You are on page 1of 13

เฉลย ชุดที่ 2

แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนเตรียมสอบ NT
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3

ส่ วนที่ 1
ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
1 2 ทำให้หน่วยเป็ นหน่วยเดียวกัน แล้วนำมาเปรี ยบเทียบกัน
1 เนื่องจาก 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
7 เมตรครึ่ ง เท่ากับ 7 เมตร 50 เซนติเมตร
7 เมตร 50 เซนติเมตร เท่ากับ (7 × 100) + 50
= 700 + 50
= 750 เซนติเมตร
750 เซนติเมตร ยาวกว่า 730 เซนติเมตร
ดังนั้น 7 เมตรครึ่ ง ยาวกว่า 730 เซนติเมตร
2 เนื่องจาก 1 เซนติเมตร เท่ากับ 10 มิลลิเมตร
20 เซนติเมตร 2 มิลลิเมตร เท่ากับ (20 × 10) + 2
= 200 + 2
= 202 มิลลิเมตร
22 มิลลิเมตร สั้นกว่า 202 มิลลิเมตร
ดังนั้น 22 มิลลิเมตร สั้นกว่า 20 เซนติเมตร 2 มิลลิเมตร
3 เนื่องจาก 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
3 เมตร 50 เซนติเมตร เท่ากับ (3 × 100) + 50
= 300 + 50
= 350 เซนติเมตร
350 เซนติเมตร เท่ากับ 350 เซนติเมตร
ดังนั้น 3 เมตร 50 เซนติเมตร ยาวเท่ากับ 350 เซนติเมตร

ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
4 เนื่องจาก 10 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เซนติเมตร
800 มิลลิเมตร เท่ากับ 800 ÷ 10 = 80 เซนติเมตร
80 เซนติเมตร ยาวกว่า 8 เซนติเมตร
ดังนั้น 800 มิลลิเมตร ยาวกว่า 8 เซนติเมตร
2 3 1 แม่คา้ ควรใช้ไม้เมตรในการวัดความยาวของผ้าจึงจะเหมาะสม
2 ช่างไม้ควรใช้สายวัดชนิดตลับในการวัดความสู งของประตูบา้ นจึงจะเหมาะสม
4 นักเรี ยนควรใช้ไม้บรรทัดวัดความยาวของสมุดการบ้านจึงจะเหมาะสม
3 4 จากภาพ
 ส้มหนัก 1 กิโลกรัม 1 ขีด หรื อ 1 กิโลกรัม 100 กรัม
หรื อ 1,100 กรัม หรื อ 11 ขีด
 มังคุดหนัก 3 กิโลกรัม 5 ขีด หรื อ 3 กิโลกรัม 500 กรัม
หรื อ 3 กิโลกรัมครึ่ ง หรื อ 3,500 กรัม หรื อ 35 ขีด
 ส้มเบากว่ามังคุด หรื อ มังคุดหนักกว่าส้ม 2 กิโลกรัม 4 ขีด
หรื อ 2 กิโลกรัม 400 กรัม หรื อ 2,400 กรัม หรื อ 24 ขีด
4 3 1 เครื่ องชัง่ สปริ ง ใช้ชงั่ สิ่ งของทัว่ ไปที่มีน ้ำหนักไม่มาก เช่น ผัก ผลไม้
2 เครื่ องชัง่ สองแขน ใช้ชงั่ สิ่ งของที่มีน ้ำหนักน้อย เช่น เครื่ องยาสมุนไพร
สารเคมี ทอง
3 เครื่ องชัง่ แบบตุม้ ถ่วง ใช้ชงั่ สิ่ งของที่มีน ้ำหนักมาก เช่น น้ำตาลที่บรรจุ
เป็ นกระสอบ ลังที่บรรจุของขนาดใหญ่
4 เครื่ องชัง่ ไฟฟ้ า เป็ นเครื่ องชัง่ แสดงน้ำหนักเป็ นตัวเลข ใช้ชงั่ สิ่ งของที่มี
น้ำหนักน้อย เช่น ซองจดหมาย

ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
5 3 ทำหน่วยให้เป็ นหน่วยเดียวกัน แล้วนำมาเปรี ยบเทียบกัน
เนื่องจาก 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร
น้ำมันเบนซิน 15 ลิตร เท่ากับ 15 × 1,000 = 15,000 มิลลิลิตร
น้ำดื่ม 12 ลิตร 2,500 มิลลิลิตร เท่ากับ (12 × 1,000) + 2,500
= 12,000 + 2,500
= 14,500 มิลลิลิตร
นมสดมีปริ มาตร 14,000 มิลลิลิตร
น้ำมันพืช 14 ลิตรครึ่ ง เท่ากับ 14 ลิตร 500 มิลลิลิตร
น้ำมันพืช 14 ลิตร 500 มิลลิลิตร เท่ากับ (14 × 1,000) + 500
= 14,000 + 500
= 14,500 มิลลิลิตร
ดังนั้น นมสดมีปริ มาตรน้อยที่สุด
6 4 1 น้ำมันพืช มีปริ มาตรน้อยกว่า น้ำมันเบนซิ น
2 นมสด มีปริ มาตรน้อยกว่า น้ำมันพืช
3 น้ำมันเบนซิน มีปริ มาตรมากกว่า นมสด
7 1 1 ถ้วยตวง ใช้ตวงของเหลวหรื อของแห้ง เช่น นมสด น้ำมันพืช แป้ งสาลี
2 เครื่ องตวงน้ำมัน ใช้ตวงน้ำมันเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ เช่น น้ำมันเครื่ อง
น้ำมันเบนซิน
3 กระบอกตวง ใช้ตวงของเหลวที่มีปริ มาตรน้อย ๆ เช่น น้ำหอม หัวน้ำส้มสายชู
4 ช้อนตวง ใช้ตวงของแห้งที่มีปริ มาตรน้อย ๆ เช่น ผงฟู เกลือ
8 1 นาฬิกาแสดงเวลากลางวัน 17.10 น.
นาฬิกาแสดงเวลากลางคืน 5.10 น.
จากรู ป บอกเวลาด้วยภาษาพูด ดังนี้
กลางวัน ห้าโมงสิ บนาที
กลางคืน ตีหา้ สิ บนาที

ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
9 4 1 นาฬิกาแสดงเวลากลางวัน 16.45 น.
นาฬิกาแสดงเวลากลางคืน 4.45 น.
2 นาฬิกาแสดงเวลากลางวัน 10.30 น.
นาฬิกาแสดงเวลากลางคืน 22.30 น.
3 นาฬิกาแสดงเวลากลางวัน 8.10 น.
นาฬิกาแสดงเวลากลางคืน 20.10 น.
4 นาฬิกาแสดงเวลากลางวัน 9.20 น.
นาฬิกาแสดงเวลากลางคืน 21.20 น.
10 2 นักเรี ยนจะเข้าเรี ยนเวลาประมาณ 8.00 น. และโรงเรี ยนเลิกเวลาประมาณ 16.00 น.
1 เวลา 12.40 น. เป็ นเวลากลางวัน นักเรี ยนยังเรี ยนหนังสื ออยู่
3 เวลา 18.20 น. เป็ นเวลาเย็น ซึ่ งเลยเวลาโรงเรี ยนเลิกไปแล้ว
4 เวลา 21.35 น. เป็ นเวลากลางคืน ซึ่ งเวลานี้นกั เรี ยนควรนอนหลับพักผ่อน
11 3 ทำหน่วยให้เป็ นหน่วยเดียวกัน แล้วนำมาเปรี ยบเทียบกัน
1 เนื่องจาก 1 กิโลกรัม เท่ากับ 1,000 กรัม
5 กิโลกรัม เท่ากับ 5 × 1,000 = 5,000 กรัม
5,000 กรัม มากกว่า 500 กรัม
ดังนั้น 5 กิโลกรัม มากกว่า 500 กรัม
2 เนื่องจาก 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
12 เมตร เท่ากับ 12 × 100 = 1,200 เซนติเมตร
1,200 เซนติเมตร มากกว่า 120 เซนติเมตร
ดังนั้น 12 เมตร มากกว่า 120 เซนติเมตร
3 เนื่องจาก 1 ชัว่ โมง เท่ากับ 60 นาที
23 ชัว่ โมง เท่ากับ 23 × 60 = 1,380 นาที
1,380 นาที เท่ากับ 1,380 นาที
ดังนั้น 23 ชัว่ โมง เท่ากับ 1,380 นาที
4 เนื่องจาก 1 ปี เท่ากับ 365 วัน
4 ปี เท่ากับ 4 × 365 = 1,460 วัน
1,460 วัน มากกว่า 1,450 วัน
ดังนั้น 4 ปี มากกว่า 1,450 วัน

ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
12 1 ธนบัตรใบละหนึ่งร้อยบาท 5 ใบ เป็ นเงิน 500 บาท
ธนบัตรใบละยีส่ ิ บบาท 7 ใบ เป็ นเงิน 140 บาท
เหรี ยญสิ บบาท 5 เหรี ยญ เป็ นเงิน 50 บาท
เหรี ยญหนึ่งบาท 2 เหรี ยญ เป็ นเงิน 2 บาท
เหรี ยญห้าสิ บสตางค์ 5 เหรี ยญ เป็ นเงิน 2 บาท 50 สตางค์
เหรี ยญยีส่ ิ บห้าสตางค์ 5 เหรี ยญ เป็ นเงิน 1 บาท 25 สตางค์
รวมเป็ นเงินทั้งหมด 695 บาท 75 สตางค์
เขียนโดยใช้จุดได้ 695.75 บาท
ก้อยมีเงินทั้งหมด 695.75 บาท
13 2 กิโลกรัม ขีด
ดาวหนัก 28 3
เดือนหนักมากกว่าดาว 3 - +
เดือนหนัก 31 3 –
ดวงหนักน้อยกว่าเดือน 1 8
ดวงหนัก 29 5
ดังนั้น ดวงหนัก 29 กิโลกรัม 5 ขีด
หรื อ ดวงหนัก 29 กิโลกรัมครึ่ ง
14 3 ปี เดือน
ปัจจุบนั พี่อายุ 15 4
+
อีก 6 9
พี่อายุ 21 13
หรื อ 22 1
ดังนั้น พี่อายุ 22 ปี 1 เดือน
15 4 เมตร เซนติเมตร
ผ้าผืนแรกยาว 1 50
ผ้าผืนที่สองยาว 2 25 +
ผ้าผืนที่สามยาว 5 70
ผ้าสามผืนยาวรวมกัน 8 145
หรื อ 9 45
ดังนั้น ผ้าสามผืนยาวรวมกันเท่ากับ 9 เมตร 45 เซนติเมตร
ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
16 4 พิจารณาจากตารางบันทึกรายรับ รายจ่ายของรักชาติ วันที่ 2-4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558
หลังจากซื้ อสมุดวาดเขียนราคา 14 บาท แล้ว มีเงินคงเหลือ 66 บาท
รักชาติเหลือเงิน 66 บาท
17 2 พิจารณาจากตารางบันทึกรายรับ รายจ่ายของรักชาติ วันที่ 2-4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2558
หลังจากซื้ อขนมและอาหารกลางวันราคา 45 บาท แล้ว มีเงินคงเหลือ 31 บาท
นำเงินคงเหลือ 31 บาท แบ่งให้นอ้ ง 15 บาท หลังจากแบ่งเงินให้นอ้ งแล้ว
รักชาติเหลือเงิน 31 – 15 = 16 บาท
18 3 นำจำนวนเงินในช่องรายจ่ายตั้งแต่วนั ที่ 2-4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 มารวมกัน
2 กุมภาพันธ์ 2558 มีรายจ่าย 14 + 30 = 44 บาท
3 กุมภาพันธ์ 2558 มีรายจ่าย 40 + 45 + 15 = 100 บาท
4 กุมภาพันธ์ 2558 มีรายจ่าย 30 + 15 = 45 บาท
ตั้งแต่วนั ที่ 2-4 กุมภาพันธ์ 2558 รักชาติมีรายจ่ายทั้งหมด
44 + 100 + 45 = 189 บาท
19 3 พิจารณาจากตารางบันทึกกิจกรรมของเด็กหญิงสดใส
เวลา 15.30 น. เล่นกีฬากับเพื่อน ๆ
20 2 1 อาบน้ำ แปรงฟัน เป็ นกิจกรรมทีทำ ่ หลังจากตื่นนอนเวลา 06.00 น.
หรื อก่อนนอนเวลา 20.30 น.
3 ปลูกผักสวนครัว เป็ นกิจกรรมที่ควรทำในช่วงเย็น เพื่อป้ องกันไม่ให้ผกั
ที่ปลูกใหม่โดนแดด จนทำให้ผกั เหี่ ยวเฉา
4 สวดมนต์ ไหว้พระ เป็ นกิจกรรมที่ควรทำก่อนเข้านอนเวลา 20.30 น.
ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
21 1

