You are on page 1of 9

การใชวสั ดุปรับปรุงดินเปรีย้ ว

โดย…อัญชลี พัดมีเทศ กองเกษตรสัมพันธ กรมสงเสริมการเกษตร

• ดินเปรีย้ ว
• ลักษณะของดินเปรีย้ ว
• สาเหตุของการเกิดดินเปรีย้ ว
• วิธีสังเกตดินเปรีย้ ว
• การแบงชนิดของดินเปรี้ยว
• การวัดความเปรีย้ วของดิน
• บริเวณทีพ ่ บดินเปรีย้ ว
• สาเหตุที่ดินเปรี้ยวใชเพาะปลูกพืชไมไดผลดี
• การปรับปรุงดินเปรีย้ ว
• วิธีการปรับปรุงดินเปรีย้ วเพือ่ เพิม่ ผลผลิตขาว

ดินเปรีย้ ว

ดินเปรี้ยวหรือดินกรดจัด คือ ดินที่กําลังมีเคยมี หรือมีแนวโนม


วามีกรดกํามะถันอยูใ นชัน้ ดิน และจะตองมีจดุ สีเหลืองฟางขาวอยูใ นดิน
ชั้นลางจึงทําใหดนิ เปนกรดสูง หรือ มีคา พีเอช(pH) คอนขางตํ่า จนเปน
อุปสรรคตอการเจริญเติบโตของพืช ทําใหพืชเจริญเติบโตไดไมดี ผลผลิต
ที่ไดจึงตํ่าหรือไมไดผลผลิตเลย

ลักษณะของดินเปรีย้ ว

ลักษณะทั่วไปของดินเปรีย้ ว จะมีดนิ ชัน้ บนเปนดินเหนียว


สีเทา หรือสีเทาเขมถึงดํา ลึกประมาณ ๒๐-๔๐ เซนติเมตร อาจ
จะมีจดุ ประสีน้ําตาลหรือสีนาตาลแดง
้ํ โดยเฉพาะอยางยิง่ ตาม
รอยรากขาว ดินชัน้ ลางเปนดินเหนียวสีนาตาล
้ํ หรือสีนาตาลปน
้ํ
เทาถึงสีเทา มีจดุ ประสีเหลืองปนนํ้าตาล สีแดง หรือสีเหลืองฟาง
ขาว
สาเหตุของการเกิดดินเปรี้ยว

ดินเปรี้ยว เกิดจาก การทับถมของตะกอนนํากร ้ อย ซึ่งเปนบริเวณที่เคยไดรับอิทธิพลจากนําทะเลท


้ วม
ถึงมากอน (เชน บริเวณที่เคยเปนปาชายเลน และบริเวณสามเหลีย่ มปากแมนาใหญ ้ํ ๆ ) โดยจุลลินทรียในดิน
จะเปลี่ยนสารประกอบพวกกํามะถันในนําทะเลให ้ เปนแรไพไรท (สารประกอบของเหล็กและกํามะถัน) สะสม
อยูในสภาพนํ้าขัง ตอมาเมือ่ ฝง ทะเลยืน่ ออกไปเรือ่ ย ๆ และถามีการระบายนําออกไปจนทํ
้ าใหดินแหง ก็จะเกิด
การเปลีย่ นแปลงทางเคมี แรไพไรทจะถูกเปลี่ยนแปลงไป ในที่สุดจะไดกรดกํามะถันซึง่ เปนสาเหตุทาให ํ ดนิ เปน
กรดจัด และมักจะพบสารประกอบของเหล็กที่สําคัญตัวหนึ่ง คือ "จาโรไซท" ที่มีสีเหลืองคลายฟางขาว ซึง่ เปน
สิ่งที่เราใชสงั เกตลักษณะของดินเปรีย้ ว

