You are on page 1of 64

1

หน่ วยที่ 2
รูปแบบและโครงสร้ างของเว็บไซต์

อาจารย์ ฐิตริ ัศญาณ์ แก่นเพชร

ชื่อ อาจารย์ฐิติรัศญาณ์ แก่นเพชร


วุฒิ วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์ ) สถาบันราชภัฏเพชรบุรี
ศษ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตาแหน่ ง อาจารย์ประจาสานักเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราช
หน่ วยทีเ่ ขียน หน่วยที่ 2 และหน่วยที่ 3
2

แผนการสอนประจาหน่ วย

ชุ ดวิชา การออกแบบและพัฒนาเว็บ
หน่ วยที่ 2 รู ปแบบและโครงสร้ างของเว็บไซต์
ตอนที่ 1
2.1 นิยามและประเภทของเว็บไซต์
2.2 โครงสร้างเว็บไซต์
2.3 องค์ประกอบและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์

แนวคิด
1. เว็บไซต์ เป็ นแหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่ อประสมต่าง ๆ แบ่งได้เป็ น 2 ส่ วน คือ
1) โฮมเพจ และ 2) เว็บเพจ โดยโฮมเพจ คือ ข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์ หรื อ หน้าปกของนิตยสาร
ส่ วนเว็บเพจ คือ รายละเอียดของเว็บแต่ละหน้าภายในเว็บไซต์ เหมือนหน้ากระดาษแต่ละหน้าของ
นิตยสารนัน่ เอง เว็บไซต์สามารถแบ่งออกตามลักษณะของเนื้อหาและรู ปแบบของเว็บไซต์ เป็ น 9
ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ เว็บท่า เว็บข่าว เว็บข้อมูล เว็บธุ รกิจหรื อการตลาด เว็บการศึกษา เว็บบันเทิง
เว็บองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร เว็บส่ วนตัว และเว็บเครื อข่ายทางสังคม นอกจากนี้ เว็บไซต์ยงั ให้
ประโยชน์ดา้ นการเรี ยนการสอน ด้านธุ รกิจ และการนาคลาวด์คอมพิวติ้งมาช่วยประยุกต์ใช้ทาให้
สามารถนาไอทีไปใช้ในเชิงธุ รกิจทาได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่าในอดีต โดยองค์กรสามารถใช้บริ การ
ทางด้านไอทีได้ โดยไม่จาเป็ นต้องลงทุนมากมายกับโครงสร้างพื้นฐานไอทีของตน อีกทั้งผูใ้ ช้งานก็
สามารถเลือกใช้บริ การเฉพาะอย่างและเลือกเสี ยค่าใช้จ่ายให้ตรงกับความต้องการเฉพาะด้านหรื อ
สอดคล้องกับงบประมาณของตนได้
2. โครงสร้างของเว็บไซต์ก่อนการออกแบบเว็บไซต์เป็ นแผนผังของการลาดับเนื้ อหา หรื อการ
จัดวางตาแหน่งเว็บเพจทั้งหมด ซึ่ งทาให้ผชู ้ มเว็บไซต์รู้ว่าประกอบไปด้วยเนื้ อหาอะไรบ้าง และมีเว็บ
เพจหน้า ไหนที่ เ กี่ ย วข้องเชื่ อมโยงถึ ง กัน ดัง นั้น การออกแบบโครงสร้ า งเว็บ ไซต์จึง มี ค วามส าคัญ
เปรี ยบเสมือนกับการเขียนพิมพ์เขียวเพื่อสร้างอาคารก่อนการลงมือก่อนสร้างอาคารจริ ง เนื่ องจากทาให้
ทราบถึงทิศทางการดาเนิ นการของเว็บไซต์น้ นั โดยสามารถจาแนกโครงสร้างของเว็บไซต์ออกเป็ น 4
ประเภท คือ 1) โครงสร้างของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ 2) โครงสร้างของเว็บไซต์แบบลาดับชั้น 3)
โครงสร้างของเว็บไซต์แบบตาราง และ 4) โครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุม
3

3. องค์ประกอบพื้นฐานของเว็บไซต์สามารถแยกออกเป็ น 4 ส่ วนได้แก่ 1) ส่ วนหัวของหน้าเว็บ


2) ส่ วนเนื้ อหา 3) ส่ วนคอลัมน์การเชื่ อมโยง ซึ่ งอาจมีท้ งั ด้านซ้าย และด้านขวา และ 4) ส่ วนท้ายของ
หน้าเว็บ นอกจากส่ วนประกอบทั้ง 4 ส่ วนแล้ว ยังควรคานึ งถึงพื้นที่วา่ งในเว็บไซต์ เนื่องจากเว็บไซต์
ส่ วนใหญ่มกั ไม่เห็นความสาคัญของการเว้นพื้นที่วา่ งไว้ในเว็บไซต์ มักมีการใส่ ภาพหรื อตัวหนังสื อเข้า
ไปให้มากที่สุดเนื่องจากคิดว่าจะทาให้เว็บดูสวยงามขึ้น หรื อใช้พ้ืนที่ที่มีอยูใ่ ห้คุม้ ค่าที่สุด หากออกแบบ
โดยไม่ได้คานึ งว่าต้องมีพ้ืนที่วา่ งอยูใ่ นเว็บไซต์ จะทาให้เว็บไซต์ดูแน่น ไม่สบายตา การเว้นช่องว่างไว้
ไม่วา่ จะเป็ นระยะห่ างระหว่างตัวอักษร หรื อช่องว่างระหว่างภาพ เนื้ อหาต่างๆ นอกจากจะทาให้เว็บดู
สบายตาขึ้นแล้ว ยังทาให้สามารถกาหนดจุดที่จะให้ผใู ้ ช้งานเว็บรู ้สึกสนใจในจุดนั้นได้อีกด้วย ส่ วน
บุคลากรที่เกี่ ยวข้องในการสร้างเว็บไซต์สามารถแบ่งตามกลุ่มงานได้ 3 กลุ่มงาน ได้แก่ 1) กลุ่มงาน
ออกแบบเว็บไซต์ 2) กลุ่มงานพัฒนาเว็บไซต์ และ 3) กลุ่มงานดูแลเว็บไซต์

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาหน่วยที่ 2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. บอกความหมายและความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเว็บเพจ บอกความหมายของ
นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องได้ บอกประเภทและอธิ บายลักษณะของเว็บไซต์แต่ละชนิดได้ รวมทั้งอธิ บาย
ความสาคัญของเว็บไซต์ได้
2. บอกคุณลักษณะ ประโยชน์ และตัวอย่างเว็บไซต์ของโครงสร้างเว็บไซต์แต่ละประเภทได้
3. บอกองค์ประกอบของเว็บไซต์ และอธิ บายคุณลักษณะของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการสร้าง
เว็บไซต์ได้

กิจกรรมระหว่ างเรียน
1. ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรี ยนหน่วยที่ 2
2. ศึกษาเอกสารการสอนตอนที่ 2.1 – 2.3
3. ปฏิบตั ิกิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายในเอกสารการสอนแต่ละเรื่ อง
4. ทาแบบประเมินผลตนเองหลังเรี ยนหน่วยที่ 2
5. เรี ยนผ่านสื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (ถ้ามี)
6. ทากิจกรรมฝึ กปฏิบตั ิเสริ มทักษะด้วยตนเอง
7. เข้ารับการฝึ กปฏิบตั ิเสริ มทักษะภาคสนาม ในวัน เวลา และสถานที่ ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ซึ่ งจะแจ้งให้ทราบก่อนถึงกาหนดการฝึ กปฏิบตั ิเสริ มทักษะอย่างน้อย
4

สื่ อการสอน
1. เอกสารการสอน
2. แบบฝึ กปฏิบตั ิ (แบบประเมินผลตนเองก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน)
3. สื่ ออิเล็กทรอนิกส์ (ถ้ามี)
4. กิจกรรมฝึ กปฏิบตั ิเสริ มทักษะด้วยตนเอง

การประเมินผล
1. ประเมินผลจากแบบประเมินผลตนเองก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน (ประเมินผลด้วยตนเอง)
2. ประเมินผลจากกิจกรรมและแนวตอบท้ายเรื่ อง (ประเมินผลด้วยตนเอง)
3. ประเมินผลจากกิจกรรมฝึ กปฏิบตั ิเสริ มทักษะด้วยตนเอง
4. ประเมินผลจากการเข้ารับการฝึ กปฏิบตั ิเสริ มทักษะภาคสนาม
5. ประเมินผลจากการสอบประจาภาคการศึกษา

เมื่ออ่านแผนการสอนแล้ว ขอให้ ทาแบบประเมินผลตนเองก่อนเรียนหน่ วยที่ 2


ในแบบฝึ กปฏิบัติ แล้วจึงศึกษาเอกสารการสอนต่ อไป
5

ตอนที่ 2.1
นิยามและประเภทของเว็บไซต์
โปรดอ่านหัวเรื่ อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 2.1 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป
หัวเรื่อง
2.1.1 นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์
2.1.2 ข งเว็บไซต์
2.1.3 ความสาคัญของเว็บไซต์

แนวคิด
1. เว็บไซต์ เป็ นแหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่ อประสมต่าง ๆ แบ่งได้เป็ น 2 ส่ วน คือ
1) โฮมเพจ และ 2) เว็บเพจ โดยโฮมเพจ คือข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์ หรื อ หน้าปกของนิตยสาร
ส่ วนเว็บเพจ คือ รายละเอียดของเว็บแต่ละหน้า เหมือนหน้ากระดาษแต่ละหน้าของนิ ตยสารนัน่ เอง ใน
หน้าโฮมเพจจะมีลิงค์เพื่อเชื่ อมโยงไปยังหน้านั้นๆด้วยเพื่อความสะดวก รวดเร็ ว ซึ่งจะอยูใ่ นรู ปแบบ
ไฟล์ นอกจากนี้ยงั มีนิยามศัพท์ที่เกี่ยวกับเว็บไซต์ ได้แก่ อีเมล เว็บบอร์ ด เว็บท่า โอเพนซอร์ ส ลิงค์ เนวิ
เกชัน และ เฟรม
2. การที่จะสามารถใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้น้ นั จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องเข้าใจ
ถึงลักษณะของเว็บไซต์และจาแนกแยกแยะได้วา่ เว็บไซต์เหล่านั้นมีความแตกต่างหรื อเหมือนกัน
อย่างไร รวมถึงมีหน้าที่หลักเฉพาะตัวอย่างไรบ้าง เว็บไซต์สามารถแบ่งออกตามลักษณะของเนื้ อหา
และรู ปแบบของเว็บไซต์ เป็ น 9 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ เว็บท่า เว็บข่าว เว็บข้อมูล เว็บธุ รกิจหรื อ
การตลาด เว็บการศึกษา เว็บบันเทิง เว็บองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร เว็บส่ วนตัว และเว็บเครื อข่าย
ทางสังคม
3. ปั จจุบนั นี้ไม่เพียงแต่หน่วยงานใหญ่ๆจะหันมาสนใจการมีเว็บไซต์เป็ นของตนเอง ผูใ้ ช้ที่เป็ น
บุคคลธรรมดาก็สามารถมีเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตได้ โดยประโยชน์ของเว็บไซต์มีมากมายไม่วา่ จะเป็ น
การประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล ข่าวสารต่าง ๆ บริ การรับส่ งอีเมล บริ การรับส่ งข้อมูลผ่านทางโพรโทคอล
เอฟทีพี นอกจากนี้ เว็บไซต์ยงั ให้ประโยชน์ดา้ นการเรี ยนการสอน ด้านธุ รกิจ และคลาวด์คอมพิวติง้ ช่วย
ทาให้สามารถนาไอทีไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุ รกิจทาได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่าในอดีต โดยองค์กร
สามารถใช้บริ การทางด้านไอทีได้ โดยไม่จาเป็ นต้องลงทุนมากมายกับโครงสร้างพื้นฐานไอทีของตน
อีกทั้งผูใ้ ช้งานก็สามารถเลือกใช้บริ การเฉพาะอย่างและเลือกเสี ยค่าใช้จ่าย ให้ตรงกับความต้องการ
6

เฉพาะด้านหรื อสอดคล้องกับงบประมาณของตนได้

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 2.1 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. บอกความหมายและความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเว็บเพจ รวมทั้งความหมายของ
ศัพท์ที่เกี่ยวข้องได้
2. บอกประเภทและอธิ บายลักษณะของเว็บไซต์แต่ละชนิ ดได้
3. อธิบายความสาคัญของเว็บไซต์ได้
7

เรื่องที่ 2.1.1
นิยามศัพท์ ที่เกีย่ วข้ องกับเว็บไซต์

เว็บไซต์ เป็ นแหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่ อประสมต่างๆ เช่น ภาพ เสี ยง ข้อความ


เป็ นต้น ของแต่ละหน่วยงานบนอินเทอร์ เน็ต ซึ่งแบ่งได้เป็ น 2 ส่ วน คือ 1) โฮมเพจ และ 2) เว็บเพจ
1) โฮมเพจ (home page) คือ ข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์ หรื อ หน้าปกของนิตยสาร ดังนั้น
โฮมเพจจึงควรมีรูปแบบที่น่าสนใจ สี สันสวยงาม มีภาพเคลื่อนไหวและเพลงที่เหมาะสมกับตัวเว็บ แต่
เนื่องจากไฟล์เพลงอาจทาให้โหลดเว็บได้ชา้ ดังนั้น ปั จจุบนั จึงไม่นิยมใส่ เพลงแต่จะใช้ภาพเคลื่อนไหว
แทนเพราะเป็ นส่ วนสาคัญที่จะทาให้ผมู ้ าเยีย่ มชมเว็บสนใจในตัวเว็บมากขึ้น ดังภาพที่ 2.1

ภาพที่ 2.1 ตัวอย่างโฮมเพจของ http://www.toyota.co.th/


ที่มา : http://www.toyota.co.th/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2554
8

2) เว็บเพจ (web page) คือ รายละเอียดของเว็บแต่ละหน้า ต่อๆกันไป เหมือนหน้ากระดาษแต่


ละหน้าภายในนิตยสารนัน่ เอง ในหน้าโฮมเพจจะมีลิงค์เพื่อเชื่อมโยงไปยังหน้านั้นๆ ด้วยเพื่อความ
สะดวก รวดเร็ ว โดยอยูใ่ นรู ปแบบไฟล์ html (Hypertext Markup Language) ดังภาพที่ 2.2

ภาพที่ 2.2 ตัวอย่างหน้าเว็บเพจภายในเว็บไซต์โตโยต้า


ที่มา : http://www.toyota.co.th/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2554

จากความหมายของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเว็บเพจข้างต้น สามารถนามาเปรี ยบเทียบให้เห็นใน


รู ปของตารางได้ดงั ตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 ความหมายและความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเว็บเพจ

เว็บไซต์ (Web Site) โฮมเพจ (Home Page) เว็บเพจ (Web Page)


คือ กลุ่มของเว็บเพจหลายๆ หน้า คือ เว็บเพจหน้าแรกของ คือ หน้าเอกสารต่าง ๆ
โดยมีโฮมเพจเป็ นเว็บเพจหน้า เว็บไซต์ จะมีความสวยงาม ที่ใช้เผยแพร่ ขอ้ มูล
แรก ที่มีความสวยงาม เพื่อดึงดูด เป็ นพิเศษ เพื่อดึงดูดความ ข่าวสาร ของบุคคล องค์กร
9

ความสนใจของผูเ้ ข้าชมเว็บไซต์ สนใจ ของผูเ้ ข้าชม หรื อ หน่วยงานต่าง ๆ


เปรี ยบเสมือนหนังสื อหนึ่งเล่ม เว็บไซต์ และมีจุด เปรี ยบเสมือนเนื้ อหาต่างๆ
เชื่อมโยงไปยังเว็บเพจ ในเล่มหนังสื อ
หน้าต่าง ๆ เปรี ยบเสมือน
หน้าปกหนังสื อ

และสามารถสรุ ปความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเว็บเพจ ดังภาพที่ 2.3

เว็บเพจ 5 หน้า

โฮมเพจ

รวมกันเรี ยกว่า เว็บไซต์

ภาพที่ 2.3 ความสัมพันธ์ของเว็บไซต์ โฮมเพจ และเว็บเพจ

เว็บไซต์ก็คือเว็บเพจอย่างน้อยสองหน้าที่มีการเชื่ อมโยงกันหรื อ ลิงค์ (Links) ถึงกันได้ คาว่า


“เว็บไซต์” จะใช้สาหรับผูท้ ี่มีคอมพิวเตอร์แบบเซิ ร์ฟเวอร์ หรื อจดทะเบียนโดเมนเป็ นของตนเอง
เรี ยบร้อยแล้ว เช่น www.stou.ac.th เป็ นเว็บไซต์ที่ให้บริ การทางด้านการศึกษา www.google.co.th
10

เป็ นเว็บไซต์ที่ให้บริ การทางด้านการสื บค้นข้อมูล www.sanook.com เป็ นเว็บไซต์สาหรับผูท้ ี่ตอ้ งการ


