You are on page 1of 25

สายด่วนสำหรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย

แจ้งเหตุด่วน-เหตุร้ายทุกชนิด โทร. 191


แจ้งอัคคีภัย สัตว์เข้าบ้าน โทร. 199
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โทร. 1784
ตำรวจทางหลวง โทร.1193
สอบถามหมายเลขโทรศัพท์ โทร.1133

สายด่วนแจ้งเหตุฉุกเฉิน/กู้ชีพ/กู้ภัย
ศูนย์ประชาบดี แจ้งคนหาย โทร. 1300 คณะผูจัดทำ
ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม โทร. 1356
นายแพทยมนตรี นามมงคล นายแพทยเชี่ยวชาญ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โทร. 1669 นายชูพงษ สังขผลิพันธ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ โทร. 192 นายวงคพรรณ มาลารัตน นักกิจกรรมบำบัดชำนาญการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
น.ส.อรทัย เจียมดำรัส นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
นายกันตกร กาใจ นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนบริการทางการแพทย์ น.ส.ชัฌฎา ลอมศรี นักจิตวิทยาคลินิกปฏิบัติการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
นางสุรินทร อิวปา นักสังคมสงเคราะหปฏิบัติการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนยาเสพติด กรมการแพทย์ โทร. 1165 นางสาวศรัญญา พรมเสนา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย โทร. 1666 นายจักพงษ ใจสักเสริญ นักวิชาการคอมพิวเตอร ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนกรมสุขภาพจิต โทร. 1323 นางกรองจิตร วงคสุวรรณ นักสังคมสงเคราะหเชี่ยวชาญ โรงพยาบาลสวนปรุง
นายสมนึก อนันตวรวงค นักสังคมสงเคราะหชำนาญการพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร
นางสุภัคพิมล ปาแปง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร
สายด่วนสำหรับแจ้งเหตุเกี่ยวกับสาธารณูปโภค นางวิภากรณ ปญญาดี
นางสิน�นาฏ ตามวงศ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห
โรงพยาบาลแมลาว
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โทร. 1129 นางยุพดี สุทธนู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพาน
นายกฤษณ บัวสุข ภาพประกอบ/ออกแบบรูปเลม วิทยาลัยอาชีวศึกษา
การประปาส่วนภูมิภาค โทร. 1662
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารมหาดไทย โทร.1567
4

คำ�นิยม
แผ่นดินไหวเป็นเรื่องใหม่สำ�หรับคนไทยรวมทั้งภาคเหนือตอนบน วิธีดูแลตนเอง ในเขตที่มีตึกสูงควรดูแลตนเองกันแบบหนึ่งในเขตท้องไร่ท้องนาควรดูแลตนเองอีกแบบหนึ่ง เป็นต้น อะไรแบบนี้
เมื่อเกิดแผ่นดินไหวมีปรากฏในหนังสือเล่มนี้แล้ว ที่ควรทำ�ความเข้าใจเพิ่มเติมน่าจะมี 2-3 ประการ ไม่มีใครรู้ดีกว่าคนในเขตนั้นเองที่เคยประสบภัยมาแล้วจะพูดคุยและถอดบทเรียน อะไรที่เรียกว่าคู่มือป็นเพียง
ประการแรกแผ่นดินไหวก็เหมือนอุบัติภัยหรือหายนะภัยอื่นๆนั่นคือนานๆ มีครั้งหนึ่ง เช่น มาตรฐานกลางที่เอาไว้ทวนสอบ
ไฟไหม้ อุบัติเหตุหมู่รถยนต์ หรือภัยธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็นพายุฤดูร้อน โคลนถล่ม หรือแผ่นดินไหว ประการที่สามคือเรื่องผลสืบเนื่องจากหายนะภัยรวมทั้งกรณีแผ่นดินไหวผลสืบเนื่องนี้ควรได้รับการใส่ ใจ
เพราะความที่นานๆเป็นครั้งหนึ่งนี่เองที่ทำ�ให้การซ้อมรับมือในบ้านเราเป็นปัญหาเสมอมา นั่นคือทำ�เป็น ทั้งสามมิติคือ กาย ใจ และสังคมโดยบูรณาการเป็นหนึ่งเดียวเสมอกล่าวคือเราไม่ควรแยกผลกระทบทางจิตใจออก
เล่น ไม่เอาจริง หรือทำ�พอเป็นพิธี แต่ครั้นไปดูต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนา การซ้อม มานั่งทำ�นั่งแก้แต่เพียงมิติเดียว เพราะเป็นที่รู้อยู่แล้วว่าสุขภาพกายที่ไม่พร้อมและสภาพความเป็นอยู่ที่ไม่ ได้รับการ
รับอุบัติภัยมีความเข้มแข็งและทำ�สม่ำ�เสมออย่างน่าประหลาดใจทั้งที่เป็นเรื่องเกิดไม่บ่อยเช่นเดียวกัน ฟื้นฟู หรือได้รับช้า หรือได้รับไม่เพียงพอ จะเป็นปัจจัยซ้ำ�เติมสภาพทางจิตใจของผู้ได้รับผลกระทบ ดังนั้นเป็น
เช่น การซ้อมรับมืออัคคีภัยเป็นการซ้อมที่เอาจริงเอาจังกันมาก คงมีหลายเหตุผลที่บ้านเราไม่เอาจริง ความจำ�เป็นแต่ต้นมือที่หน่วยงานระดับเขตจะบูรณาการงานที่ควรทำ�ทุกมิติเป็นหนึ่งเดียว เพราะเป้าหมายที่แท้
นอกเหนือจากกลไกราชการที่ไม่แข็งแรงแล้ว ปัจจัยทางสังคมมีส่วนด้วยไม่มากก็น้อย กล่าวคือประชาชน ก็เป็นประชาชนกลุ่มเดียวกันซึ่งแยกร่างมิ ได้
ของบ้านเรามีความเครียดและความตายที่เป็นจริงยิ่งกว่าจ่ออยู่ทุกวัน เช่น ความยากจนอันหมดทาง คู่มือใดๆไม่เคยแก้ไขปัญหาประชาชนได้อย่างรอบด้านหากขาดการนำ�ไปทดลองใช้แล้วทวนสอบด้วย
แก้ไข ความเหลื่อมล้ำ�ที่ไม่มีวันหมดไป ความเจ็บป่วยที่เข้าไม่ถึงบริการที่ดีมีคุณภาพ เหล่านี้ทำ�ให้อะไร ตนเองอย่างแข็งขันจึงจะทำ�ให้คู่มือที่ผลิตเป็นคู่มือที่มีชีวิต ใช้ประโยชน์ ได้ ไม่หยุดนิ่ง มีการพัฒนาต่อเนื่อง เช่น
ที่ว่าร้ายแต่สิบปีถึงจะมีสักครั้งกลายเป็นเรื่องขี้ผงไปเลย ในเมื่อทุกข์ตรงหน้ายังไม่หมดไปจะห่วงอะไรกับ เดียวกับสภาพปัญหาในพื้นที่จริงซึ่งมีพัฒนาต่อเนื่องเช่นเดียวกัน
ทุกข์ที่มีโอกาสไม่มากนักว่าจะเผชิญเทียบกับประเทศที่มีความมั่นคงในชีวิตสูง เช่น ญี่ปุ่น ยุโรป หรือ
อเมริกาเหนือ ชีวิตที่เป็นอยู่นั้นแสนดีและมั่นคงจนกระทั่งยอมไม่ ได้ที่จะให้ไฟไหม้หรือแผ่นดินไหวมาริบ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์
เอาไปต่อหน้าต่อตาโดยง่าย อย่างไรก็ต้องซ้อมรับไฟไหม้หรือแผ่นดินไหวกันอย่างจริงจังแม้ว่าจะมิ ได้เกิด 1 มิถุนายน 2558
บ่อยนักก็ตาม
ประการที่สองคือเรื่องบริบทการดูแลตนเองเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในแต่ละประเทศย่อมต่างกัน
ในประเทศเดียวกันแต่ต่างเมืองย่อมต่างกัน แม้แต่ ในจังหวัดเดียวกันแต่ต่างเขตก็ยังมีความต่างกัน

5
6

แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์สั่น
คำ�นำ� สะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลก เพื่อปรับตัวให้อยู่
ในสภาวะสมดุล ซึ่งแผ่นดินไหวสามารถ
“ยังไงๆก็ไหว”คำ�พูดที่มีความหมายที่นัยยะสองความหมายหากว่า ก่อให้เกิดความเสียหายและภัยพิบัติต่อบ้านเมือง ที่
เราคิดถึงเหตการณ์”แผ่นดินไหว”ที่เริ่มเกิดมากขึ้นในประเทศไทย โดยเฉพาะ อยู่อาศัย รวมไปถึงสิ่งมีชีวิตอย่างเช่นเราๆ
พื้นที่ทางเหนือของประเทศไทย ส่วนสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
หนังสือเล่มนี้ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นทั้งคู่มือและหนังสือที่ให้ความรู้ นั้นส่วนใหญ่เกิดจากธรรมชาติโดยแผ่นดินไหว
สำ�หรับผู้ที่สนใจโดยตรงเพื่อยำ�้ความเข้าใจในเรื่องของเหตุการณ์แผ่นดินไหว บางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทําของ
และความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเหตุการณ์แผ่นดินไหว ซึ่งดูจะเป็นเรื่องที่ไกล้ตัว มนุษย์ ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าแผ่นดินไหวที่
ขึ้นมา เพราะยังไงแผ่นดินมันก็จะยังไหวอยู่ เราจึงต้องเรียนรู้ที่จะอยู่อย่างเข้าใจ เกิดขึ้นจากธรรมชาติ
และไม่หวาดกลัว รู้จักป้องกัน เข้าใจ นักธรณีวิทยาประมาณกันว่าในวันหนึ่งๆจะ
เกิดแผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้ง
เพราะยังไงๆมันก็ยังจะไหวอยู่ แต่เหตุการณ์แผ่นดินไหวไม่มีใครที่
ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการ
สามารถจะพยากรณ์ล่วงหน้าได้ เมื่อเกิดขึ้นแล้วเราต้องยอมรับและต่อสู้กับสิ่ง สั่นสะเทือนเพียงเบาๆ เท่านั้น ซึ่งคนทั่วไปอย่าง
ที่เกิดขึ้นแล้วรู้จักใช้สติ ความรู้ เพราะไม่ว่าอย่างไรคนที่เข้มแข็ง รู้จักยอมรับ เราๆไม่รู้สึกถึงความเคลื่อนไหวของแรงแผ่นดิน
ความจริง มุ่งมั่นแก้ปัญหา กล้าจะเริ่มต้นใหม่ แม้จะเจอเหตุการณ์หนักแค่ ที่มันกำ�ลังไหวอยู่(เพราะมันมีความเบามากๆ)
ใหน.....ยังไงๆก็ใหว