รู ปสามเหลี่ยม

รู ปสี่ เหลี่ยม

22 3 1 2

มีแกนสมมาตร 4 แกน มีแกนสมมาตร 3 แกน


3 4
มีแกนสมมาตร 7 แกน มีแกนสมมาตร 4 แกน
ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
23 2 การอ่านชื่อมุม ให้อ่านตัวอักษรทั้ง 3 ตัวเรี ยงกัน โดยเริ่ มต้นจากตัวอักษรที่แขนของ
มุมข้างหนึ่ง ที่มุมยอดและที่แขนของมุมอีกข้างหนึ่ง สัญลักษณ์ ^ เป็ นสัญลักษณ์
แทนมุม เขียนไว้เหนือตัวอักษรที่เป็ นจุดยอดมุม
1 ขกค ^ หรื อ คกข ^
^
2 คขก หรื อ กขค ^
3 กคข ^ หรื อ ขคก ^
4 คกข ^ หรื อ ขกค ^
24 3 1 จุด ก เขียนแทนด้วย .ก
2 เส้นตรง อบ เขียนแทนด้วย อบ
4 ส่ วนของเส้นตรง ตพ เขียนแทนด้วย ตพ
25 3 เมื่อนำแบบของรู ปในแต่ละข้อมาเขียนรู ป จะได้ดงั นี้
1

ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
4
26 4 1 ตูเ้ ย็น มีลกั ษณะคล้ายทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก
2 โทรศัพท์เคลื่อนที่ มีลกั ษณะคล้ายทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก
3 เตาอบไมโครเวฟ มีลกั ษณะคล้ายทรงสี่ เหลี่ยมมุมฉาก
27 4 แบบรู ปมีรูปเรขาคณิ ต 4 รู ป คือ เรี ยงกันตามลำดับ
ถ้าต้องการทราบรู ปที่เท่าใด หาได้จากการนำ 4 ไปหารจำนวนอันดับที่ของรู ป
ที่ตอ้ งการ
ถ้าหารแล้วเหลือเศษ 1 คือรู ป
ถ้าหารแล้วเหลือเศษ 2 คือรู ป
ถ้าหารแล้วเหลือเศษ 3 คือรู ป
ถ้าหารแล้วเหลือเศษ 0 หรื อหารลงตัว คือรู ป
จากโจทย์ตอ้ งการทราบรู ปที่ 33 เมื่อ 33 ÷ 4 ได้ 8 เศษ 1
ดังนั้น รู ปที่ 33 คือ