วิธสี งั เกตดินเปรีย้ ว

๑. พื้นที่ที่พบดินเปรี้ยว มักเปนพืน้ ทีใ่ นบริเวณทีล่ มุ มีนาแช


้ํ ขงั ปละหลาย ๆ เดือน ในชวงฤดูฝน
๒. นํ้าในบอ คู คลอง ในพืน้ ทีท่ เ่ี ปนดินเปรีย้ วจะใสเหมือนแกวงดวยสารสม มีรสเปรีย้ วและเฝอ น เมือ่
บวนนําหมากลงไปนํ
้ าจะเปลี
้ ย่ นเปนสีดาํ
๓. พืชที่ข้ึนไดโดยธรรมชาติในบริเวณนีม้ กั มีลาต ํ นคอนขางแข็ง เชน กก ทรงกระเทียม จูดหนู เปนตน
๔. เนื้อดินเปนดินเหนียว เมือ่ ขุดลงไปจะพบสารสีเหลืองคลายกํามะถัน (จาโรไซท) อยูใ นชัน้ ดิน และ
ลึกลงไปจะพบโคลนสีน้ําเงินปนเทาและ ซึง่ เปนดินตะกอนนําทะเล ้

การแบงชนิดของดินเปรีย้ ว

ดินเปรี้ยวแบงออกเปน ๓ ชนิด ตามระดับความเปนกรด ดังนี้

๑. ดินเปรี้ยวนอย คือ ดินทีม่ คี วามเปนกรดนอยหรือดินทีม่ คี า พีเอช (pH) ในชวงระหวาง ๔.๗-๖.๐


เชน ดินชุดบางนําเปรี
้ ้ยว ชุดฉะเชิงเทรา ชุดมหาโพธิ์ ชุดอยุธยา ชุดอยุธยา-มหาโพธิ์ ชุดเสนา ชุดทาขวาง
๒. ดินเปรี้ยวปานกลาง คือ ดินทีม่ คี วามเปนกรดเปนดาง หรือมีคา พีเอช (pH) ในชวงระหวาง ๔.๑-
๔.๗ เชน ดินชุดรังสิต ชุดธัญญบุรี ชุดดอนเมือง
๓. ดินเปรี้ยวจัด คือ ดินทีม่ คี วามเปนกรดเปนดาง หรือมีคา พีเอช (pH) ตํากว
่ า ๔.๑ เชน ดินชุดรังสิต
เปรี้ยวจัด ชุดองครักษ
ระดับความเปนกรดเปนดาง

๓.0 ๔.0 ๕.0 ๖.0

ดินเปรีย้ ว
ดินเปรี้ยวจัด ดินเปรีย้ วนอย
ปานกลาง

การวัดความเปรี้ยวของดิน

เราวัดความเปรี้ยวหรือความเปนกรดจัดของดินโดยดุจากความเปนกรดดางของดิน หรือ คาพีเอช


(pH) ของดิน ซึ่งไดจากการตรวจสอบดินโดยใชชดุ สารเคมีตรวจสอบความเปนกรดเปนดางของดิน หรือ ที่
เรียกวา พีเอชเทสคิท (pH test kit) โดยใชนายาเคมี
ํ้ ทาปฏิ
ํ กิยากับดิน แลวเทียบสีของนํ้ายาเคมีที่ทาปฏิ
ํ กิริยา
กับดิน แลวกับแผนสีมาตราฐานเพือ่ อานคา พีเอช(pH) โดยประมาณของดินนัน้ หรือวัดโดยใชเครือ่ งวัดความ
เปนกรดเปนดางของดิน ที่เรียกวา "พีเอชมิเตอร" (pH Meter)

บริเวณทีพ
่ บดินเปรีย้ ว

ดินเปรี้ยวในประเทศไทย สวนใหญพบกระจายอยูในที่ราบลุมภาคกลาง และบริเวณชายฝงทะเลภาค


ตะวันออก ไดแก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี กรุงเทพมหานคร สระบุรี สมุทรปราการ สุพรรณบุรี
นครปฐม ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี ชลบุรี และจันทบุรี นอกจากนี้ยังพบอยูกระจายบริเวณชายฝง
ทะเลตะวันออกของภาคใต ไดแก บริเวณจังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สตูล สงขลา ปตตานี และนราธิวาส
อยางไรก็ดีพื้นที่เหลานี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงสภาพการใชประโยชนที่ดิน หรือ มีการระบายนําออกจากพื
้ ้นที่