ความบันเทิงหลากหลายประเภท เป็ นต้น ดังนั้น เว็บไซต์ (website หรื อ web site) จึงหมายถึง หน้าเว็บ
เพจหลายหน้า ซึ่ งเชื่ อมโยงกันผ่านทางไฮเปอร์ ลิงค์ ส่ วนใหญ่จดั ทาขึ้นเพื่อนาเสนอข้อมูลผ่าน
คอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ในเวิลด์ไวด์เว็บ เว็บไซต์โดยทัว่ ไปจะให้บริ การต่อผูใ้ ช้ฟรี แต่ใน
ขณะเดียวกันบางเว็บไซต์จาเป็ นต้องมีการสมัครสมาชิกและเสี ยค่าบริ การเพื่อที่จะดูขอ้ มูลในเว็บไซต์
นั้น ซึ่ งได้แก่ขอ้ มูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ หรื อข้อมูลสื่ อต่างๆ ผูท้ าเว็บไซต์มีหลากหลาย
ระดับ ตั้งแต่สร้างเว็บไซต์ส่วนตัว จนถึงระดับเว็บไซต์สาหรับธุ รกิจหรื อองค์กรต่างๆ การเรี ยกดู
เว็บไซต์โดยทัว่ ไปนิยมเรี ยกดูผา่ นซอฟต์แวร์ เว็บเบราว์เซอร์ (http://th.wikipedia.org/wiki/ ค้นคืนเมื่อ
วันที่ 2 2 4) นอกจากนี้ ยังมีผใู ้ ห้นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับเว็บไซต์ไว้ ดังนี้
1. อีเมล (e-mail หรื อ email) ย่อมาจาก จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรื อ ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์
(electronic mail) คือวิธีการหนึ่งของการแลกเปลี่ยนข้อความแบบดิจิทลั ซึ่ งออกแบบขึ้นเพื่อให้มนุษย์ใช้
เป็ นหลัก ข้อความนั้นจะต้องประกอบด้วยเนื้อหา ที่อยูข่ องผูส้ ่ ง และที่อยูข่ องผูร้ ับ (ซึ่ งอาจมีมากกว่า
หนึ่ง) เป็ นอย่างน้อย (http://th.wikipedia.org/wiki/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 2 2 4)
2. เว็บบอร์ ด (webboard) คือลักษณะของเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับการแลกเปลี่ยนบทสนทนา การ
พูดคุย การอภิปรายในสังคมออนไลน์ นอกจากชื่ อเว็บบอร์ ดแล้ว ยังมีเรี ยกกันหลายชื่อไม่วา่ กระดาน
ข่าว กระดานข่าวสาร กระดานข่าวอิเล็กทรอนิกส์ กระดานสนทนา กระดานสนทนาออนไลน์ ฟอรัม
เว็บฟอรัม เมสเซจบอร์ ด บุลลิทินบอร์ด หรื อเรี ยกอย่างสั้นว่า บอร์ ด ก็มี (http://th.wikipedia.org/wiki/
ค้นคืนเมื่อวันที่ 2 2 4)
3. เว็บท่า (web portal) หมายถึง เว็บที่รวบรวมลิงค์ เว็บไซต์ และบทความต่างๆ โดยการจัด
หมวดหมู่ให้ดูง่าย และมีหน้าที่นาพาผูเ้ ยีย่ มชมไปยังเว็บอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เว็บท่า อาจให้บริ การแบบ
ทัว่ ไป คือ มีเว็บครบทุกหมวดหมู่ (general portal) หรื อบริ การเฉพาะ เช่น เว็บท่าสุ ขภาพ (health portal)
เว็บท่ามัลติมีเดีย (multimedia portal) เว็บท่าข่าว (news portal) เป็ นต้น ตัวอย่างเว็บท่าของไทย และ
ต่างประเทศ เช่น Yahoo เป็ นเว็บท่าที่ใหญ่ที่สุดของโลก Sanook.com เป็ นเว็บท่าที่ใหญ่ที่สุดของไทย
(http://th.wikipedia.org/wiki/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 2 2 4) เป็ นต้น
4. โอเพ่นซอร์ ส (open source) เป็ นวิธีการในการออกแบบ พัฒนา และแจกจ่ายต้นฉบับของ
สิ นค้าหรื อความรู้ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ โดยโอเพ่นซอร์สถูกพิจารณาว่าเป็ นทั้งรู ปแบบหนึ่งในการ
ออกแบบ และแผนการในการดาเนินการ โดยโอเพ่นซอร์ สเปิ ดโอกาสให้บุคคลอื่นนาเอาระบบนั้นไป
พัฒนาได้ต่อไป (http://th.wikipedia.org/wiki/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 8 สิ งห 2554)
11

5. ลิงค์ (link) หมายถึง หัวข้อต่าง ๆ หรื อส่ วนที่สามารถเชื่ อมโยงไปยังเว็บไซต์ หรื อ ไปยัง
รายละเอียดที่ระบุไว้ ผูใ้ ช้จะต้องใช้เมาส์เลื่อนไปคลิก ยังลิงค์ที่ตอ้ งการ ซึ่ งโดยส่ วนใหญ่ มักจะมี "การ
ขีดเส้นใต้" ไว้ และถ้าผูใ้ ช้เลื่อนเมาส์ ไปอยูบ่ นลิงค์ เมาส์จะเปลี่ยนเป็ นรู ปมือที่ยนื่ นิ้วชี้ออกมา บนหัวข้อ
นั้น ๆ
6. เนวิเกชัน (Navigation) หมายถึง ศิลปะในการนาทางให้ผอู ้ ่านได้ท่องเว็บไซต์ ดังนั้น
ผูอ้ อกแบบเนวิเกชันควรทราบว่ามีเนื้อหาอะไรบ้าง เนื้ อหานั้นตั้งอยูท่ ี่ใด มีวธิ ี การค้นหาเนื้อหานั้นๆได้
อย่างไร เนวิเกชันเป็ นวิธีการที่ง่ายที่สุดที่จะบอกผูใ้ ช้งานให้ไปยังจุดหมายได้ง่ายและรวดเร็ ว
7. เฟรม (frame) คือการแบ่งพื้นที่หน้าจอของเว็บบราวเซอร์ (Web Browser) ออกเป็ นส่ วน ๆ
ทาให้สามารถแสดงเว็บเพจหลายๆ หน้า ไว้ในหน้าจอเดียวกันได้ สาหรับหน้าจอจะเรี ยกว่า "Window"
โดยปกติแล้ว หนึ่งหน้าจอจะแสดงหน้าเวบ เพียงหนึ่งหน้า แต่บางเว็บไซต์ ผูเ้ ขียนเว็บไซต์อาจ
กาหนดให้แสดงผลหลาย ๆ เฟรม อยูภ่ ายในหน้าจอเดียวกัน (http://www.cs.kku.ac.th : ค้นคืนเมื่อวันที่
12 สิ งหาคม 2554)

กิจกรรม 2.1.1
1. โฮมเพจคืออะไร
2. เว็บเพจคืออะไร

แนวตอบกิจกรรม 2.1.1
1. โฮมเพจ คือ ข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์ หรื อ หน้าปกของนิตยสาร ในหน้าโฮมเพจจะมีลิงค์
เพื่อเชื่ อมโยงไปยังหน้านั้นๆด้วยเพื่อความสะดวก รวดเร็ ว จะอยูใ่ นรู ปแบบไฟล์
2. เว็บเพจ คือ รายละเอียดของเว็บแต่และหน้า เหมือนหน้ากระดาษแต่ละหน้าของนิ ตยสาร
12

เรื่องที่ 2.1.2
ประเภทของเว็บไซต์

การที่จะสามารถใช้งานเว็บไซต์ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดได้น้ นั จาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องเข้าใจถึง


ลักษณะของเว็บไซต์และจาแนกแยกแยะได้วา่ เว็บไซต์เหล่านั้นมีความแตกต่างหรื อเหมือนกันอย่างไร
รวมถึงมีหน้าที่หลักเฉพาะตัวอย่างไรบ้าง เว็บไซต์สามารถแบ่งออกได้เป็ นกลุ่มใหญ่ๆตามลักษณะของ
เนื้อหาและรู ปแบบของเว็บไซต์เป็ น 9 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1. เว็บท่า (web portal) หมายถึง เว็บที่รวบรวมลิงค์ เว็บไซต์ และบทความต่างๆ โดยการจัด
หมวดหมู่ให้ดูง่าย และมีหน้าที่นาพาผูเ้ ยีย่ มชมไปยังเว็บอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เว็บท่า อาจให้บริ การแบบ
ทัว่ ไป คือ มีเว็บครบทุกหมวดหมู่ general portal หรื อบริ การเฉพาะ เช่น เว็บท่าสุ ขภาพ (health portal)
เว็บท่ามัลติมีเดีย (multimedia portal) เว็บท่าข่าว (news portal) เป็ นต้น ภาพที่ 2.4 เป็ นตัวอย่างเว็บท่า
ของ www.sanook.com

ภาพที่ 2.4 ตัวอย่างเว็บท่า


ที่มา : www.sanook.com ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

2. เว็บข่าว (News site) มักเป็ นเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นโดยองค์กรข่าวหรื อสถาบันสื่ อสารมวลชน


ต่างๆ เช่น สถานีโทรทัศน์ สถานีวทิ ยุ หนังสื อพิมพ์ นิตยสาร วารสาร หรื อแม้กระทัง่ กระทรวง ทบวง
13

กรมต่างๆ เป็ นต้น องค์กรเหล่านี้ได้นาเว็บไซต์มาใช้เป็ นเครื่ องมือในการสื่ อสารอีกรู ปแบบหนึ่ง เพื่อ


นาเสนอข่าวและสาระที่เป็ นการสรุ ปใจความสาคัญ หรื อรวบรวมเนื้ อหาจากข่าวในรอบเดือนหรื อรอบ
ปี ซึ่ งช่วยให้ผใู ้ ช้สามารถค้นหาข้อมูลและติดตามข่าวสารได้ทุกที่ทุกเวลา ไม่วา่ จะอยูท่ ี่ใดก็ตาม ภาพที่
2.5 เป็ นตัวอย่างเว็บข่าวของหนังสื อพิมพ์ไทยรัฐ

ภาพที่ 2.5 ตัวอย่างเว็บข่าว


ที่มา : http://www.thairath.co.th/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

3. เว็บข้อมูล (Information site) เป็ นเว็บที่ให้บริ การเกี่ยวกับการสื บค้นข้อมูล ข่าวสาร หรื อ


ข้อเท็จจริ งต่างๆ ขึ้นมา เพื่อเป็ นช่องทางให้ประชาชนหรื อกลุ่มบุคคลที่สนใจได้เข้ามาศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับองค์กรของตนได้ อีกทั้งยังเป็ นการสร้างโอกาสในการประชาสัมพันธ์และสร้าง
ความเข้าใจอันดีให้เกิดแก่ประชาชนในสังคมอีกด้วย ภาพที่ 2.6 ตัวอย่างของเว็บข้อมูล
14

ภาพที่ 2.6 ตัวอย่างเว็บข้อมูล


ที่มา : http://www.alexa.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

4. เว็บธุ รกิจหรื อการตลาด (Business/ Marketing site) เป็ นเว็บไซต์ที่มกั สร้างขึ้นโดยองค์กร


ธุ รกิจต่างๆ มีจุดมุ่งหมายหลักในการประชาสัมพันธ์องค์กรและเพิ่มผลกาไรทางการค้า โดยเนื้ อหาส่ วน
ใหญ่หรื อเกือบทั้งหมดมักจะเป็ นการนาเสนอที่มีความน่าสนใจและตรงใจกลุ่มเป้ าหมายมากที่สุด ทั้งนี้
เพื่อผลกาไรทางธุ รกิจ ภาพที่ 2.7 เป็ นตัวอย่างของเว็บธุ รกิจหรื อการตลาด
15

ภาพที่ 2.7 ตัวอย่างเว็บธุ รกิจ


ที่มา : http://www.dtac.co.th/index.php ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

5. เว็บการศึกษา (Education site) มักเป็ นเว็บที่สร้างขึ้นโดยสถาบันการศึกษาต่างๆ หรื อองค์กร


ทั้งภาครัฐและเอกชนที่มีนโยบายในการเผยแพร่ ความรู ้ และให้โอกาสในการค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อ
การศึกษาแก่นกั เรี ยน นิสิต นักศึกษา รวมถึงประชาชนทัว่ ไป เว็บการศึกษาให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้
ทั้งแบบที่เป็ นทางการและไม่เป็ นทางการ เว็บที่เกี่ยวกับการศึกษาโดยตรงนั้น ได้แก่เว็บของ
สถาบันการศึกษา ห้องสมุด และเว็บที่ให้บริ การการเรี ยนรู ้แบบออนไลน์ที่เรี ยกว่า อี-เลิร์นนิ่ง (e-
learning) นอกจากนี้แล้วยังรวมถึงเว็บที่สอนหรื อให้ความรู ้เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ เช่น การทาเว็บ การ
ทาอาหาร การถ่ายภาพ การเขียนโปรแกรม เป็ นต้น ภาพที่ 2.8 เป็ นตัวอย่างของเว็บการศึกษา

ภาพที่ 2.8 ตัวอย่างเว็บการศึกษา


ที่มา : www.stou.ac.th ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

6. เว็บบันเทิง (Entertainment site) มุ่งเสนอและให้บริ การต่างๆ เพื่อเสริ มสร้างความบันเทิง


โดยทัว่ ไปอาจนาเสนอเรื่ องราวเกี่ยวกับการบันเทิงทัว่ ไป เช่น ดนตรี ภาพยนตร์ ดารา กีฬา ความรัก บท
กลอน การ์ตูน เรื่ องขาขัน รวมถึงการให้บริ การดาวน์โหลดโลโก้และริ งโทนสาหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่
16

อีกด้วย โดยเว็บประเภทนี้ อาจมีรูปแบบที่เป็ นการโต้ตอบกับผูเ้ ยีย่ มชมที่ตื่นตาตื่นใจ หรื อใช้


เทคโนโลยีมลั ติมิเดียได้มากกว่าเว็บประเภทอื่น ภาพที่ 2.9 เป็ นตัวอย่างของเว็บบันเทิง

ภาพที่ 2.9 ตัวอย่างเว็บบันเทิง


ที่มา : http://entertainment.msn.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

7. เว็บองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร (None-profit organization site) เว็บประเภทนี้มกั จะเป็ น


เว็บที่สร้างขึ้นโดยกลุ่มบุคคลหรื อองค์กรต่างๆ ที่มีนโยบายในการสร้างสรรค์ที่ช่วยเหลือสังคมโดยที่ไม่
หวังผลกาไรหรื อค่าตอบแทน ซึ่ งกลุ่มบุคคลหรื อองค์กรเหล่านี้ได้แก่ สมาคม ชมรม มูลนิธิ และ
โครงการต่างๆ โดยอาจมีจุดประสงค์เฉพาะที่แตกต่างกัน เช่น เพื่อทาความดี สร้างสรรค์สังคม พิทกั ษ์
สิ่ งแวดล้อม ปกป้ องสิ ทธิ มนุ ษยชน รณรงค์ไม่ให้สูบบุหรี่ หรื ออาจรวมตัวกันเพื่อดูแลผลประโยชน์ของ
สมาชิกในกลุ่ม ภาพที่ 2.10 เป็ นตัวอย่างของเว็บองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไร
17

ภาพที่ 2.10 ตัวอย่างเว็บองค์กรที่ไม่แสวงหากาไร


ที่มา : http://www.unicef.org/thailand/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

8. เว็บส่ วนตัว (personal site) อาจเป็ นเว็บของคนๆ เดียว เพื่อนฝูง หรื อครอบครัวก็ได้ โดยอาจ
จัดทาขึ้นด้วยเหตุผลที่แตกต่างกัน เช่น แนะนากลุ่มเพื่อน โชว์รูปภาพ แสดงความคิดเห็น เขียนไดอารี่
ประจาวัน นาเสนอผลงาน ถ่ายทอดประสบการณ์เกี่ยวกับสิ่ งที่เชี่ยวชาญหรื อสนใจ โดยทั้งหมดนี้อาจทา
เป็ นเว็บไซต์หรื อเป็ นเพียงเว็บเพจหน้าเดียวก็ได้ ภาพที่ 2.11 เป็ นตัวอย่างของเว็บส่ วนตัว
18

ภาพที่ 2.11 ตัวอย่างเว็บส่ วนตัว


ที่มา : http://www.edwarddebono.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

9. เว็บเครื อข่ายทางสังคม (Social network) เป็ นแหล่งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผูค้ นใน


สังคมในเรื่ องเกี่ยวกับประเด็นต่างๆ ซึ่ งเรี ยกว่า เว็บที่ให้บริ การพื้นที่แก่กลุ่มคนผูท้ ี่มีความสนใจในเรื่ อง
เดียวกันได้เข้ามาแลกเปลี่ยนและแสดงความคิดเห็นกัน ภาพที่ 2.12 เป็ นตัวอย่างของเว็บเครื อข่ายทาง
สังคม
19

ภาพที่ 2.12 ตัวอย่างเว็บเครื อข่ายทางสังคม


ที่มา : http://th-th.facebook.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2554

กิจกรรม 2.1.2
1. เว็บไซต์ที่แบ่งออกตามลักษณะของเนื้ อหาและรู ปแบบของเว็บไซต์ได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
2. จงอธิบายลักษณะของเว็บท่ามาพอเข้าใจ

แนวตอบกิจกรรม 2.1.2
1. เว็บไซต์สามารถแบ่งออกตามลักษณะของเนื้ อหาและรู ปแบบของเว็บไซต์ เป็ น 9 ประเภท
ใหญ่ๆ ได้แก่ เว็บท่า เว็บข่าว เว็บข้อมูล เว็บธุ รกิจหรื อการตลาด เว็บการศึกษา เว็บบันเทิง เว็บองค์กรที่
ไม่แสวงหาผลกาไร เว็บส่ วนตัว และเว็บเครื อข่ายทางสังคม
2. เว็บท่า เป็ นเว็บที่รวบรวมลิงค์ เว็บไซต์ และบทความต่างๆ โดยการจัดหมวดหมู่ให้ดูง่าย
และมีหน้าที่นาพาผูเ้ ยีย่ มชมไปยังเว็บอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เว็บท่าอาจให้บริ การแบบทัว่ ไป คือ มีเว็บครบทุก
หมวดหมู่ general portal หรื อบริ การเฉพาะ เช่น เว็บท่าสุ ขภาพ (health portal) เว็บท่ามัลติมีเดีย
(multimedia portal) เว็บท่าข่าว (news portal) เป็ นต้น
20