7
8
แผ่นดินไหว เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่น
เปลือกโลก(แนวระหว่างรอยต่อธรณีภาค) ทําให้เกิดการเคลื่อนตัว ของชั้นหินขนาดใหญ่
เลื่อน เคลื่อนที่ หรือแตกหัก และเกิดการโอนถ่าย พลังงานศักย์ ผ่านในชั้นหินที่อยู่ แผ่่นดินไห
แผ ไหวว
ติดกันพลังงานศักย์ที่ว่านี้อยู่ในรูปคลื่นไหวสั่นสะเทือน

ศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว มักเกิด
ตามรอยเลื่อน ซึ่งอยู่ ในระดับ ความลึกต่างๆ ของผิวโลก
สามารถวั
สาม ารถวัดได้
เท่าที่เคยวัดได้ลึกสุดอยู่ ใน ชั้นแมนเทิล ส่วนจุดที่อยู่
ในระดับสูงกว่า ณ ตําแหน่งผิว โลก เรียกว่า จุดเหนือ แผ่นดินไหว สามารถวัดได้โดยใช้การสังเกตจากไซสโมมิเตอร์(seismometer)
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เมื่อจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว มาตราขนาดโมเมนต์เป็นมาตราที่ใช้ มากที่สุดซึ่งทั่วโลกเอาไว้สำ�หรับรายงาน ซึ่งเราก็คงได้ยินกันบ่อยๆ
ของแผ่นดินไหวขนาดใหญ่อยู่นอกชายฝั่งอาจเกิดคลื่นสึนา สําหรับแผ่นดินไหวอีกจํานวนมากที่มีขนาดเล็กมีค่าวัดเป็นแมกนิจูด(ถ้ามีระดับตำ�่กว่า
มิตามมาได้ นอกจากนี้ แผ่นดินไหว ยังอาจก่อให้เกิดดิน 5 จะเป็นระดับที่ตำ�่มาก) แต่สํานักเฝ้าระวังแผ่นดินไหวแต่ละประเทศ จะวัดด้วยมาตราขนาดท้องถิ่นเป็น
ถล่ม และบางครั้งทำ�ให้เกิดกิจกรรมของภูเขาไฟตามมาได้ ส่วนใหญ่ หรือเรียกว่า”มาตราริกเตอร์”สองมาตรานี้มีพิสัยความถูกต้อง คล้ายกันในเชิงตัวเลข แผ่นดิน
ไหวขนาด 3 หรือตํ่ากว่าส่วนใหญ่แทบไม่รู้สึกหรือรู้สึกได้เพราะมันเบามาก ขณะที่แผ่นดินไหวตั้งแต่ขนาด 7
อาจก่อความเสียหาย รุนแรงเป็นบริเวณกว้าง ขึ้นอยู่กับความลึกของจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ที่เคยมีแม้มีระดับวัดถึงระดับ 10 แต่ที่เคยมีที่
ขนาดมากกว่าระดับ 9 เล็กน้อย แม้จะไม่มีขีดจํากัดว่าขนาดจะมีได้ถึงเท่าใดแผ่นดินไหวใหญ่ล่าสุดที่มี
พลังงานศักย์ คือพลังงานกล ขนาด 9.0 หรือมากกว่า คือแผ่นดินไหวขนาด 9.0 ที่ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี 2554 และเป็นแผ่นดินไหวครั้ง
ในตัววัตถุที่สัมพันธ์กับตำ�แหน่งที่อยู่ของ *แมนเทิล คือชั้นที่อยู่ถัดจากเปลือกโลกลงไป มีความ
มัน หรือคือพลังงานในวัตถุที่มีแรงต่อต้าน
เมื่อมันถูกแรงภายนอกมากระทำ�ให้ขนาด
หนาประมาณ 3,000 กิโลเมตร บางส่วนของหินอยู่ในสถานะ ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยมีการบันทึกในญี่ปุ่น
หลอมเหลวเรียกว่าหินหนืด (Magma) ทำ�ให้ชั้นแมนเทิลนี้มีความ
หรือปริมาตรหรือตำ�แหน่งของมันไม่เป็น ร้อนสูงมาก เนื่องจากหินหนืดมีอุณหภูมิประมาณ 800 - 4300
ไปอย่างอิสระ พลังงานศักย์ยืดหยุ่น คือ องศา ซึ่งประกอบด้วยหินอัคนีเป็นส่วนใหญ่
พลังงานที่สะสมในของแข็งที่เปลี่ยนรูปได้
เช่น สปริงเป็นต้น 9
10

แหล ่งกําเ นิด


แผ่นดินไหวส่วนมาก เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่
เกิด จากการสั่นสะเทือนของพื้นดิน อันเนื่องมาจากการปลด
ปล่อยพลังงานเพื่อระบายความร้อนที่สะสมไว้ภายในโลกออก
เครื่องมือวัดแผ่นดินไหวพร้อมกระดาษบันทึกเพื่อแปรผล (seismometer) มาอย่างฉับพลัน เพื่อปรับสมดุลของเปลือกโลกให้คงที่ โดย
ขนาดของแผ่นดินไหวสามารถวัดได้ด้วยเครื่องวัดความไหวสะเทือน (seismograph) หลักการโดย ปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของรอยเลื่อน ภายในชั้นเปลือก
สังเขปของเครื่องมือคือ มีตัวโครงยึดติดกับพื้นดิน และมีกระดาษหมุนไปด้วยความเร็วคงที่ เมื่อแผ่นดินมี
การเคลื่อนไหวสะเทือน กระดาษกราฟที่ติดอยู่กับโครงจะเคลื่อนที่ตามแผ่นดินแต่ลูกตุ้มซึ่งมีความเฉื่อยจะ
โลกที่อยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้างของโลกมีการเคลื่อนที่
ไม่เคลื่อนที่ตามปากกาที่ผูกติดกับลูกตุ้มก็จะเขียนกราฟลงบนกระดาษ และในขณะเดียวกันทำ�ให้ได้กราฟ หรือเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆอยู่เสมอ จากการเคลื่อนที่ของ
แสดงความสัมพันธ์ของขนาดการเคลื่อนที่ของแผ่นดินต่อหน่วยเวลา แผ่นเปลือกโลก
หมายเหตุ
หน่วย แมกนิจูด คือ คือปริมาณพลังงานซึ่งปล่อยออกมาจาก ศูนย์กลางแผ่นดินไหว
โดยวัดความสูงของคลื่นแล้วนําค่าที่ได้มาคํานวณ ในสูตรการหาขนาด ซึ่งคิดค้นโดย ริคเตอร์ จึง
เรียกว่า มาตราริคเตอร์
11
12 เกิดอะไรขึ้นกับโลกเมื่อ
เกิดอะไรขึ้นกับโลกเมื่อ
เกิดอะไรขึ้นกับโลกเมื่อ ทั่วโลกมีแผ่นเปลือกโลกทั้งหมด 12 แผ่น แผ่นที่ใหญ่สุดคือ

“แผ่นดินไหว”
“ยูเรเซียน” (Eurasian) ซึ่งไทยตั้งอยู่บนแผ่นเปลือกโลกแผ่นนี้ และเป็นแผ่นที่อยู่
ใกล้แผ่น “ออสเตรเลียน” (Australian) และแผ่น “ฟิลิปปิน” (Philippine)
ส่วนแผ่นอื่นๆ ไล่จากทะเลแปซิกฟิกไปทางตะวันออก คือ “แปซิฟิก” (Pacific)
ยวน เดอ ฟูกา (Juan de Fuca) นอร์ธ อเมริกา (North America)
“แคริบเบียน” (Caribbean) “เซาธ์ อเมริกัน” (South American) “สโกเทีย”
(Scotia) “แอฟริกา” (Africa) “อราเบียน” (Arbian) และ “อินเดียน” (Indian)
แผ่นดินไหวภัยพิบัติที่ดูไกลตัวอาจเป็นเรื่องใกล้ตัวที่เราทุกคนจำ�เป็นต้องเรียนรู้ไว้
แล้วมันเกิดอะไรขึ้นเมื่อมีแผ่นดินไหว?
อย่างที่รู้ๆกันโลกมีโครงสร้างเป็นชั้นๆ คล้ายหัวหอม แบ่งออกเป็น 4 ชั้นหลักๆ คือแกนโลกชั้นใน
(inner core) เป็นชั้นของแข็งหนา 1,200 กิโลเมตร แกนโลกชั้นนอก (outer core) เป็นชั้นของเหลวโลหะ
หนา 3,500 กิโลเมตร ชั้นเนื้อโลก (mantle) หนา 2,500 กิโลเมตร และ ชั้นเปลือกโลก (crust)
หนา 80 กิโลเมตร ซึ่งแผ่นดินไหวจะเกิดที่ชั้นเปลือกโลก)เป็นหลัก ซึ่งพอจะสรุปได้ว่าแหล่งกำ�เนิดแผ่นดินไหวหรือบริเวณตำ�แหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหวส่วน
ทั้งนี้ เปลือกโลกไม่ได้เชื่อมต่อเป็นแผ่นเดียว แต่เกิดจากหลายๆ แผ่นมารวมกันเหมือนตัวต่อจิ๊ก ใหญ่จะอยู่ตรงบริเวณแนวแผ่นดินไหวของโลก ตรงบริเวณขอบของแผ่นเปลือกโลก
ซอว์ ที่ต่างเคลื่อนที่อย่างช้าๆ บริเวณเปลือกโลกมีลักษณะเป็นแผ่นๆ (plates) เรียกว่า “แผ่นเทคโทนิก” ในกรณีของประเทศไทย แนวแผ่นดินไหวโลกที่ใกล้ ๆ ได้แก่ แนวในมหาสมุทร
(Tectonic Plate) แต่ละแผ่นเคลื่อนตัวเฉลี่ย 10 เซ็นติเมตรต่อปี โดยแผ่นเหล่านี้เคลื่อนตามหินหลอมเหลว อินเดีย สุมาตรา และ ประเทศพม่า แนวรอยเลื่อนต่างๆ ในกรณีประเทศไทยได้แก่ แนวรอยเลื่อน
ในเนื้อโลก เนื่องจากขอบแผ่นเปลือกโลกนั้นขรุขระ จึงมีแผ่นอยู่กับที่และมีแผ่นที่ยังคงเคลื่อนที่ได้ เมื่อแผ่น ในประเทศเพื่อนบ้าน พม่า จีนตอนใต้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวซึ่งส่วนใหญ่อยู่ใน
เปลือกโลกเคลื่อนที่ได้ไกลพอสมควร ขอบของแผ่นเปลือกโลกจะคลายออกจากรอยเลื่อน และทำ�ให้เกิดแผ่น ภาคเหนือ และภาคตะวันตก ที่น่าสังเกต คือ แนวรอยเลื่อนบางแห่งเท่านั้นมีความสัมพันธ์กับ
ดินไหวขึ้น เกิดแผ่นดินไหว เช่น รอยเลื่อนแพร่ รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ และ รอยเลื่อนระนอง
เป็นต้น
13
14
มาดูแนวรอยเลื่อน รอยเลื่อนปัว
“แหมรอยเลื่อนนี้พอมันไหว
เงินที่เม้มโผล่มาเลยนะ...ไอ้แก่“

ภายในประเทศไทย หลังเกิดแผ่นดินไหวเมื่อคืนวันที่ 24 มีนาคม 2554 คนเมืองน่านคงจะได้รับแรงสั่น