บริเวณดินเปรีย้ วในประเทศไทย
จากแผนทีด่ นิ เปรีย้ วของกรมพัฒนาทีด่ นิ สามารถระบุจงั หวัด อําเภอ ตําบล พื้นที่ที่ดินเปรี้ยวกระจาย
อยูมากไดเพียง ๗ จังหวัด ดังตารางตอไปนี้

จังหวัด อําเภอ ตําบล


๑. นครนายก ปากพลี ปากพลี ทาเรือ เกาะโพธิ์
องครักษ โพธิ์แทน บางสมบูรณ บางลูกเสือ
ศรีษะกระบือ บางปลากด พระอาจารย
ทรายมูล บึงศาล องครักษ
บานนา บานพราว พิกลุ ออก บานพริก
ทองหลาง อาสา บางออ
เมือง ทาชาง ดงละคร วังกระโจม
ทาทราย ศรีจุฬา พรหมณี
๒. ชลบุรี พานทอง โคกขีห้ นอน หนาประดู
พนัสนิคม ทาขาม โคกเพลาะ ทาชาง
เมือง (แยกรายตําไมได)
๓. ชลบุรี วิหารแดง วิหารแดง หนองหมู หนองสรวสง
บานลํา คลองเรือ
หนองแค หนองจรเข หนองโรง
๔. ปทุมธานี หนองเสือ ศาลาครุ บึงกาสาม บึงชําออ
หนองสามวัง บึงบอน บึงบา
ธัญญบุรี ประชาธิปตย บางยี่โถ รังสิต
ลําผักกูด บึงสนัน่ บึงนํารั
้ กษ
ลําลูกกา ลําลูกกา ลําไทร บึงทองหลาง
บึงคอไห คูคต ลาดสวาย
บึงคําพรอย
เมือง บางขะแยง บางพูด สวนพริกไทย
บานกลาง บานฉาง บางหลวง
บางเดือ่ บางคูวดั บางกระดี่
บานใหม หลักหก บางพูน
คลองหลวง คลองหนึ่ง คลองสอง คลองสาม
คลองสี่ คลองหา คลองหก
สามโคก ทายเกาะ คลองควาย บางกระบือ
บานงิว้ สามโคก เชียงรากนอย
บานปทุม บางเตย เชียงรากใหญ
บางโพธิ์เหนือ
ลาดหลุมแกว วัดบอเงิน คูขวาง คูบางหลวง
ระแหง หนาไม ลาดหลุมแกว
จังหวัด อําเภอ ตําบล
คลองพระอุดม
๕. ปราจีนบุรี บานสราง บานสราง บางพลวง บางกะเบา
บางแตน บางยาง บางปลาลา
บางเตย บางขาม กระพุม แพว
โคกบีบ ไผชะเลือด คูร ําพลัน
เมือง ไมเค็ด บานพระ รอบเมือง
ดงพระราม หนาเมือง เนินหอม
บางบริบรู ณ ทางาม บางเดชะ
วัดโบสถ
ศรีมหาโพธิ์
ประจันตคาม (แยกรายตําบลไมได)
๖. ฉะเชิงเทรา กิง่ อําเภอ ดงนอย เมืองใหม
ราชสาสน
พนมสารคาม หนองยาว บานซอง เมืองเกา
หนองแหน
บางคลา ทากองทราย ทุง เสม็ดใต หัวสําโรง
บางนํ้าเปรี้ยว ดอนเกาะกา โยธะกา สิงโตทอง
ดอนฉิมพลี บึงนํ้ารักษ หมอนทอง
บางขนาก ศาลาแดง
บานโพ
บางประกง (แยกรายตําบลไมได)
๗. อยุธยา ผักไห โคกชาง หนาโคก หนองนํ้าใหญ
อํามฤต ลาดนําเค็
้ ม นาคู
ตาลาน จักราช ดอนลาน
ลานชิด บานใหญ กุฏิ
ลําตะเคียน ทาดินแดง
บางซาย ปลายสกัด เตา-เลา แกวฟา
วังพัฒนา เทพมงคล
ลาดบังหลวง หลักชัย ลาดบัวหลวง คูส ลอด
สิงหนาท พระยาบันลือ
บางปะอิน บานกรด ขนอนหลวง คุงลาน
สามเรือน วัดยม บางประแดง
ตลาดเกรียบ บานแปง บานพลับ
เกาะเกิด บานเลน คลองจิก
บานหวา บานโพธิ์ ตลิง่ ชัน
จังหวัด อําเภอ ตําบล
บางไทร ไมตรา บานมา กกแกวบูรพา
โคกชาง โพแตง เชียงรากนอย
ราชคราม บางพลี ไผพระ
บานเกาะ สนามชัย บานแปน
ชางนอย หอหมก ชางเหล็ก
แคตก กระแชง บางยี่โถ
หนาไม
บางบาล บางหัก บากุม บานชะนี
บางหลวง ไทรนอย บางหลวงโด
วัดตะกู วัดยม ทางชาง
กบเจา สะพานไทย นําเต
้ า
บานคลัง พระขาว
เสนา บานกระทุม หัวเวียง ชายนา
บานโพธิ์ รางจรเข บานแบน
เจาเข็ด สามกอ บางนมโค
บานหลวง ลาดงา มารวิชยั
สามตุม ดอนทอง
อุทัย ขาวเมา ธนู คานหาม
บานชาง หนองนําส้ ม สามบัณฑิต
บานหีบ เสนา โพสาวหาญ
หนองไมซงุ
เมือง บานใหม ภูเขาทอง
วังนอย ลําไทร วังนอย สนับทึบ
ชะแมบ ลําตาเสา บอตาโล
นครหลวง
ภาชี (แยกรายตําบลไมได)