เรื่องที่ 2.1.3
ความสาคัญของเว็บไซต์

ในอดีตหน่วยงานรัฐบาล ภาครัฐ และบริ ษทั ส่ วนใหญ่ มักจะมีเว็บไซต์เป็ นของตนเอง แต่


ปั จจุบนั นี้ไม่เพียงแต่หน่วยงานใหญ่ๆจะหันมาสนใจการมีเว็บไซต์เป็ นของตนเอง ผูใ้ ช้ที่เป็ นบุคคล
ธรรมดา ก็สามารถที่จะมีเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตได้ โดยประโยชน์ของเว็บไซต์มีมากมายไม่วา่ จะเป็ น
การประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล ข่าวสารต่าง ๆ บริ การรับส่ ง e-mail บริ การรับส่ งข้อมูลผ่านทางโพรโทคอล
FTP นอกจากนี้เว็บไซต์ยงั ให้คุณประโยชน์ต่างๆ อีก ดังนี้
เว็บไซต์ ด้านการเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ เป็ นเครื่ องมือและกระบวนการในการเรี ยนการ
สอน ซึ่ งเว็บไซต์ดา้ นการเรี ยนการสอนผ่านเว็บไซต์ จะเรี ยกว่า e-Learning มีคุณลักษณะ ดังนี้
1) การเรี ยนการสอนสามารถเข้าถึงทุกหน่วยงานที่มีอินเทอร์ เน็ตติดตั้งอยู่
2) การเรี ยนการสอนกระทาได้โดยผูเ้ ข้าเรี ยนไม่ตอ้ งทิ้งงานประจาเพื่อมาเข้าชั้นเรี ยน
3) e-Learning ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น ค่าที่พกั ค่าเดินทาง เป็ นต้น
4) การเรี ยนการสอนกระทาได้ตลอด 24 ชัว่ โมง
5) การจัดสอนหรื ออบรมมีลกั ษณะที่ผเู้ ข้าเรี ยนเป็ นศูนย์กลาง การเรี ยนรู ้เกิดกับผูเ้ ข้า
เรี ยนโดยตรง
6) การเรี ยนรู ้เป็ นไปตามความก้าวหน้าของผูร้ ับการเรี ยนการสอนเอง
7) ผูเ้ รี ยนผ่าน e-Learning สามารถทบทวนบทเรี ยนและเนื้ อหาได้ตลอดเวลา
8) ผูเ้ รี ยนผ่าน e-Learning สามารถซักถาม หรื อเสนอแนะ หรื อถามคาถามได้ดว้ ย
เครื่ องมือบนเว็บ
9) สามารถแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหว่างผูเ้ ข้ารับการอบรมได้โดยเครื่ องมือสื่ อสารใน
ระบบอินเทอร์ เน็ตทั้งไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) หรื อห้องสนทนา (chat room)
หรื ออื่น ๆ
10) สะดวกต่อการใช้งาน
ภาพที่ 2.13 เป็ นเว็บไซต์ดา้ นการเรี ยนการสอนผ่านเว็บไซต์ ของ NECTEC ศไ ย
21

ภาพที่ 2.13 ตัวอย่างเว็บไซต์ดา้ นการเรี ยนการสอน


ที่มา : http://elearning.nectec.or.th/ ค้นคืนวันที่ 9 กันยายน 2554

ด้ านธุรกิจ เว็บไซต์เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้ผปู ้ ระกอบการทางด้านธุ รกิจได้รับประโยชน์ต่างๆ


ดังนี้
1. ส่ งเสริมศักยภาพทางด้ านธุรกิจ การมีเว็บไซต์สามารถช่วยในการเพิ่มเสริ มศักยภาพของ
ธุ รกิจให้แข่งแกร่ งมากยิง่ ขึ้น เนื่องจากเป็ นโลกที่เปิ ดกว้างทางด้านข้อมูล ทาให้สินค้าและบริ การของผู้
ประกอบกิจการเป็ นที่รู้จกั ในท้องตลาดมากยิง่ ขึ้น
2. การเข้ าถึงกลุ่มลูกค้ าทีง่ ่ ายมากขึน้ ผูป้ ระกอบกิจการสามารถสร้างเว็บไซต์เป็ นของตนเอง
และทาให้กลุ่มลูกค้าค้นพบเว็บไซต์ผา่ น Search Engine ได้อย่างง่ายงาย โดยใช้กลุ่มคาที่เจาะจงกับธุ รกิจ
เพื่อเป็ นการเพิ่มกลุ่มลูกค้าให้สนใจสิ นค้าและบริ การได้อย่างตรงเป้ าหมายมากยิง่ ขึ้น ตลอด 24 ชัว่ โมง
แม้วา่ จะเป็ นวันหยุดก็สามารถเปิ ดหน้าร้านขายของได้
3. ช่ วยให้ ผ้ ปู ระกอบกิจการขายสิ นค้ าได้ โดยไม่ ต้องมีหน้ าร้ าน เนื่องจากเว็บไซต์เปรี ยบเสมือน
ร้านค้าออนไลน์หรื อสานักงาน ที่ใครๆก็สามารถเข้ามาเยีย่ มชมและค้าหาข้อมูลของสิ นค้าได้ โดยไม่
ต้องลงทุนเปิ ดหน้าร้านที่ตอ้ งมีการเช่าห้อง เช่าอาคาร ไม่จาเป็ นต้องเสี ยค่าใช้จ่าย เช่น ค่าน้ า ค่าไฟฟ้ า
22

ค่าจ้างลูกจ้าง ค่าวัสดุอุปกรณ์สานักงาน หรื อแม้กระทัง่ ค่าทาบัญชีเนื่ องจากสามารถสร้างโปรแกรมการ


ตัดสต๊อกสิ นค้า การคานวณยอดเงินในแต่ละวัน เป็ นต้น
4. ช่ วยสร้ างภาพลักษณ์ทดี่ ีให้ กบั องค์ กร ปั จจุบนั บริ ษทั ที่มีเว็บไซต์เป็ นของตนเอง
เปรี ยบเสมือน บริ ษทั นั้นๆมีความทันสมัยเนื่องจากเว็บไซต์อาจมีการเปลี่ยนแปลงปรับปรุ งราคา การทา
โปรโมชันได้อย่างรวดเร็ วทาให้บริ ษทั สามารถปรับตัวตั้งรับกับสภาพการแข่งขันทางการค้าได้อย่าง
รวดเร็ ว จึงทาให้กลุ่มลูกค้าเข้าใจถึงภาพลักษณ์ดา้ นความรวดเร็ วสามารถตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้าได้ทนั ทีทนั ใด นอกจากนี้เว็บไซต์ยงั ช่วยในการสร้างความรู ้สึกประทับใจกับผูเ้ ยีย่ มชมได้อีกด้วย
จึงถือได้วา่ เว็บไซต์สามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กบั องค์กรได้
5. ช่ วยลดค่ าใช้ จ่ายในการประชาสั มพันธ์ เนื่องจากเว็บไซต์ทาให้ผปู ้ ระกอบกิจการไม่ตอ้ งเสี ย
ค่าโฆษณาผ่านสื่ อต่างๆในราคาสู ง เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสื อพิมพ์ เป็ นต้น โดยหันมาสร้างเว็บไซต์
เป็ นของตนเอง เป็ นการลงทุนสร้างเว็บไซต์เพียงครั้งเดียวแต่ได้รับผลตอบแทนที่ผปู ้ ระกอบกิจการพึง
พอใจ เพราะลูกค้าที่หลากหลายจานวนมากสามารถเข้ามาเยีย่ มชมได้ตลอดเวลา ลูกค้าสามารถแสดง
ข้อคิดเห็นต่างๆได้อย่างอิสระทาให้สามารถนาข้อคิดเห็นต่างๆมาปรับปรุ งสิ นค้า บริ การ หรื อ
แม้กระทัง่ ปรับปรุ งเว็บไซต์เองก็ตาม จึงทาให้ผปู ้ ระกอบกิจการไม่จาเป็ นต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการทา
วิจยั ตลาด วิจยั ผลิตภัณฑ์กส็ ามารถพัฒนาสิ่ งเหล่านั้นได้ การมีเว็บไซต์จะเสี ยค่าบริ การรายปี เล็กน้อย
เท่านั้น
6. ช่ วยให้ เป็ นเหมือนทีป่ รึกษาของลูกค้ า ผูป้ ระกอบกิจการสามารถให้คาปรึ กษาปัญหาและ
วิธีการแก้ไขปั ญหาต่างๆ ผ่านทางเว็บไซต์ให้กบั ลูกค้าตลอด 24 ชัว่ โมง โดยอาจจะเป็ นการฝากข้อความ
ผ่านทางอีเมล หรื อกระดานสนทนา โดยผูป้ ระกอบกิจการไม่ตอ้ งมีทีมงานคอยรับโทรศัพท์ให้กบั กลุ่ม
ลูกค้าที่มีปัญหาต่างๆ
7. สามารถอานวยความสะดวกแก่ ลูกค้ าได้ หากลูกค้ามีปัญหาหรื อข้อสงสัยในสิ นค้าและบริ การ
และลูกค้าสามารถแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ ผ่านการอ่านบทความช่วยเหลือบนเว็บไซต์ นอกจากนี้ ยัง
เป็ นการสร้างความมัน่ ใจในการดูแลลูกค้าให้กบั กลุ่มลูกค้ามากขึ้นด้วย
นอกจากประโยชน์ทางด้านการเรี ยนการสอนและด้านธุ รกิจแล้ว ยังมีเทคโนโลยีคลาวด์
คอมพิวติ้ง (Cloud Computing) ที่สามารถนาคลาวด์คอมพิวติ้งไปประยุกต์ใช้เพื่อประโยชน์ในด้าน
ต่างๆ ในปั จจุบนั ไม่วา่ จะเป็ นทั้งจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน หรื อจากองค์กรต่าง ๆ มากมายทั้งใน
และต่างประเทศ
คลาวด์คอมพิวติ้ง คือ แนวคิดการใช้งานทางด้านไอทีที่ใช้วธิ ีดึงพลังและสมรรถนะจาก
คอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวจากต่างสถานที่ให้มาทางานสอดประสานกันเพื่อช่วยขับเคลื่อนการบริ การทาง
23

ด้านไอที ประโยชน์ของคลาวด์คอมพิวติ้งมีอยูห่ ลายประการ เช่น ช่วยให้การนาไอทีไปประยุกต์ใช้ใน


เชิงธุ รกิจทาได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่าในอดีต โดยองค์กรสามารถใช้บริ การทางด้านไอทีได้ โดยไม่
จาเป็ นต้องลงทุนมากมายกับโครงสร้างพื้นฐานไอทีของตน อีกทั้งผูใ้ ช้งานก็สามารถเลือกใช้บริ การ
เฉพาะอย่างและเลือกเสี ยค่าใช้จ่าย ให้ตรงกับความต้องการเฉพาะด้านหรื อสอดคล้องกับงบประมาณ
ของตนได้ ยิง่ ไปกว่านั้น คลาวด์คอมพิวติ้งก็ยงั มีประโยชน์ในด้านอื่น ๆ อีก ไม่วา่ จะเป็ นการช่วยองค์กร
ประหยัดพลังงาน หรื อเพิ่มความอุ่นใจในด้านความปลอดภัยของระบบไอที เป็ นต้น เทคโนโลยีคลาวด์
คอมพิวติ้งมีโครงสร้างดังภาพที่ 2.14

ภาพที่ 2.14 โครงสร้างเทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง


ที่มา : blog.daveburrows.com ค้นคืนเมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม 2554

จากภาพแสดงการเชื่ อมต่อคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์ต่างๆเข้ากับเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต ให้


สามารถใช้บริ การหรื อใช้ทรัพยากรที่อยูร่ ะยะไกลเพื่อสนองต่อความต้องการของผูใ้ ช้บริ การหรื อใช้
ทรัพยากรได้ จึงเป็ นสาเหตุที่มองว่าคลาวด์คอมพิวติ้ง คือเมฆที่ปกคลุมทรัพยากรและบริ การอยูม่ ากมาย
เทียบได้กบั เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตที่ต่อกับบริ การและทรัพยากรจานวนมหาศาล เมื่อเป็ นเทคโนโลยี
คลาวด์คอมพิวติ้ง จะมองว่าอินเทอร์เน็ตคือเมฆ และเมื่อไหร่ ที่ต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับเมฆแล้ว จะ
สามารถเข้าถึงและใช้ทรัพยากรจานวนมหาศาลที่ต่อกับเมฆนั้นได้ เปรี ยบได้กบั เมฆปกคลุม
ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ และผูใ้ ช้จานวนมหาศาลไว้อยู่
24

ยุคเว็บ 1.0 (Web 1.0) เป็ นการสื่ อสารระหว่างผูส้ ร้างเว็บ (web master) กับผูท้ ี่เข้ามาใช้บริ การ
บนเว็บนั้นๆ ซึ่งเป็ นลักษณะของการสื่ อสารทางเดียว (one-way communication) ที่ผเู้ ยีย่ มชมเว็บไม่
สามารถตอบโต้ หรื อแก้ไขข้อมูลต่างๆได้ในทันที ซึ่งรู ปแบบที่ใช้สื่อสารถึงกันจะมีลกั ษณะเป็ นการรับ-
ส่ งอีเมล์ (e-mail) เข้าแชตรู ม (chat room) ดาวน์โหลดภาพและเสี ยง หรื อใช้การค้นหาผ่านเว็บ Search
Engine เพื่อหาข้อมูลหรื อรายงาน รวมทั้งการใช้ web board เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เช่น MSN,
Yahoo Messenger, Google Talk, Chat และ ICQ เป็ นต้น
ส่ วนยุคเว็บ 2.0 (Web 2.0) จะมีความเชื่อมโยงกับโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ซึ่งมีลกั ษณะ
ส่ งเสริ มให้เกิดการแบ่งปั นข้อมูล การพัฒนาในด้านแนวความคิดการออกแบบที่เน้นผูใ้ ช้งานเป็ น
ศูนย์กลาง user-centered design และ การร่ วมสร้างข้อมูลในโลกของอินเทอร์ เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ เว็บไซต์
ที่ออกแบบโดยใช้หลักการของ Web 2.0 ทาให้กลุ่มผูใ้ ช้งานสามารถปฏิสัมพันธ์และร่ วมมือกันใน
ลักษณะของสื่ อสังคมออนไลน์ โดยกลุ่มผูใ้ ช้งานเป็ นผูส้ ร้างเนื้อหาขึ้นเอง ต่างจาก Web 1.0 ที่กลุ่มผูใ้ ช้
ถูกจากัดบทบาทโดยทาได้แค่เพียงการเยีย่ มชม หรื อดูเนื้อหาที่ผใู ้ ช้สนใจ สาหรับตัวอย่างของ Web 2.0
ได้แก่ บล็อก เครื อข่ายสังคมออนไลน์ สารานุกรมเสรี วิดีโอแชริ ง โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ แมชอัพส์
Hi5, Facebook และ โฟล์คโซโนมี เป็ นต้น รวมไปถึงการแชร์ ไฟล์ต่างๆไม่วา่ จะแชร์ รูปภาพผ่าน
Flicker แชร์ วิดีโอผ่าน Youtube รวมไปถึงการเข้าไปใช้งาน application ต่างๆที่ออนไลน์บนโลก
อินเทอร์ เน็ต อย่างที่ Hi5 และ Facebook ได้บริ การ application แบบต่างๆไว้ให้ผใู ้ ช้สามารถติดตั้งไว้บน
หน้าเว็บส่ วนตัวได้ และอย่างที่ Google ได้เตรี ยม Google Doc ไว้เป็ นโปรแกรมสร้างเอกสารที่สามารถ
เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา (http://th.wikipedia.org/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 สิ งหาคม 2554)
สามารถเปรี ยบเทียบให้เห็นความแตกต่างของ Web 1.0 และ Web 2.0 ในรู ปตาราง ดังตารางที่
2.2 ดังนี้
25

ตารางที่ 2.2 เปรี ยบเทียบคุณสมบัติของ Web 1.0 และ Web 2.0


Web 1.0 Web 2.0
web master หรื อคนดูแลเว็บไซต์เท่านั้นที่ สามารถสื่ อสารตอบโต้ได้ท้ งั ผูส้ ร้างเว็บและ
สามารถแก้ไขปรับเปลี่ยนข้อมูลต่างๆ ในหน้า ผูใ้ ช้เว็บ (Interactive) เช่น บล็อกหรื อการ
เว็บได้ โพสต์กระทูต้ ่างๆ เป็ นต้น
การสื่ อสารทางเดียว (One-way การสื่ อสารสองทาง (Two-way
Communication) Communication) สามารถสร้างปรากฏการณ์
แบบปากต่อปากได้อย่างรวดเร็ ว จากการ
แนะนาผ่าน Social Networking
ข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงช้า และไม่ค่อยทันสมัย ผูใ้ ช้เว็บมีส่วนร่ วมและเป็ นผูส้ ร้าง Content ได้
เพราะจะต้องรอ web master เป็ นผูเ้ ปลี่ยนแปลง อย่างไม่จากัด และข้อมูลจะถูกตรวจสอบคัด
แก้ไขเท่านั้น กรองจากสมาชิกในเครื อข่ายอยูต่ ลอด เช่น
Wikipedia เป็ นต้น