สะเทือนจากแผ่นดินไหวดังกล่าว ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนตัวของรอยเลื่อนน้ำ�มาใน
ประเทศไทย มีรอยเลื่อนอยู่หลาย ประพม่า มีคนสงสัยกันมากว่าเมืองน่านโดยเฉพาะอำ�เภอปัว จะมีโอกาสเกิดแผ่น
แห่ง ซึ่งมันสุ่มเสียงที่จะก่อให้เกิดแผ่นดินไหว ดินไหวขนาดเกิน 6 ริกเตอร์หรือไม่ แล้วบ้านเรามีรอยเลื่อนหรือเปล่า จังหวัดน่านมี
ซึ่งรอยเลื่อนนั้นมักจะเกิดขึ้ใหม่เวลามีแผ่นดิน รอยเลื่อนชื่อว่ารอยเลื่อนปัว ซึ่งลากผ่านตั้งแต่อำ�เภอสันติสุข บางส่วนอำ�เภอท่าวังผา
ไหว และรอยเลื่อนที่เกิดขึ้นนั้นก็จะมีการเกิดซำ�้
เนื่องจากการเคลื่อนที่ของแผ่นดิน ประเทศไทย
ก็กำ�ลังเข้าสู่ภาวะแผ่นดินไหว จึงควรเรียนรู้ในส่วน
รอยเลื่อนพะเยา พาดผ่านอำ�เภองาว จังหวัดลำ�ปาง และอำ�เภอเมือง จังหวัดพะเยา ในแนวทิศ
ตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ ทางด้านทิศเหนือของรอยเลื่อนท่าสี มีความยาว
ของรอยเลื่อนแต่ละแห่งไว้จะได้คอยป้องกันและ ประมาณ 23 กิโลเมตร
รู้จักเตรียมตัว หากเราต้องไปอยู่ในบริเวณที่มี
ทำ�ไมเธอบอกว่าไม่ไหวแล้วอ่ะ

รอยเลื่อนแพร่
ความเสี่ยง ทั้งๆที่ฉันยังรู้สึกว่ามันไหวๆ
อยู่เลย

รอยเลื่อนเชียงแสน รอยเลื่อนนี้อยู่ทางด้านตะวันออกของเมืองแพร่ และวางตัวในแนว


รอยเลื่อนนี้วางตัวในแนวตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบนสุดของประเทศ มีความยาวประมาณ 130 กิโลเมตร โดย ไอ้ที่ ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเริ่มต้นจากด้านตะวันตกเฉียงใต้ของอำ�เภอ เด่นชัย
ไม่ไหวน่ะ
เริ่มต้นจากแนวร่องนำ�้แม่จันไปทางทิศตะวันออก ผ่านอำ�เภอแม่จัน แล้วตัดข้ามด้านใต้ของอำ�เภอเชียงแสนไปทางทิศตะวัน หมายถึงพี่ ผ่านไปทางด้านตะวันออกของอำ�เภอสูงเม่น และจังหวัดแพร่ ไปจนถึงด้าน
ออกเฉียงเหนือตามแนวลำ�นำ�้เงิน ทางด้านเหนือของอำ�เภอเชียงของ อุ้มเธอไม่ไหว
แล้ว............. ตะวันออกเฉียงเหนือของอำ�เภอร้องกวาง รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 115
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดที่วัดได้ตามแนวรอยเลื่อนนี้ เกิดเมื่อวันที่ 1 กันยายน 2521 มี ขนาด 4.9 ริคเตอร์ กิโลเมตร มีแผ่นดินไหวขนาด 3-4 ริคเตอร์ เกิดตามแนวรอยเลื่อนนี้กว่า 20
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 มีแผ่นดินไหวขนาดใหญ่กว่า 3 ริคเตอร์ เกิดตามแนวรอยเลื่อนนี้ 10 ครั้ง และ 3 ครั้งมีขนาดใหญ่กว่า ครั้ง ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ส่วนแผ่นดินไหวขนาด 3 ริคเตอร์
4.5 ริคเตอร์ แผ่นดินไหวทั้งหมดเป็นแผ่นดินไหว ที่เกิดในระดับตื้นกว่า 10 กิโลเมตร ซึ่งเกิดเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2533 ที่ผ่านมา เกิดตามแนวรอยเลื่อน
ซึ่งแยกจากรอยเลื่อนแพร่ ไปทางทิศเหนือ
15
16
รอยเลื่อนแม่ทา รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์
นายว่าแผ่นดิน

รอยเลื่อน
แถวนี้จะไหวหรือ
ปล่าวถ้าเรามาอยู่

“คนละเรื่องเดียวกัน”
รอยเลื่อนนี้มีแนวเป็นรูปโค้งตามแนวลำ�นำ�้แม่วองและแนวลำ�นำ�้แม่ทา รอยเลื่อนนี้อยู่ทางด้านตะวันตก ของรอยเลื่อนเมย-
ไม่น่าจะไหว...ดินไม่
ค่อยดี...ปลูกอะไร
ในเขตจังหวัดเชียงใหม่และลำ�พูน มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 55 กิโลเมตร จาก อุทัยธานี โดยมีทิศทางเกือบขนานกับแนวของรอยเลื่อน อยู่ ใน เจดีย์สามองค์
ก็ไม่น่าจะขึ้น
การศึกษาของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต (2523) พบว่า ในช่วงระยะเวลา 6 เดือนของ ร่องน้ำ�แม่กลองและแควใหญ่ ตลอดขึ้นไปจนถึงเขตแดนพม่า รอยเลื่อนนี้อยู่ ในลำ�น้ำ�แควน้อยตลอดสาย และต่อ
การศึกษาในปี พ.ศ. 2521 มีแผ่นดินไหวขนาดเล็กเกิด ในระดับตื้นอยู่มากมาย รวมความยาวทั้งหมดกว่า 500 กิโลเมตร ในช่วงระยะเวลา 10 ไปจนถึงรอยเลื่อนสะแกง (Sakaing Fault) ในประเทศพม่า
ในบริเวณรอยเลื่อนนี้ ปี ที่ผ่านมามีรายงานแผ่นดินไหวขนาดเล็กหลายร้อยครั้ง ตาม ความยาวของรอยเลื่อนช่วงที่อยู่ ในประเทศไทยยาวกว่า 250
แนวรอยเลื่อนนี้ แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดที่วัดได้ในระหว่างนี้ กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวจากรอยเลื่อนนี้มากมายหลาย
เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2526 มีขนาด 5.9 ริคเตอร์ พันครั้ง
รอยเลื่อนเถิน
รอยเลื่อนเถินอยู่ทางทิศตะตกของรอยเลื่อนแพร่ โดยตั้งต้นจากด้านตะวันตกของอำ�เภอเถินไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ
ขนานกับรอยเลื่อนแพร่ไปทางด้านเหนือ ของอำ�เภอเถินไปทางตะวันออกเฉียงเหนือขนานกับรอยเลื่อนแพร่ ไปทางด้านเหนือของ รอยเลื่อนระนอง
รอยเลื่อนระนองวางตัวตามแนวร่องน้ำ�ของแม่น้ำ�กระบุรี มีความยาวทั้งสิ้นประมาณ 270
อำ�เภอวังชื้น และอำ�เภอลอง รวมความยาวทั้งหมดประมาณ 90 กิโลเมตร เคยมีรายงานการเกิดแผ่นดินไหวขนาด 3.7 ริคเตอร์ บน กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2521 มีขนาด 5.6 ริคเตอร์

รอยเลื่อนเมย-อุทยธานี รอยเลื่อนคลองมะรุย
รอยเลื่อนนี้ตัดผ่านด้านตะวันออกของเกาะภูเก็ต เข้าไปในอ่าวพังงา และตามแนวคลอง
รอยเลื่อนนี้วางตัวในแนวตะวันตกเฉียงเหนือ ตั้งต้นจากลำ�นำ�้เมย
มะรุย คลองชะอุน และคลองพุมดวงทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จนกระทั่งไปออกอ่าวบ้านดอน
ชายเขตแดนพม่ามาต่อกับห้วยแม่ท้อ และลำ�นำ�้ปิงใต้จังหวัดตาก ต่อลงมา
ระหว่างอำ�เภอพุนพินกับอำ�เภอท่าฉาง รวมความยาวทั้งสิ้นประมาณ 150 กิโลเมตร แผ่นดินไหวตาม
ผ่านจังหวัดกำ�แพงเพชร และนครสวรรค์ จนถึงเขตจังหวัดอุทัยธานี รวม
แนวรอยเลื่อนนี้ มีรายงาน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2476 ที่จังหวัดพังงา และทางด้านตะวันตกเฉียง
ความยาวทั้งสิ้นกว่า 250 กิโลเมตร มีรายงานแผ่นดินไหวเกิดตามรอยเลื่อนนี้
ใต้ นอกฝั่งภูเก็ต เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2519, พ่อๆ
2 ครั้ง คือ เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2476 ที่อำ�เภอแม่สอด จังหวัดตาก และ เราย้ายไปอยู่ไกล้
เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2518 ที่ อำ�เภอ ท่าสองยาง จังหวัดตาก แผ่นดิน รอยเลื่อนดีมั้ย
ผมอยากเห็นแผ่นดิน
ไหวครั้งหลังนี้มีขนาด 5.6 ริคเตอร์ ไหวอ่ะ 17
18

เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะมีคลื่นแผ่นดิน 2 ชนิด คือ คลื่นปฐมภูมิ (primary)


หรือคลื่นพี (P) และ คลื่นทุติยภูมิ (secondary) หรือคลื่นเอส (S) โดยคลื่นพีเคลื่อนที่ได้
เร็วกว่าคลื่นเอสมากและใช้เวลาเพียง 20 นาทีเคลื่อนที่ผ่านทุกส่วนของโลกจากซีกโลกหนึ่ง
ไปยังอีกซีกโลกหนึ่ง ส่วนคลื่นเอสไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านส่วนที่เป็นของเหลวได้และ
เคลื่อนที่ได้ช้ากว่าคลื่นพีมาก
เปรียบคลื่นพีเหมือนฟ้าแลบ ที่เราจะเห็นก่อนได้ยินฟ้าร้องซึ่ง ทั้งนี้คลื่นพีเป็นคลื่นตามยาว (Longitudinal
เปรียบเหมือนคลื่นเอสที่ตามมาทีหลัง คลื่นพีจะมาถึงจุดที่เราอยู่ก่อนคลื่นเอส wave) เมื่ออนุภาคถูกกระทบจะเคลื่อนไปตามแนวที่
หากเราอยู่ ใกล้จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวมากๆ คลื่นทั้งสองจะมาถึงเราแทบ คลื่นพุ่งไปและอยู่ในสภาพถูกอัดและขยาย
พร้อมๆ กัน แต่หากอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวออกไป จะมีความ ส่วนคลื่นเอสเป็นคลื่นตามขวาง (transverse
แตกต่างของเวลาที่คลื่นทั้งสองเดินทาง “พ่อๆนั่นๆจุดไฮโปเซ็นเตอร์“
wave) เมื่ออนุภาคถูกกระทบจะเคลื่อนที่ขึ้นลงในทิศ
มาถึงจุดที่เรายืนอยู่
ตั้งฉากกับทิศที่คลื่นพุ่งไป ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ ได้ใช้หลัก
การนี้ในการหาจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว โดยเหนือ
จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวขึ้นมาถึงผิวดินเรียกว่า จุดอิพิ
เซ็นเตอร์ (epicenter) และจุดที่อยู่ล่างศูนย์กลางแผ่น
ดินไหวลงไปเรียกว่า จุดไฮโปเซ็นเตอร์ (hypocenter)

