You are on page 1of 4

104

มทช.(ท) 608-2545
มาตรฐานการทดสอบค่ าสูญเสียของวัสดุยางแอสฟั ลต์ เมื่อให้ ความร้ อน
(LOSS ON HEATING)
------------

1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการทดสอบค่าสูญเสียของวัสดุยางแอสฟั ลต์เมื่อให้ ความร้ อน เป็ นวิธีการทดสอบน ้าหนักที่หายไป ใน
สารประกอบยางแอสฟั ลต์เมื่อทาให้ ร้อน ทังนี
้ ้ไม่รวมน ้าหนักของน ้าที่หายไป
2. นิยาม
2.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
2.1.1 เตาอบต้ องมีผนัง 2 ชัน้ ให้ ความร้ อนด้ วยระบบไฟฟ้ ามีขนาดภายในดังนี ้ สูงไม่น้อยกว่า 290 มิลลิเมตร (ไม่
รวมส่วนที่ติดตังอุ้ ปกรณ์สาหรับทาให้ เกิดความร้ อน) กว้ าง และลึกไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร มี ประตู
ด้ านหน้ าปิ ดได้ สนิทแน่น ที่ประตูนี ้มีช่องกระจกใสสีเ่ หลีย่ มขนาดกว้ างยาวด้ านละ 100 มิลลิเมตร เป็ นอย่าง
น้ อย ช่องกระจกดังกล่าวประกอบด้ วยกระจกใส 2 แผ่น ประกบด้ านนอกและด้ านในของประตูระหว่าง
กระจกสองแผ่นเป็ นช่องว่าง ช่องกระจกนี ้สาหรับอ่านอุณหภูมิจากเทอร์ โมมิเ ตอร์ ซึง่ เสียบไว้ ในเตาอบได้
โดยไม่ต้องเปิ ดประตู หรื อประตูของเตาอบอาจจะมี 2 ชัน้ โดยที่ประตูชนในเป็ ั้ นกระจกเพื่อที่จะอ่าน
อุณหภูมิจากเทอร์ โมมิเตอร์ ได้ โดยเปิ ดเฉพาะประตูชนนอก ั้
ในเตาอบจะต้ องมีช่องให้ อากาศเข้ า และช่องสาหรับอากาศร้ อนและไอน ้าผ่านออกได้ เพื่อทาให้
เกิดการระบายโดยการหมุนเวียนของอากาศ ช่องสาหรับให้ อากาศเข้ าอยูท่ ี่ผนังด้ านในด้ านล่าง หรื อ
ด้ านข้ างส่วนล่างของเตาอบ ในตาแหน่งที่จะทาให้ อากาศที่เข้ าไปหมุนเวียนผ่านอุปกรณ์กาเนิดความร้ อน
ด้ วย ช่องทางเดินของอากาศนี ้จะต้ องมีพื ้นที่ทงหมดไม่
ั้ น้อยกว่า 1.3 ตารางเซนติเมตร ส่วนช่องระบาย
อากาศร้ อนและไอน ้าต้ องอยูท่ ี่ผนังด้ านใน และต้ องอยูด่ ้ านบน หรื อด้ านข้ างส่วนบนของเตาอบจะต้ องมี
พื ้นที่ทงหมดไม่
ั้ น้อยกว่า 1.3 ตารางเซนติเมตร และไม่มากกว่า 12 ตารางเซนติเมตร
ภายในเตาอบมีชนส ั ้ าหรับวางตัวอย่าง ทาด้ วยแผ่นโลหะกลมขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลา งประมาณ
250 มิลลิเมตร เจาะเป็ นรูกลมเล็ก ๆ โดยรอบ ชันส ้ าหรับวางตัวอย่างนี ้ติดตังไว้
้ ตรงกลางเตาอบ โดยยึด
แขวนไว้ ด้วยแกนโลหะ ซึง่ สามารถหมุนรอบตัวเองได้ ในอัตรา 3 ถึง 6 รอบต่อนาที
2.1.2 เทอร์ โมมิเตอร์ ชนิดมีช่วงที่สามารถอ่านได้ ระหว่าง 155-170 องศาเซลเซียส มีความละเอีย ดอ่านได้ ถึง 1
องศาเซลเซียส
2.1.3 ในเตาอบมีที่จบั เทอร์ โมมิเตอร์ ยื่นออกมาจากแกนหมุนของชันวางตั ้ วอย่าง เพื่อจับเทอร์ โมมิเตอร์ ให้ ตงตรง
ั้
อยูใ่ นแนวดิ่ง และอยูห่ า่ งจากขอบนอกของชันวางตั้ วอย่างเข้ ามาข้ างในประมาณ 20 มิลลิเมตร โดยให้
ปลายกระเปาะอยูส่ งู จากชันวางตั
้ วอย่างประมาณ 6 มิลลิเมตร
2.1.4 ภาชนะบรรจุตวั อย่าง เป็ นโลหะหรื อแก้ วรูปทรงกระบอกก้ นแบนมีเส้ นผ่านศูนย์กลางภายใน 55 มิลลิเมตร
ลึก 35 มิลลิเมตร
2.1.5 เครื่ องชัง่ อ่านได้ ละเอียดถึง 0.01 กรัม
105