ตัวอย่างของ Web 2.0 ที่เป็ นสาเหตุให้เกิด Cloud Computing เช่น Google Apps ที่รวม
application ต่างๆผ่านจุดเดียว รวมไปถึงบริ การที่มีอยูม่ ากมาย ตั้งแต่ search engine, gmail, picasa,
google video, google doc, google calendar, youtube, google maps, google reader และ blogger เป็ นต้น
และเมื่อไรที่บริ การและโปรแกรมแอพพลิเคชันต่างๆเหล่านี้ทางานร่ วมกันราวกับว่าเป็ นระบบเดียวกัน
รวมไปถึงสามารถแชร์ ทรัพยากรและใช้งานร่ วมกันระหว่างผูใ้ ช้อื่นๆได้ ก็จะทาให้เกิดคลาวด์คอมพิวติ้ง
ขึ้นมาในที่สุด
แนวโน้มในอนาคต คลาวด์คอมพิวติ้งจะเป็ นเทคโนโลยีที่สาคัญเข้ามามีบทบาทในการ
ปรับเปลี่ยน รู ปแบบการใช้งานทางด้านไอทีขนานใหญ่ นอกจากนั้นแนวโน้มการใช้งานคลาวด์
คอมพิวติ้งจะใช้งานกันอย่างกว้างขวาง แนวโน้มความสาคัญของคลาวด์คอมพิวติ้งมี 5 ประการดังนี้
1. แนวโน้มด้านการเป็ นสื่ อกลางในการติดต่อสื่ อสารของคนทัว่ โลก ปั จจุบนั เว็บเครื อข่ายทาง
สังคม (Social network) มีการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบทุกวันโดยผูใ้ ช้หลายล้านคนจากทัว่ ทุกมุมโลก เช่น
เฟซบุค๊ (Facebook) วิกิพีเดีย (Wikipedia) หรื อทวิตเตอร์ (Twitter) เป็ นต้น ด้วยเหตุที่มีผใู้ ช้นิยมใช้งาน
เว็บเครื อข่ายทางสังคมอย่างแพร่ หลาย ทาให้เริ่ มมีการนาเว็บแอพพลิเคชันรู ปแบบดังกล่าวมา
ประยุกต์ใช้กบั การทางานร่ วมกันระหว่างบุคลากรในองค์กร โดยเลือกใช้เว็บเครื อข่ายทางสังคมผ่าน
เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้งในองค์กร เพื่อระดมความคิดเห็นของพนักงานผ่านระบบออนไลน์ในแบบ
26

ทันทีทนั ใด รู ปแบบการใช้งานคลาวด์คอมพิวติ้งสามารถรวบรวมข้อมูลจากพนักงานจานวนมากๆ โดย


ข้อมูลดังกล่าวจะถูกนาไปวิเคราะห์เพื่อนาไปใช้งานเพื่อประโยชน์ในเชิงธุ รกิจต่อไป นอกจากนั้น เว็บ
2.0 ถือเป็ นปั จจัยสาคัญที่ตอบสนองการทางานของเว็บไซท์ที่เนื้อหามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มี
การประมวลผลข้อมูลจานวนมหาศาลที่ประมวลผลได้อย่างรวดเร็ ว โดยดึงประโยชน์จากโครงสร้าง
พื้นฐานไอทีที่มีอยูม่ าใช้งานได้อีกด้วย
2. แนวโน้มด้านการประหยัดพลังงาน โดยปกติเครื่ องแม่ข่ายหรื อเซิ ร์ฟเวอร์ ส่วนใหญ่ที่ทางาน
ตลอดเวลา ส่ วนใหญ่มีการใช้ทรัพยากรในระบบเพียง 10-20 เปอร์ เซ็นต์ เท่านั้น ดังนั้นแนวคิดของ
คลาวด์คอมพิวติ้งจะช่วยควบรวมทรัพยากรในระบบให้ทางานและเกิดความคุม้ ค่าได้รับประโยชน์
สู งสุ ดจากการใช้ทรัพยากรในระบบ นอกจากนั้นวิธีการดังกล่าวยังเปิ ดโอกาสให้องค์กรสามารถเพิม่
หรื อลดขนาดการใช้งานของระบบได้ ถือเป็ นการช่วยองค์กรประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่ายได้อีกทาง
หนึ่ง
3. แนวโน้มด้านความต้องการสร้างสรรค์นวัตกรรมขององค์กร จากการแข่งขันอย่างรุ นแรง
ทางธุ รกิจ องค์กรชั้นนาหลายแห่งต่างให้ความสาคัญกับการสร้างสรรค์นวัตกรรม หรื อการนา
เทคโนโลยีมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันและสร้างความ
แตกต่างขององค์กร แนวโน้มการให้ความสาคัญต่อการพัฒนาสร้างสรรค์นวัตกรรมดังกล่าวนี้ ถือเป็ น
การกระตุน้ การนาคลาวด์คอมพิวติง้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อธุ รกิจ เพราะการสร้างสรรค์นวัตกรรม
สามารถทาได้ดว้ ยการดึงคุณประโยชน์ของคลาวด์คอมพิวติ้งซึ่ งให้พลังการประมวลผลที่เหนื อกว่า แต่
ใช้ค่าใช้จ่ายน้อยกว่ามาใช้ให้เกิดประโยชน์
4. แนวโน้มด้านความต้องการใช้งานไอทีที่ง่ายและไม่ซบั ซ้อน แม้เทคโนโลยีจะมีความ
ซับซ้อนเพียงใด ผูใ้ ช้งานก็ยงั คงต้องการการใช้งานที่ง่ายและไม่ยงุ่ ยาก ด้วยเหตุน้ ีผใู้ ห้บริ การทางด้าน
ไอทีหลายรายจึงหันมาใช้เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติง้ เพื่อนาเสนอบริ การทางด้านซอฟต์แวร์ แบบ “จ่าย
เท่าที่ใช้” (Software as a Service) เพื่อเป็ นทางเลือกแก่ลูกค้าโดยเฉพาะองค์กรขนาดกลางหรื อขนาด
ย่อม (SME) ที่มกั จะมีเจ้าหน้าที่ทางด้านไอที่ทางานอยูอ่ ย่างจากัด แทนรู ปแบบการซื้ อซอฟต์แวร์ มาใช้
โดยตรงแบบในอดีต การใช้งานในลักษณะดังกล่าว นอกจากจะทาให้การนาไอทีไปใช้งานทาได้ง่าย
แล้ว องค์กรจะได้รับประโยชน์จากการใช้ซอฟต์แวร์ ที่ทนั สมัยอยูเ่ สมอ โดยไม่ตอ้ งเผชิ ญกับความยุง่ ยาก
และค่าใช้จ่ายในการบริ หารจัดการและการอัพเกรด เวอร์ ชนั ของซอฟต์แวร์ ต่าง ๆ เช่นในอดีต
5. แนวโน้มด้านการจัดระเบียบข้อมูลให้มีประสิ ทธิภาพให้มากขึ้น ถึงแม้จะมี Search Engine
ที่ช่วยให้หาข้อมูลที่ตอ้ งการอยูม่ ากมาย ก็ยงั คงหาข้อมูลที่ตอ้ งการได้ไม่ง่ายนักเนื่องจากปริ มาณข้อมูล
ในเว็บมีจานวนมหาศาล โดยเฉพาะข้อมูลและไฟล์ต่าง ๆ ที่ผใู ้ ช้อินเทอร์ เน็ตหลายล้านคนส่ งขึ้นไปใน
27

เว็บในแต่ละวัน หากไม่มีการจัดระเบียบอย่างเป็ นระบบที่ดี การนาคุณประโยชน์ของเว็บมาพัฒนาต่อ


ยอดให้กลายเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยสนับสนุนให้เกิดประสิ ทธิ ภาพในการทางานอย่างเต็มรู ปแบบก็อาจทา
ได้ไม่ดีเท่าที่ควร คุณประโยชน์อนั โดดเด่นอีกอย่างหนึ่งของคลาวด์คอมพิวติ้งก็คือ ความสามารถใน
การจัดระเบียบสิ่ งต่างๆ ให้เป็ นระบบดียงิ่ ขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิง่ การบริ หารจัดการและจัดเก็บข้อมูล
มากมายหลายประเภทให้เป็ นระบบ ซึ่ งช่วยให้การค้นหาและเข้าถึงข้อมูลทาได้อย่างรวดเร็ วและถูกต้อง
แม่นยากว่าเดิมด้วย
ความสามารถและคุณประโยชน์มากมายดังที่ได้กล่าวแล้ว ถือได้วา่ คลาวด์คอมพิวติ้งจะ
กลายเป็ นเทคโนโลยีที่สาคัญแห่งอนาคต และจะมีบทบาทอย่างยิง่ ต่อการนาไปประยุกต์ใช้ในเชิงธุ รกิจ
ดังนั้น ธุ รกิจใดก็ตามที่สามารถฉกฉวยโอกาสและสามารถนาเทคโนโลยีดงั กล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่อธุ รกิจของตนได้ก่อนก็ยอ่ มจะสร้างความได้เปรี ยบและโอกาสในการ ต่อยอดความสาเร็ จทางธุ รกิจ
ขององค์กรได้ก่อนองค์กรอื่นๆ

กิจกรรม 2.1.3
เว็บไซต์มีความสาคัญอย่างไร

แนวตอบกิจกรรม 2.1.3
ปั จจุบนั นี้ ไม่เพียงแต่หน่วยงานใหญ่ๆจะหันมาสนใจการมีเว็บไซต์เป็ นของตนเอง ผูใ้ ช้ที่เป็ น
บุคคลธรรมดาก็สามารถมีเว็บไซต์อยูบ่ นอินเทอร์ เน็ตได้ โดยประโยชน์ของเว็บไซต์มีมากมายไม่วา่ จะ
เป็ นการประชาสัมพันธ์ขอ้ มูล ข่าวสารต่าง ๆ บริ การรับส่ ง e-mail บริ การรับส่ งข้อมูลผ่านทางโพรโท
คอล FTP นอกจากนี้ เว็บไซต์ยงั ให้ประโยชน์ดา้ นการเรี ยนการสอน ด้านธุ รกิ จ และการนาคลาวด์
คอมพิวติ้งมาช่วยให้สามารถนาไอทีไปประยุกต์ใช้ในเชิ งธุ รกิ จทาได้ง่ายและประหยัดขึ้นกว่าในอดี ต
โดยองค์กรสามารถใช้บริ การทางด้านไอทีได้ โดยไม่จาเป็ นต้องลงทุนมากมายกับโครงสร้างพื้นฐานไอ
ทีของตน อีกทั้งผูใ้ ช้งานก็สามารถเลือกใช้บริ การเฉพาะอย่างและเลือกเสี ยค่าใช้จ่าย ให้ตรงกับความ
ต้องการเฉพาะด้านหรื อสอดคล้องกับงบประมาณของตนได้
28

ตอนที่ 2.2
โครงสร้ างเว็บไซต์
โปรดอ่านหัวเรื่ อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 2.2 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป
หัวเรื่อง
2.2.1 โครงสร้างเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ
2.2.2 โครงสร้างเว็บไซต์แบบลาดับชั้น
2.2.3 โครงสร้างเว็บไซต์แบบตาราง
2.2.4 โครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุม

แนวคิด
1. โครงสร้างของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับมีลกั ษณะเป็ นโครงสร้ างแบบธรรมดาที่นิยมใช้กนั
มากที่สุดเนื่ องจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูล เป็ นโครงสร้ างที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็ นเรื่ องราว
ตามลาดับเวลา หรื อดาเนินเนื้อหาไปตามลาดับ หรื อดาเนิ นเนื้ อหาจากเรื่ องทัว่ ๆไป กว้างๆ
ไปสู่ เรื่ องที่ จาเพาะเจาะจงมากขึ้ น หรื อ มี รายละเอี ย ดมากขึ้ น หรื อการเรี ย งล าดับตาม
ตัวอักษร เช่น ดรรชนี สารานุกรม หรื ออภิธานศัพท์ เป็ นต้น
2. โครงสร้างของเว็บไซต์แบบลาดับชั้น เป็ นโครงสร้างที่ดีวิธีหนึ่งในการจัดระบบโครงสร้าง
ที่มีความซับซ้อนของข้อมูล โดยแบ่งเนื้ อหา ออกเป็ นส่ วนต่างๆ และมีรายละเอียดย่อย ๆ
ลดหลั่นกัน ซึ่ งใช้แนวคิ ดเดี ยวกันกับแผนภู มิองค์ก ร จึ ง ง่ า ยต่ อการท าความเข้า ใจกับ
โครงสร้างของเนื้ อหา ลักษณะเด่นคือการมีจุดเริ่ มต้นที่จุดร่ วมจุดเดียว นัน่ คือ โฮมเพจ และ
เชื่อมโยงไปสู่ เนื้อหาในลักษณะเป็ นลาดับจากบนลงล่าง
3. โครงสร้างเว็บไซต์แบบตาราง มีความซับซ้อนมากกว่ารู ปแบบที่ผา่ นมา ทาให้เพิ่มความ
ยืดหยุน่ ให้แก่การเข้าสู่ เนื้อหาของผูใ้ ช้ โดยเพิ่มการเชื่อมโยงซึ่ งกันและกันระหว่างเนื้ อหาแต่
ละส่ วน เหมาะแก่การแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กนั ของเนื้ อหา การเข้าสู่ เนื้ อหาของผูใ้ ช้จะ
ไม่เป็ นลักษณะเชิ งเส้นตรง เนื่องจากผูใ้ ช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าสู่ เนื้ อหาของตนเอง
ได้
4. โครงสร้ างเว็บไซต์แบบใยแมงมุ มมี ความยืดหยุ่นมากที่ สุด ทุกหน้าในเว็บสามารถจะ
เชื่ อมโยงไปถึ งกันได้หมด เป็ นการสร้ างรู ปแบบการเข้าสู่ เนื้ อหาที่เป็ นอิสระ ผูใ้ ช้สามารถ
กาหนดวิธีการเข้าสู่ เนื้ อหาได้ดว้ ยตนเอง การเชื่ อมโยงเนื้ อหาแต่ละหน้าอาศัยการโยงใย
29

ข้อความที่มีมโนทัศน์เหมือนกันของแต่ละหน้าในลักษณะของไฮเปอร์ เท็กซ์หรื อไฮเปอร์


มีเดีย โครงสร้ างลักษณะนี้ จดั เป็ นรู ปแบบที่ไม่มีโครงสร้ างที่แน่นนอนตายตัว นอกจากนี้
การเชื่อมโยงไม่ได้จากัดเฉพาะเนื้ อหาภายในเว็บนั้นๆ แต่สามารถเชื่ อมโยงออกไปสู่ เนื้ อหา
จากเว็บภายนอกได้อีกด้วย

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 2.2 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. บอกคุณลักษณะ ประโยชน์ ของโครงสร้างเว็บไซต์แต่ละประเภทได้
2. บอกตัวอย่างเว็บไซต์แต่ละประเภทได้
30

เรื่องที่ 2.2.1
โครงสร้ างเว็บไซต์ แบบเรียงลาดับ

การจัดทาโครงสร้างของเว็บไซต์ก่อนการออกแบบเว็บไซต์เป็ นแผนผังของการลาดับเนื้อหา
หรื อการจัดวางตาแหน่งเว็บเพจทั้งหมด ซึ่ งทาให้ผชู ้ มเว็บไซต์รู้วา่ ประกอบไปด้วยเนื้ อหาอะไรบ้าง
และมีเว็บเพจหน้าไหนที่เกี่ยวข้องเชื่ อมโยงถึงกัน ดังนั้นการออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์จึงมี
ความสาคัญเปรี ยบเสมือนกับการเขียนพิมพ์เขียวเพื่อสร้างอาคารก่อนการลงมือก่อนสร้างอาคารจริ ง
เนื่องจากทาให้ทราบถึงทิศทางการดาเนิ นการของเว็บไซต์น้ นั อาจกล่าวได้วา่ การจัดทาโครงสร้างของ
เว็บไซต์ก็คือการออกแบบระบบนาทางหรื อระบบเนวิเกชัน (Navigation) นัน่ เอง ซึ่งระบบเนวิเกชัน
จานวนมากทั้งที่อยูใ่ นรู ปแบบข้อความเชื่อมโยงรู ปภาพ หรื อเครื่ องมือเพื่อให้สามารถจัดวางระบบเนวิ
เกชันในตาแหน่งที่เหมาะสม มีแนวทางการทางานที่จดั เจน และทาให้ผเู้ ยีย่ มชมเว็บไซต์สามารถเรี ยนรู้
และเลือกใช้ได้อย่างง่ายดาย
เมื่อเข้าไปใช้เว็บไซต์ทวั่ ๆไปจะพบว่า แต่ละเว็บไซต์มีรูปแบบโครงสร้างที่แตกต่างกัน ซึ่ ง
มักจะขึ้นอยูก่ บั ความถนัดและความนิยมของผูอ้ อกแบบเว็บไซต์เป็ นหลัก สอดคล้องกับแนวคิดสาหรับ
การออกแบบเว็บไซต์ของลินช์และฮอร์ ตนั (Lynch and Horton, 2002) ที่เสนอว่า การออกแบบเว็บไซต์
ที่ดีควรจะมีการวางแผนโครงสร้างของเว็บไซต์ให้มีความสมดุล มีการเชื่อมต่อสัมพันธ์กนั ระหว่าง
รายการ (Menu) หรื อโฮมเพจ กับหน้าเนื้ อหาอื่นๆ รวมถึงการเชื่ อมโยงไปสู่ ภาพและข้อความต่างๆ โดย
การวางแผนโครงสร้างที่ดีจะเป็ นการป้ องกันอุปสรรคที่จะเกิดต่อผูใ้ ช้เว็บไซต์ เช่น การหลงทางของ
ผูใ้ ช้ในขณะเยีย่ มชมเนื้อหาในส่ วนต่างๆ เป็ นต้น จากหลักการนี้แสดงว่าโครงสร้างของเว็บไซต์เป็ น
ส่ วนที่ควรให้ความสาคัญ โครงสร้างที่ดีจะช่วยให้ผใู้ ช้งานเว็บไซต์สะดวกรวดเร็ วไม่เกิดความสับสน
เนื่องจากข้อมูลภายในเว็บไซต์มีอยูม่ ากมายจึงต้องอาศัย การเชื่ อมโยงเนื้อหา หรื อการจัดระเบียบของ
เนื้อหาให้กบั การสื บค้นภายในเว็บไซต์ การจัดระเบียบของเนื้อหาที่ดีจะช่วยให้ผใู ้ ช้มีความสะดวก ใน
ขณะเดียวกันโครงสร้างที่ไม่เหมาะสมจะส่ งผลเสี ยต่อผูใ้ ช้เช่นกัน รู ปแบบโครงสร้างของเว็บไซต์ตาม
แนวคิดของลินช์และฮอร์ ตนั โดยสามารถจาแนกโครงสร้างของเว็บไซต์ออกเป็ น 4 ประเภท คือ 1)
โครงสร้างของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ 2) โครงสร้างของเว็บไซต์แบบลาดับชั้น 3) โครงสร้างของ
เว็บไซต์แบบตาราง และ 4) โครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุม
31