สาเหตุทด่ี นิ เปรีย้ วใชเพาะปลูกพืชไมไดผล

๑. เนื่องจากดินมีความเปนกรดสูงหรือมี (pH) ตํา่ ทําใหมผี ลตอเนือ่ งตอพืช คือ


- พืชดูดธาตุอาหารบางธาตุไปใชไดนอ ยลง เชน ไนโตรเจน และแคลเซียม
- พืชที่ปลูกจะขาดธาตุฟอสฟอรัส เนื่องจากฟอสฟอรัสเปลี่ยนไปอยูในรูปที่พืชใชประโยชน
ไมได
- ดินมีปริมาณธาตุอาหารบางธาตุอยูใ นปริมาณนอย เชน แมกนีเซียม และโปตัสเซียม
- มีสารบางอยางละลายออกมามากจนเปนพิษตอพืช เชน เหล็ก อลูมเิ นียม และแมงกานีส
๒. จุลนิ ทรียหรือสิ่งมีชวี ติ เล็ก ๆ ในดินไมสามารถเจริญเติบโตได และไมสามารถดําเนินกิจกรรมได
ตามปกติ ทําใหปริมาณไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และกํามะถันในดินทีเ่ ปนประโยชนตอ พืชลดลงไปดวย
๓. เนื้อดินเปรีย้ วเปนดินเหนียว อัดตัวกันแนน ระบายนําและถ
้ ายเทอากาศไดยาก ดินแข็งมากเมือ่ แหง
และเปนโคลนเหนียวจัดเมือ่ เปยกทําใหการเตรียมดินกอนการปลูกพืชทําไดลําบาก

การปรับปรุงดินเปรีย้ ว

การปรับปรุงดินเปรีย้ ว มีวตั ถุประสงตเพื่อลดความเปนกรดและปริมาณสารทีเ่ ปนพิษในดิน รวมทั้ง


ปองกันการเกิดกรดเพิม่ ขึน้ ควบคูก นั ไปกับการเพิม่ เติมธาตุอาหารพืชลงไปในดิน เพื่อใหสามารถปลูกพืชไดผล
ดี
การปรับปรุงดินเปรีย้ วมีหลายวิธี การทีจ่ ะเลือกใชวธิ ใี ดหรือใชหลายวิธรี ว มกันนัน้ ขึน้ อยูก บั สถาน
การณ ความจําเปน และความเหมาะสมของแตละพืน้ ที่ วิธกี ารปรับปรุงดินเปรีย้ ว มีดงั นี้