28 1 นำจำนวนนักเรี ยนที่ชอบรับประทานผลไม้ชนิดต่าง ๆ มารวมกัน จะได้


11 + 7 + 9 + 15 + 13 = 55 คน
อุม้ สำรวจจำนวนนักเรี ยนชั้น ป.3 ทั้งหมด 55 คน
29 2 จากแผนภูมิแท่ง
ต้นตะแบก 8 ต้น
ต้นประดู่ 7 ต้น
ต้นจามจุรี 6 ต้น
ต้นราชพฤกษ์ 14 ต้น
ต้นอินทนิล 11 ต้น
1 มีตน้ ประดู่นอ้ ยกว่าต้นอินทนิล 11 – 7 = 4 ต้น
2 มีตน้ จามจุรีและต้นตะแบกรวมกัน 6 + 8 = 14 ต้น
3 มีตน้ ราชพฤกษ์มากกว่าต้นประดู่ 14 – 7 = 7 ต้น
4 มีตน้ อินทนิลและต้นตะแบกต่างกัน 11 – 8 = 3 ต้น
ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
30 4 1 ต้นตะแบก กับ ต้นจามจุรี มีจำนวนแตกต่างกัน
8 – 6 = 2 ต้น
2 ต้นประดู่ กับ ต้นอินทนิล มีจำนวนแตกต่างกัน
11 – 7 = 4 ต้น
3 ต้นอินทนิล กับ ต้นจามจุรี มีจำนวนแตกต่างกัน
11 – 6 = 5 ต้น
4 ต้นราชพฤกษ์ กับ ต้นตะแบก มีจำนวนแตกต่างกัน
14 – 8 = 6 ต้น

