You are on page 1of 38

Smart Social Media

รูเทาทันสื่อสังคมออนไลนอยางสรางสรรค
Smart Social Media
รูเทาทันสื่อสังคมออนไลนอยางสรางสรรค

“สื่อสังคมออนไลนจะมีประโยชน ถารูจักโพสตอยางสรางสรรค”
[2]

ชื่อหนังสือ Smart Social Media


รูเทาทันสื่อสังคมออนไลนอยางสรางสรรค

พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2556

จัดทำโดย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
120 หมู 3 ชั้น 6-9 อาคารรัฐประศาสนภักดี
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท : 02-141-6747
แฟกซ : 02-143-8019
เว็บไซต : www.mict.go.th
คำนิยม
นายกรัฐมนตรี
นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร

คู  ม ื อ เล ม นี ้ ได ก ล า วถึ ง ความสำคั ญ และภารกิ จ ด า นไอซี ท ี


โดยเฉพาะการสื ่ อ สารผ า นสื ่ อ สั ง คมออนไลน ท ี ่ ถ ื อ ว า เป น
ทั ้ ง เครื ่ อ งมื อ และเครื อ ข า ยการสื ่ อ สารที ่ ท รงพลั ง มากที ่ ส ุ ด
ในป จ จุ บ ั น เพราะสามารถที ่ จ ะเชื ่ อ มโยงทุ ก พื ้ น ที ่ ท ั ้ ง ในและ
ต า งประเทศเชื ่ อ มโยงผู  ค นทุ ก กลุ  ม ทุ ก ช ว งวั ย โดยเฉพาะ
ในกลุมเด็ก เยาวชน รวมทั้งกลุมอื่นๆ ในลำดับที่ลดหลั่นกันไป

ดั ง นั ้ น การให ค วามรู  ค วามเข า ใจเกี ่ ย วกั บ การใช ส ื ่ อ สั ง คม


ออนไลน ด ั ง กล า ว จึ ง เป น สิ ่ ง ที ่ ม ี ค วามสำคั ญ และจำเป น ต อ การ
ดำรงไวซึ่งความมั่นคงทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของชาติ

จึงมอบหมายกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใหบูรณาการการทำงานรวมกับ
ทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ เพื่อรวมกันใหความรู รวมทั้งทักษะที่ถูกตองเกี่ยวกับการใชสื่อสังคม
ออนไลน การใช ป ระโยชน แ ละรั ก ษาความปลอดภั ย ในระดั บ ต า งๆ ไม ว  า จะเป น การดำรง
ชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ การเรียนรู ฯลฯ โดยจะเนนเกี่ยวกับเรื่องของความปลอดภัย
การสรางความตระหนักรู ตลอดจนสิ่งที่ควรและไมควรปฏิบัติตางๆ ที่เกี่ยวของกับสื่อสังคม
ออนไลน เพื ่ อ ที ่ ว  า ท า ยที ่ ส ุ ด ก็ จ ะเป น การนำไปสู  ก ารใช ป ระโยชน ไ ด อ ย า งเหมาะสม
และคุมคามากที่สุด ขอใหทุกทานไดใชประโยชนจากคูมือเลมนี้และนำไปปรับใชอยางเหมาะสม
มากที่สุดตอชีวิตของทาน ครอบครัว หนวยงาน และประเทศชาติของเราโดยภาพรวมรวมกัน

นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี
คำปรารภ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ นาครทรรพ

การใช ส ื ่ อ สั ง คมออนไลน มี อ ิ ท ธิ พ ลต อ ทุ ก ภาคส ว น


และทุ ก ระดั บ ในสั ง คมไทย ไม ว  า จะเป น แวดวงธุ ร กิ จ การเมื อ ง
การดำรงชี ว ิ ต ประจำวั น ของผู  ค นไม ว  า จะเป น ประชาชนทั ่ ว ไป
นิ ส ิ ต นั ก ศึ ก ษาโดยเฉพาะเด็ ก และเยาวชนที ่ ท วี ค ู ณ การใช ง าน
อย า งแพร ห ลาย ซึ ่ ง ก อ ให เ กิ ด การพั ฒ นาเกี ่ ย วกั บ การเข า ถึ ง
เทคโนโลยี ส ารสนเทศ อย า งก า วกระโดด ในขณะเดี ย วกั น ก็ ม ี
ป ญ หาที ่ ม าคู  ก ั น ไม ว  า จะเป น การกระทำโดยเจตนา หรื อ การรู 
ไม เ ท า ทั น ต า งๆ เช น การนำข อ ความ รู ป ภาพ คลิ ป เสี ย ง
คลิปภาพทีไ่ มเหมาะสม การกอกวนความสงบ การโฆษณาทีเ่ ปนเท็จ
หรื อ ที ่ เ ป น อั น ตรายต อ ผู  บ ริ โ ภค การล อ ลวง การซื ้ อ ขายสิ น ค า
และบริการตางๆ ที่ผิดกฎหมาย ฯลฯ