๑. การลางดิน เปนการใชน้าล ํ างกรดและสารทีเ่ ปนพิษอืน่ ๆ ออกไปจากดิน วิธนี ส้ี ามารถใชไดผลดีใน


บริเวณทีม่ นี าเพี
้ํ ยงพอ
๒. การควบคุมระดับนํ้าใตดนิ วิธนี เ้ี หมาะสําหรับพื้นที่ดินเปรี้ยวที่เกิดใหมหรือดินเปรี้ยวแฝง โดยการ
ควบคุมระดับนําใต้ ดนิ ใหอยูใ นระดับนํ้าที่เหมาะสม (หรือ ไมระบายนํ้าออกจากดินจนถึงระดับที่มีแรไพไรท
สะสมอยู) ซึ่งจะทําใหเกิดการขาดออกซิเจน เปนการปองกันไมใหแรไพไรททอ่ี ยูใ นดินถูกเปลีย่ นเปนกรดรวม
ทั้งลดความเปนพิษของเหล็กดวย
๓. การใสวสั ดุลดความเปนกรดของดิน เชน ปูนขาว ปูนมารล เปลือกหอยเผา หินปูนบด นอกจากจะ
ชวยลดความเปนกรดของดินแลว ยังมีผลตอเนือ่ งในการลดปริมาณสารเปนพิษทีล่ ะลายออกมามากเกินไปจน
เปนอันตรายตอพืชอีกดวย ในทางปฏิบตั นิ ยิ มใชปนู มารล เพราะมีราคาถูกทีส่ ดุ และใสเพียงครัง้ เดียวก็สามารถ
แกความเปนกรดของดินไดนาน ๓-๕ ป โดยอัตราการใชปนู มารลเพือ่ ปรับปรุงดินเปรีย้ ว มีดงั นี้

- ดินเปรีย้ วนอย ควรใสปนู มารล ไรละ ๐.๕ ตัน


- ดินเปรีย้ วปานกลาง ควรใสปนู มารล ไรละ ๑ ตัน
- ดินเปรีย้ วจัด ควรใสปนู มารล ไรละ ๒ ตัน

๔. การใสปยุ เคมี ควรใรการใสปยุ เคมีแกพชื ทีป่ ลูกใหถกู ตองตามสูตรอัตราและเวลาทีร่ าชการแนะนํา


แลวแตชนิดพืช เนือ่ งจากดินเปรีย้ ว (โดยเฉพาะดินเปรีย้ วปานกลางถึงเปรีย้ วจัด) จะมีปญหาการขาดไนโตเจน
และฟอสฟอรัสอยางรุนแรง

วิธีการปรับปรุงดินเปรีย้ วเพือ่ เพิม่ ผลผลิตขาว

การทํานาขาวในดินเปรีย้ ว จําเปนตองมีการปรับปรุงดินเพือ่ ใหไดผลผลิตขาวสูงขึน้ ซึ่งจะมีวิธีการที่


แตกตางกันไปตามชนิดความเปรีย้ วของดิน ดังนี้
๑. ดินเปรีย้ วนอยและดินเปรีย้ วปานกลาง
ดินเปรี้ยวนอยมีปญหาการขาดธาตุอาหารพืชและความเปนกรดของดินรุนแรงนอยกวาดินเปรี้ยวปาน
กลาง แตสามารถใชวธิ กี ารปรับปรุงดินเชนเดียวกันได

ดินเปรี้ยวปานกลางมีปญหาสําคัญในการปลูกขาว คือ ดินมีความอุดมสมบูรณตา่ํ มีธาตุไนโตรเจน


