You are on page 1of 6

49

มทช.(ท) 105.1-2545
มาตรฐานการทดสอบความต้ านแรงอัดของแท่ งคอนกรี ต
(COMPRESSIVE STRENGTH OF CONCRETE)
--------
1. ขอบข่ าย
วิธีการทดสอบนี ้ ครอบคลุมถึงการหาความต้ านแรงอัดของแท่งคอนกรี ตรูปทรงกระบอก และรูป
ลูกบาศก์ ซึง่ จะได้ จากการหล่อในแบบหล่อ หรื อจากการเจาะมาทดสอบก็ ได้

2. วิธีทา
2.1 เครื่ องมือ
2.1.1 เครื่ องกดทดสอบ เครื่ องกดเป็ นแบบใดก็ได้ ที่ทาให้ น ้าหนักกดได้ สงู เพียงพออยูใ่ นช่วงใช้ งานได้ และ
ยอมให้ ผิดพลาดได้ ไม่เกินร้ อยละ 1 เครื่ องกดจะต้ องสามารถเพิ่มแรงกดได้ อย่างสม่าเสมอและไม่กระตุก
เครื่ องทดสอบแบบหมุนเกลียว (SCREW-TYPE) จะต้ องเป็ นเครื่ องที่หวั กดสามารถเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วประมาณ 1.3 มิลลิเมตรต่อนาที สาหรับเครื่ องทดสอบแบบไฮดรอลิก
ต้ องเป็ นเครื่ องที่สามารถให้ น ้าหนักด้ วยอัตราคงที่ อยูใ่ นช่วง 1.43 ถึง 3.47 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ต่อวินาที
ส่วนที่ใช้ กดของเครื่ องทดสอบ จะต้ องประกอบด้ วยแ ผ่นเหล็กทดสอบ (STEEL BEARING
PLATE) 2 แผ่น ขนาดใหญ่กว่าขนาดของแท่นทดสอบไม่น้อยกว่า 10 มิลลิเมตร
แผ่นเหล็กตัวบนมีลกั ษณะเป็ นแป้นกดฐานครึ่งทรงกลม (SPHERICALLY SEATED BLOCK) แขวนยึด
ไว้ กบั เครื่ องเพื่อให้ ขยับตัวได้ ส่วนแผ่นเหล็กตัวล่าง จะต้ องยึดติดกับส่วนล่างขอ งเครื่ อง และต้ องมีความ
หนาอย่างน้ อย 50 มิลลิเมตร ผิวสัมผัสของแผ่นเหล็กทังสอง ้ จะต้ องเรี ยบมีความเรี ยบคลาดเคลื่อนได้ ไม่
เกิน 0.025 มิลลิเมตร ในระยะทาง 150 มิลลิเมตร การเพิ่มแรงกดต้ องทาได้ อย่างต่อเนื่อง ไม่มีจงั หวะ
หยุดหรื อกระตุกในระหว่างการเพิ่มแรงกด
2.1.2 เวอร์ เนียร์ คาลิเปอร์ มีความละเอียดถึง 0.1 มิลลิเมตร
2.1.3 เครื่ องชัง่ น ้าหนัก ซึง่ มีความละเอียดถึง 1 กรัม
2.1.4 เครื่ องมือเคลือบผิวหน้ าของแท่งคอนกรี ต รูปทรงกระบอก

2.2 แบบฟอร์ ม ให้ บนั ทึกในแบบฟอร์ ม บฟ . มทช.(ท) 105.1-2545 : มาตรฐานการทดสอบความต้ านแรงอัดของ