2.2 การเตรียมตัวอย่ างการทดสอบ


นาตัวอย่างมาคนให้ เข้ ากัน ให้ ความร้ อนเล็กน้ อยถ้ าจาเป็ น แล้ วตรวจดูว่ ามีน ้าหรื อไม่ถ้าพบว่ามีน ้าปนอยู่
ในตัวอย่าง จะต้ องทาการกาจัดน ้าออกเสียก่อนโดยวิธีที่เหมาะสม เช่นให้ ความร้ อนเพิ่มขึ ้นจนน ้าระเหยไปหมด
โดยไม่มีน ้าเดือดกระเด็นออกมาให้ เห็น แล้ วจึงนาตัวอย่างที่ปราศจากน ้า มาทาการทดสอบหาค่าสูญเสียของวัสดุ
ยางแอสฟั ลต์เมื่อให้ ความร้ อนต่อไป
2.3 แบบฟอร์ ม ใช้ แบบฟอร์ มที่ บฟ มทช.(ท) 608-2545
2.4 การทดสอบ
2.4.1 นาตัวอย่างที่ได้ เตรี ยมไว้ แล้ ว ตามข้ อ 2.2 ใส่ในภาชนะบรรจุตวั อย่าง ถ้ าตัวอย่างมีอณ ุ หภูมิสงู กว่า
อุณหภูมิห้อง จะต้ องปล่อยให้ เย็นลงก่อนแล้ วทาการชัง่ ให้ ได้ น ้าหนักของตัวอย่าง 500.50 กรัม
2.4.2 จัดเตรี ยมเตาอบให้ มีอณ ุ หภูมิ 163 องศาเซลเซียส แล้ วนาภาชนะบรรจุตวั อย่างไปวางบนพื ้นสาหรับวาง
ตัวอย่างในเตาอบ โดยวางให้ ชิดกับเส้ นรอบวงด้ านนอกของชันวางนั ้ น้ แต่ถ้าทาการทดสอบหลายตัวอย่าง
ให้ วางถัดเข้ าไปด้ านในของชันวางนั
้ นได้
้ เสร็ จแล้ วปิ ดประตูเตาอบเดินเครื่ องให้ ชนวางตั
ั้ วอ ย่างหมุนรอบ
ตัวเองในอัตรา 5 ถึง 6 รอบ ต่อนาที และชันนี ้ ้จะต้ องหมุนอยูต่ ลอดเวลาที่ทาการทดสอบตัวอย่างจะต้ องอยู่
ในเตาอบ ซึง่ มีอณ ุ หภูมิคงที่ ที่ 1631 องศาเซลเซียส เป็ นเวลา 5 ชัว่ โมง โดยระยะเวลา 5 ชัว่ โมงนี ้ให้ นบั
เวลาหลังจากที่นาตัวอย่างเข้ าไปในเตาอบ และอุณหภูมิ ในเตาอบสูงขึ ้นถึง 162 องศาเซลเซียส ไม่วา่ กรณี
ใด ๆ ตัวอย่างจะต้ องอยูใ่ นเตาอบไม่เกิน 5 ชัว่ โมง 15 นาที นับแต่เริ่ มนาตัวอย่างเข้ าเตาอบ ถ้ าไม่เป็ นไป
ตามนี ้ให้ ทาการทดสอบใหม่
2.4.3 เมื่อครบเวลาที่กาหนด นาตัวอย่างออกจากเตาอบ ทิ ้งไว้ ให้ เย็นแล้ วชัง่ น ้าหนัก น ้าหนักที่ชงั่ ได้ เป็ นน ้าหนัก
ภายหลังอบ
2.4.4 ถ้ าต้ องการหาเพนิเทรชัน่ หรื อคุณสมบัติอื่นของตัวอย่างหลังจากที่อบแล้ ว ส่วนที่เหลือในภาชนะจะต้ อง
นามาทาให้ เหลวที่อณ ุ หภูมิต่าที่สดุ เท่าที่สามารถจะคนให้ เข้ ากันได้ ระวังไม่ให้ มีฟองอากาศอยูใ่ นตัวอย่าง
หลังจากนันจึ้ งนาตัวอย่างไปดาเนินการทดสอบตามวิธีการที่ต้องการต่อไป
3. การคานวณ
ค่าสูญเสียของวัสดุยางแอสฟั ลต์ เมื่อให้ ความร้ อนคิดเป็ นร้ อยละ
(น ้าหนักของตัวอย่างก่อนอบ-น ้าหนักของตัวอย่างภายหลังอบ) x 100
น ้าหนักของตัวอย่างตัวอย่างก่อนอบ
4. การรายงาน
ให้ รายงานตามแบบฟอร์ มใน ข้ อ 2.3