ฟอสฟอรัส และโปตัสเซียม ไมเพียงพอและขาดฟอสฟอรัสอยางรุนแรง ถาหากใสปุยอยางเพียงพอแลวไมจาํ
เปนตองใชกรรมวิธพี เิ ศษอืน่ ใด เชนการใสปนู ก็สามารถเพิม่ ผลผลิตขาวใหสงู ขึน้ ได หรือหากมีความสะดวกใน
การใชปูน ก็สามารถใชปนู มารลในอัตรา 0.5 ตัน/ไร สําหรับดินเปรีย้ วนอย และ1.0 ตัน/ไร สําหรับดินเปรีย้ ว
ปานกลาง โดยใชรว มกับปุย เคมี ในวิธรการเดียวกับการปรับปรุงดินเปรีย้ วจัดทีก่ ลาวตอไป โดยไมตอ งมีการ
ลางดิน

วิธีการปลูกขาวในดินเปรีย้ วนอยและเปรีย้ วปานกลาง ควรดําเนินการใสปยุ ดังนี้

๑.๑ ใสปุยหินฟอสเฟต (สูตร ๐-๓-๐) จํานวนไรละ ๑๐๐ กิโลกรัม โดยหวานใหทั่วแปลงนาขณะ


เตรียมดินแลวไถคลุกเคลาใหเขากับดิน (กอนหวานอาจพรมนําให
้ ชน้ื กอนจะไดหวานไดสะดวกขึน้ ) ซึง่ ในชวง
เตรียมดินหากมีการใสปยุ อินทรียร ว มดวยกันจะเปนการดี

๑.๒ ใสปุยสูตร ๑๖-๒๐-๐ สําหรับนาดินเหนียว หากเปนดินทรายใชสตู ร ๑๖-๑๖-๘ จํานวนไรละ


๒๕-๓๐ กิโลกรัม โดยหวานใหทว่ั แปลงนากอนปกดําขาว ๑ วัน หรือภายใน ๑๐ วัน หลังจากปกดําขาวหลังนา
ดําแตถา เปนนาหวานควรใสปยุ หลังจากขาวงอกแลว ๒๐-๒๕ วัน

๑.๓ ใสปุยสูตร ๔๖-๐-๐ จํานวนไรละ ๑๐ กิโลกรัม (หรือปุยสูตร ๒๑-๐-๐ จํานวนไรละ ๒๐


กิโลกรัม โดยหวานในระยะขาวสรางรวงออน คือกอนเก็บเกีย่ ว ๖๐ วัน หรือหลังจากปกดําประมาณ ๓๕-๔๕
วันสําหรับนาดํา ถาเปนนาหวานใหหวานหลังจากใสปยุ ครัง้ แรก ประมาณ ๓๕-๔๕ วัน

๒. ดินเปรีย้ วจัด
ดินเปรี้ยวจัดนี้เปนดินทีม่ คี วามอุดมสมบูรณตามาก
่ํ มีธาตุอาหารไมเพียงพอตอขาว โดยเฉพาะธาตุ
ฟอสฟอรัส ถาไมใสขาวจะไมแตกกอ ผลผลิตจะตํ่ามากหรือไมไดผลผลิตเลย และยังตองมีการจัดการพิเศษ
นอกเหนือจากการใชปุยอยางเพียงพอ เพือ่ แกความเปนกรดจัดของดิน เชน การใสปนู มารล การขังนํา้ ลวง
หนา การลางดิน หรือการใสขเ้ี ถาแกลบ (๘๐ กิโลกรัมตอไร อยางใดอยางหนึง่ ก็จะทําใหผลผลิตสูงขึน้ ถึง ๖๐-
๗๐ ถังตอไร