ส่ วนที่ 2

ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
31 8,550 เนื่องจาก 1 เมตร เท่ากับ 100 เซนติเมตร
85 เมตรครึ่ ง เท่ากับ 85 เมตร 50 เซนติเมตร
85 เมตร 50 เซนติเมตร เท่ากับ (85 × 100) + 50
= 8,500 + 50
= 8,550 เซนติเมตร
ถนนคอนกรี ตยาว 8,550 เซนติเมตร
32 647 เนื่องจาก 1 กิโลกรัม เท่ากับ 10 ขีด
64 กิโลกรัม เท่ากับ 64 × 10 = 640 ขีด
เนื่องจาก 100 กรัม เท่ากับ 1 ขีด
700 กรัม เท่ากับ 700 ÷ 100 = 7 ขีด
64 กิโลกรัม 700 กรัม เท่ากับ 640 + 7 = 647 ขีด
พ่อหนัก 647 ขีด
33 480 เนื่องจาก 1 ชัว่ โมง เท่ากับ 60 นาที
8 ชัว่ โมง เท่ากับ 8 × 60 = 480 นาที
วินออกกำลังกายสัปดาห์ละ 480 นาที
34 162 ในถังมีน ้ำอยู่ 450 ลิตร
ใช้น ้ำครั้งแรกจะเหลือน้ำอยูใ่ นถัง 450 – 126 = 324 ลิตร
ครั้งที่สองใช้น ้ำ 324 ÷ 2 = 162 ลิตร
35 1,260 เนื่องจาก 1 ชัว่ โมง เท่ากับ 60 นาที
1 ชัว่ โมงครึ่ ง เท่ากับ 60 + 30 = 90 นาที
เนื่องจาก 1 สัปดาห์ เท่ากับ 7 วัน
2 สัปดาห์ เท่ากับ 2 × 7 = 14 วัน
นารี เรี ยนภาษาจีนเป็ นเวลา 14 × 90 = 1,260 นาที
36 315 เดือนมกราคมมีวนั หยุดประจำสัปดาห์ 9 วัน
เดือนมกราคมมีวนั หยุดนักขัตฤกษ์ 1 วัน
เดือนมกราคมมีวนั ที่ตอ้ งไปโรงเรี ยน 31 – 10 = 21 วัน
แนนฝากเงินกับธนาคารโรงเรี ยนวันละ 15 บาท
ดังนั้น แนนจะมีเงินฝาก 21 × 15 = 315 บาท
ข้ อ เฉลย หลักการ/วิธีคดิ
37 2,465 ธนบัตรใบละห้าร้อยบาท 3 ใบ เป็ นเงิน 1,500 บาท
ธนบัตรใบละห้าสิ บบาท 12 ใบ เป็ นเงิน 600 บาท
เหรี ยญสิ บบาท 32 เหรี ยญ เป็ นเงิน 320 บาท
เหรี ยญหนึ่งบาท 45 เหรี ยญ เป็ นเงิน 45 บาท
รุ ้งมีเงินออม 1,500 + 600 + 320 + 45 = 2,465 บาท
38 3,925 ชาวสวนมีรายจ่าย คือ
ซื้ อถุงเพาะชำ 350 บาท
ซื้ อปุ๋ ยคอก 3,575 บาท
ชาวสวนมีรายจ่ายทั้งหมด 350 + 3,575 = 3,925 บาท
39 300 จากแผนภูมิรูปภาพ
พ.ศ. 2554 ผลิตรถยนต์ได้ 6 × 150 = 900 คัน
พ.ศ. 2555 ผลิตรถยนต์ได้ 3 × 150 = 450 คัน
พ.ศ. 2556 ผลิตรถยนต์ได้ 4 × 150 = 600 คัน
พ.ศ. 2557 ผลิตรถยนต์ได้ 5 × 150 = 750 คัน
พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2556 ผลิตรถยนต์ต่างกัน 900 – 600 = 300 คัน
40 2,700 นำจำนวนรถยนต์ที่ผลิตได้ต้ งั แต่ พ.ศ. 2554-2557 มารวมกัน จะได้
900 + 450 + 600 + 750 = 2,700 คัน
ดังนั้น ตั้งแต่ พ.ศ. 2554-2557 ผลิตรถยนต์ได้ 2,700 คัน

ส่ วนที่ 3

41. (ตัวอย่างคำตอบ)

ชนิดของผัก วันแรกที่เริ่มปลูก วันแรกที่เริ่มเก็บเกีย่ ว


คะน้า 5 มกราคม 2558 24 กุมภาพันธ์ 2558
กวางตุง้ 15 มกราคม 2558 1 มีนาคม 2558
ผักกาดหอม 28 มกราคม 2558 13 เมษายน 2558
ผักบุง้ จีน 5 กุมภาพันธ์ 2558 7 มีนาคม 2558
ผักชี 11 มีนาคม 2558 30 เมษายน 2558
มะเขือเปราะ 24 เมษายน 2558 28 มิถุนายน 2558
* พ.ศ. 2558 เดือนกุมภาพันธ์มี 28 วัน
เกณฑ์ การให้ คะแนน
ได้ คะแนนเต็ม
 ตอบถูกทั้ง 5 ข้อ

ได้ คะแนนบางส่ วน
 ตอบถูก 4 ข้อ

ไม่ ได้ คะแนน


 ตอบถูก 3 ข้อ หรื อน้อยกว่า หรื อไม่ตอบ

หลักการ/วิธีคดิ
 คะน้า ใช้ระยะเวลาในการปลูก 50 วัน
วันแรกที่เริ่ มปลูก คือ วันที่ 5 มกราคม 2558
5-31 ม.ค. 1-23 ก.พ.
(27 วัน) (23 วัน)
ระยะเวลาในการปลูก คือ ตั้งแต่วนั ที่ 5 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2558
ดังนั้น วันแรกที่เริ่ มเก็บเกี่ยว คือ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558