5. เกณฑ์ ตัดสินและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
5.1 เกณฑ์ความคลาดเคลือ่ นเนื่องจากเครื่ องมือทดสอบ ผลการทดสอบจากห้ องทดสอบตัวอย่างเดียวกัน ต้ องต่างกัน
ไม่เกินค่าต่อไปนี ้
5.1.1 ถ้ าทดสอบแล้ วค่าสูญเสียของวัสดุยางแอสฟั ลต์ไม่เกินร้ อยละ 5 ผลทดสอบที่ได้ ตา่ งกันไม่เกิน 0.5 ถือว่าใช้ ได้
5.1.2 ถ้ าทดสอบแล้ วค่าสูญเสียของวัสดุยางแอสฟั ลต์เกินร้ อยละ 5 ผลทดสอบที่ถือว่าใช้ ได้ ยอมให้ คลาดเคลือ่ น
เพิ่ม 0.01 สาหรับทุก ๆ ค่าสูญเสียที่เพิ่มร้ อยละ 0.5 ดังในตารางต่อไปนี ้
106

ค่ าสูญเสีย ค่ าที่สูญเสียไปจริง
(ร้ อยละ) ส่ วนที่ต่างกัน (ร้ อยละ)
5.0  0.50 4.50-5.50
5.5  0.51 4.99-6.01
6.0  0.52 5.48-6.52
10.0  0.60 9.40-10.60
15.0  0.70 14.30-15.70
25.0  0.90 24.10-25.90
40.0  1.20 38.80-41.20

6. ข้ อควรระวัง
6.1 สาหรับตัวอย่างซึง่ มีอตั ราการระเหยในสภาวะเดียวกัน ใกล้ เคียงกันให้ ทาการทดสอบพร้ อมกันในเตาอบเดียวกันได้
แต่ตวั อย่างที่มีอตั ราการระเหยต่างกันมาก ในสภาวะเดียวกันไม่ให้ ทาการทดสอบพร้ อมกัน ถ้ าต้ องการผลที่
ถูกต้ องแน่นอนแล้ วควรจะแยกทาการทดสอบตัวอย่างแต่ละชนิดในการทดสอบแต่ละครัง้ โดยใช้ 2 ตัวอย่าง เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้ อง
6.2 ในระหว่างการทดสอบ ถ้ ามีฟองเกิดขึ ้นในตัวอย่างมาก ผลการทดสอบนันถื ้ อว่าใช้ ไม่ได้

7. หนังสืออ้ างอิง
7.1 THE AMERICAN ASSOCIATION OF STATE HIGHWAY AND TRANSPORTATION OFFICAIALS
“STANDARD SPECIFICATION FOR HIGHWAY MATERIALS AND METHOD OF SAMPLING AND
TESTING” PART II AASHTO T. 47

***************

โครงการ.................................................. บฟ. มทช.(ท) 608-2545 ทะเบียนทดสอบ....................


107

สถานที่ก่อสร้ าง.......……………………. (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)


ผู้ทดสอบ
ผู้รับจ้ าง............................................... การทดสอบหาค่ าสูญเสียของ
ผู้นาส่ ง…………………………………… วัสดุยางแอสฟั ลต์ เมื่อให้ ความร้ อน ผู้ตรวจสอบ
ชนิดตัวอย่ าง……………ทดสอบครัง้ ที่…
ทดสอบวันที่…………….…. แผ่ นที่…… ชัน้ คุณภาพ...................................... ผู้รับรอง

ค่าสูญเสียของวัสดุยางแอสฟั ลต์เมื่อให้ ความร้ อนคิดเป็ นร้ อยละ = ........................

You might also like