จากความไม เ หมาะสมหรื อ ป ญ หาต า งๆที ่ ก ล า วข า งต น กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศ


และการสื่อสารจึงไดรวมมือกับหนวยงานที่เกี่ยวของ จัดทำคูมือรูเทาทันสื่อสังคมออนไลน
อยางสรางสรรค ขึ้นมาเพื่อใหความรูความเขาใจที่ถูกตองในเบื้องตน เกี่ยวกับการใชสื่อสังคม
ออนไลน ให แ ก ค นทุ ก กลุ  ม ในสั ง คมไทย โดยเฉพาะกลุ  ม เด็ ก เยาวชน ประชาชนทั ่ ว ไป
เพื่อใหมีความตระหนักเกี่ยวกับภัยตางๆ และสามารถนำไปใชไดอยางเหมาะสมและเกิดประโยชน
ตอตนเองไดมากที่สุด

ผมหวังเปนอยางยิง่ วาคูม
 อื “รูเ ทาทันสือ่ สังคมออนไลนอยางสรางสรรค” เลมนีจ้ ะเปนประโยชน
ตอคนไทยทุกทานและเปนสวนหนึ่งที่ชวยใหสังคมไทย โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนไทยมีการใช
สือ่ สังคมออนไลนไดอยางปลอดภัย คุม  คาและสรางสรรคมากทีส
่ ด

นาวาอากาศเอก อนุดิษฐ นาครทรรพ


รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
[5]

รูเทาทันสื่อสังคมออนไลน
อยางสรางสรรค

กระทรวงเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื ่ อ สารจั ด ทำคู  ม ื อ เล ม นี ้ เ พื ่ อ เป น


การใหความรู ความเขาใจ และสรางความตระหนักเกี่ยวกับการใชสื่อสังคมออนไลน
แก ป ระชาชน โดยเฉพาะเด็ ก และเยาวชน สามารถที ่ จ ะใช ส ื ่ อ สั ง คมออนไลน ไ ด อ ย า ง
ถูกตองเหมาะสมและสรางสรรค เกิดประโยชนมากที่สุด ตลอดจนรูเทาทันเกี่ยวกับ
ภัยคุกคามที่มาพรอมกับความสะดวกสบายในการเขาถึงและใชงาน คูมือเลมนี้ จึงมุง
หวังที่จะใหเกิดภูมิคุมกันตอภัยคุกคามในทุกภาคสวนของประเทศทั้ง
หน ว ยงานภาครั ฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั ่ ว ไป ส ง ผลให ค นไทยทุ ก คนสามารถ
ที ่ จ ะใช ส ื ่ อ สั ง คมออนไลน ไ ด อ ย า งเป น ประโยชน ส ร า งสรรค แ ละปลอดภั ย
[6]

แนะนำตัวละคร

ICT
อาจารย สมาย
ผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยี
ผูมีจิตใจดี ยิ้มแยมตลอดเวลา

เช็ก แชะ แชร


เปนผูนำกระแส ชื่นชอบ แชรทุกอยาง
มั่นใจในตัวเอง การถายรูป ที่ขวางหนา
เช็กอินตลอดเวลา เปนชีวิตจิตใจ ไมตกกระแสt
[7]