 กวางตุง้ ใช้ระยะเวลาในการปลูก 45 วัน


วันแรกที่เริ่ มปลูก คือ วันที่ 15 มกราคม 2558
15-31 ม.ค. 1-28 ก.พ.
(17 วัน) (28 วัน)

ระยะเวลาในการปลูก คือ ตั้งแต่วนั ที่ 15 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2558


ดังนั้น วันแรกที่เริ่ มเก็บเกี่ยว คือ วันที่ 1 มีนาคม 2558

 ผักกาดหอม ใช้ระยะเวลาในการปลูก 75 วัน


วันแรกที่เริ่ มเก็บเกี่ยว คือ วันที่ 13 เมษายน 2558
ดังนั้น วันสุ ดท้ายของการปลูก คือ วันที่ 12 เมษายน 2558
1-12 เม.ย. 1-31 มี.ค. 1-28 ก.พ. 28-31 ม.ค.
(12 วัน) (31 วัน) (28 วัน) (4 วัน)

ระยะเวลาในการปลูก คือ ตั้งแต่วนั ที่ 28 มกราคม 2558 ถึงวันที่ 12 เมษายน 2558


ดังนั้น วันแรกที่เริ่ มปลูก คือ วันที่ 28 มกราคม 2558

 ผักบุง้ จีน ใช้ระยะเวลาในการปลูก 30 วัน


วันแรกที่เริ่ มเก็บเกี่ยว คือ วันที่ 7 มีนาคม 2558
ดังนั้น วันสุ ดท้ายของการปลูก คือ วันที่ 6 มีนาคม 2558
1-6 มี.ค. 5-28 ก.พ.
(6 วัน) (24 วัน)

ระยะเวลาในการปลูก คือ ตั้งแต่วนั ที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558 ถึงวันที่ 6 มีนาคม 2558


ดังนั้น วันแรกที่เริ่ มปลูก คือ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2558

 ผักชี ใช้ระยะเวลาในการปลูก 50 วัน


วันแรกที่เริ่ มปลูก คือ วันที่ 11 มีนาคม 2558
11-31 มี.ค. 1-29 เม.ย.
(21 วัน) (29 วัน)

ระยะเวลาในการปลูก คือ ตั้งแต่วนั ที่ 11 มีนาคม 2558 ถึงวันที่ 29 เมษายน 2558


ดังนั้น วันแรกที่เริ่ มเก็บเกี่ยว คือ วันที่ 30 เมษายน 2558

 มะเขือเปราะ ใช้ระยะเวลาในการปลูก 65 วัน


วันแรกที่เริ่ มเก็บเกี่ยว คือ วันที่ 28 มิถุนายน 2558
ดังนั้น วันสุ ดท้ายของการปลูก คือ วันที่ 27 มิถุนายน 2558
1-27 มิ.ย. 1-31 พ.ค. 24-30 เม.ย.
(27 วัน) (31 วัน) (7 วัน)

ระยะเวลาในการปลูก คือ ตั้งแต่วนั ที่ 24 เมษายน 2558 ถึงวันที่ 27 มิถุนายน 2558


ดังนั้น วันแรกที่เริ่ มปลูก คือ วันที่ 24 เมษายน 2558

42. ได้ คะแนนเต็ม


ห้างสรรพสิ นค้าลดราคาเครื่ องซักผ้ามากที่สุด และลดราคา 1,650 บาท
(ตัวอย่างคำตอบ)
โทรทัศน์ลดราคา 14,500 – 12,900 = 1,600 บาท
เครื่ องซักผ้าลดราคา 11,500 – 9,850 = 1,650 บาท
ตูเ้ ย็นลดราคา 7,800 – 6,589 = 1,211 บาท
เครื่ องปรับอากาศลดราคา 25,200 – 23,990 = 1,210 บาท

ไม่ ได้ คะแนน


 คำตอบอื่น ๆ หรื อไม่ตอบ

You might also like