1. ลักษณะของเว็บไซต์ แบบเรียงลาดับ
โครงสร้างของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ (Sequential Structure) มีลกั ษณะเป็ นโครงสร้างแบบ
ธรรมดาที่ใช้กนั มากที่สุดเนื่องจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูล เป็ นโครงสร้างที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็ น
เรื่ องราวตามลาดับเวลา หรื อดาเนินเนื้อหาไปตามลาดับ หรื อดาเนิ นเนื้อหาจากเรื่ องทัว่ ๆไป กว้างๆ
ไปสู่ เรื่ องที่จาเพาะเจาะจงมากขึ้น หรื อ มีรายละเอียดมากขึ้น หรื อการเรี ยงลาดับตามตัวอักษร เช่น
ดรรชนี สารานุกรม หรื ออภิธานศัพท์ เป็ นต้น

2. โครงสร้ างของเว็บไซต์ แบบเรียงลาดับ


เว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับมีโครงสร้างดังภาพที่ 2.15

ภาพ 2.15 แสดงโครงสร้างของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ

จากภาพที่ 2.15 แสดงให้เห็นลักษณะของโครงสร้างของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ ซึ่งภายใน


เว็บไซต์จะดาเนินเรื่ องไปในลักษณะเส้นตรง โดยมีปุ่มเดินหน้า ถอยหลังเป็ นเครื่ องมือหลัก เริ่ มจาก
หน้าเริ่ มต้น (Start Page) ซึ่งโดยปกติเป็ นหน้าต้อนรับหรื อแนะนาให้ผใู้ ช้ทราบถึงรายละเอียดของเว็บ
รวมทั้งอธิ บายให้ทราบถึงวิธีการเข้าสู่ เนื้ อหาและการใช้งานของปุ่ มต่างๆ เมื่อผูใ้ ช้ผา่ นจากหน้าเริ่ มต้น
เข้าไปสู่ ภายในจะพบกับหน้าเนื้อหา (Topic Page) ต่างๆ หากเว็บเพจใดมีเนื้ อหาที่ซบั ซ้อนเกินกว่าหนึ่ง
หน้าก็สามารถเพิ่มเติมรายละเอียดเนื้อหาโดยจัดทาเป็ นหน้าเนื้อหาย่อย (Sub Topic) และทาการ
เชื่อมโยงกับเว็บเพจเนื้ อหาหลักนั้นๆ ซึ่ งหน้าเนื้อหาย่อยเหล่านี้มีลกั ษณะเป็ นหน้าเดี่ยว เมื่อเข้าไปดู
รายละเอียดของเนื้ อหาแล้ว ต้องกลับมายังหน้าหลักหน้าเดิมเท่านั้น ไม่สามารถข้ามไปยังเนื้อหาอื่นๆได้
เนื่องจากเนื้ อหามีความต่อเนื่ องเชื่อมโยงกัน และเมื่อผูใ้ ช้ผา่ นไปจนจบเนื้ อหาทั้งหมดแล้วก็จะมาถึง
หน้าสุ ดท้าย (End Page) ซึ่ งอาจจะเป็ นหน้าที่ใช้สรุ ปเนื้ อหาทั้งหมด การเชื่อมโยงระหว่างเว็บเพจแต่ละ
เว็บเพจใช้ลกั ษณะของการใช้ปุ่มหน้าต่อไป (Next Topic) เพื่อ เดินหน้าไปสู่ หน้าต่อไป และปุ่ มหน้าที่
แล้ว (Previous Topic) เพื่อต้องการกลับไปสู่ หน้าที่ผา่ นมา ในส่ วนของการเข้าไปสู่ หน้าเนื้ อหาย่อยอาจ
ใช้ลกั ษณะของไฮเปอร์ เท็กซ์หรื อไฮเปอร์มีเดีย ที่ทาไว้ในหน้าเนื้ อหา หลักเชื่ อมโยงไปสู่ หน้าเนื้ อหาย่อย
32

และใช้ปุ่มกลับมายังหน้าหลัก (Main Topic) ในกรณี ที่อยูใ่ นหน้า เนื้ อหาย่อย และต้องการกลับไปยัง


หน้าเนื้ อหาหลัก ดังภาพที่ 2.16

Start Main Topic Main End


page Topic page Topic page
page page

Sub Sub
Topic Topic
page page

ภาพที่ 2.16 แสดงโครงสร้างแบบเรี ยงลาดับที่มีการเพิ่มเนื้ อหาย่อย

3. ประโยชน์ ของเว็บไซต์ แบบเรียงลาดับ


ประโยชน์ของโครงสร้างแบบเรี ยงลาดับคือ ผูอ้ อกแบบเว็บไซต์ออกแบบได้ง่ายในการ
จัดระบบโครงสร้าง และง่ายต่อการปรับปรุ งแก้ไข เนื่องจากมีโครงสร้างที่ไม่ซบั ซ้อน การเพิ่มเติม
เนื้อหาเข้าไปสามารถทาได้ง่าย เพราะมีผลกระทบต่อบางส่ วนของโครงสร้างเท่านั้น แต่ขอ้ เสี ยของ
โครงสร้างระบบนี้คือ ผูใ้ ช้ไม่สามารถกาหนดทิศทางการเข้าสู่ เนื้อหาของตนเองได้ ในกรณี ที่ตอ้ งการ
เข้าไปสู่ เนื้อหาเพียงหน้าใดหน้าหนึ่งนั้นจาเป็ นต้องผ่านหน้าที่ไม่ตอ้ งการหลายหน้าเพื่อไปสู่ หน้าที่
ต้องการ ทาให้เสี ยเวลา ซึ่ งปั ญหานี้ อาจแก้ไขโดยการเพิ่มส่ วนที่เป็ นหน้าสารบัญ (Index Page) ซึ่ง
ประกอบด้วย รายชื่อของหน้าเนื้อหาทุกหน้าที่มีในเว็บและสามารถเชื่อมโยงไปสู่ หน้านั้นๆ โดยการ
คลิกเมาส์ที่ชื่อของหน้าที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ เข้าไปไว้ในหน้าเนื้ อหาแต่ละหน้า เพื่อทาหน้าที่เป็ นเครื่ องมือช่วย
เพิ่มความยืดหยุน่ ในการเข้าสู่ เนื้อหาแก่ผใู ้ ช้ ดังภาพที่ 2.17

Index Start Topic Topic Topic End


page page page page page page
33

ภาพที่ 2.17 แสดงโครงสร้างแบบเรี ยงลาดับที่มีการเพิ่มหน้า Index page และการเชื่อมโยงมากขึ้น

4. การนาเว็บไซต์ แบบเรียงลาดับไปใช้
โครงสร้างนี้เหมาะกับเว็บที่มีขนาดเล็ก เนื้ อหาไม่ซบั ซ้อน เหมือนการอ่านหนังสื อเรี ยงลาดับ
ไปทีละหน้า ดังตัวอย่างเว็บไซต์ในภาพที่ 2.18

ภาพที่ 2.18 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบเรี ยงลาดับที่มีการเพิ่มเนื้ อหาย่อย


ที่มา:http://elearning.nectec.or.th/index.php?mod=Courses&op=lesson_show&uid=&cid=205
&lid=2361&sid=&eid=&page=1 ค้นคืนเมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม 2554
34

กิจกรรม 2.2.1
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับมีลกั ษณะอย่างไร
2) จงบอกประโยชน์ของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับมาพอเข้าใจ

แนวตอบกิจกรรม 2.2.1
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ มีลกั ษณะเป็ นโครงสร้างแบบธรรมดาที่ใช้กนั มากที่สุด
เนื่องจากง่ายต่อการจัดระบบข้อมูล เป็ นโครงสร้างที่ใช้เก็บข้อมูลที่เป็ นเรื่ องราวตามลาดับเวลา หรื อ
ดาเนินเนื้ อหาไปตามลาดับ หรื อดาเนิ นเนื้ อหาจากเรื่ องทัว่ ๆไป กว้างๆ ไปสู่ เรื่ องที่จาเพาะเจาะจงมากขึ้น
หรื อ มีรายละเอียดมากขึ้น หรื อการเรี ยงลาดับตามตัวอักษร เช่น ดรรชนี สารานุกรม หรื ออภิธานศัพท์
เป็ นต้น
2) ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบเรี ยงลาดับ คือ ผูอ้ อกแบบเว็บไซต์ออกแบบได้ง่ายในการจัดระบบ
โครงสร้าง และง่ายต่อการปรับปรุ งแก้ไข เนื่องจากมีโครงสร้างที่ไม่ซบั ซ้อน การเพิ่มเติมเนื้อหาเข้าไป
สามารถทาได้ง่าย เพราะมีผลกระทบต่อบางส่ วนของโครงสร้างเท่านั้น
35

เรื่องที่ 2.2.2
โครงสร้ างเว็บไซต์ แบบลาดับชั้น

1. ลักษณะของเว็บไซต์ แบบลาดับชั้ น
โครงสร้างเว็บไซต์แบบลาดับชั้น (Hierarchical Structure) เป็ นโครงสร้างที่ดีวธิ ีหนึ่งในการ
จัดระบบโครงสร้างที่มีความซับซ้อนของข้อมูล โดยแบ่งเนื้อหา ออกเป็ นส่ วนต่างๆ และมีรายละเอียด
ย่อย ๆ ลดหลัน่ กัน โดยใช้แนวคิดเดียวกันกับแผนภูมิองค์กร จึงง่ายต่อการทาความเข้าใจกับโครงสร้าง
ของเนื้ อหา ลักษณะเด่นคือการมีจุดเริ่ มต้นที่จุดร่ วมจุดเดียว นัน่ คือ โฮมเพจ (Homepage) และเชื่อมโยง
ไปสู่ เนื้อหาในลักษณะเป็ นลาดับจากบนลงล่าง

2. โครงสร้ างของเว็บไซต์ แบบลาดับชั้ น


เว็บไซต์แบบลาดับชั้นมีโครงสร้างดังภาพที่ 2.19

Home
page

Start Start Start Start Start


page page page page page
1 2 3 4 5

Topic Topic Topic Topic Topic


page page page page page
1.1 2.1 3.1 4.1 5.1

Topic Topic Topic Topic Topic Sub


Topic
page page page page page page
1.2 2.2 3.2 4.2 5.2 5.2.1

End End End End End Sub


Topic
page page page page page page
1 2 3 4 5 5.2.2
36

ภาพ 2.19 แสดงโครงสร้างของเว็บไซต์แบบลาดับชั้น

จากภาพที่ 2.19 จะเห็นว่าา หน้า home page แบ่งเนื้ อหาออกเป็ น 5 กลุ่มเนื้ อหาย่อย โดยหน้า
แรกของกลุ่มเนื้ อหาย่อยจะเรี ยกว่า หน้าเริ่ มต้น หรื อ Start page ในหน้า Start page จะเป็ นคาอธิ บาย
ชี้ แจง บอกหัวข้อหรื อรายละเอียดของเนื้ อหาในกลุ่มเนื้ อหาย่อย เมื่อผูช้ มเข้าไปสู่ เนื้ อหาย่อยโดยใช้ปุ่ม
หน้าต่อไป หรื อหน้าที่แล้ว (Next/Previous Topic) ในการดูเนื้ อหาย่อยทีละหน้า เมื่อถึงหน้าสุ ดท้ายก็ใช้
ปุ่ มกลับขึ้นไปสู่ หน้าเนื้ อหาหลัก ในกรณี ที่มีการแบ่งเนื้ อหาย่อยเป็ นส่ วนๆ ควรจัดระบบเนื้ อหาของ
ส่ วนนั้นๆ ในลักษณะโครงสร้างแบบลาดับชั้นอีกชั้นหนึ่ ง เช่น เว็บเพจชื่อ Topic Page 5.2 อาจแยกย่อย
เนื้ อหาในรายละเอียดเพิ่มเติมอีกก็สามารถทาหน้า Sub Topic Page 5.2.1 และ Sub Topic Page 5.2.2ได้
จากนั้นก็ กาหนดลักษณะการเข้า สู่ เนื้ อหาในลักษณะเดี ยวกันกับที่ กล่ าวข้างต้น และเมื่อกลับจากดู
เนื้อหาย่อยมาที่หน้าแรกของเนื้อหาหลักแล้ว ก็จะมีปุ่มกลับไปหน้าโฮมเพจ (home Page) เมื่อต้องการ
กลับไปที่หน้าโฮมเพจเพื่อเลือกเนื้อหาหลักส่ วนต่อไป

3. ประโยชน์ ของเว็บไซต์ แบบลาดับชั้น


ประโยชน์ของโครงสร้างแบบลาดับชั้น คือ ผูช้ มเว็บไซต์สามารถแยกแยะเนื้อหาได้ง่ายและ
สะดวกต่อการจัดระบบข้อมูลของผูอ้ อกแบบ นอกจากนี้ผดู ้ ูแลเว็บไซต์สามารถดูแลและปรับปรุ งแก้ไข
เว็บไซต์ได้ง่ายเนื่ องจากมีการแบ่งเป็ นหมวดหมู่ชดั เจน ส่ วนข้อเสี ยคือในส่ วนของการออกแบบ
โครงสร้างต้องระวังอย่าให้มีโครงสร้างที่ไม่สมดุล นัน่ คือ มีลกั ษณะการจัดการข้อมูลในแต่ละหัวข้อไม่
สมดุลกัน โดยมีบางหัวข้อที่มีเนื้อหามากเกินไป หรื อบางหัวข้อมีเนื้อหาน้อยเกินไป ทาให้โครงสร้าง
ของเว็บไม่สมดุล จึงควรปรับจานวนเว็บเพจในแต่ละหัวข้อให้มีความเหมาะสม เช่น เนื้อหาที่มาก
เกินไปอาจต้องจัดทาหน้าเมนูเพิ่ม หรื อเพิ่มการเชื่ อมโยงกลับหน้าหลักให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น ถ้า
เนื้อหาน้อยเกินไป อาจยุบเนื้ อหารวมกัน

4. การนาเว็บไซต์ แบบลาดับชั้นไปใช้
โครงสร้างแบบนี้ เหมาะกับเว็บที่มีขนาดใหญ่ มีเนื้ อหาจานวนมากแต่มีโครงสร้างไม่
ซับซ้อน ส่ วนใหญ่จะใช้กบั เว็บไซต์การเรี ยนการสอน ดังตัวอย่างของเว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบลาดับ
ชั้นในภาพที่ 2.20
37

ภาพ 2.20 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบลาดับชั้น


ที่มา : http://www.lokwannakadi.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม 2554

กิจกรรม 2.2.2
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบลาดับชั้นมีลกั ษณะอย่างไร
2) จงบอกประโยชน์ของเว็บไซต์แบบลาดับชั้นมาพอเข้าใจ

แนวตอบกิจกรรม 2.2.2
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบลาดับชั้น เป็ นโครงสร้างที่ดีวิธีหนึ่ งในการจัดระบบโครงสร้างที่มีความ
ซับซ้อนของข้อมูล โดยแบ่งเนื้ อหา ออกเป็ นส่ วนต่างๆ และมีรายละเอียดย่อย ๆ ลดหลัน่ กัน โดยใช้
แนวคิดเดียวกันกับแผนภูมิองค์กร จึงง่ายต่อการทาความเข้าใจกับโครงสร้างของเนื้ อหา ลักษณะเด่นคือ
การมีจุดเริ่ มต้นที่จุดร่ วมจุดเดียว นัน่ คือ โฮมเพจ (Homepage) และเชื่ อมโยงไปสู่ เนื้ อหาในลักษณะเป็ น
ลาดับจากบนลงล่าง
2) ประโยชน์ของโครงสร้ า งแบบเรี ย งล าดับ คือ ผูช้ มเว็บไซต์ สามารถแยกแยะเนื้ อหาได้ง่า ยและ
จัดระบบข้อมูลของผูอ้ อกแบบ นอกจากนี้ผดู ้ ูแลเว็บไซต์สามารถดูแลและปรับปรุ งแก้ไขเว็บไซต์ได้ง่าย
38

เนื่ องจากมีการแบ่งเป็ นหมวดหมู่ชดั เจน ส่ วนข้อเสี ยคือในส่ วนของการออกแบบโครงสร้างต้องระวัง