19
20

ความรุนแรงแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวขนาด 4-4.9 ริคเตอร์


เกิดการสั่นไหวเล็กน้อย ผู้คนที่อยู่ในอาคารรู้สึก
ขนาด (Magnitude) เป็นปริมาณที่มีความสัมพันธ์กับพลังงานที่พื้นโลก ปลดปล่อย เหมือนรถไฟวิ่งผ่าน
ออกมาในรูปของการสั่นสะเทือน คำ�นวณได้จากการตรวจวัดค่าความสูงของคลื่นแผ่นดินไหว
ที่ตรวจวัด ได้ด้วยเครื่องมือตรวจแผ่นดินไหว โดยเป็นค่าปริมาณที่บ่งชี้ขนาด ณ บริเวณ แผ่นดินไหวขนาด 5-5.9 ริคเตอร์
ศูนย์กลางแผ่นดินไหว มีหน่วยเป็น “ ริคเตอร์” เกิดการสั่นไหวปานกลาง ผู้ที่อาศัยอยู่ทั้งภายใน
อาคาร และนอกอาคาร รู้สึกถึงการ สั่นสะเทือน วัตถุห้อย
แขวนแกว่งไกว

มาดูความรุนแรงถ้าเป็นมาตราริคเตอร์ว่า แผ่นดินไหวขนาด 6-6.9 ริกเตอร์


เกิดการสั่นไหวรุนแรงเป็นบริเวณกว้าง เครื่องเรือน และ
จะเป็นยังไง? วัตถุมีการเคลื่อนที่
แผ่นดินไหวขนาด 1-2.9 ริคเตอร์
ความสัมพันธ์ของขนาดโดยประมาณกับความสั่นสะเทือนใกล้ศูนย์กลาง
แผ่นดินไหวขนาด
แผ่นดินไหวขนาด 3-3.9 ริคเตอร์
เกิดการสั่นไหวเล็กน้อย ผู้คนเริ่มมีความรู้สึกถึง
7.0 ริ ค เตอร์ ขึ น
้ ไป
เกิดการสั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่มเสียหาย พังทลายเกิด

การสั่นไหว บางครั้ง รู้สึกเวียน ศีรษะ การสั่นไหวร้ายแรง อาคาร สิ่งก่อสร้างมีความเสียหายอย่างมาก แผ่น


ดินแยก วัตถุที่อยู่บนพื้นถูกเหวี่ยงกระเด็น

21
22
ความรุนแรงแผ่นดินไหว (Intensity) แสดงถึงความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่น
ดินไหวที่เกิดขึ้น วัด ได้จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น ขณะเกิด และหลังเกิดแผ่นดินไหว แผ่นดินไหวระดับที่ 6 ลักษณะความรุนแรงรู้สึกได้กับทุก
เช่น ความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่วัตถุหรือ อาคารเสียหายหรือสภาพภูมิประเทศที่ คนของหนักในบ้านเริ่มเคลื่อนไหว
เปลี่ยนแปลง เป็นต้น ในกรณีของประเทศไทยใช้ มาตราเมอร์แคลลี่ สำ�หรับเปรียบเทียบ
อันดับ ซึ่งมีทั้งหมด 12 อันดับ เรียงลำ�ดับความรุนแรงแผ่นดินไหวจากน้อยไปมาก แผ่นดินไหวระดับที่ 7 ลักษณะความรุนแรงทุกคน
ต่างตกใจ สิ่งก่อสร้างเริ่มปรากฎความเสียหาย
มาดูความรุนแรงของแผ่นดินไหวถ้าเป็น แผ่นดินไหวระดับที่ 8
มาตราเมอร์แคลลี่ว่าจะเป็นยังไง? ลักษณะความรุนแรงเสียหายค่อนข้างมากในอาคารธรรมดา
แผ่นดินไหวระดับที่ 1
ลักษณะความรุนแรงเป็นอันดับที่อ่อนมาก ตรวจวัดโดยเครื่องมือ แผ่นดินไหวระดับที่ 9
แผ่นดินไหวระดับที่ 2 ลักษณะความรุนแรงลักษณะความรุนแรงสิ่งก่อสร้างที่ออกแบบไว้อย่างดี
ลักษณะความรุนแรงพอรู้สึกได้สำ�หรับผู้ที่อยู่นิ่ง ๆ ในอาคารสูง ๆ เสียหายมาก
แผ่นดินไหวระดับที่ 10 ลักษณะความรุนแรงอาคารพัง รางรถไฟบิดงอ
แผ่นดินไหวระดับที่ 3
ลักษณะความรุนแรงพอรู้สึกได้สำ�หรับผู้อยู่ในบ้าน แต่คนส่วนใหญ่ยังไม่รู้สึก แผ่นดินไหวระดับที่ 11
ลักษณะความรุนแรงอาคารสิ่งก่อสร้างพังทลายเกือบทั้งหมด ผิวโลก
ปูดนูนและเลื่อนเป็นคลื่นบนพื้นดินอ่อน
แผ่นดินไหวระดับที่ 4
ลักษณะความรุนแรงผู้อยู่ในบ้านรู้สึกว่าของในบ้านสั่นไหว
แผ่นดินไหวระดับที่ 12
แผ่นดินไหวระดับที่ 5
ลักษณะความรุนแรงทำ�ลายหมดทุกอย่าง
ลักษณะความรุนแรงรู้สึกเกือบทุกคน ของในบ้านเริ่มแกว่งไกว มองเห็นเป็นคลื่นบนแผ่นดิน
23
24
Aftershock
ทั้งนี้ เราไม่สามารถบอกได้แน่ชัดว่า เมื่อเกิด
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ขึ้นแล้วจะเกิดอาฟเตอร์ช็อก
แต่ ถึงกระนั้นก็มี “กฎของกูเตนเบิร์ก-ริกเตอร์”
ตามมาอีกกี่ครั้ง และมีขนาดเท่าไรบ้าง เพราะขึ้นอยู่ (Gutenberg Richter law) เคยคำ�นวณไว้ว่า หากเกิดแผ่นดิน
กับความรุนแรงของแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น หากเป็น ไหวขนาด 6.0 ริกเตอร์ จำ�นวน 1 ครั้ง จะเกิดอาฟเตอร์ช็อก
แผ่นดินไหวขนาดใหญ่มาก ก็อาจเกิดอาฟเตอร์ช็อก ขนาด 5.0 ริกเตอร์ ราว 10 ครั้ง ขนาด 4.0 ริกเตอร์ ราว 100
จำ�นวนครั้งมากกว่าและต่อเนื่องนานกว่าแผ่นดินไหว ครั้ง ขนาด 3.0ริกเตอร์ ราว 1,000 ครั้ง และยังเกิดขนาดต่ำ�กว่า
ที่มี ความรุนแรงน้อยกว่า 3.0ริกเตอร์ กว่า 10,000 ครั้ง ซึ่งเป็นระดับที่คนจะไม่รับรู้ถึงแรง
สั่นสะเทือนแล้ว
อาฟเตอร์ช็อก (aftershock) คือ แผ่นดิน “นายเชื่อปะ..ตั้งแต่แผ่นดินไหวครั้งก่อน... ฟอร์ช็อก (Fore Shock) หรือ แผ่นดินไหวนำ� คือแผ่น
ไหวขนาดเล็กเกิดขึ้นหลายๆ ครั้งเป็นเวลา 1 ถึง บ้านนั้นมีอาฟเตอร์ช็อก ทุกเย็นเลย“ ดินไหวขนาดเล็กที่สั่นเตือนล่วงหน้าก่อนเกิดแผ่นดินไหวหลัก
2 วัน หรืออาจเป็นเดือนก็ได้หลังจากเกิดแผ่นดิน (Main Shock) จะเกิดในบริเวณเดียวกับแผ่นดินไหวหลัก และ
ไหวขนาดใหญ่ โดยเกิดขึ้นทันทีที่บริเวณเดียวกัน อาจเกิดก่อนล่วงหน้าเพียงไม่กี่นาที ชั่วโมง เป็นวัน หรือเป็น
สัปดาห์ก็ได้
หลังจากแผ่นดินไหวขนาดใหญ่เกิดขึ้นแล้ว หิน
เมนช็อก (Main Shock) หรือ แผ่นดินไหวหลัก คือ
ต่างๆ รอบๆ ศูนย์กลางไหวสะเทือนใต้ผิวโลกจะ แผ่นดินไหวที่มีขนาดความรุนแรงมากที่สุดในช่วงเวลานั้น ๆ โดย
พยายามปรับตัวให้คืนสภาพสมดุล ทำ�ให้เกิดความ แผ่นดินไหวที่มีขนาดเล็กกว่าและเกิดก่อนเมนช็อก เราจะเรียกว่า
ไหวสะเทือนตามมาเป็นระยะ ๆ จนเมื่อเปลือก ฟอร์ช็อก ส่วนแผ่นดินไหวที่ขนาดเล็กกว่าและเกิดหลังเมนช็อก
โลกปรับสู่สภาพสมดุลได้แล้ว อาฟเตอร์ช็อกก็จะ เราจะเรียกว่า อาฟเตอร์ช็อก
หยุดลงเอง
25
26
เราทำ�นายการเกิดแผ่นดิน
ไหวได้หรือยัง?
จนถึงทุกวันนี้ เรายังไม่มีวิธีที่จะทำ�นายการเกิดแผ่นดินไหว แม้นักวิทยาศาสตร์จะพยายามหลายวิธีเพื่อหาทาง
ทำ�นายการเกิดแผ่นดินไหว แต่ยังไม่เคยมีสักครั้งที่ประสบความสำ�เร็จ ทราบเพียงว่าบริเวณรอยเลื่อนของแผ่นเปลือกโลก
นอกจากจะทำ�ให้อาคารโยกไหวแล้ว แผ่นดินไหวอาจทำ�ให้พื้นดินมีสภาพคล้าย นั้น อาจทำ�ให้เกิดแผ่นดินไหวได้ในอนาคต แต่ยังบอกไม่ ได้ว่าเมื่อใด ส่วนสภาพอากาศหรือสัตว์จะทำ�นายการเกิดแผ่นดิน
ของเหลวและสูญเสียกำ�ลังแบกทานโดยสิ้น เชิง สภาพการณ์เช่นนี้อาจเกิดขึ้นเมื่อเกิด ไหวได้หรือไม่นั้น ยังไม่มีความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ที่จะอธิบายเรื่องนี้ได้
แผ่นดินไหวในบริเวณที่มีสภาพดินเป็น ดินทราย และมีระดับน้ำ�ใต้ดินสูง การที่ดินมี
สภาพคล้ายของเหลวเกิดจากการที่พื้นดินได้รับแรงกระแทก เช่น แรงระเบิด หรือแรง
กระทำ�ซ้ำ� เช่น แผ่นดินไหว ภายใต้แรง กระทำ�ดังกล่าว แรงดันน้ำ�ระหว่างมวลดินจะสูง
ขึ้นจนเท่ากับแรงดันระหว่างมวลดิน ซึ่งทำ�ให้ดินสูญเสียกำ�ลังเฉือน ในสภาพเช่นนี้ อาจ
เกิดสภาวะทรายดูด หรือดินไหลในแนวราบเช่นเดียวกับของเหลว สิ่งก่อสร้าง อาจจม
หรือทรุดตัวลง
จากการศึกษาถึงความเสียหายของโครงสร้างที่เกิดจากการเกิดแผ่นดินไหว
พบว่า มีโครงสร้างจำ�นวนมากเสียหายจากการที่พื้นดินกลายสภาพ
คล้ายของเหลวขณะเกิดแผ่นดินไหว ตัวอย่างเช่น แผ่นดิน
ไหวที่ประเทศชิลีในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๓ แผ่น
ดินไหวที่ประเทศเม็กซิโกในวันที่ ๒๖ สิงหาคม พ.ศ.
๒๕๐๒ และแผ่นดินไหวที่มลรัฐอะแลสกา ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ใน พ.ศ. ๒๕๐๗