แท่งคอนกรี ต
50
2.3 การเตรี ยมตัวอย่าง
2.3.1 แท่งทดสอบซึง่ ได้ จากการหล่อจะต้ องเป็ นรูปทรงกระบอก ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1500.75
มิลลิเมตร และสูง 3003 มิลลิเมตร หรื อเป็ นรูปลูกบาศก์ ขนาด 1500.75 มิลลิเมตร โดยทาการเก็บ
ตัวอย่างตาม มทช .(ท) 102-2545 : มาตรฐานการเก็บตัวอย่างคอนกรี ตในหน้ างานและการนาไป
บารุงรักษา
2.3.2 การเคลือบผิวหน้ า (CAPPING) แท่งทดสอบรูปทรงกระบอก วัสดุที่ใช้ ในการเคลือบผิวหน้ ารับแรงอัด
ของแท่งตัวอย่าง (CAPPING COMPOUND) ต้ องสามารถรับแรงอัดได้ สงู กว่าแรงอัดของแท่งคอนกรี ต
ทดสอบ การเคลือบปลายทังสองของแท่้ งทดสอบ ต้ องเคลือบให้ ตงฉากกั
ั้ บแกนของแท่งทดสอบ ค วาม
เรี ยบของผิวหน้ าทดสอบที่ได้ รับการเคลือบแล้ ว ยอมให้ คลาดเคลื่อนได้ ไม่เกิน 0.1 มิลลิเมตร
2.3.3 แท่งทดสอบที่ได้ จากการเจาะ จะต้ องเป็ นรูปกระบอกเส้ นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 2 เท่า ของขนาด
ใหญ่ที่สดุ ของมวลหยาบ และต้ องไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร ความยาวเมื่อยังไม่เคลือบปล ายต้ องไม่
น้ อยกว่าร้ อยละ 95 ของเส้ นผ่านศูนย์กลาง
ก่อนการเคลือบผิวแท่งคอนกรี ตที่ได้ จากการเจาะ จะต้ องมีความคลาดเคลื่อนของความ
เรี ยบที่ผิวหน้ าตัดไม่เกิน 5 มิลลิเมตร ของมุมที่หน้ าตัดทากับแกนตามยาวจากมุมฉากไม่เกิน 5 องศา
และเส้ นผ่านศูนย์กลาง ที่หน้ าตัดทังสองจากเส้
้ นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ยไม่เกิน 2.5 มิลลิเมตร
ความเรี ยบของผิวหน้ า แท่งทดสอบที่ได้ จากการเจาะ เมื่อได้ รับการเคลือบแล้ ว ยอมให้
คลาดเคลื่อนได้ ไม่เกิน 0.1 มิลลิเมตร แท่งทดสอบ ซึง่ ได้ จากการเจาะให้ เจาะเมื่อคอนกรี ตมีอายุไม่ต่า
กว่า 14 วัน และต้ องอยูใ่ นสภาพที่ดีไม่มีรอยร้ าว รอยบิน่ หรื อเป็ นโพรง
2.3.4 ทาการวัดขนาดและชัง่ น ้าหนักแท่งทดสอบ โดยให้ วดั หาเส้ นผ่านศูนย์กลาง หรื อขนาดหน้ าตัดแท่ง
สี่เหลี่ยมจัตรุ ัสเป็ นเซนติเมตร ทิศนิยม 2 ตาแหน่ง โดยเฉลี่ยค่าเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2 ค่า ที่วดั ได้ หรื อวัด
ขนาดสี่เหลี่ยมหน้ าตัดที่ผา่ นศูนย์กลางเฉลี่ย ห รื อขนาดที่วดั ได้ นี ้จะใช้ เป็ นค่าสาหรับคานวณหา
พื ้นที่หน้ าตัดของแท่งทดสอบ ในการวัดความสูงให้ วดั ความสูงของแท่งทดสอบ รวมทังความหนาของ ้
วัสดุเคลือบผิวหน้ าหน่วยเป็ นเซนติเมตร ทศนิยม 2 ตาแหน่ง การชัง่ น ้าหนักแท่งทดสอบ เพื่อหาความ
หนาแน่นของแท่งคอนกรี ต ให้ ชงั่ น ้าหนักแท่ งทดสอบเป็ นกิโลกรัม ทศนิยม 2 ตาแหน่ง
2.3.5 การวัดขนาดของแท่งทดสอบ ซึง่ ได้ จากการเจาะ ต้ องวัดให้ ได้ ละเอียดถึง 1 มิลลิเมตร ภายหลังการ
เคลือบผิวหน้ าของแท่งทดสอบให้ เรี ยบการวัดเส้ นผ่านศูนย์กลาง ให้ วดั 3 ตาแหน่ง คือ ปลายทังสองข้ ้ าง
และที่กึ่งกลางแท่งทดสอบ โดยวัดตาแหน่งล ะ 2 แนวของเส้ นผ่านศูนย์กลางที่ตงฉากกั ั้ บค่าที่วดั ได้ ทงั ้ 6
ค่า นามาเฉลี่ยเป็ นค่าที่ใช้ ในการคานวณ การวัดความยาว ให้ วดั 4 ตาแหน่ง คือ ที่ผิวตามยาวของแท่ง
ทดสอบ โดยมีระยะห่างตามเส้ นรอบรูปของภาคตัดขวางที่ปลายเท่ากัน แล้ วหาค่าเฉลี่ยสาหรับนาไปใช้
ในการคานวณ
51
2.4 การทดสอบ
2.4.1 การวางแท่งทดสอบบนเครื่ องกดต้ องเป็ นไปตามนี ้
- ผิวแผ่นเหล็กด้ านสัมผัสกับแท่งทดสอบต้ องสะอาดปราศจากน ้ามัน
- จัดแนวศูนย์กลางของแผ่นเหล็กตังตั ้ วบนและตัวล่างให้ อยูใ่ นแนวเดียวกัน
- การวางแท่งทดสอบต้ องให้ แนวแกนของแท่งทดสอบทับกับแนวศูนย์กลางของเครื่ องกดทดสอบ
- ผิวแผ่นเหล็กต้ องสัมผัสกับแท่งทดสอบแนบสนิท
2.4.2 เมื่อวางแท่งทดสอบบนเครื่ องกดทดสอบ และจัดให้ แผ่นเหล็กสัมผัสกับแท่งทดสอบแนบสนิทดีแล้ ว จึง
เริ่มให้ น ้าหนักกดอย่างสม่าเสมอ โดยมีอตั ราคงที่อยูใ่ นช่วง 1.43 ถึง 3.47 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
ต่อวินาที ในช่วงครึ่งแรกของน ้าหนักกดสูงสุ ดที่แท่งทดสอบจะรับได้ นนั ้ ยอมให้ ใช้ อตั ราการกดสูงกว่า
กาหนดได้ และห้ ามปรับอัตราการกดหรื อส่วนใด ๆ ของเครื่ องทดสอบในขณะที่แท่งทดสอบอยูใ่ นช่วง
จุดคราก (YIELD POINT) และจุดวิบตั ิ (FAILURE)
2.4.3 ให้ ทาการกดจนกระทัง่ แท่งทดสอบถึงจุดวิบตั ิ บันทึกค่าน ้าหนักกดสูงสุดที่แท่งท ดสอบ สามารถรับได้
และให้ บนั ทึกรูปลักษณะการแตกของแท่งทดสอบนันในแบบฟอร์
้ ม ที่ บฟ . มทช.(ท) 105.1-2545 :
มาตรฐาน
3. การคานวณ
3.1 การคานวณ ค่าความต้ านแรงอัด ของแท่งทดสอบให้ ละเอียด ถึงทศนิยม 2 ตาแหน่ง ได้ จากสูตร