1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน

สื่อสังคมออนไลน
คือ สื่อขอมูล สารสนเทศ ภาพ มัลติมีเดีย หรือสื่อดิจิทัล สื่ออิเล็กทรอนิกสที่ใชชองทางการ
ติดตอแบบสามารถโตตอบหรือแบงปนสื่อรวมกันผานระบบอินเทอรเน็ต หรือระบบเครือขาย
โทรศัพทมือถือ ทั้งนี้ บุคคลทั่วไปสามารถสื่อสาร นำเสนอ แบงปนและเผยแพรขอมูล
ออกสูสาธารณะ โดยใชคอมพิวเตอรสวนบุคคล โนตบุก แท็บเล็ต หรือสมารตโฟน ทำใหเกิด
เครือขายสังคมขึ้นจากการติดตอรวมกันของบุคคลทั่วโลก

สื่อสังคมออนไลน (Social Media) เครือขายสังคม (Social Networks)

สื่ออิเล็กทรอนิกส

กลุมบุคคลที่
ติดตอสื่อสารกัน
[8] 1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน

สื่อสังคมออนไลน
ระดับโลก

น ธ กา
มั พ ร

แบ
ชา

Wikipedia

ง ป
Instagram
ประ

น
การ

Wordpress
Youtube
Vimeo

Blogger Facebook
Pinterest

WhatsApp
Twitter
การ

Tagged Skype
สร

เค
ทน
า ง

Pantip LINE WeChat


ร ือ น
ข า ย
ก ารส
1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน [9]

การขับเคลื่อนของรัฐบาล
ทำใหความพรอม และขีดความสามารถ
ดานไอซีทีของประเทศดีขึ้น

ความพรอมของเครือขายประเทศไทย
ปจจัยเกื้อหนุน ป 2012 ป 2013
ลำดับดีขึ้น
โครงสรางพื้นฐานและ 3.1 +0.8
จากลำดับที่ ดิจิทัลคอนเทนต 3.9

77 เปน 74 ผลกระทบเชิงบวกตอสังคม 3.6


3.8
+0.2

ป 2012 ป 2013 การใหความสำคัญของรัฐบาล 3.6


+0.2
3.8
2.7
The Global Information Technology การใชงานของระดับบุคคล +0.1
Report 2012-2013 by World Economic Forum 2.8
จากคะแนนเต็ม 7

ขีดความสามารถดานไอซีทีและรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส
ปจจัยเกื้อหนุน
ลำดับดีขึ้น
ความพรอมของเครือขายและโครงสรางพื้นฐาน
จากลำดับที่
ผูใชอินเทอรเน็ตและคอมพิวเตอร
23 เปน 20 ผูลงทะเบียนบรอดแบนดและมือถือ
ป 2012 ป 2013
การสนับสนุนนโยบายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส
Waseda University International
e-Government Ranking Year 2012-2013 การมีสวนรวมของประชาชน
ผานระบบอิเล็กทรอนิกส
[10] 1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน

เราใชเวลา บนสือ่ สังคม


comScore. 2555. Top 10 Global Markets by
Average Social Networking Hours per Visitor.
(ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://www.com
score.com/Insights/Press_Releases/2012/

ออนไลนขนาดไหน ? 12/Argentina_Ranks_First_in_Worldwide_
Desktop_Social_Networking_Engagement
(วันที่คนขอมูล: 18 กันยายน 2556).

อารเจนตินา

บราซิล
9.8 ชัว่ โมง
9.7 ชัว่ โมง
รัสเซีย

ไทย

9.6 ชัว่ โมง

จีน
8.7 ชัว่ โมง 8.6 ชัว่ โมง

อันดับ
อันดับ อันดับ
รัสเซีย
บราซิล อารเจนตินา
1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน [11]

6 อันดับการใชสื่อสังคมออนไลน
ของประเทศไทย

1 ICT
2
3
5
4 หาเพื่อนา
ใหม/เก
19.7%
6
อื่นๆ
คา
ซื้อสินิก 3.6%

และบ 8%า

21.

สพธอ. 2556. Thailand Internet User Profile 2013. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : http://meeting.etda.or.th/internetuserprofile2013/TH_InternetUser
Profile2013.pdf (วันที่คนขอมูล: 18 กันยายน 2556).
[12] 1 ภาพรวมของสื่อสังคมออนไลน

เหตุผล
5 ทำไมวัยรุนไทยใชสื่อสังคม
ออนไลน?
2
1
สื่อสารไดเขาใจกับคน
หลายกลุมในเวลาเดียวกัน