27
28
การสังเกตการเกิดแผ่นดินไหว
สัญชาตญาณของสัตว์
จากการศึกษาวิจัยของผู้เชี่ยวชาญด้านแผ่นดินไหวพบว่า หากสัตว์ป่ามี
พฤติกรรมผิดไปจากปกติ มักจะเกี่ยวข้องกับการเกิดภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดินไหว
ทั้งนี้เพราะสัตว์มีความสามารถรู้ล่วงหน้าว่าจะเกิดแผ่นดินไหว เป็นสัญชาตญาณอย่าง
หนึ่งในการเอาชีวิตรอด
เช่นนกมีความรู้สึกไวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม โดยเฉพาะ
นกพิราบป่า จะไวเป็นพิเศษ ฝูงนกพิราบป่าที่อยู่ภายในรัศมี 50 กม.จากศูนย์กลางแผ่น
ดินไหวจะล่วงรู้ล่วงหน้า และบินหนีไปภายใน 24 ชั่วโมง

าติที่
แผ่นดินไหวเป็นภัยธรรมช
ย าก ร ณ ์ ไ ด อ
้ ย่างแม่นยำ� ย
ั พ บ ว า
่ ท ร
่ ี ล
้ ู ว
่ งห น้าว่าจะเกิด
ปรากฏการณ์ล่วงหน้า (Precursory phenomena) ยังค ง ไม ส
่ าม าร ถ พ
วยเทคโนโลยี วลาเกิด ด้
ผลการวิจ ส ต
ั ว์
ะงูจำ�ศีลอยู่ในโพรงใต้ดิน
ู ทั้งนี้เพรา
แผ่นดินไหวก่อนใครคือ ง ึงรู้สึกถึงความผิดปกติได้ง่ายเมื่อมี
อาจเป็นสิ่งเตือนภัย หรือลางบอกเหตุสัญญาณให้รู้ว่า อีกไม่
ทั้งเรื่องตำ�แหน่ง ขนาด และเ
นานจะมีแผ่นดินไหวเกิดขึ้น ในอเมริกา รัสเซีย จีน ญี่ปุ่น
ะอ ป
ุ ก รณ เ
์ คร อ
่ ื งม อ
ื ตร วจ วั ดที่มีอยู่ในปัจจุบัน (งูในประเทศเขตหนาว) จ โลก มีก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ มี เธอนี่ทาย
ต่างให้ความสนใจ พยายามค้นคว้าวิจัยเกี่ยวกับปรากฏการบาง แล
วามพยายามอย่าง การสั่นสะเทือนของเปลือกแม่เหล็กไฟฟ้า ฯลฯ และจะหลบภัย
แม่นเนอะ ก่อนที่ฉันจะ
อย่างกันมาก ได้แก่ ต
็ าม น ก
ั วิ ท ยา ศา สต ร์ ไ ด้ ม ค
ี ไปกินเลี้ยงเธอบอกว่า กลับ
อย่างไรก
การเปลี่ยนแปลงของคลื่น แม้จะเป็นช่วงฤดูหนาวก็ตาม
มาแผ่นดินจะไหว.....
1) พื้นดินเกิดการยกตัวขึ้นมาอย่างผิดปกติ ษ าว เ
ิ คร าะ ห ถ
์ ง
ึ คุ ณ ลั ก ษ ณ ะต ่าง ๆ ของ ดูดิพื้นดินเอียงไปเอียงมา
ยิ่งในการศึก ด้วยการเลื้อยขึ้นมาบนดิน
2) ค่าความเข้มสนามแม่เหล็กโลกเปลี่ยนแปลงไป
แห ล่ ง ก �
ำ เน ด
ิ แผ น
่ ดิ น ไห วเ พื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
3) สภาพการนำ�ไฟฟ้าของหินเปลี่ยนแปลง บริเ วณ
4) เกิดแผ่นดินไหวเล็กๆ เกิดขึ้นเป็นการเตือนภัยก่อน ในการพยากรณ์แผ่นดินไหว ป ลือกโลก ที่
5) มีปริมาณก๊าชเรดอนในบ่อนำ�้สูงกว่าปกติ
คุณ ลั ก ษ ณ ะท าง ก าย ภ าพ ขอ งเ
ิดแผ่นดินไหว
เปลี่ยนแปลงจากปกติก่อนเก
29
30
ข้อควรปฏิบัติ
ค.ศ. 1976 ไม่กี่ชั่วโมงก่อนที่จะเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่เมืองถังซานในประเทศ สำ�หรับเหตุการณ์แผ่นดินไหว
จีน มีคนเห็น ฝูงกบนับพันนับหมื่นตัวพากันอพยพ
ตอนที่เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ มีรายงานว่าสุนัขจะแสดงพฤติกรรมแปลกๆ มาก
ที่สุด สุนัขเป็นสัตว์ที่ใกล้ชิดกับคน จึงสังเกตความผิดปกติจากสุนัขได้ง่าย และพบว่าก่อน ดูเหมือนว่าการเกิดแผ่นดินไหวไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป
เกิดแผ่นดินไหว สุนัขจะมีอาการตื่นตระหนก วิ่งไปวิ่งมา บางตัวก้าวร้าวขึ้น ส่วนบางตัว เมื่อล่าสุด ได้เกิดเหตุแผ่นดินไหวในประเทศไทย หลายจังหวัดทางภาคเหนือ โดย
ก็เห่าและหอน ก่อนเกิดแผ่นดินไหว แมว ส่วนใหญ่จะหาที่หลบ ญี่ปุ่นมีคำ�โบราณกล่าว เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรง จนทำ�ให้สามารถรับรู้ถึงแรงสั่นไหว เขย่าตัวบ้าน
ไว้ว่า “ก่อนแผ่นดินไหว แมวจะปีนขึ้นต้นไม้สูง” และมีคนเห็นเช่นนี้จริงๆ ก่อนเกิดแผ่น อาคารบ้านชั้นเดียวถึงอาคารสูง ข้าวของหล่นแตกกระจาย ตัวบ้านและกระจก
ไหว แมวบางตัวแสดงอาการงุ่นง่าน วิ่งไปมา และส่งเสียงร้องอย่างกระวนกระวาย หน้าต่างสั่น ทำ�ให้ประชาชนต้องหนีออกจากอาคารบ้านเรือนเพื่อความปลอดภัย
เมื่อ ค.ศ. 1923 ก่อนเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงที่คันโต หนู พากันหลบหนีไป นอกจากนี้ ยังส่งผลมายังตึกสูงสามารถรับรู้ถึงแรงสั่นไหวอีกด้วย เห็นแบบนี้ เรา
หมด และตอนเกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่โกเบ ก็พบปรากฏการณ์หนูพากันหลบหนีเช่นกัน จึงรวบรวมข้อควรปฏิบัติเมื่อเกิดแผ่นดินไหว เพื่อเตรียมความพร้อมในการเอาตัว
นอกจากนี้ยังพบว่าก่อนเกิดแผ่นดินไหวจะมีหนูติดกับดักเพิ่มขึ้น และหนูบางตัววิ่งพล่าน
รอดเมื่อเกิดแผ่นดินไหวอีกด้วย
ไปทั่ว

ไอ้ด่างมันเห่าเห็นผีหรือ “ผมว่าผมจะตั้งชื่อวัดใหม่ละ..วัดยอดเอนดีมั้ย...“
เตือนแผ่นดินไหวกันนะ