อย่าให้มีโครงสร้างที่ไม่สมดุล นัน่ คือ มีลกั ษณะการจัดการข้อมูลในแต่ละหัวข้อไม่สมดุลกัน โดยมีบาง
หัวข้อที่มีเนื้ อหามากเกิ นไป หรื อบางหัวข้อมีเนื้ อหาน้อยเกิ นไป ทาให้โครงสร้ างของเว็บไม่สมดุ ล จึง
ควรปรั บจานวนเว็บเพจในแต่ละหัวข้อให้มีความเหมาะสม เช่ น เนื้ อหาที่ มากเกิ นไปอาจต้องจัดทา
หน้าเมนูเพิ่ม หรื อเพิ่มการเชื่อมโยงกลับหน้าหลักให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น ถ้าเนื้ อหาน้อยเกินไป อาจ
ยุบเนื้อหารวมกัน
39

เรื่องที่ 2.2.3 โครงสร้ างเว็บไซต์ แบบตาราง

1. ลักษณะของเว็บไซต์ แบบตาราง
โครงสร้างของเว็บไซต์แบบตาราง (Grid Structure) มีความซับซ้อนมากกว่ารู ปแบบที่ผา่ น
มา การออกแบบเพิ่มความยืดหยุน่ ให้แก่การเข้าสู่ เนื้อหาของผูใ้ ช้ โดยเพิ่มการเชื่ อมโยงซึ่ งกันและกัน
ระหว่างเนื้อหาแต่ละส่ วน เหมาะแก่การแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กนั ของเนื้ อหา การเข้าสู่ เนื้อหาของ
ผูใ้ ช้จะไม่เป็ นลักษณะเชิงเส้นตรง เนื่ องจากผูใ้ ช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าสู่ เนื้ อหาของตนเองได้

2. โครงสร้ างของเว็บไซต์ แบบตาราง


เว็บไซต์แบบตารางมีโครงสร้างดังภาพที่ 2.21

1234
5
สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี รัตนโก
Home 1 2 3 สิ นทร์
page 4

การ Topic Topic Topic Topic


ปกครอง page page page page
1 1/1 1/2 1/3 1/4

ศาสนา Topic Topic Topic Topic


page page page page
2
2/1 2/2 2/3 2/4

วัฒนธรรม Topic Topic Topic Topic


3 page page page page
3/1 3/2 3/3 3/4

ภาพที่ 2.21 แสดงโครงสร้างของเว็บไซต์แบบตาราง


40

จากภาพที่ 2.21 จะเห็นว่าเป็ นการเริ่ มจากหน้าแรก (home page) ที่สามารถเลือกศึกษาข้อมูล


ประวัติศาสตร์ สมัยสุ โขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสิ นทร์ โดยในแต่ละสมัยสามารถแบ่งเป็ นหัวข้อ
ย่อยเหมือนกันคือ การปกครอง ศาสนา และวัฒนธรรม ในขณะที่ผใู ้ ช้กาลังศึกษาข้อมูลทาง
ประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับการปกครองในสมัยอยุธยา ผูใ้ ช้อาจศึกษาหัวข้อศาสนาเป็ นหัวข้อต่อไปก็
ได้ หรื อจะข้ามไปดูหวั ข้อการปกครองในสมัยรัตนโกสิ นทร์ ก่อนก็ได้เพื่อเปรี ยบเทียบลักษณะข้อมูลที่
เกิดขึ้นคนละสมัย โดยหน้าโฮมเพจ (home page) จะเป็ นหน้าแผนภาพ (map page) ที่แสดงให้เห็น
โครงสร้างของเว็บ ที่ประกอบด้วยประวัติศาสตร์ ในสมัยต่างๆ 4 สมัย และมีการศึกษาประวัติศาสตร์ใน
3 ด้าน คือ (1) ด้านการปกครอง (2) ด้านศาสนา และ (3) ด้านวัฒนธรรม ดังภาพที่ 2.22

ประวัติศาสตร์ของไทย รายชื่ อยุคสมัยทั้ง


4 สมัย
0 1 2 3 4
หัวข้อย่อยในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ท้ งั 3ด้าน 1
2
3

home page (map page)

ภาพที่ 2.22 แสดงโครงสร้างการทา home page

เมื่อคลิกเข้าไปในประวัติศาสตร์ ของไทยในแต่ละสมัย จะเป็ นหน้าแรกของประวัติศาสตร์ของ


ไทยในสมัยนั้นๆ เช่น ต้องการดูประวัติศาสตร์ของไทยในสมัยสุ โขทัย เชื่อมโยงไปยังด้านต่างๆทั้ง 3
ด้าน คือ (1) ด้านการปกครอง (2) ด้านศาสนา และ (3) ด้านวัฒนธรรม ตามลาดับ ดังภาพที่ 2.23
41
สมัยสุ โขทัย

0 1 2 3 4
1
2
3

Home page (Map page)

ภาพที่ 2.23 แสดงหน้าแผนภาพ home page

จากภาพที่ 2.23 เมื่อผูใ้ ช้คลิกเลือกดูประวัติศาสตร์ สมัยสุ โขทัย (1) ก็จะเข้าไปสู่ หน้าเนื้ อหา
(Topic Page1/1) จะแสดงรายละเอียดของประวัติศาสตร์ สมัยสุ โขทัยด้านการปกครอง ส่ วนการ
เชื่อมโยงอื่นๆ ผูอ้ อกแบบสามารถให้เชื่อมโยงถึงกันทุกหน้า หรื อกลับหน้าหลักของแต่ละสมัยได้

3. ประโยชน์ ของเว็บไซต์ แบบตาราง


โครงสร้างแบบตาราง เป็ นโครงสร้างที่มีความยืดหยุน่ สาหรับผูใ้ ช้ ทุกๆเนื้อหามีความสาคัญ
เท่าๆ กัน หรื อเป็ นเนื้ อหาย่อยๆ เหมือนกันและมีลกั ษณะร่ วมกัน ดังนั้น ทุกๆ เนื้อหาจึงเชื่อมโยงถึงกัน
ได้ ตามที่ผใู้ ช้ตอ้ งการ

4. การนาเว็บไซต์ แบบตารางไปใช้
โครงสร้างนี้เหมาะกับเว็บที่มีขนาดใหญ่ มีเนื้ อหาจานวนมากและมีโครงสร้างซับซ้อน ในการ
จัดระบบโครงสร้างแบบนี้ เนื้ อหาที่นามาใช้แต่ละส่ วนควรมีลกั ษณะที่เหมือนกัน และ สามารถใช้
รู ปแบบร่ วมกัน หลักการออกแบบคือนาหัวข้อทั้งหมดมาบรรจุลงในที่เดียวกันซึ่ งโดยทัว่ ไป จะเป็ นหน้า
แผนภาพ (map page) ที่แสดงในลักษณะเดียวกับโครงสร้างของเว็บ เมื่อผูใ้ ช้คลิกเลือก หัวข้อใด ก็จะเข้า
ไปสู่ หน้าเนื้อหา (Topic Page) ที่แสดงรายละเอียดของหัวข้อนั้นๆ และภายในหน้านั้น ก็จะมีการ
เชื่อมโยงไปยังหน้ารายละเอียดของหัวข้ออื่นที่เป็ นเรื่ องเดียวกัน นอกจากนี้ยงั สามารถนา โครงสร้าง
แบบเรี ยงลาดับและแบบลาดับชั้นมาใช้ร่วมกันได้อีกด้วย ถึงแม้โครงสร้างแบบนี้ อาจจะสร้างความ
ยุง่ ยากในการเข้าใจได้ และอาจเกิดปั ญหาการคงค้างของหัวข้อ (Cognitive Overhead) ได้ แต่จะเป็ น
ประโยชน์ที่สุดเมื่อผูใ้ ช้ได้เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหา ในส่ วนของการออกแบบจาเป็ นจะต้อง
42

มีการวางแผนที่ดี เนื่องจากมีการเชื่อมโยงที่เกิดขึ้นได้หลายทิศทาง นอกจากนี้การปรับปรุ งแก้ไขอาจ


เกิดความยุง่ ยากเมื่อต้องเพิ่มเนื้อหาในภายหลัง ดังตัวอย่างของเว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบตารางในภาพ
ที่ 2.24

ภาพ 2.24 เว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบตาราง


ที่มา : http://www.teeteawthai.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 13 สิ งหาคม 2554

กิจกรรม 2.2.2
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบตารางมีลกั ษณะอย่างไร
2) จงบอกประโยชน์ของเว็บไซต์แบบตารางมาพอเข้าใจ

แนวตอบกิจกรรม 2.2.2
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบตาราง มีความซับซ้อนมากกว่ารู ปแบบที่ผา่ นมา การออกแบบเพิ่มความ
ยืดหยุ่นให้แก่การเข้าสู่ เนื้ อหาของผูใ้ ช้ โดยเพิ่มการเชื่ อมโยงซึ่ งกันและกันระหว่างเนื้ อหาแต่ละส่ วน
เหมาะแก่การแสดงให้เห็นความสัมพันธ์กนั ของเนื้ อหา การเข้าสู่ เนื้ อหาของผูใ้ ช้จะไม่เป็ นลักษณะเชิ ง
เส้นตรง เนื่องจากผูใ้ ช้สามารถเปลี่ยนทิศทางการเข้าสู่ เนื้อหาของตนเองได้
43

2) ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบตาราง เป็ นโครงสร้ างที่ มีความยืดหยุ่นสาหรับผูใ้ ช้ ทุกๆเนื้ อหามี


ความสาคัญเท่าๆ กัน หรื อเป็ นเนื้ อหาย่อยๆ เหมือนกันและมีลกั ษณะร่ วมกัน ดังนั้น ทุกๆ เนื้ อหาจึ ง
เชื่อมโยงถึงกันได้ ตามที่ผใู ้ ช้ตอ้ งการ
44

เรื่องที่ 2.2.4 โครงสร้ างเว็บไซต์ แบบใยแมงมุม

1. ลักษณะของเว็บไซต์ แบบใยแมงมุม
โครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุม (web structure) มีความยืดหยุน่ มากที่สุด ทุกหน้าในเว็บ
สามารถจะเชื่อมโยงไปถึงกันได้หมด เป็ นการสร้างรู ปแบบการเข้าสู่ เนื้ อหาที่เป็ นอิสระ ผูใ้ ช้สามารถ
กาหนดวิธีการเข้าสู่ เนื้อหาได้ดว้ ยตนเอง การเชื่อมโยงเนื้ อหาแต่ละหน้าอาศัยการโยงใยข้อความที่มีมโน
ทัศน์ (concept) เหมือนกัน ของแต่ละหน้าในลักษณะของไฮเปอร์ เท็กซ์หรื อไฮเปอร์ มีเดีย โครงสร้าง
ลักษณะนี้จดั เป็ นรู ปแบบที่ไม่มีโครงสร้างที่แน่นนอนตายตัว (unstructured) นอกจากนี้การเชื่ อมโยง
ไม่ได้จากัดเฉพาะเนื้ อหาภายในเว็บนั้นๆ แต่สามารถเชื่ อมโยงออกไปสู่ เนื้ อหาจากเว็บภายนอกได้อีก
ด้วย

2. โครงสร้ างของเว็บไซต์ แบบใยแมงมุม


เว็บไซต์แบบใยแมงมุมมีโครงสร้างดังภาพที่ 2.25

Topic Topic Topic


page page page
1 2 3

Topic
page
4
Start
page

Topic Topic Topic


page page page
5 6 7

ภาพที่ 2.25 แสดงโครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุม


45

จากภาพที่ 2.25 จะเห็นว่า ทุกหน้าเว็บเพจจะเชื่ อมโยงถึงกันทาให้ผเู ้ ยีย่ มชมเว็บไซต์สามารถ


เลือกชมในประเด็นที่ตอ้ งการได้อย่างรวดเร็ ว

3. ประโยชน์ ของเว็บไซต์ แบบใยแมงมุม


ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบใยแมงมุม คือ ง่ายต่อผูใ้ ช้ในการท่องเที่ยวบนเว็บโดยผูใ้ ช้สามารถ
กาหนดทิศทาง การเข้าสู่ เนื้ อหาได้ดว้ ยตนเอง แต่ขอ้ เสี ยคือถ้ามีการเพิม่ เนื้อหาใหม่ๆ อยูเ่ สมอจะเป็ นการ
ยากในการ ปรับปรุ ง นอกจากนี้การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีมากมายนั้นอาจทาให้ผใู ้ ช้เกิดการสับสน
ได้

4. การนาเว็บไซต์ แบบใยแมงมุมไปใช้
เนื่องจากสร้างสร้างแบบใยแมงมุมเป็ นโครงสร้างที่มีความยืดหยุน่ มากที่สุด จึงนิยมใช้ใน
แวดวงธุ รกิจเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผเู ้ ยีย่ มชมหรื อผูท้ ี่คาดว่าจะเป็ นลูกค้าอย่างเต็มที่ ดังตัวอย่างของ
เว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบใยแมงมุมในภาพที่ 2.26

ภาพที่ 2.26 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีโครงสร้างแบบใยแมงมุม


ที่มา : http://www.toyota.co.th/th/toyota2009_home.htm ค้นคืนเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2554
46

กิจกรรม 2.2.2
1) ลักษณะของเว็บไซต์แบบใยแมงมุมมีลกั ษณะอย่างไร
2) จงบอกประโยชน์ของเว็บไซต์แบบใยแมงมุมมาพอเข้าใจ

แนวตอบกิจกรรม 2.2.2
1) โครงสร้างเว็บไซต์แบบใยแมงมุมมีความยืดหยุน่ มากที่สุด ทุกหน้าในเว็บสามารถจะเชื่อมโยงไปถึง
กันได้หมด เป็ นการสร้างรู ปแบบการเข้าสู่ เนื้อหาที่เป็ นอิสระ ผูใ้ ช้สามารถกาหนดวิธีการเข้าสู่ เนื้ อหาได้
ด้วยตนเอง การเชื่อมโยงเนื้ อหาแต่ละหน้าอาศัยการโยงใยข้อความที่มีมโนทัศน์เหมือนกัน ของแต่ละ
หน้าในลักษณะของไฮเปอร์ เท็กซ์หรื อไฮเปอร์มีเดีย โครงสร้างลักษณะนี้จดั เป็ นรู ปแบบที่ไม่มี
โครงสร้างที่แน่นนอนตายตัว นอกจากนี้การเชื่ อมโยงไม่ได้จากัดเฉพาะเนื้อหาภายในเว็บนั้นๆ แต่
สามารถเชื่อมโยงออกไปสู่ เนื้ อหาจากเว็บภายนอกได้อีกด้วย
2) ประโยชน์ของเว็บไซต์แบบใยแมงมุม คือ ง่ายต่อผูใ้ ช้ในการท่องเที่ยวบนเว็บโดยผูใ้ ช้สามารถ
กาหนดทิศทาง การเข้าสู่ เนื้อหาได้ดว้ ยตนเอง แต่ขอ้ เสี ยคือถ้ามีการเพิม่ เนื้ อหาใหม่ๆ อยูเ่ สมอจะเป็ นการ
ยากในการ ปรับปรุ ง นอกจากนี้การเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลที่มีมากมายนั้นอาจทาให้ผใู ้ ช้เกิดการสับสน
ได้
47

ตอนที่ 2.3
องค์ ประกอบและบุคลากรที่เกีย่ วข้ องกับเว็บไซต์

โปรดอ่านหัวเรื่ อง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอนที่ 2.3 แล้วจึงศึกษารายละเอียดต่อไป


หัวเรื่อง
2.3.1 องค์ประกอบของเว็บไซต์
2.3.2 บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการสร้างเว็บไซต์

แนวคิด
1. องค์ประกอบพื้นฐานของเว็บไซต์สามารถแยกออกเป็ น 4 ส่ วน ได้แก่ 1) ส่ วนหัวของหน้า
เว็บ 2) ส่ วนเนื้ อหา 3) ส่ วนคอลัมน์การเชื่ อมโยง อาจมี ท้ งั ด้านซ้าย และด้านขวา และ 4)
ส่ วนท้ายของหน้าเว็บ นอกจากส่ วนประกอบทั้ง 4 ส่ วนแล้ว ยัง ควรคานึ งถึ งพื้นที่ ว่างใน
เว็บไซต์ เนื่องจากเว็บไซต์ส่วนใหญ่มกั ไม่เห็นความสาคัญของการเว้นพื้นที่วา่ งในเว็บไซต์ มัก
มีการใส่ ภาพหรื อตัวหนังสื อเข้าไปให้มากที่สุดเนื่องจากคิดว่าจะทาให้เว็บดูสวยงามขึ้น หรื อใช้
พื้นที่ที่มีอยูใ่ ห้คุม้ ค่าที่สุด หากออกแบบโดยไม่ได้คานึ งว่าต้องมีพ้ืนที่วา่ งอยูใ่ นเว็บไซต์ จะทา
ให้เว็บไซต์ดูไม่สบายตา การเว้นช่องว่าง ไม่วา่ จะเป็ นระยะห่ างระหว่างตัวอักษร หรื อช่องว่าง
ระหว่างภาพ เนื้ อหาต่างๆ นอกจากจะทาให้เว็บดูสบายตาขึ้นแล้ว ยังทาให้ผอู้ อกแบบเว็บไซต์
สามารถกาหนดจุดให้ผใู ้ ช้งานเว็บรู ้สึกสนใจในจุดนั้นได้อีกด้วย
2. เว็บเพจที่เห็นอยู่ในปั จจุบนั มีบุคลากรที่เกี่ ยวข้องในการสร้ างเว็บไซต์ซ่ ึ งแบ่งตามกลุ่มงาน
3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มงานออกแบบเว็บไซต์ เป็ นกลุ่มงานแรกที่มีหน้าที่ในการกาหนดสิ่ งที่เป็ น
แนวทางในการดาเนินการ ตลอดจนภารกิจที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ซึ่ งเป็ นการเตรี ยมตัวล่วงหน้า เพื่อให้ผู้
ที่ เ กี่ ย วข้องปฏิ บ ัติ ภ ารกิ จ ตามนโยบาย เป้ าหมาย วัต ถุ ป ระสงค์ และกิ จ กรรมที่ ก าหนดไว้
แผนการดาเนิ นงานจะเป็ นเสมือนคู่มือและเข็มทิศในการทางาน 2) กลุ่มงานพัฒนาเว็บไซต์
เป็ นกลุ่มงานที่มีส่วนเกี่ ยวข้องกับการทางานของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบที่
สาคัญ เนื่ องจากบุคคลากรในกลุ่มนี้ จะเป็ นผูด้ าเนิ นงานให้ระบบคอมพิวเตอร์ ดาเนิ นต่อไปได้
ซึ่ งจะมี ส่วนสัม พันธ์ ก ับฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ มี บทบาทส าคัญในการพัฒนาหรื อใช้งาน
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมถึง ทีมงานต่างๆ และ 3) กลุ่มงานดูแลเว็บไซต์
48

วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาตอนที่ 2.3 จบแล้ว นักศึกษาสามารถ
1. บอกองค์ประกอบของเว็บไซต์ได้
2. บอกและอธิ บายคุณลักษณะของบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการสร้างเว็บไซต์
49

เรื่องที่ 2.3.1 องค์ ประกอบของเว็บไซต์

องค์ประกอบพื้นฐานของเว็บไซต์สามารถแยกออกเป็ น 4 ส่ วน ได้แก่ 1) ส่ วนหัวของหน้าเว็บ


2) ส่ วนเนื้ อหา 3) ส่ วนคอลัมน์การเชื่อมโยง อาจมีท้ งั ด้านซ้าย และ ด้านขวา และ 4) ส่ วนท้ายของหน้า
เว็บ ดังภาพที่ 2.27

 

ภาพที่ 2.27 แสดงองค์ประกอบพื้นฐานของเว็บไซต์


http://www.quackit.com/html/templates/ ค้นคืนวันที่ 13 สิ งหาคม 2554

ดังตัวอย่างส่ วนประกอบบนเว็บไซต์กระทรวงสาธารณสุ ขในภาพที่ 2.28


50

ภาพที่ 2.28 แสดงการจาแนกส่ วนประกอบทั้ง 4 ส่ วนบนหน้าเว็บเพจ


ที่มา : http://www.moph.go.th/moph2/index4.php ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554
51

1. ส่ วนหัวของหน้ า (Page Header)


เป็ นส่ วนที่อยูด่ า้ นบนสุ ดของหน้าเว็บเพ็จ เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของหน้าเนื่องจากเป็ น
ส่ วนที่ดึงดูดผูช้ มให้ติดตามเนื้อหาภายในเว็บไซต์ มักใส่ ภาพกราฟิ กเพื่อสร้างความประทับใจ ส่ วน
ใหญ่ประกอบด้วย ชื่อเว็บไซต์หรื อชื่อหัวข้อของเว็บเพจย่อย เมนูรายการเชื่ อมโยง (Navigation Bar)
และแบนเนอร์ โฆษณา (Banner) การออกแบบส่ วนหัวของเว็บเพจมีหลักการที่สาคัญคือ ต้องระบุชื่อ
หรื อโลโก้ขององค์กรทุกครั้ง เพื่อผูช้ มเว็บไซต์จะได้ทราบว่ากาลังชมเว็บไซต์ใดอยูโ่ ดยเฉพาะเว็บไซต์
ที่มีการออกแบบให้เปิ ดหน้าต่างใหม่ทุกครั้งที่มีการเชื่อมโยง หากมีผชู ้ มเปิ ดหลายเว็บไซต์จะได้ไม่
สับสนว่าเป็ นเพจย่อยของเว็บไซต์ใด นอกจากนี้ โลโก้เป็ นสิ่ งที่เว็บไซต์ควรมีไว้เป็ นตัวแทนของ
เว็บไซต์ และทาให้เว็บไซต์น่าเชื่อถืออีกด้วย ดังตัวอย่างเว็บไซต์ของกระทรวงพาณิ ชย์ในภาพที่ 2.29

ที่มา : http://www2.moc.go.th/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

ภาพที่ 2.29 แสดงตัวอย่างการจัดวางองค์ประกอบบนส่ วนหัวของเว็บเพจ


ที่มา : http://www.royalflora2011.com/2011/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554

หลักการที่สาคัญในการออกแบบส่ วนหัวของเว็บเพจอีกประการหนึ่งคือ การสร้างความ


สม่าเสมอให้กบั เว็บเพจย่อย โดยออกแบบรู ปลักษณ์ให้เป็ นรู ปแบบเดียวกัน ซึ่ งผูช้ มเว็บไซต์จะเข้าใจ
ได้ทนั ทีวา่ เป็ นเพจย่อยของเว็บใด ดังตัวอย่างของเว็บไซต์ในภาพที่ 2.30
52

ภาพที่ 2.30 แสดงการออกแบบหน้าเว็บเพจที่มีความสม่าเสมอทุกเพจย่อยในเว็บไซต์


ที่มา : http://www.qsncc.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งคม 2554

2. ส่ วนของเนือ้ หา (Page Content)


เป็ นองค์ประกอบสาคัญที่มีผลต่อการตัดสิ นใจเยีย่ มชมข้อมูลของผูช้ มเว็บว่าควรชมเว็บไซต์น้ ี
ต่อหรื อไม่ การออกแบบส่ วนเนื้ อหา ควรกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์วา่ ต้องการนาเสนอข้อมูล
เกี่ยวกับอะไร จากนั้นจึงค้นหาข้อมูลให้ครอบคลุมเรื่ องที่เกี่ยวข้องให้มากที่สุด แล้วนาข้อมูลเหล่านั้น
มากาหนดรู ปแบบการนาเสนอข้อมูล เช่น การนาเสนอด้วยรู ปภาพ เสี ยง คลิปวิดีโอ หรื อตัวอักษร
เป็ นต้น ข้อควรระวังในการออกแบบส่ วนเนื้ อหาคือ ข้อมูลในเพจไม่ควรมีความจุของไฟล์ขอ้ มูลมาก
เกินไป เนื่ องจากจะทาให้โหลดเว็บได้ชา้ หากเป็ นตัวอักษรไม่ควรยาวจนเกินไปควรทาให้ส่วนเนื้ อหา
กระชับได้ใจความ ดังตัวอย่างของเว็บไซต์ในภาพที่ 2.31
53

ภาพที่ 2.31 แสดงเว็บไซต์ที่มีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ผชู ้ มเว็บไซต์ได้รับชมตัวอย่างภาพยนตร์


เพื่อเร้าความสนใจของผูช้ ม
ที่มา : http://www.potterstoryweb.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2554

3. ส่ วนคอลัมน์ การเชื่อมโยง (Page Sidebar)


เป็ นเครื่ องมือที่นกั ออกแบบเว็บไซต์ควรกาหนดไว้เพิ่มเติม (อาจไม่มีส่วนนี้ก็ได้) เพื่ออานวย
ความสะดวกกับผูช้ มในการเลือกชมสิ่ งที่ตอ้ งการอย่างง่ายดาย หลักการออกแบบส่ วนคอลัมน์การ
เชื่อมโยงจะเน้นความง่ายในการใช้งานและความสม่าเสมอบนเว็บเพจ ผูอ้ อกแบบเว็บเพจต้องมัน่ ใจว่า
สามารถเชื่อมโยงการทางานทุกเว็บเพจได้ถูกต้อง ดังตัวอย่างของเว็บไซต์ในภาพที่ 2.32(ก) ส่ วนภาพที่
2.32(ข) เป็ นหน้าเว็บที่ไม่ใช้คอลัมน์เชื่ อมโยง
54

ภาพที่ 2.32 (ก) แสดงหน้าเว็บที่ใช้คอลัมน์ในการเชื่อมโยง


ที่มา : http://www.yakultthailand.com/th/about.php ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554
55

ภาพที 2.32 (ข) แสดงหน้าเว็บที่ไม่ใช้คอลัมน์เชื่อมโยง


ที่มา : http://www.adidas.com/th/homepage.asp ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554
56

4. ส่ วนท้ายของหน้ า (Page Footer)


เป็ นส่ วนที่อยูด่ า้ นล่างสุ ดของหน้า มักวางระบบนาทางที่เป็ นลิงค์ขอ้ ความง่าย ๆ และอาจแสดง
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้ อหาภายในเว็บไซต์ เช่น เจ้าของเว็บไซต์ ข้อความแสดงลิขสิ ทธิ์ วิธีการติดต่อ
กับผูด้ ูแลเว็บไซต์ คาแนะนาการใช้เว็บไซต์ เป็ นต้น การออกแบบส่ วนท้ายของเว็บเพจจะเน้นความ
สม่าเสมอเช่นเดียวกับส่ วนหัวของเว็บเพจ คือ ส่ วนท้ายของเว็บเพจจะปรากฎอยูใ่ นทุกเว็บเพจย่อยด้วย
ส่ วนท้ายของหน้าจะเป็ นตัวบอกผูช้ มว่าส่ วนนี้คือล่างสุ ดของหน้าที่กาลังแสดงอยูแ่ ล้ว ไม่มีเนื้อหา
เพิ่มเติมแล้ว

นอกจากส่ วนประกอบทั้ง 4 ส่ วนแล้ว ยังควรคานึงถึงพื้นที่วา่ งในเว็บไซต์ เนื่องจากเว็บไซต์


ส่ วนใหญ่มกั ไม่เห็นความสาคัญของการเว้นพื้นที่วา่ งในเว็บไซต์ มักมีการใส่ ภาพหรื อตัวหนังสื อเข้าไป
ให้มากที่สุดเนื่องจากคิดว่าจะทาให้เว็บดูสวยงามขึ้น หรื อใช้พ้นื ที่ที่มีอยูใ่ ห้คุม้ ค่าที่สุด หากออกแบบ
โดยไม่ได้คานึงว่าต้องมีพ้ืนที่วา่ งอยูใ่ นเว็บไซต์ จะทาให้เว็บไซต์ดูไม่สบายตา การเว้นช่องว่างไว้ ไม่วา่
จะเป็ นระยะห่างระหว่างตัวอักษร หรื อช่องว่างระหว่างภาพ เนื้อหาต่างๆ นอกจากจะทาให้เว็บไซต์ดู
สบายตาขึ้นแล้ว ยังทาให้ผอู้ อกแบบเว็บไซต์สามารถกาหนดจุดให้ผใู ้ ช้งานเว็บรู ้สึกสนใจในจุดนั้นได้
อีกด้วย เช่น หากเว้นช่องว่างเอาไว้ตรงกลาง และนาภาพหรื อตัวหนังสื อเล็กๆไปวางไว้ ตรงจุดนั้นจะ
เป็ นที่สนใจของผูช้ มได้ทนั ที เป็ นต้น

กิจกรรม 2.3.1
1) องค์ประกอบพื้นฐานของเว็บไวต์มีกี่ส่วน อะไรบ้าง
2) เหตุใดจึงควรมีพ้นื ที่วา่ งในเว็บไซต์

แนวตอบกิจกรรม 2.3.1
1) องค์ประกอบพื้นฐานของเว็บไซต์สามารถแยกออกเป็ น 4 ส่ วน ได้แก่ 1) ส่ วนหัวของหน้าเว็บ 2)
ส่ วนเนื้อหา 3) ส่ วนคอลัมน์การเชื่ อมโยง อาจมีท้ งั ด้านซ้าย และด้านขวา และ 4) ส่ วนท้ายของหน้าเว็บ
2) การมีพ้นื ที่วา่ งในเว็บไซต์ทาให้เว็บไซต์ดูสบายตาขึ้นทาให้ผอู ้ อกแบบเว็บไซต์สามารถกาหนดจุดที่
จะให้ผใู ้ ช้งานเว็บรู ้สึกสนใจในจุดนั้นได้อีกด้วย เช่น หากเว้นช่องว่างเอาไว้ตรงกลาง และนาภาพหรื อ
ตัวหนังสื อเล็กๆไปวางไว้ ตรงจุดนั้นจะเป็ นที่สนใจของผูช้ มได้ทนั ที เป็ นต้น
57

เรื่องที่ 2.3.2
บุคลากรที่เกีย่ วข้ องในการสร้ างเว็บไซต์

เว็บไซต์จานวนมากในโลกอินเทอร์ เน็ตเปรี ยบเสมือนชุ มชนขนาดใหญ่ ซึ่ งแต่ละชุ มชนมีผคู ้ น


มากมายที่อยูอ่ าศัยและสัญจรไปมาเพื่อเยี่ยมชมเว็บไซต์ รู ปแบบการนาเสนอข้อมูลเริ่ มเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิมที่มีเพียงตัวอักษรและรู ปภาพเพียงอย่างเดียวไม่มีเทคนิคที่น่าสนใจมากนัก แปรเปลี่ยนเป็ นความ
พยายามที่จะแข่งขันกันนาเสนอการออกแบบหน้าเว็บโดยนาเทคนิ คในการนาเสนอข้อมูลในรู ปแบบ
มัลติมีเดี ยที่มีท้ งั ข้อมูลภาพและเสี ยง เทคนิ คแปลกใหม่ สวยงาม และดึ งดูดความสนใจของผูใ้ ช้งาน
เว็บมากขึ้ น ท าให้วตั ถุ ป ระสงค์ในการออกแบบเว็บเปลี่ ย นไป เป็ นการออกแบบเว็บ ที่ มุ่ง เน้นเพื่ อ
ตอบสนองความต้องการที่จะแสดงศักยภาพของนักพัฒนาเว็บ และควรคานึงถึงความสามารถในการใช้
งานของผูใ้ ช้ซ่ ึ งต้องการเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย สะดวก และรวดเร็ ว เว็บเพจที่เห็นอยูใ่ นปั จจุบนั มีบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องในการสร้างเว็บไซต์ซ่ ึ งแบ่งตามกลุ่มงาน 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มงานออกแบบเว็บไซต์ 2)
กลุ่มงานพัฒนาเว็บไซต์ และ 3) กลุ่มงานดูแลเว็บไซต์ ซึ่ งแต่ละกลุ่มงานมีผเู ้ กี่ยวข้อง ดังนี้
1. กลุ่มงานออกแบบเว็บไซต์ เป็ นกลุ่มงานแรกที่มีหน้าที่ในการกาหนดสิ่ งที่เป็ นแนวทางใน
การดาเนินการ ตลอดจนภารกิจที่ตอ้ งปฏิบตั ิ ซึ่ งเป็ นการเตรี ยมตัวล่วงหน้า เพื่อให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องปฏิบตั ิ
ภารกิจตามนโยบาย เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ และกิจกรรมที่กาหนดไว้ แผนการดาเนิ นงานจะเป็ นเสมือน
คู่มือและเข็มทิศในการทางาน ซึ่ งกลุ่มงานนี้จะประกอบไปด้วยผูท้ ี่เกี่ยวข้อง คือ
1.1 ผูท้ าหน้าที่แสวงหาแนวความคิด (writer/editor) คือ ผูท้ ี่จะค้นหาประเด็นเนื้ อหามาทา
เว็บไซต์ โดยพิจารณาว่าแนวความคิดใดเหมาะสมหรื อตรงตามวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์หรื อไม่ ซึ่ ง
ประเด็นที่สนใจจะมีลกั ษณะที่มีความน่าสนใจหรื อตื่นเต้น มีจุดเด่นในตัวเองหรื อมีความสร้างสรรค์ มี
ประโยชน์ต่อผูช้ ม มีประเด็นปั ญหาที่น่าสนใจ การหาแนวความคิดเป็ นงานที่ตอ้ งใช้ความคิดสร้างสรรค์
และจินตนาการสู ง ผูท้ าหน้าที่น้ ีจึงต้องมีสายตาและความคิดที่กว้างไกล ลุ่มลึก การกาหนดวัตถุประสงค์
เป็ นการคาดหวังถึงผลที่จะเกิดกับผูช้ มเมื่อได้รับชมเว็บไซต์ไปแล้ว การวิเคราะห์ผชู้ มเป้ าหมาย เพื่อให้
ได้ขอ้ มูลที่ถูกต้องที่สุดในการจัดทาเว็บไซต์ได้ตรงกับความต้องการและความสนใจของผูช้ มมากที่สุด
โดยการพิจารณาเนื้อหาและข้อมูล
1.2 ผูอ้ อกแบบเว็บไซต์ (web designer) คือ ผูท้ ี่มีหน้าที่ที่สาคัญมาก ในหลายๆบริ ษทั ที่ทา
ธุ รกิจทางด้านเว็บไซต์โดยตรง จะต้องมีพนักงานที่ทาหน้าที่ออกแบบเว็บไซต์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่ ง
อาจจะรวมบุคคลที่สามารถเขียน HTML และคนทากราฟิ กไปด้วย แต่บางทีก็มองว่าการออกแบบเป็ น
เพีย งการร่ างภาพคร่ าวๆออกมาเท่านั้น งานออกแบบเว็บ ไซต์เป็ นงานที่ ค่อนข้างยากและต้องอาศัย
58

พรสวรรค์พอสมควร ผสมผสานกับรสนิยมของผูอ้ อกแบบ เนื่องจากบางคนออกแบบเว็บไซต์แล้วคิดว่า