ใชงานไดรวดเร็ว 4
ไมเสียเวลานาน

3 สามารถสงภาพ วีดีโอ
คลิป ขอความ ได

มีสื่อสังคมออนไลนให
5
เลือกใชหลายแบบ

ไมเสียคาใชจาย

สำนักวิจัยสยามเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตโพลล. 2556.
การสำรวจการใชเครื่องมือสื่อสาร ผานเครือขายสังคม
ออนไลนของวัยรุนในเขตกรุงเทพฯ. (ออนไลน).
เขาถึงไดจาก : http://www.dailynews.co.th/education
/222075 (วันที่คนขอมูล: 18 กันยายน 2556).
[13]

2 การใชสื่อสังคมออนไลน

สื่อสังคมออนไลนใชทำอะไรไดบาง?
ในปจจุบันสื่อสังคมออนไลนมีหลายรูปแบบ สามารถแบงออกไดเปน 7 แบบ ดังนี้

1.สรางตัวตน
สรางตัวตนขึน
้ มาบนโลกออนไลน ไมวา
จะเปน ขอความ รูปภาพ หรือวีดโิ อก็ตาม
เชน MySpace Facebook

2.แบงปนสิ่งที่ชอบ
เก็บสิง่ ทีช่ อบ และแบงปนใหกบ

คนทีม่ ค ี วามชอบในเรือ่ งเดียวกัน
เชน delicious Digg Zickr

FACEBOOK

3.แสดงผลงาน
เผยแพรผลงานตอสาธารณะชนทัว่
ทุกมุมโลก เชน Youtube Flickr

4.ทำงานรวมมือกัน
สรางและตอยอดองคความรูใ หมๆ เพือ่
พัฒนาเนือ้ หาทีม
่ ป
ี ระโยชนอยางตอเนือ่ ง
เชน Wikipedia รวมถึง Webboard ตางๆ
[14] 2 การใชสื่อสังคมออนไลน

5.สรางประสบการณเหมือนจริง
สรางตัวละครสมมุติ และใชชวี ต
ิ อยูบ
 นโลก
ไซเบอร เชน Second Life World of Warcraft

6.ประกาศหางาน
เผยแพรประวัตงิ านของตน โดยสรางเครือขาย
ของเพือ่ นรวมงาน เจานาย หรือคนทีร่ จู ก
ั เชน
หางาน LinkedIn JobStreet JobDB

7.เชื่อมตอระหวางผูใชงาน
เชือ่ มตอระหวางเครือ่ งผูใ ชกน
ั เองโดยตรง
ทำใหเกิดการสือ่ สารตรงถึงผูใ ชทน ั ที
เชน Skype
2 การใชสื่อสังคมออนไลน [15]

การใชสื่อสังคมออนไลน
อยางสรางสรรค

หาความรูและขาวสาร

สื่อสารระหวางกัน

นำเสนอผลงาน Q : อยากรูวา....

A : จากประสบการณผม....

แลกเปลี่ยนขอมูลและประสบการณ
กับผูอื่น

@everyone
ดวน! อุบัติเหตุฉุกเฉิน ขาดเลือด
เปนสื่อ
กรุป AB ที่โรงพยาบาล.... ประชาสัมพันธ

สรางสังคมออนไลนใหนาอยู ดวยการใชอยางสรางสรรค
[16]
3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ

2P 2F
เรียนรูเครื่องมือ
เพื่อความปลอดภัย
และคุณสมบัติของ
สื่อสังคมออนไลน
ไมเชื่อมโยงหรือรับลิงคเพจ
ที่มีเนื้อหาไมเหมาะสม กำหนดรหัสผาน
หรือมีแหลงที่มาที่ไมรูจัก ที่มีการผสมอักขระ
P revention ปองกัน ตัวเล็กใหญ สัญลักษณ
พิเศษ ตัวเลข / การใช
คุณสมบัติพิเศษในกาปกปอง
การใชงานของอุปกรณในการ
เขาถึงและสื่อสังคมออนไลนที่ใช

P rotection ปกปอง

การตั้งคาหรือปด
คาความเปนสวนตัว
การสงขอความ ภาพ
ตองตระหนักและเขาใจถึง
ผลที่จะเกิดขึ้น“ตัดสินใจครั้ง
สุดทายโดยรอบคอบ”
F inal Decision
ไตรตรอง การยอมรับเพื่อนเขาสื่อ
สังคมออนไลนตองคัดกรอง
กอน ไมควรมีการเปดสิทธิ์ใน
การแชรขอความถึงทุกคน
F riend Acceptation
Filtering คัดสรร
3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ [17]