31
32
การเตรียมพร้อมก่อนแผ่นดินจะไหว
• เตรียมเครื่องอุปโภคบริโภคที่จำ�เป็น เช่น ถ่านไฟฉาย ไฟฉาย อุปกรณ์ดับ เมื่อเกิดแผ่นดินไหวจะทำ�อย่างไร
เพลิง น้ำ�ดื่มน้ำ�ใช้ อาหารแห้ง ไว้ใช้ในกรณีไฟฟ้าดับหรือกรณีฉุกเฉินอื่น ๆ
• จัดหาเครื่องรับวิทยุ ที่ใช้ถ่านไฟฉายหรือแบตเตอรี่ สำ�หรับเปิดฟังข่าวสารคำ� • ตั้งสติ อยู่ ในที่ที่แข็งแรงปลอดภัย ห่างจากประตู หน้าต่าง สายไฟฟ้า เป็นต้น
เตือน คำ�แนะนำ�และสถานการณ์ต่าง ๆ • ปฏิบัติตามคำ�แนะนำ� ข้อควรปฏิบัติของทางราชการอย่างเคร่งครัด
• เตรียมอุปกรณ์นิรภัย สำ�หรับการช่วยชีวิต ไม่ตื่นตระหนกจนเกินไป
• เตรียมยารักษาโรค และเวชภัณฑ์ ให้พร้อมที่จะใช้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น • ไม่ควรทำ�ให้เกิดประกายไฟ เพราะหากมีการรั่วซึมของแก๊สหรือวัตถุไวไฟ
• จัดให้มีการศึกษาถึงการปฐมพยาบาล เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมที่จะช่วย อาจเกิดภัยพิบัติจากไฟไหม้ ไฟลวกซ้ำ�ซ้อนกับแผ่นดินไหวเพิ่มขึ้นอีก
• เปิดวิทยุรับฟังสถานการณ์ คำ�แนะนำ�คำ�เตือนต่าง ๆ จากทางราชการอย่างต่อเนื่อง
เหลือผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ หรืออันตรายให้พ้นขีดอันตรายก่อนที่จะถึงมือแพทย์
• ไม่ควรใช้ลิฟต์ เพราะหากไฟฟ้าดับอาจมีอันตรายจากการติดอยู่ภายใต้ลิฟต์
• จำ�ตำ�แหน่งของวาล์ว เปิด-ปิดน้ำ� ตำ�แหน่งของสะพานไฟฟ้า เพื่อตัดตอนการ • มุดเข้าไปนอนใต้เตียงหรือตั่ง อย่าอยู่ ใต้คานหรือที่ที่มีน้ำ�หนักมาก
ส่งน้ำ� และไฟฟ้า • อยู่ใต้โต๊ะที่แข็งแรง เพื่อป้องกันอันตรายจากสิ่งปรักหักพังร่วงหล่นลงมาอยู่ห่างจากสิ่งที่ไม่มั่นคงแข็งแรง
• ยึดเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้สอย ภายในบ้าน ที่ทำ�งาน และในสถานศึกษาให้ • ให้รีบออกจากอาคารเมื่อมีการสั่งการจากผู้ที่ควบคุมแผนป้องกันภัย หรือผู้ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้
นายตั้งใจจะไปทำ�งานแบบนี้ทุก
วัน........นายจะเตรียมพร้อม
ความมั่นคงแน่นหนา ไม่โยกเยกโคลงแคลงไปทำ�ความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน • หากอยู่ ในรถ ให้หยุดรถ จนกว่าแผ่นดินจะหยุดไหวหรือสั่นสะเทือนหลังเกิดแผ่นดินไหว
เกินไปไม๊....โอเวอร์ไปปล่าว • ไม่ควรวางสิ่งของที่มีน้ำ�หนักมาก ๆ ไว้ในที่สูง เพราะอาจร่วงหล่นมา • ตรวจเช็คการบาดเจ็บ และการทำ�การปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ แล้วรีบนำ�ส่งโรงพยาบาลโดยด่วน
ทำ�ความเสียหายหรือเป็นอันตรายได้ เพื่อให้แพทย์ ได้ทำ�การรักษาต่อไป
• เตรียมการอพยพเคลื่อนย้าย หากถึงเวลาที่จะต้องอพยพ • ตรวจเช็คระบบน้ำ� ไฟฟ้า หากมีการรั่วซึมหรือชำ�รุดเสียหาย ให้ปิดวาล์ว เพื่อป้องกันน้ำ�ท่วมเอ่อ
• วางแผนป้องกันภัยสำ�หรับครอบครัว ที่ทำ�งาน และสถานที่ศึกษา มีการ ยกสะพานไฟฟ้า เพื่อป้องกันไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าดูด หรือไฟฟ้าช็อต
ชี้แจงบทบาทที่สมาชิกแต่ละบุคคลจะต้องปฏิบัติ มีการฝึกซ้อมแผนที่จัดทำ�ไว้ เพื่อ • ตรวจเช็คระบบแก๊ส โดยวิธีการดมกลิ่นเท่านั้น หากพบว่ามีการรั่วซึมของแก๊ส (มีกลิ่น) ให้เปิดประตู
เพิ่มลักษณะและความคล่องตัวในการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน หน้าต่าง แล้วออกจากอาคาร แจ้งเจ้าหน้าที่ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนผู้ที่รับผิดชอบได้ทราบในโอกาสต่อไป

33
34
• เปิดฟังข่าวสารและปฏิบัติตามคำ�แนะนำ� จากทางราชการโดยตลอด ไม่ใช้โทรศัพท์โดยไม่จำ�เป็น
• อย่ากดน้ำ�ล้างส้วม จนกว่าจะมีการตรวจเช็คระบบท่อเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพราะอาจเกิดการ
แตกหักของท่อในส้วม ทำ�ให้น้ำ�ท่วมเอ่อหรือส่งกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ การปฏิบัติตัวเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัย
• ออกจากอาคารที่ชำ�รุดโดยด่วนเพราะอาจเกิดการพังทลายลงมา
• สวมรองเท้ายางเพื่อป้องกันสิ่งปรักหักพัง เศษแก้ว เศษกระเบื้อง
• รวมพล ณ ที่หมายที่ได้ตกลงนัดหมายกันไว้ และตรวจนับจำ�นวนสมาชิกว่าอยู่ครบหรือไม่ [รู้หรือไม่?] ไม่เพียงแค่แผ่นดินไหวบนโลก แต่ดวง - แสดงความสงบ มั่นคง ให้กำ�ลังใจ และผ่อนปรน
• ร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ในการเข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณที่ได้รับความเสียหาย และผู้ไม่มีหน้าที่หรือ จันทร์มีปรากฏการณ์แผ่นดินไหวเช่นกัน เพียงแต่มี
- ยอมรับความรู้สึกของผู้ประสบเหตุการณ์
ไม่เกี่ยวข้อง ไม่ควรเข้าไปในบริเวณนั้น ๆ หากไม่ได้รับการอนุญาต ความถี่ในการเกิดน้อยกว่าบนโลกและมีความรุนแรง
• อย่าออกจากชายฝั่ง เพราะอาจเกิดคลื่นใต้น้ำ�ซัดฝั่งได้ แม้ว่าการสั่นสะเทือนของแผ่นดินจะสิ้นสุดลง น้อยกว่า ซึ่งปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้สัมพันธ์กับแรง - พูดหรือสัมผัสร่างกายเพื่อให้ความมั่นใจ
แล้วก็ตาม ไทดัล (tidal) ที่แปรเปลี่ยนตามระยะทางระหว่าง - ให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับปัญหาเฉพาะหน้า เริ่มจาก
โลกและดวงจันทร์ อีกทั้งยังเกิดแผ่นดินไหวลึกลงไป
ระหว่างใต้พื้นผิวและศูนย์กลางของดวงจันทร์ เรื่องเล็กๆก่อน
เมื่อแผ่นดินไหวสงบลงแล้ว - พยายามให้ได้ติดต่อกับญาติ เพื่อนบ้านหรือคนอื่นๆ
เพื่อสร้างระบบเครือข่ายการช่วยเหลือ
• ควรตรวจดูตัวเองและคนใกล้เคียงว่าได้รับบาดเจ็บหรือไม่ ถ้ามีการบาดเจ็บ “แหม...อย่ามองโลกแง่ร้ายสิครับ..แผ่น
-ยอมรับข้อจำ�กัดของผู้ประสบภัย
ดินไหวสงบแล้ว...ต้องตั้งสติให้ดี
ให้ทำ�การปฐมพยาบาลก่อน หากว่าบาดเจ็บมาก ให้นำ�ส่งสถานพยาบาลต่อไป
• ควรรีบออกจากตึกที่เสียหาย เพื่อความปลอดภัยจากอาคารถล่มทับ - ช่วยให้ผู้ประสบภัยได้ระบายความรู้สึกเกี่ยวกับ
• ควรตรวจท่อนำ�้ แก๊ส และสายไฟฟ้า หากพบส่วนที่เสียหาย ปิดวาล์วนำ�้หรือถัง “หิวข้าวอ่ะ“ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
แก๊ส และยกสะพานไฟฟ้า - ฟังอย่างตั้งใจ พยายามไม่ขัดคอ
• ตรวจแก๊สรั่วโดยการดมกลิ่น ถ้าได้ กลิ่นแก๊ส ให้เปิดหน้าต่างและประตูทุกบาน - อย่าถกเถียงแม้ว่าจะไม่เห็นด้วย
รีบออกจากบ้าน และแจ้งเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง - อย่าให้คำ�สัญญาในสิ่งที่ท่านมั่นใจว่าจะทำ�ได้
• เปิดวิทยุฟังคำ�แนะนำ�ฉุกเฉิน อย่าใช้โทรศัพท์ถ้าไม่จำ�เป็น เพราะอาจจะใช้ส่งข่าว
• อย่ากดนำ�้ล้างโถส้วมจนกว่าจะตรวจสอบว่า มีสิ่งตกค้างอยู่ ในท่อระบายหรือไม่
- ให้ข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์เท่าที่ผู้รอดชีวิตร้องขอ
• สวมรองเท้าหุ้มส้น เพื่อป้องกันเศษ แก้วและสิ่งหักพังทิ่มแทง แต่อย่าให้ข้อมูลมากเกินความต้องการ
35
36
ผลกระทบของภัยพิบัติที่มีต่อบุคคลกลุ่มต่างๆ ผลกระทบของภัยพิบัติที่มีต่อผู้สูงอายุ
การตอบสนองต่อภัยพิบัติของเด็กอายุ 1-5 ปี ผู้สูงอายุมีความเสี่ยงสูงที่จะถูกทอดทิ้งให้โดด
- กลัวการพลัดพรากจากผู้ปกครองหรือครอบครัว
เดี่ยวและมีปัญหาในการเข้าถึงทรัพยากรต่างๆ ด้วย โดย
- กลัวคนแปลกหน้า
เฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุที่ต้องสูญเสียสมาชิกในครอบครัวที่
- กลัวสัตว์ประหลาดหรือสัตว์ต่างๆ
- มีปัญหาในการนอน หลีกหนี เคยให้การดูแลมาก่อนที่จะเกิดภัยพิบัติ
- สูญเสียทักษะที่เคยมีอยู่เดิม เช่น การควบคุมการขับ ปฏิกิริยาผู้สูงอายุ ได้แก่
ถ่าย การกินอาหารได้เอง เป็นต้น - ซึมเศร้า - สับสนเรื่องบุคคล เวลา สถานที่
- จำ�อะไรไม่ได้ - ฟุ้งซ่าน เสียสมาธิได้ง่าย