ความต้ านทานอัดของแท่ งทดสอบ = นา้ หนักกดสูงสุดที่แท่ งทดสอบรับได้ (กิโลกรัม)


(กิโลเมตรต่ อตารางเซนติเมตร) พืน้ ที่หน้ าตัดที่รับนา้ หนักกดของแท่ งทดสอบ(ตารางเซนติเมตร)

3.2 การคานวณหาค่าความหนาแน่นของแท่งทดสอบ ให้ มีความละเอียดถึงทศนิยม 2 ตาแหน่ง ได้ จากสูตร

ความหนาแน่ นของแท่ งทดสอบ = นา้ หนักของแท่ งทดสอบ (กิโลกรัม)


(กิโลกรั มต่ อลูกบาศก์ เซนติเมตร) ปริมาตรของแท่ งทดสอบ (ลูกบาศก์ เซนติเมตร)
3.3 ถ้ าแท่งทดสอบที่ได้ จากการเจาะมีสว่ นสูงน้ อยกว่า 2 เท่า ของเส้ นผ่านศูนย์กลางให้ แก้ ไขค่าความต้ านแรงอัด
ตาม ตารางที่ 1
52

ตารางที่ 1
อัตราส่วนความสูงต่อเส้ นผ่านศูนย์กลางกับตัวคูณที่ใช้ แก้ ไขค่าความต้ านแรงอัด
อัตราส่ วนความสูง
ตัวคูณสาหรั บแก้ ไขค่ าความด้ านทานแรงอัด
ต่ อเส้ นผ่ านศูนย์ กลางของแท่ งทดสอบ
1.75 0.99
1.50 0.97
1.25 0.94
1.00 0.91