คิดกอน โพสต สถานที่ที่คุณอยูอาจมี


ผูไมหวังดีตามหาคุณเจอ

รูปภาพความลับ
ระวังอยาโพสตสุมสี่สุมหา กอนจะโพสตอะไรลงไป เราควร
คำนึงถึงผลกระทบที่จะตามมา
เพราะหากเราโพสตเรื่องไมดี
ขอความในใจที่ใครๆตองรูแน
ก็อาจกอใหเกิดผลเสียทีหลังได

1 2 3
สถานะ รูปภาพ สถานที่

คุณกำลังคิดอะไรอยู

+ โพสต 4

นึกกอน แชร
นองแชร
ผมรักแมมากที่สุดเลยครับ
Like Comment Share
1 2 3

Like ในสิ่งที่สรางสรรค
กอนจะแชร ควรคำนึงถึงผลกระทบที่จะตาม
มาภายหลังใหดี หากเราแชรเรื่องราวที่ไมดี
แสดงความคิดเห็นอยางมีสติ
อาจกอใหเกิดผลเสียตามมาทีหลังได
9
[18] 3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ

วิธีปองกันภัย
จากสื่อสังคมออนไลน

1 เปดใชงานคอมพิวเตอร
เมื่อใด ใหมีสติกอนเสมอ

2 ตั้งรหัสผานผสมอักขระพิเศษ
เพื่อไมใหคาดเดาได

3 สังเกตวามีโปรแกรมที่แปลกปลอมแสดง
ขึ้นมาพรอมการเปดเครื่องหรือไม

4 อัปเดตระบบปฏิบัติการ
และซอฟตแวรอยูเสมอ

5 ไมควรเขาเว็บไซตที่เสี่ยง
เชน เว็บการพนัน เว็บลามก
3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ [19]

6 เว็บไซตใหบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส
ตองมีการสรางรหัสเขาขอมูล และใบ
รับรองทางอิเล็กทรอนิกส ูป
ไดจ ากรรป ุ แแจจ
ุญ
ู กกญ
สสงั งั เกเกตตไดจ าdกdresssBBaarr
HHTTTTPPSSทท่ี ่ีAAddres

7
ไมควรเปดเผยขอมูลสวนตัวลงบนเว็บไซต
หากจำเปนใหสังเกตเนื้อหาวาในเว็บไซต
นั้นนาเชื่อถือหรือไม

ICT

8 ศึกษาขอกฎหมายเกี่ยวกับ
การใชงานอินเทอรเน็ต

9 ระวังการใชงานสื่อสังคมออนไลนของ
บุตรหลาน และควรใหคําปรึกษาอยางใกลชิด
[20] 3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ
ICICTT

8
ขอควรระวัง
1 ไมแสดง
ความคิดเห็น
เพื่อกระตุน
ใหเกิดการโตแยง
2
โดนผูประสงคราย
หลอกถาม
ขอมูลสวนตัว
การใชสื่อ ที่รุนแรง หรือที่ทำงาน
สังคมออนไลน “บานอยูไหนเหรอ?”

3 อยาลืม 4 5 อยากด
ล็อกเอาต (Log out) ‘Remember me’
เพื่อปองกัน
เช็กอินที่ไปบอยๆ
เมื่อใชเครื่อง
ผูสวมรอย อาจทำใหผูไมหวังดี
คอมพิวเตอร
มาดักรอ
สาธารณะ

6 8
ไมควรสงภาพ 7 ไมควรใช Wi-Fi ฟรี
ขอความ หรือภาพ ถูกผูที่ไมไวใจ
เคลื่อนไหวที่ผิด โดยไมมีการ
ยืมใชเครื่อง
กฏหมาย เขารหัสผาน
เพื่อเขาอินเทอรเน็ต

“ขอยืมหนอยสิ..?” Free Wi-Fi


3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ [21]

คุณแมขอถาม..
?? Super Mommy
จะทำอยางไรใหเขาใจลูกในยุคสื่อสังคมออนไลนคะ?

