวสาร
• ผลแกใกลเก็บเกี่ยว ตอมน้ํามันรอบจุดสีน้ําตาลที่บริเวณกนผลจะหาง สีเปลือกรอบ
จุดสีน้ําตาล จะเปนสีเหลือง ผิวกนผลไมเรียบ และนิม่ ผิวผลมีนวล เมือ่ เอาเล็บเขีย่ ที่
ผิวผลมีกลิ่นฉุนนอยมาก
• ผลที่เก็บหลังดอกบาน 6.5 เดือน มีรสหวานเปรี้ยว มีอายุการวางขายนาน ผลที่
เก็บหลังดอกบาน 7.5 เดือน มีรสหวานอมเปรี้ยวเพียงเล็กนอย
• หลังเก็บเกี่ยว ถานําผลมาผึ่งไว 1 – 2 สัปดาห จะทําใหรสชาติสมโอดีขนึ้ และแกะ
เนื้องายขึ้น

การเก็บเกี่ยว
• ใชกรรไกรตัดกานขั้วผลและมีถุงผารองรับ เพื่อปองกันผลตกกระแทกพื้นดิน
• สมโอที่เก็บเกี่ยวแลวควรใสเขงหรือตะกราสะอาดแลวรีบรวบรวมไวในที่รม

การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว
1. การคัดเลือกผล คัดผลที่มีตําหนิที่ไมเปนที่ตองการของตลาดออก คัดขนาด
คุณภาพสมโอตามมาตรฐานสมโอของประเทศไทยหรือตามความตองการของตลาด
ขนาด น้ําหนักผล (กรัม) เสนผาศูนยกลาง (เซนติเมตร)
1 มากกวา 1,700 15.6 – 17.0
2 1,501 – 1,700 14.8 – 16.2
3 1,301 – 1,500 14.0 – 15.4
4 1,101 – 1,300 13.2 – 14.6
5 901 – 1,100 12.3 – 13.8
6 700 – 900 11.6 – 12.9
7 นอยกวา 700 นอยกวา 11.2
18
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

2. ตัดแตงและลางทําความสะอาดผล ผึ่งใหแหงและจะเคลือบดวยสารเคลือบผิว
หรือไมก็ได ตลาดภายในประเทศ บรรจุในตะกราพลาสติก โดยเรียงผลสมโอ 2 – 3 ชั้น
สําหรับตลาดตางประเทศ บรรจุในกลองกระดาษลูกฟูกอาจเรียง 1 – 2 ชั้น โดยมีกระดาษ
ลูกฟูกคั่นระหวางผลเพื่อปองกันความเสียหายจากการกดทับหรือกระทบกันระหวางขนสง
3. การเก็บรักษา เก็บผลสมโอในภาชนะที่สะอาด และเก็บไวในที่ที่มีอากาศถายเทไดดี
หากตองการเก็บรักษาระยะเวลานานในหองเย็น ควรเก็บที่อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส
ความชื้นสัมพัทธ 85 – 95 %
4. การขนสง ควรขนสงใหถึงผูซื้อโดยเร็วที่สุด การขนสงทางเรือโดยใชตูปรับอุณหภูมิ
หากขนสงนานเกิน 2 สัปดาห ควรใชอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส เพราะอุณหภูมิต่ํากวา
10 องศาเซลเซียส ระยะเวลานานเกิน 2 สัปดาห จะทําใหผิวสมโอเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล และ
เนื้อมีกลิ่นและรสชาติผิดปกติ

าร คู ม
 อ
ื พ ช
ื เศ รษฐก จ
ิ . 25 47 . กรมสงเสริมการเกษตร
ที่มา : เอกสา รว ช
ิ าก
เรียบเรียงโดย วิษณุ อุทโยภาศ
กลุมสงเสริมการผลิตไมผล
และยางพารา
สวนสงเสริมการผลิตไมผล ไมยืนตน
าเกษตร
สํานักสงเสริมและจัดการคุณภาพสินค
จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซต
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร
สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี
กรมสงเสริมการเกษตร

19

You might also like