วิธีการปลูกขาวในดินเปรีย้ วจัด จึงควรมีการปรับปรุงดินและการใสปยุ ดังนี้

๒.๑ การลางดิน ในกรณีทม่ี นี าเพี


้ํ ยงพอ ควรมีการขังนํ้ารวงหนากอน การปลูกขาว โดยใหนํ้าเขานา
แลวคราด รุง ขึน้ ระบายนําออก
้ ทําเชนนี้ ๓ ครัง้ จะชวยลดความเปนกรดและธาตุทม่ี มี ากเกินไปจนอาจเปนพิษ
ใหเจือจางลง
๒.๒ การใสปนู เพื่อลดความเปนกรดของดินใหใสปนู มารล ซึง่ มีราคาถูกไมกดั มือ และหาซื้อไมยาก
บริเวณภาคกลางและภาคตะวันออก (แตถา หากเปนภาคใตอาจใชหนิ ฝุน หรือหินปูนบดหาซือ้ ไดงา ยกวาและ
ราคาถูกกวาปูนชนิดอืน่ ๆ ) โดยใสปนู มารล จํานวนไรละ ๒ ตัน และเวนการใสปนู มารลได ๒-๓ วัน เนือ่ ง
จากปูนมารลยังคงมีฤทธิ์แกความเปนกรดของดินไดนานวิธรการใสปูนมารลควรนําปูนไปกองกระจายไวเปน
กองเลก ๆ ในนา แลวจึงหวานปูนแตละกองใหทว่ั แปลงนากอนการเตรียมดินและไถกลบ ทิง้ ไวอยางนอยไมตา่ํ
กวา ๒ สัปดาหจงึ ปลูกขาวได (โดยการหวานหรือปกดําขาว )

๒.๓ การใชปยุ อินทรีย ควรใสปยุ อินทรียป รับปรุงดินดวย ไดแก การใชปุยหมัก ปุยคอกที่มีอยู แต
วิธีที่เหมาะสมในขณะนี้คือการใชปุยพืชสด ซึง่ นิยมใชพชื ตระกูลถัว่ ปลูกกันในชวงตนฝน (หลังใสปยุ ปรับปรุง
ดินแลว) แลวไถกลบชวงออกดอก หรือกอนปลูกขาวประมาณ ๒-๔ สัปดาห เพือ่ งานตอการไถ การปกดํา และ
เพิ่มประสิทธิภาพปุยเคมีใหสูงขึ้น นอกจากนีย้ งั มีผลดีตอ คุณภาพผลผลิตดวย

๒.๔ การใสปยุ เคมี ควรแบงใส ๒ ครัง้ ดังนี้


การใสปุยครั้งที่ ๑
- ใชปุยสูตร ๑๖-๒๐-๐ สําหรับนาดินเหนียว หากเปนนาดินทราย ใชสตู ร ๑๖-๑๖-๘ จํานวนไรละ
๒๕-๓๐ กิโลกรัม โดยหวานกอนปกดําขาว ๑ วัน หรือภายใน ๑๐ วัน หลังจากปกดําขาวสําหรับนาดํา ถาเปน
นาหวานใหหวานปุยหลังจากขาวงอกแลว ๒๐-๒๕ วัน
การใสปุยครั้งที่ ๒
- ใชปุยสูตร ๔๖-๐-๐ จํานวนไรละ ๑๐ กิโลกรัม (หรือปุยสูตร ๒๑-๐-๐ จํานวนไรละ ๒๐ กิโลกรัม)
โดยหวานใชระยะขาวรวงออน คือกอนเก็บเกีย่ ว ๖๐ วัน หรือหลังจากปกดําประมาณ ๓๕-๔๕ วัน สําหรับนา
ดํา ถาเปนนาหวานใหหวานหลังจากหวานปุย ครัง้ แรกประมาณ ๓๕-๔๕ วัน

เมื่อปรับปรุงดินเปรีย้ วและใสปยุ ใหกบั ขาวอยางเพียงพอตามคําแนะนําแลวเพื่อใหไดผลผลิตสูง ควรมี


การดูแลปฏิบตั ใิ นเรือ่ งอืน่ ๆ ดวย เชน
๑. ควรใชขา วพันธุด หี รือพันธุส ง เสริม
๒. ควรมีการปองกันกําจัดศัตรูพืช เชน โรค แมลง ปู หนู และวัชพืช เพือ่ ใหขา วเจริญเติบโตอยางเต็มที่
๓. ไมควรเผาตอซัง เพราะจะเปนการทําลายธาตุอาหารในดินใหลดลง

จัดทําเอกสารอิเล็กทรอนิกสโดย : สํานักสงเสริมและฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

You might also like