ผูปกครองควรศึกษาและทำความเขาใจสื่อสังคมออนไลนใหดีกอนครับ

และปรับทัศนคติของผูใหญในครอบครัวในการ
สงเสริมลูกใหใชสื่อสังคมออนไลนอยางสรางสรรค

?? Super Mommy
ถาแอบตรวจคอมพิวเตอรหรือสมารตโฟนของลูกจะดีหรือไมคะ?

ไมควรครับ ควรตรวจอุปกรณดังกลาวจากความสมัครใจของลูก

ควรใหความใกลชิดและสังเกตพฤติกรรมของลูก เชน เก็บตัว กาวราว


ทานอาหารนอยหรือมากผิดปกติ หรือเปลี่ยนแปลงการแตงตัว

+ Send
[22] 3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ

หากมีใครสงขอความ
หรือรูปภาพที่ผิด @#%F#
กฎหมายมาใหลูก หากลูกโดนตอวา
ใหบันทึกขอความ ไมควรตอบโต
หรือ พิมพจอภาพ หรือสงขอความ
(print screen) กลับ
หรือ ถายภาพ
นั้นไว
*สิ่งที่ผิดกฎหมาย อาทิ ภาพลามกอนาจา
ร สิ่งที่
ละเมิดทรัพยสินทางปญญา ถอยคำรุนแรง

เมื่อลูกถูก 1111
คุกคาม
หากรูสึกวาลูก
แจงสายดวน
หดหูหรือไมพอใจ 2 3
1

ของรัฐบาล
5 6
4
9

ใหสอบถาม
7 8

ที่หมายเลข
ดวยความเขาใจ
1111

เมื่อลูกเจอกับปญหา
สิ่งที่ลูกตองการมากที่สุด
คือ ความเขาใจ
3 ขอพึงระวังและการปฏิบัติ [23]

สิ่งที่ไมควรทำในการใชสื่อสังคมออนไลน

1 banned
ไมควรสงตอในเรื่อง
ที่รูอยูแลววาไมดี

22 W#@T!!
หากเพื่อนไมสนิท
ไมควรพูดแซว

33 comment
หากมีใครแสดงความคิดเห็น
ถึงเรา ควรคิดใหดีกอนที่จะ
ตอบกลับ

44 คำหยาบคาย
@&^#%(@)( ไมใชคำหยาบคาย

55 ไมโพสตขอความและรูปภาพ
ที่สงผลกระทบตอบุคคลอื่น

การทำสิ่งที่ไมควรทำ อาจจะทำความเดือดรอนใหแกตนเองเเละผูอื่น
[24]
4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน

ภัย รักลมกลางอินเทอรเน็ต *ตัวละครในเรื่องเปนนามสมมุติ

นาย เหงา ไดคุยกับหญิงสาวตางประเทศทางเว็บไซตหาคู ทั้งสองคนคุยกันถูกคอ


จึงไดสงรูปภาพและเเลกเปลี่ยนขอมูลสวนตัวกันเปนเวลานาน
จนเกิดความผูกพันและรักใครชอบพอ

แตงงานกันนะ

วันหนึ่ง นายเหงาจึงขอแตงงานกับหญิงสาวที่คุย
แตติดอุปสรรคที่หญิงสาวมีหนี้สินและตอง
ดูแลแมทำใหมาแตงงานดวยไมได

ดวยความรักนายเหงาจึงตัดสินใจจำนอง
ที่ดิน และโอนเงินทั้งหมดไปให เมื่อหญิง
สาวไดรับเงินก็หนีหายติดตอไมไดทันที

จำนอง
จำนอง จากกรณีดังกลาว
คือการโดนหลอกใหเหยื่อ
หลงเชื่อโอนเงินให

เตือนสติ “คัดสรรและไตรตรอง ตัดสินใจใหรอบคอบในการคบเพื่อน


2P 2F และสรางกิจกรรมใดๆ”
4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน [25]

ภัย อีเมลเพื่อนรักหักเหลี่ยมโหด
*ตัวละครในเรื่องเปนนามสมมุติ

เรือ่ งมีอยวู า วันหนึง่ นางสาวปอย ไดทะเลาะกับนางสาวเหวีย่ ง เกีย่ วกับการทำงาน


ทำใหนางสาวเหวีย่ งรูส  กึ โกรธแคนและพยายามหาทางแกแคนมาโดยตลอด

พอเจานายทราบเรือ่ งจึงไดเรียกนาง
สาวปอยเขาไปสอบถามและใหนางสาว
ปอยพิสจู นตวั เองภายใน 1 เดือน