ผู้พิการทางด้านร่างกายหรือทางสติปัญญา
การตอบสนองต่อภัยพิบัติ ผลกระทบของภัยพิบัติที่มีต่อผู้หญิง
ของเด็กอายุ 6-11 ปี
ภัยพิบัติทำ�ให้ชุมชนต้องแยกกระจัดกระจายกันออกไป จึง
ภัยพิบัติจะทำ�ให้การดูแลผู้พิการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการให้บริการทางการ
- เล่นบทบาทที่เกี่ยวกับภัยพิบัติซ้ำ�ๆ บ่อยๆ แพทย์ โปรแกรมการบำ�บัดรักษาหรือการให้ความช่วยเหลือด้านอื่นๆ ทำ�ให้ไม่สามารถตอบสนองความ
ทำ�ให้บทบาทและความรับผิดชอบของผู้หญิงต้องเปลี่ยนแปลงตามไป
- รู้สึกไม่มั่นใจในความปลอดภัยและรู้สึกว่าตก ต้องการของผู้พิการได้ ผู้พิการจึงมักมีความเครียดสูง
ด้วย ถ้าสถานการณ์ยืดเยื้อนานขึ้นและความเครียดเพิ่มสูงขึ้น ผู้หญิง
อยู่ ในอันตรายตลอดเวลา ผู้พิการมักมีทักษะในการจัดการกับปัญหาน้อยกว่าบุคคลธรรมดาในชุมชนอยู่แล้ว ดังนั้นพวกเขาจึงมี
มักจะได้รับความทุกข์จากการถูกทำ�ร้ายร่างกายและ/หรือทางอารมณ์
- มีปัญหาในการนอน
จากสามี นอกจากนี้ อัตราการถูกข่มขืนก็จะสูงขึ้นในที่พักชั่วคราวหรือ ความเสี่ยงที่จะถูกทอดทิ้งได้ง่ายๆ
- หงุดหงิดง่าย
- มีพฤติกรรมก้าวร้าว ระเบิดความโกรธได้ง่าย
ในที่พักของผู้อพยพด้วย ผู้อพยพและผู้ย้ายถิ่นที่อยู่
แม่หม้าย ถือเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยง เพราะต้องสูญเสีย บุคคลเหล่านี้ไม่ ใช่สมาชิกเดิมในท้องถิ่น แต่มาจากที่อื่นเพื่อหางานทำ�ในชุมชนนั้นก่อนที่จะเกิดภัย
- คิดวิตกกังวลอย่างมากเกี่ยวกับสมาชิกใน
เสาหลักที่เป็นผู้หารายได้มาเลี้ยงครอบครัว และพบว่าครอบครัวของ พิบัติ พวกเขาจึงมีความเสี่ยงสูงที่จะไม่ ได้รับบริการต่างๆ หรือได้รับบริการที่ไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ครอบครัว
แม่หม้ายจะมีความเครียดที่สูงกว่าด้วย ทั้งนี้เพราะบุคคลเหล่านี้มักไม่กล้าที่จะไปติดต่อกับเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือพนักงานของรัฐ 37
38
สยบข่าวร้าย-กระจายข่าวดี เทคนิคการคลายเครียดด้วยตนเอง
เทคนิคผ่อนหายใจ
ที่ไม่ ได้มาจากแหล่งข่าวที่มีความน่าเชื่อถือมากพอ การช่วยเหลือผู้ที่มีความเครียดหรือเกิดความรู้สึกกดดันทางจิตใจเป็นสิงสำ�คัญ เนื่องจากการเกิดความเครียดเป็น
ข่าวลือเกิดขึ้นได้อย่างไร ก็จะก่อให้เกิดความตื่นตระหนก สับสนในข้อมูลและเกิดการ ปฏิกิริยาของบุคคลที่ทำ�ให้บุคคลนั้นเกิดความทุกข์ ความไม่สบายใจ ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อร่างกาย จิตใจ
“ข่าวลือ” หมายถึง ข้อมูลที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ ปฏิบัติตัวต่อสถานการณ์นั้นๆ อย่างไม่เหมาะสมหรือไม่สมเหตุ อารมณ์ ความรู้สึก ความคิด พฤติกรรมและส่งผลกระทบต่อการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน นอกจากนี้การเกิดความเครียดที่
เป็นผลมาจากเหตุการณ์รุนแรงอาจจะก่อให้เกิดบาดแผลทางจิตใจได้ จึงจำ�เป็นอย่างยิ่งต้องได้รับการช่วยเหลือ
ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าจริงหรือเท็จพอๆ กัน ข่าวลือเกิดขึ้นใน สมผล ทำ�ให้เสียผลประโยชน์จากการถูกบิดเบือนข้อมูลของ
สถานการณ์ที่คลุมเครือ กำ�กวม และไม่ชัดเจน เมื่อมีข้อมูลบาง ผู้กระจายข่าวออกไป ฉะนั้นเราต้องช่วยกัน “สยบข่าวลือ และ วิธีจัดการกับความเครียดที่เกิดจากภาวะวิกฤต
อย่างที่สามารถขจัดความพร่ามัวของสถานการณ์ที่เกิดขึ้นให้หมด กระจายข่าวดี” ให้แก่คนในชุมชนของเรา “อย่าหลงเชื่อข้อมูล 1. การเสริมสร้างสุขภาพกายให้แข็งแรง
ไป ไม่ว่าข้อมูลนั้นจะเป็นความจริงหรือไม่ เราก็พร้อมที่จะรับเอา ที่ไม่ ได้มาจากแหล่งข่าว ของทางราชการนะจ๊ะ” และควรเชื่อ 2. การเปลี่ยนแปลงสภาพการณ์ที่ทำ�ให้เครียด
ข้อมูลนั้นๆ ไว้ก่อน ข่าวลือได้กลายเป็นความจริงสำ�หรับคนบ้าง ข้อมูลแผ่นดินไหวจากแหล่งข่าวทาง การฝึกการหายใจ
กลุ่มโดยไม่จำ�เป็นต้องพิสูจน์ ไม่ว่าข่าวลือนั้นจะมีความเป็น ราชการจะมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด ตามปกติคนทั่วไปจะหายใจตื้นๆ โดยใช้กล้ามเนื้อหน้าอกเป็นหลัก ทำ�ให้ได้ออกซิเจน
ไปได้มากน้อยเพียงใด หรือมีความสมเหตุสมผลเพียงใด ไปเลี้ยงร่างกายน้อยกว่าที่ควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาเครียดคนเราจะยิ่งหายใจถี่และตื้นมากขึ้นกว่า
นอกจากนี้ คนบางกลุ่มพร้อมที่จะเชื่อข่าวลือในแง่ลบทุก เดิม ทำ�ให้เกิดอาการถอนหายใจเป็นระยะๆ เพื่อให้ได้ออกซิเจนมากขึ้น
อย่าง และพร้อมที่จะแพร่กระจายข่าวลือนั้นอย่างฉับพลัน การฝึกหายใจช้าๆ ลึกๆ โดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริเวณท้อง จะช่วยให้ร่างกายได้อากาศ
เข้าสู่ปอดมากขึ้นเพิ่มปริมาณออกซิเจนในเลือด และยังช่วยเพิ่มความแข็งแรงแก่กล้ามเนื้อหน้าท้อง
ทันทีโดยปราศจากการยั้งคิด และลำ�ไส้ด้วย
ดังนั้น เราควรพิจารณาให้รอบคอบในการรับรู้ การฝึกการหายใจอย่างถูกวิธีจะทำ�ให้หัวใจเต้นช้าลงสมองแจ่มใเพราะได้ออกซิเจนมากขึ้น
ข้อมูลข่าวสารใดๆ โดยเฉพาะข่าวลือ ก่อนที่เราจะเชื่อหรือ และการหายใจออกอย่างช้าๆ จะทำ�ให้รู้สึกว่าได้ปลดปล่อยความเครียดออกไปจากตัวตนหมดสิ้น
ปฏิเสธ ขอให้พึงตระหนักว่าข่าวลือคือสิ่งที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ วิธีการฝึก นั่งในท่าที่สบาย หลับตา เอามือประสานไว้ที่หน้าท้อง ค่อยๆ หายใจ
อย่างเป็นทางการ (ถ้ามันได้รับการพิสูจน์แล้ว มันก็จะกลายเป็น เข้าพร้อมๆ กับนับเลข 1 ถึง 4 เป็นจังหวะช้าๆ 1…2…3…4… ให้มือรู้สึกว่าท้องพองออก
กลั้นหายใจเอาไว้ชั่วครู่ นับ 1 ถึง 4 เป็นจังหวะช้าๆ เช่นเดียวกับเมื่อหายใจเข้า ค่อยๆ
ข้อเท็จจริง) โปรดอย่าเพิ่งรีบปักใจเชื่อและเผยแพร่ต่อข่าวลือ ผ่อนลมหายใจออก โดยนับ 1 ถึง 8 อย่างช้าๆ พยายามไล่ลมหายใจออกมาให้หมด
นั้น และโปรดอย่าเพิ่งด่วนปฏิเสธความเป็นไปได้ ใช้เวลาในการ สังเกตว่าหน้าท้องแฟบลง ทำ�ซ้ำ�อีกครั้ง โดยหายใจเข้าช้าๆ กลั้นไว้ แล้วหายใจออก
ไตร่ตรองและใคร่ครวญเกี่ยวกับมันสักหน่อย หากเราเชื่อข่าวลือ โดยช่วงที่หายใจออกให้นานกว่าหายใจเข้า
39
40
การฝึกผ่อนคลายความเครียด มีหลายวิธีดังนี้
- อ่านหนังสือ การร้องหรือฟังเพลง การเล่นดนตรี การจิตนาการ (Imaginary) การทำ�สมาธิ
การดูภาพยนตร์หรือโทรทัศน์ การทำ�งานอดิเรกที่ชอบ
เช่น ปลูกต้นไม้ งานฝีมือ ฯลฯ การใช้จิตนาการ เป็นกลวิธีอย่างหนึ่งที่จะดึงความ การทำ�สมาธิ คือ การฝึกจิตให้ว่าง สงบ ด้วย
- ฝึกการหายใจเพื่อผ่อนคลายความเครียด สำ�หรับเด็ก อาจใช้วิธีดังต่อไปนี้ นำ�เด็กฝึกหายใจ สนใจออกมาจากสถานการณ์อันเคร่งเครียดในปัจจุบัน ไปสู่ การดึงความคิดของท่านให้ออกจากสถานการณ์ ในขณะนั้น
- ฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยบอกเด็กว่า ประสบการณ์อันงดงามที่เคยผ่านมาแล้วในอดีต หรือเป็นเรื่องที่ โดยดึงความสนใจของท่านไปรวมจังจุดใดจุดหนึ่ง อาจจะ
- ฝึกจินตนาการ - “เรามาฝึกการหายใจอีกแบบที่จะช่วยให้ร่างกายของเรา จินตนาการขึ้นมาใหม่ เป็นการเรียนรู้วิธีการปรับความคิด เป็นวัตถุสิ่งของหรือการท่องภาวนาในใจ เป็นวิธีการง่ายๆ
- ฝึกการนวดด้วยตนเอง ผ่อนคลาย” ขั้นตอนของการใช้จิตนาการ มีดังนี้ ปฏิบัติ ได้ดังนี้
- ฝึกการปรับสมดุลทางด้านจิตใจ (Stabilization) - เอามือหนึ่งไว้บนท้องแบบนี้ แสดงให้ดู 1. เลือกสถานที่ที่สงบและ เป็นส่วนตัว ปลอดจากการรบกวน - เลือกสถานที่สงบเงียบ
เช่น Inner safe Place, Container เป็นต้น - “เอาละ เราจะหายใจเข้าทางจมูก เวลาที่เราหายใจเข้า เรา จากผู้อื่นสัก 5-10 นาที - อยู่ ในท่าที่สบาย โดยการนอนหรือนั่งเก้าอี้
จะเอาอากาศเข้าเยอะๆ ลงไปถุงท้อง จนท้องป่องออกแบบนี้” 2. นั่งในท่าที่สบาย บนเก้าอี้ที่มีพนักพิงศีรษะหรือจะนอนเอน - ทำ�ร่างกายและจิตใจให้ผ่อนคลาย
แสดงให้ดู หลังก็ได้แต่ต้องระวังอย่าหลับ - มุ่งความสนใจไปยังจุดใดจุดหนึ่ง
วิธีการฝึกหายใจ การฝึกสามารถ - “เราจะหายใจออกผ่านทางปาก เมื่อเราหายใจ 3. คลายเสื้อผ้าให้หลวม ถอดรองเท้าออกด้วย ได้แก่ การมองวัตถุสิ่งของ
ลืมตา หรือหลับตาก็ได้ ออก ท้องของเราก็จะแฟบลงไปแบบนี้” แสดง 4. หลับตาลง แล้วเริ่มจิน เช่น เปลวเทียน ดอกไม้
คำ�พูดที่ใช้ ให้ดู นาการถึงสถานที่ที่สวยงาม เป็นต้น หรือการท่อง
“นั่งในท่าที่สบาย หลับตา เอามือประสาน - “เราจะหายใจเข้าช้าๆ จะนับ 1 ถึง 3 สงบและเป็นสุข เช่น การเดิน ภาวนาในใจ ซึ่งเป็น
ไว้บริเวณท้อง ค่อยๆหายใจเข้าพร้อมๆกับนับ และจะนับ 1-3 เช่นกันตอนหายใจออก” ชมหาดทราย วิธีการที่จะทำ�ให้
1 ถึง 4 เป็นจังหวะช้าๆ 1…2…3…4… - ลองทำ�อีกที ดีมากค่ะ/ครับ 5. เมื่อจิตใจเริ่มสงบและ ความคิดทั้งหมด
ให้มือรู้สึกว่าท้องพองออกกลั้นหายใจเอา ทำ�ให้เป็นเกม เป็นสุข ให้ย้ำ�กับตัวเองว่า คุณ ของท่านสนใจเพียงเรื่องเดียว แต่ถ้า
ไว้ชั่วครู่ นับ 1 ถึง 4 เป็นจังหวะช้าๆ - เป่าลูกโปงจากหลอดพลาสติก รู้สึกสบาย และคุณเป็นคนดี ขณะที่ทำ�สมาธิ ความคิดของท่านฟุ้งซ่าน
เช่นเดียวกับเมื่อหายใจเข้าค่อยๆ ผ่อน - เป่าลูกโป่งจากหมากฝรั่ง มีความสามารถมากพอ ที่จะ ออกไปคิดเรื่องอื่น ให้ดึงความคิดของ
ลมหายใจออก โดยนับ 1 ถึง 8 อย่าง - เป่ากระดาษหรือสำ�ลีข้ามโต๊ะ เอาชนะอุปสรรคต่างๆได้เสมอ ท่านกลับมา และฝึกไปเรื่อยๆ ประมาณ
ช้าๆ 1…2…3…4…5…6…7…8… - เล่าเรื่องที่มีคนหายใจลึกๆ แล้วให้เด็ก 6. ค่อยๆลืมตาขึ้น คงความ 15-20 นาที การทำ�สมาธิ มีส่วนขยายให้
พยายามไล่ลมหายใจออกมาให้หมด สังเกต เลียนแบบ รู้สึกสดชื่นเอาไว้พร้อมที่จะลงมือ ร่างกายจิตใจผ่อนคลาย
ว่าหน้าท้องแฟบลง ทำ�ซ้ำ�อีกโดยการหายใจ ทำ�งานต่อไป
สำ�หรับเด็กสามารถ
เข้าช้าๆ กลั้นไว้ แล้วหายใจออก โดยช่าวง ใช้วิธีเดียวกันได้
ที่หายใจออกให้นานกว่าหายใจเข้า
41
42
การผ่อนคลายกล้ามเนื้อ
การฝึกการนวดคลายเครียด ความเครียดมีผลทำ�ให้กล้ามเนื้อหดตัว สังเกตได้จากอาการ
(Stress Relaxation Massage) หน้านิ่วคิ้วขมวด กำ�หมัด กัดฟัน ฯลฯการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อ แน่นอนว่าเมื่อเกิดเหตุแผ่นดินไหว เราไม่
ทำ�ให้เกิดอาการเจ็บปวด เช่น ปวดต้นคอ ปวดหลัง ปวดไหล่
ความเครียดเป็นสาเหตุทำ�ให้กล้ามเนื้อหดเกร็ง เป็นต้น การฝึกการคลายกล้ามเนื้อจะช่วยให้การหดเกร็งของ สามารถป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและ
เลือดไหลเวียนไม่สะดวก ปวดต้นคอ ปวดหลัง เป็นต้น กล้ามเนื้อลดลง ในขณะฝึกจิตใจจะจดจ่ออยู่กับการคลายกล้าม ทรัพย์สินได้ แต่ทั้งนี้คุณสามารถทำ�ให้ความเสียหาย
การนวดจะช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ กระตุ้นการไหล เนื้อส่วนต่างๆ ทำ�ให้ลดการคิดฟุ้งซ่าน และวิตกกังวล จิตใจจะมี เหล่านั้นลดน้อยลงได้ หากมีการเตรียมตัวที่ดี และ
เวียนของเลือด ทำ�ให้รู้สึกปลอดโปร่ง สบายตัว หายเครียด สมาธิมากกว่าเดิมด้วย
และลดอาการเจ็บปวดต่างๆลง วิธีการฝึก เลือกสถานที่ที่สงบปราศจากเสียงรบกวน นั่งใน มีการป้องกันไว้ล่วงหน้า มีสติ โดยเริ่มจากตัวคุณ
ข้อควรระวัง ท่าที่สบาย คลายเสื้อผ้าให้หลวม ถอดรองเท้า หลับตาทำ�ใจให้ว่าง
1. ไม่ควรนวดขณะที่กำ�ลังเป็นไข้ หรือกล้ามเนื้อ ตั้งสมาธิอยู่กับกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ ก่อน แล้วค่อยอธิบายให้สมาชิกที่เหลือฟัง
บริเวณนั้นอักเสบ หรือ เป็นโรคผิวหนัง 10 กลุ่ม ดังนี้ แม้ว่าประโยชน์ของแผ่นดินไหวจะช่างขี้ประติ๋ว
2. ควรตัดเล็บสั้นก่อนนวดทุกครั้ง 1. มือและแขนขวา โดยกำ�มือ เกร็งแขน แล้วคลาย
หลักการนวดที่ถูกวิธี 2. มือและแขนซ้าย โดยทำ�เช่นเดียวกัน มือและแขนขวา เหลือเกิน เมื่อเทียบกับความเสียหายที่มันได้ก่อขึ้น
1. การกดใช้ปลายนิ้วที่ถนัด 3. หน้าผาก โดยเลิกคิ้วสูงแล้วคลาย ขมวดคิ้วแล้วคลาย แต่ใครจะห้ามได้เล่า ในเมื่อเราห้ามมันไม่ได้ เราก็มาหา
ได้แก่ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง 4. ตา แก้ม จมูก โดยหลับตาแน่น ย่นจมูกแล้วคลาย
2. การนวดจะใช้การกด และ 5. ขากรรไกร ลิ้น ริมฝีปาก โดยกัดฟัน ใช้ลิ้นดันเพดาน ทางเอามันมาใช้ ให้เป็นประโยชน์ซะเลย ยิ่งมันไหวบ่อย
การปล่อยเป็นส่วนใหญ่ ปากแล้วคลาย เม้มปากแน่นแล้วคลาย เราก็จะยิ่งรู้จักมันมากขึ้น (ถือคติ ไม่หวั่นแม้วันไหว
โดยใช้เวลากดแต่ละครั้ง 6. คอ โดยก้มหน้าให้คางจดคอแล้วคลาย เงยหน้าจนสุดแล้ว มาก) แล้วเราก็จะอยู่กับมันอย่างปลอดภัยยิ่งขึ้น
ประมาณ 10 วินาที และใช้ คลาย เงยหน้าจนสุดแล้วคลาย
เวลาปล่อยนานกว่ากด 7. อก ไหล่ และหลัง โดยหายใจเข้าลึกๆกลั้นไว้แล้วคลาย
3. การกดค่อยๆ เพิ่ม ยกไหล่สูงแล้วคลาย
แรงทีละน้อย และค่อยๆ 8. หน้าท้องและก้น โดยแขม่วท้องแล้วคลาย ขมิบก้นแล้วคลาย
ปล่อย 9. เท้าและขาขวา โดยเหยียดขา งอนิ้วเท้าแล้วคลาย เหยียด
4. แต่ละจุดควรนวดซ้ำ� ขากระดกปลายเท้าแล้วคลาย
ประมาณ 3-5 ครั้ง 10. เท้าและขาซ้าย โดยทำ�เช่นเดียวกันเท้าและขาขวา