สวยมากแต่เมื่ อให้หลายๆสายตามอง กลับ มองว่าไม่ สวยก็เป็ นไปได้ ดังนั้นจึ งต้องนารสนิ ยมมา
ประกอบในการออกแบบเว็บไซต์ดว้ ย แต่หลายคนที่มีพรสวรรค์ออกแบบมาก็ทาให้คนส่ วนใหญ่มองว่า
สวยได้เหมือนกัน
ในการทาเว็บไซต์ที่มีขอ้ มูลไม่มากนัก อาจรวมผูท้ าหน้าที่แสวงหาแนวความคิดและผูอ้ อกแบบ
เว็บไซต์เข้าด้วยกัน โดยให้ผอู ้ อกแบบเว็บไซต์ทาหน้าที่ในการแสวงหาแนวความคิดด้วย
2. กลุ่มงานพัฒนาเว็บไซต์ เป็ นกลุ่มงานที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการทางานของเครื่ อง
คอมพิวเตอร์ หรื อเรี ยกว่าเป็ นบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งเป็ นองค์ประกอบที่สาคัญ เนื่องจาก
บุคคลากรในกลุ่มนี้จะเป็ นผูด้ าเนินงานให้ระบบคอมพิวเตอร์ ดาเนินต่อไปได้ ซึ่ งจะมีส่วนสัมพันธ์กบั
ฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ มีบทบาทสาคัญในการพัฒนาหรื อใช้งานฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมถึง
ทีมงานต่างๆ สามารถแบ่งบุคลากรเป็ นกลุ่ม ๆ ตามหน้าที่การทางานได้ดงั ภาพที่ 2.33 โดยมีรายละเอียด
ดังนี้

ภาพที่ 2.33 แสดงกลุ่มบุคลากรตามหน้าที่การทางาน


59

จากภาพที่ 2.33 สามารถอธิ บายหน้าที่ในการทางานได้ดงั นี้


2.1 นักวิเคราะห์ ระบบงาน (system analyst) คือ ผูว้ เิ คราะห์ปัญหาในการทางานต่างๆจาก
ผูใ้ ช้งาน และนาปั ญหามาแก้ไขในระบบคอมพิวเตอร์ รวมถึงการวางแผนงาน การสั่งการ การทบทวน
โครงการประมวลผลโดยคอมพิวเตอร์ และการจัดทารายงานเกี่ยวกับโครงการที่ทาไปแล้ว พิจารณานา
ระบบคอมพิวเตอร์ มาใช้ช่วยในการดาเนินงาน นักวิเคราะห์ระบบงาน ต้องพิจารณาทั้งการนาเครื่ อง
คอมพิวเตอร์โดยมีอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ โปรแกรมควบคุมระบบและโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ระบบ
เครื อข่าย และบุคลากรทางคอมพิวเตอร์ มาใช้งานอย่างเหมาะสม วิเคราะห์ระบบคอมพิวเตอร์ และการ
แก้ปัญหา ผูว้ เิ คราะห์ระบบคอมพิวเตอร์จะใช้เทคนิคของการวิเคราะห์แบบโครงสร้าง สร้างแบบจาลอง
ทางคณิ ตศาสตร์ จาลองแบบข้อมูล วิศวกรรมด้านข้อมูลข่าวสาร การสุ่ มตัวอย่าง และหลักการบัญชี
ต้นทุน เพื่อวางแผนในการทางานออกแบบขั้นตอนในการทางาน นักวิเคราะห์ระบบงานควรมีทกั ษะใน
การวิเคราะห์และการแก้ปัญหา มีทกั ษะทางด้านคณิ ตศาสตร์และภาษาอังกฤษดี มีทกั ษะในการ
ติดต่อสื่ อสารและมีมนุษยสัมพันธ์ดี และมีความรู้ในการเขียนภาษาคอมพิวเตอร์
ด้วยการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้นอยูต่ ลอดเวลา เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีใหม่ก็จะให้นกั วิเคราะห์ระบบงานมาดาเนิ นการอีก การค้าทางอินเทอร์ เน็ตกาลังขยาย
ตัวอย่างรวดเร็ ว เทคโนโลยีทางด้านโทรศัพท์มือถือมี Technology WAP Protocol มาสนับสนุน
อินเทอร์ เน็ต ทาให้มีความต้องการคนทางานที่มีความรู้ทางด้านการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์และ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็ นอย่างดี ยิง่ การพัฒนาทางด้านคอมพิวเตอร์ ซบั ซ้อนยุง่ ยากมากขึ้นความ
ต้องการก็เพิ่มสู งมากขึ้นอย่างรวดเร็ วตามไปด้วย
ปัจจุบนั ยังขาดแคลนนักวิเคราะห์ระบบงานที่มีความรู้ความชานาญ เนื่องจากนักวิเคราะห์
ระบบส่ วนใหญ่ตอ้ งอาศัยประสบการณ์สูง เช่น ฝ่ ายการเงินต้องการนาคอมพิวเตอร์มาคิดคานวณเรื่ อง
รายรับ รายจ่าย นักวิเคราะห์ระบบก็ตอ้ งศึกษาในเรื่ องของการเงิน ขั้นตอนการทางานของฝ่ ายการเงิน
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เป็ นต้น เมื่อศึกษารายละเอียดข้อมูลได้ตามต้องการแล้วนักวิเคราะห์
ระบบจึงดาเนินการออกแบบระบบใหม่ที่ใช้คอมพิวเตอร์ ทาการประมวลผลด้านการเงินต่อไป
2.2 ผู้บริหารระบบงาน (administrator) คือ ผูท้ ี่ทาหน้าที่เป็ นผูบ้ ริ หารระบบงานหรื อองค์กร
ด้านคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็ นกลุ่มๆ ได้ดงั นี้
2.2.1 ผูบ้ ริ หารศูนย์คอมพิวเตอร์ (computer center administrator) คือบุคลากรที่ทาหน้าที่
บริ หารศูนย์หรื อองค์กรทางด้านคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะ มีหน้าที่กาหนดนโยบายและวางแผนการ
บริ หาร เพื่อให้องค์กรบรรลุเป้ าหมาย ผูบ้ ริ หารศูนย์คอมพิวเตอร์มีหน้าที่ควบคุมดูแลให้ผบู้ ริ หาร
60

ฐานข้อมูลและผูบ้ ริ หารระบบ ปฏิบตั ิงานให้องค์กรบรรลุเป้ าหมายขององค์กร หากเป็ นเรื่ องของ


เว็บไซต์อาจเปรี ยบได้กบั เจ้าของเว็บไซต์นนั่ เอง
2.2.2 ผูบ้ ริ หารฐานข้อมูล (database administrator : DBA) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ในการ
กาหนดนโยบายและวางแผนการบริ หารการจัดการฐานข้อมูลและการดูแลรักษาฐานข้อมูลขององค์กร
เป็ นผูท้ ี่มีอานาจในการดูแลระบบของเว็บไซต์ในระดับสู งสุ ด สามารถควบคุมการทางานทุกอย่างของ
เว็บไซต์ รวมทั้งการอนุญาตต่างๆ ให้ผใู ้ ช้งานในแต่ระดับมีขอบเขตในการใช้งานเว็บไซต์ หรื อห้ามมิ
ให้ผใู ้ ช้ทาสิ่ งใดหรื อขั้นตอนใดในเว็บไซต์
2.2.3 ผูบ้ ริ หารระบบ (system administrator) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ในการกาหนด
นโยบายและวางแผนการบริ หารและดูแลรักษาระบบฮาร์ ดแวร์ ระบบปฏิบตั ิการฐานข้อมูลขององค์กร
รวมทั้งระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลจากภัยคุกคามต่างๆ เช่น ไวรัส มอลแวร์ เวิร์ม เป็ นต้น
2.3 โปรแกรมเมอร์ (programmer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่นาระบบงานใหม่ที่นกั วิเคราะห์
ระบบได้ออกแบบไว้มาสร้างเป็ นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง โดยทาการเลือก
ภาษาคอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสมกับระบบงานนั้น ๆ ต้องมีความรู้ในเรื่ องการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ แนวคิด
แบบตรรกะ (logic) ของโปรแกรม มีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับเอกสารที่ได้จากการออกแบบระบบ
เทคนิคการออกแบบระบบงาน ทางานร่ วมกันเป็ นทีม หากเป็ นเว็บไซต์ที่มีขอ้ มูลหลากหลายชนิด เช่น
กราฟิ ก (still picture) ภาพเคลื่อนไหว (animation) คลิปวิดีโอ (VDO clip) ระบบฐานข้อมูล (database)
เป็ นต้น ส่ วนใหญ่จะใช้โปรแกรมเมอร์ ผเู ้ ชี่ยวชาญในแต่ละด้าน
2.4 วิศวกรระบบ (system engineer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่ อม บารุ ง และ
ดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทางานได้ตามที่ตอ้ งการ ต้องมีความรู ้เกี่ยวกับ โครงสร้าง
ของฮาร์ดแวร์ หลักการทางานของฮาร์ดแวร์ สามารถออกแบบและติดตั้งฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ ได้
2.5 ผู้ออกแบบระบบฐานข้ อมูล (database designer) คือ บุคลากรที่ทาหน้าที่พฒั นาระบบ
ฐานข้อมูล โดยจะออกแบบฐานข้อมูลเพื่อให้ทราบถึงลักษณะของข้อมูลที่จดั เก็บในฐานข้อมูลและ
วิธีการจัดเก็บข้อมูลเหล่านั้น การออกแบบนี้จะได้มาจากความต้องการของผูใ้ ช้ระบบฐานข้อมูล
3. กลุ่มงานดูแลเว็บไซต์ เป็ นกลุ่มงานที่มีบุคลากรทาหน้าที่ในการตรวจสอบเว็บไซต์อย่าง
สม่าเสมอ มีผทู ้ ี่เกี่ยวข้องกับกลุ่มงานดูแลเว็บไซต์ ดังนี้
3.1 เว็บมาสเตอร์ (web master) เว็บมาสเตอร์ อาจเรี ยกว่า ผูด้ ูแลเว็บไซต์ คือ บุคคลผูท้ ี่มีหน้าที่
ในการบารุ งรักษาเว็บไซต์ โดยเฉพาะบนเว็บไซต์ชุมชนออนไลน์ เว็บมาสเตอร์เป็ นผูฝ้ ึ กหัดการสื่ อสาร
ผ่านเว็บ โดยปกติเว็บมาสเตอร์ จะเป็ นผูท้ ี่มีความรู ้ทวั่ ไปอย่างกว้างขวาง มีความเชี่ยวชาญในเรื่ อง
เอชทีเอ็มแอลเพื่อที่จะจัดการการดาเนินงานบนเว็บทุกรู ปแบบ เว็บมาสเตอร์อาจมีความรู้ในเรื่ องภาษา
61

สคริ ปต์อื่นๆ เช่น ภาษาพีเอชพี ภาษาเพิร์ล หรื อภาษาจาวาสคริ ปต์ เป็ นต้น ซึ่ งเกี่ยวข้องกับการทา
เว็บไซต์ บนเว็บไซต์ที่มีขนาดใหญ่ข้ ึน เว็บมาสเตอร์จะทาหน้าที่เป็ นผูป้ ระสานงานและตรวจสอบ
กิจกรรมต่างๆ ของผูอ้ ื่นที่ทางานบนเว็บ ซึ่งมักจะเป็ นลูกจ้างของเจ้าของเว็บไซต์ ความรับผิดชอบหลัก
ของเว็บมาสเตอร์ จะรวมถึงการวางข้อกาหนดและการบริ หารสิ ทธิ การเข้าถึงของผูใ้ ช้ที่แตกต่างกันใน
เว็บไซต์ และการกาหนดภาพลักษณ์ของการสารวจเว็บไซต์ การวางตาแหน่งของเนื้อหาก็อาจเป็ นความ
รับผิดชอบของเว็บมาสเตอร์ แต่ในขณะที่การสร้างเนื้ อหาขึ้นมาใหม่ปกติจะไม่ใช่หน้าที่ของเว็บ
มาสเตอร์ นอกจากนั้น เว็บมาสเตอร์อาจทาหน้าที่เป็ นเจ้าหน้าที่รับฟังความคิดเห็นและคาติชมจากผูใ้ ช้
ซึ่ งเกี่ยวกับการทางานของเว็บไซต์อีกด้วย
3.2 มอดเดอร์ เรเตอร์ (moderator) เป็ นบุคคล หรื อกลุ่มบุคคล ที่เป็ นผูด้ ูแลประจาเว็บบอร์ดที่มี
หน้าที่ตรวจสอบ forum สามารถแก้ไขหรื อลบข้อความ และสามารถล็อก ปลดล็อก ย้าย ลบ และแยก
หัวข้อใน forum โดยทัว่ ไปมอดเดอร์เรเตอร์ จะทาการป้ องกันการโพสต์ขอ้ ความก่อกวน ส่ วนใหญ่จะ
ใช้กบั เว็บไซต์ที่มีการตั้งกระทูม้ ากๆ เช่น การเล่นเกมส์ เนื่องจากมอดเดอร์เรเตอร์มีความรู้
ความสามารถในการช่วยเหลือตอบคาถามผูเ้ ล่นได้เป็ นอย่างดี และเป็ นผูท้ ี่พร้อมสละแรงกาย แรงใจ
และเวลาส่ วนตัว เพื่อผลประโยชน์ต่อสังคมในเกม หน้าที่หลัก moderator จะเป็ นผูช้ ่วยเหลือ และ
ตัวกลางในการประสานระหว่างผูเ้ ล่นและทีมงาน สามารถลบกระทูไ้ ม่เหมาะสมได้ เป็ นต้น

กิจกรรม 2.3.2
1) ผูอ้ อกแบบเว็บไซต์มีหน้าที่อย่างไร
2) มอดเดอร์ เรเตอร์ อยูใ่ นกลุ่มงานอะไร และมีหน้าที่อย่างไร

แนวตอบกิจกรรม 2.3.2
1) ผูอ้ อกแบบเว็บไซต์ ทาหน้าที่ออกแบบเว็บไซต์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น บางทีก็รวมบุคคลที่สามารถ
เขียน HTML และคนทากราฟิ กไปด้วย แต่บางทีก็มองว่าการออกแบบเป็ นเพียงการร่ างภาพคร่ าวๆ
ออกมาเท่ า นั้น งานออกแบบเว็บ ไซต์เ ป็ นงานที่ ค่ อ นข้า งยากและต้อ งอาศัย พรสวรรค์พ อสมควร
ผสมผสานกับรสนิ ยมของผูอ้ อกแบบ เนื่ องจากบางคนออกแบบเว็บไซต์แล้วคิดว่าสวยมากแต่เมื่อให้
หลายๆสายตามอง กลับมองว่าไม่สวยก็เป็ นไปได้ ดังนั้นจึงต้องนารสนิ ยมมาประกอบในการออกแบบ
เว็บไซต์ดว้ ย แต่หลายคนที่มีพรสวรรค์ออกแบบมาก็ทาให้คนส่ วนมากมองว่าสวยได้เหมือนกัน
2) มอดเดอร์ เรเตอร์ อยูใ่ นกลุ่มงานดูแลเว็บไซต์ เป็ นบุคคล หรื อกลุ่มบุคคล ที่เป็ นผูด้ ูแลประจาเว็บ
บอร์ดที่มีหน้าที่ตรวจสอบ forum สามารถแก้ไขหรื อลบข้อความ และสามารถล็อก ปลดล็อก ย้าย ลบ
62

และแยกหัวข้อใน forum โดยทัว่ ไปมอดเดอร์เรเตอร์ จะทาการป้ องกันการโพสต์ขอ้ ความก่อกวน ส่ วน


ใหญ่จะใช้กบั เว็บไซต์ที่มีการตั้งกระทูม้ ากๆ
63

บรรณานุกรม
กรรณิ การ์ สวรรค์โพธิพนั ธุ์ “ออกแบบเว็บให้ น่าใช้ Designing Web Usability” กรุ งเทพฯ :
สานักพิมพ์เคทีพี, 2550

ถนอมพร เลาหจรัสแสง “โครงการพัฒนาบุคลากรทางด้ านไอที”


http://www.tsu.ac.th/cc/wbl_training/e-learning.htm ค้นคืนเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2554.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง “Design e-Learning : หลักการออกแบบและการสร้ างเว็บเพจเพือ่ การเรียน


การสอน” เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2545

ถนอมพร เลาหจรัสแสง “E-Learning ทางเลือกใหม่ ของการศึกษาในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ” 2547,


Available: http://emag.chiangmai.ac.th/Previous/15Agus2001/body.html

ธนพร จินโต “ปลุกกระแสครี เอทีฟบนเว็บไซต์” กรุ งเทพฯ: สานักพิมพ์ เอสพีซีบุคส์, 2547

พันธุ์จนั ทร์ ธนวัฒนเสถียร “ออกแบบสร้าง โปรโมท Web site Step by Step” กรุ งเทพฯ: บริ ษทั ซีเอสมี
เดีย จากัด, 2547

วีรจินต์ นาคะนิเวศน์ “การเรี ยนการสอนผ่านเว็บ” 2554, Available : http://www.pm.ac.th/vrj/wbi.htm

ศิริพจน์ มะโนดี “world wide web ทางเลือกใหม่ ในการจัดการศึกษายุคไอที” 2554, Available :


http://www.bcns.ac.th/www.html

ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ (NECTEC), http://elearning.nectec.or.th ค้น


คืนเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2554

สิ ทธิชยั ประสานวงศ์ “เรี ยน เล่น ใช้อินเทอร์เน็ตด้วย Internet Explorer 5” กรุ งเทพฯ: ซอฟ์ ทเพรส,
2543
http://gotoknow.org/blog/open-source/162487 ค้นคืนเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2554.
64

http://andaplus.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 15 สิ งหาคม 2554


ระบบโทรคมนาคมเชื่อมโลก http://www.torakom.com/article_index.php?sub=article_show&art=230
ค้นคืนเมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2554
http://www.thaicai.com/articles/immci.htm1 ค้นคืนเมื่อวันที่ 1 สิ งหาคม 2554
Lynch, P. J., & Horton, S “Web style guide: Basic design principles for creating web sites” US:
2ed. New Haven, 2002
http://th.wikipedia.org/ ค้นคืนวันที่ 18 สิ งหาคม 2554
http://www.compgamer.com/ ค้นคืนเมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม 2554

You might also like