4. การรายงานผล
ให้ รายงานผลการทดสอบ โดยมีรายละเอียดตามรายการดังต่อไปนี ้
- หมายเลขประจาแท่งทดสอบ
- ขนาดของแท่งทดสอบ
- แรงอัดสูงสุด
- ความต้ านแรงอัด
- ลักษณะการแตก
- ข้ อบกพร่อง ของแท่งทดสอบ หรื อการเคลือบ
- ประวัตกิ ารบ่ม
- วัน เดือน ปี ที่ทดสอบ และอายุของแท่งทดสอบ เมื่อทดสอบ
- ความหนาแน่น
บันทึกผลต่าง ๆ เหล่านี ้ ในแบบฟอร์ มในหัวข้ อที่ 2.2
5. เกณฑ์ การตัดสิน และความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
5.1 เกณฑ์ในการพิจารณาค่าความต้ านแรงอัดของแท่งทดสอบให้ เป็ นไปตาม มทช . 101-2545 : มาตรฐานงาน
คอนกรี ตและคอนกรี ตเสริมเหล็ก
5.2 การคานวณ ค่าความต้ านแรงอัดของแท่งทดสอบ ให้ แสดงในหน่วยกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และมีความ
ละเอียดถึง ทศนิยม 2 ตาแหน่ง
5.3 การคานวณ ค่าความหนาแน่นของแท่งทดสอบ ให้ แสดงในหน่วยกิโลกรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีความ
ละเอียดถึง ทศนิยม 2 ตาแหน่ง
5.4 การวัดขนาดของแท่งทดสอบให้ วดั ในหน่วยเซนติเมตร และละเอียดถึงทศนิยม 2 ตาแหน่ง
5.5 สาหรับแท่งทดสอบรูปทรงกระบอก ที่ได้ จากการหล่อหรื อการเจาะ ขนาดของเส้ นผ่านศูนย์กล าง ยอมให้
คลาดเคลื่อนได้ ไม่เกิน ร้ อยละ  0.5 และความสูงยอมให้ คลาดเคลื่อนได้ ไม่เกิน ร้ อยละ  1.0
53
5.6 สาหรับแท่งทดสอบรูปลูกบาศก์ มิตทิ กุ ด้ านยอม ให้ คลาดเคลื่อนได้ ไม่เกิน ร้ อยละ  0.5
6. ข้ อควรระวัง
6.1 ในกรณีที่ทดสอบแท่งทดสอบที่บม่ ชื ้น หากเป็ นแท่งทดสอบรูปลูกบาศก์ต้องเช็ดผิ วให้ แห้ งและทดสอบภายใน
1 ชัว่ โมง และหากเป็ นแท่งทดสอบรูปทรงกระบอกต้ องเช็ดผิวให้ แห้ ง และเคลือบผิวหน้ าแท่งทดสอบทิ ้งไว้ 2
ชัว่ โมงแล้ วทดสอบภายใน 1 ชัว่ โมง
6.2 สาหรับแท่งทดสอบที่ได้ จากการเจาะ นามาแช่ในน ้าปูนขาวอิ่มตัวที่อณ ุ หภูมิห้อง ไม่น้อยกว่า 24 ชัว่ โมง แล้ ว
จึงเช็ดผิวให้ แห้ งเคลือบผิวหน้ าแท่งทดสอบทิ ้งไว้ 2 ชัว่ โมง แล้ วทดสอบภายใน 1 ชัว่ โมง
6.3 การชัง่ น ้าหนักเพื่อหาความหนาแน่นของแท่งทดสอบ ให้ ชงั่ น ้าหนักเฉพาะแท่งทดสอบไม่รวมน ้าหนักของวัสดุ
ที่เคลือบผิวหน้ า
6.4 ควรมีการตรวจสอบเครื่ องกดที่ใช้ งานประจาสม่าเสมอ ปี ละครัง้ และเมื่อสงสั ยว่าเครื่ องทดสอบอาจให้
ผลทดสอบไม่ถกู ต้ อง หรื อหลังจากการซ่อม หรื อประกอบใหม่ให้ ทาการตรวจสอบทุกครัง้
7. เอกสารอ้ างอิง
7.1 THE AMERICAN ASSOCIATION OF STATE HIGHWAY OFFICIALS “STANDARD SPECIFICATION
FOR HIGHWAY MATERIALS AND METHOD OF SAMPLING AND TESTING” AASHO T 22-66
7.2 BRITISH STANDARD 1881 : PART 4 : 1974
7.3 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 409-2525 : วิธีทดสอบความต้ านทานแรงอัดของแท่งคอนกรี ต
……………………………………………………………………

โครงการ………………………………………
บฟ. มทช.(ท) 105.1-2545 ทะเบียนทดสอบ ……………..
………………………………………………..
54
สถานที่ก่อสร้ าง…….…………………………
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ) ผู้ทดสอบ
………………………………………………..
ผู้รับจ้ างหรื อผู้นาส่ง..………………………… การทดสอบความต้ านแรงอัด
ของแท่งคอนกรี ต ผู้ตรวจสอบ
ชนิดตัวอย่าง……….….ทดสอบครัง้ ที… ่ ……
ทดสอบวันที่..……………….แผ่นที่………… (COMPRESSIVE STRENGTH
OF CONCRETE) อนุมตั ิ

แท่ งทดสอบ
คุณลักษณะ
1 2 3 4

พื ้นที่หน้ าตัดที่รับน ้าหนักกดของแท่งทดสอบ (1) cm.2

น ้าหนักของแท่งทดสอบ (2) kg.

ปริ มาตรของแท่งทดสอบ (3) cm.3

น ้าหนักกดสูงสุดที่แท่งทดสอบรับได้ (4) kg.

ความต้ านแรงอัดของแท่งทดสอบ = (4)/(1), kg./cm.2

ความหนาแน่นของแท่งทดสอบ = (2)/(3), kg/cm3

หมายเหตุ : ลักษณะการแตกของแท่งทดสอบ

You might also like