43
44
AFTERSHOCK
เวลา บาดแผล การเยียวยา

2012 วันสิ้นโลก
Waterworld
Twister ทอร์นาโดมฤตยู
ผ่าโลกมหาสมุทร

The Day After Tomorrow


วิกฤตวันสิ้นโลก

Volcano Deep Impact


The Happening ปะทุนรก ล้างปฐพี วันสิ้นโลก ฟ้าถล่มแผ่นดินทลาย
วิบัติการณ์สยองโลก
44 45
46
สายด่วนสำหรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย
แม่ว่าแผ่นดินมัแจ้นงจะไหวแค่ ไหน...ยั
เหตุด่วน-เหตุ ร้ายทุกงชนิ
ๆก็ด ไโทร.
หวอยู ่ หาก
191
แจ้งอัคคีภัย สัตว์เข้าบ้าน โทร. 199
เรามีนำ�้ใจให้กรมป้
กัน อไม่งกัมนองโลกในแง่ ร้ายเกิยนโทร.
และบรรเทาสาธารณภั ไป..1784
เพราะยังตำรวจทางหลวง
ไงเราต้ อ งมี ชโทร.1193
ีวิตเพื่อสู้ต่อไป
สอบถามหมายเลขโทรศัพท์ โทร.1133

สายด่วนแจ้งเหตุฉุกเฉิน/กู้ชีพ/กู้ภัย
ศูนย์ประชาบดี แจ้งคนหาย โทร. 1300 คณะผูจัดทำ
ศูนย์ปลอดภัยคมนาคม โทร. 1356
นายแพทยมนตรี นามมงคล นายแพทยเชี่ยวชาญ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ โทร. 1669 นายชูพงษ สังขผลิพันธ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ โทร. 192 นายวงคพรรณ มาลารัตน นักกิจกรรมบำบัดชำนาญการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
น.ส.อรทัย เจียมดำรัส นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
นายกันตกร กาใจ นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนบริการทางการแพทย์ น.ส.ชัฌฎา ลอมศรี นักจิตวิทยาคลินิกปฏิบัติการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
นางสุรินทร อิวปา นักสังคมสงเคราะหปฏิบัติการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนยาเสพติด กรมการแพทย์ โทร. 1165 นางสาวศรัญญา พรมเสนา นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย โทร. 1666 นายจักพงษ ใจสักเสริญ นักวิชาการคอมพิวเตอร ศูนยสุขภาพจิตที่ ๑๐
สายด่วนกรมสุขภาพจิต โทร. 1323 นางกรองจิตร วงคสุวรรณ นักสังคมสงเคราะหเชี่ยวชาญ โรงพยาบาลสวนปรุง
นายสมนึก อนันตวรวงค นักสังคมสงเคราะหชำนาญการพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร
นางสุภัคพิมล ปาแปง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร
สายด่วนสำหรับแจ้งเหตุเกี่ยวกับสาธารณูปโภค นางวิภากรณ ปญญาดี
นางสิน�นาฏ ตามวงศ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห
โรงพยาบาลแมลาว
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โทร. 1129 นางยุพดี สุทธนู พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลพาน
นายกฤษณ บัวสุข ภาพประกอบ/ออกแบบรูปเลม วิทยาลัยอาชีวศึกษา
การประปาส่วนภูมิภาค โทร. 1662
ศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารมหาดไทย โทร.1567

You might also like