วันหนึง่ นางสาวปอยไดออกไปทานขาวเเละเปดเครือ่ ง
คอมพิวเตอรทง้ิ ไว นางสาวเหวีย่ งจึงไดโอกาสเขาไป
แอบดูรหัสผานอีเมลของนางสาวปอยและใชอเี มลของ
นางสาวปอยเขียนจดหมายไปตอวาเจานายทีบ ่ ริษทั

นางสาวปอยไดแจงความกับสถานีตำรวจ
และโทรแจง 1111 สายดวนของรัฐบาล จนได
ผลวามีการเขาใชงานอีเมลดังกลาว หลายครัง้
ซึง่ ไมไดมาจากบานของนางสาวปอยแตเปน
ทีบ
่ า นของนางสาวเหวีย่ ง พอเจานาย
ไดรบ ั ทราบเรือ่ งทัง้ หมด จึงไดสอบสวนนาง

เตือนสติ “ปองกันและปกปองระบบคอมพิวเตอรเปนพฤติกรรมที่ดี
2P 2F ที่ตองสรางเปนนิสัยใหเคยชิน”
[26] 4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน

ภัย ถูกเปนลานหรือถูกหลอกเปนลาน
*ตัวละครในเรื่องเปนนามสมมุติ

นายแสวงสุข เปนพนักงานประจำบริษทั เอกชน


แหงหนึง่ มีเงินเดือนและฐานะอยูใ นระดับพอมีพอกินแตนาย คุณไดรางวัลที่ 1
แสวงสุขยังคงอยากไดรถและบานโดยไมคด ิ ทีจ่ ะลงทุน
หรือขยันทำงานมากขึน ้

อยูม าวันหนึง่ มีอเี มลลึกลับสงมาวา ไดมกี ารสุม อีเมลหาผูโ ชคดี ไดรบ


ั รางวัลที่ 1
เปนเงินจำนวนเกือบ 1 รอยลานบาท แตตอ งมีการโอนเงินจำนวน 1 หมืน ่ บาท
ไปยังบัญชีตา งประเทศพรอมหลักฐานตางๆ เชน เลขบัตรเครดิต

นายแสวงสุขรูส  ก
ึ ดีใจมากทีจ่ ะไดบา นไดรถ
อยางงายดาย แตกย ็ งั ไมแนใจ วาไดรางวัล
จริงหรือไม จึงไดทำการโทรมายัง
สายดวน 1111 เพือ่ สอบถามใหแนใจ

1 2 3 โดยเจาหนาทีไ่ ดแจงกลับไปวา ในเหตุการณนส ้ี ว นใหญเปนการ


หลอกลวงแตนายแสวงสุขก็ยงั ไมเชือ่ และไดทดลองโอนเงินไป
4 5 6 จำนวน 1 หมืน่ บาทสุดทายอีเมลดังกลาว ก็ไดยกเลิกการใชงาน
โดยเงินทีโ่ อนไปก็ถกู กดไปใช

เตือนสติ “คัดสรรและไตรตรอง ตัดสินใจใหรอบคอบในการคบหามิตร


2P 2F และสรางกิจกรรมใดๆ กับคนแปลกหนา”
4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน [27]

ภัย ตัวละครเกมที่หายไป
*ตัวละครในเรื่องเปนนามสมมุติ

นาย เฮฮา เปนผูเ ยีย่ มยุทธในเกมออนไลนรายหนึง่ เปนประเภทเกมออนไลนสรางเมือง


และตอสูก บ
ั ผูท จ่ี ะมารุกรานอาณาจักรของตนเอง รวมถึงอาจจะโจมตีอาณาจักรเพือ่ นบานได
นอกจากนี้ อาจจะมีการเจริญสัมพันธไมตรีกบ ั คนตางๆ ในเกมได

0000
0000
0000

พอวันรุง ขึน
้ นายเฮฮาเริม่ ฮา
ไมออกเพราะพบวาตัวละคร
อยูม าวันหนึง่ นายเฮฮาไดรจู กั กับนายฮาเดส โดยนายฮาเดส ดังกลาวเหลือแคเพียงตัวละคร
ไดชวนนายเฮฮาเขารวมทีมตอสูด  ว ยกัน ทัง้ สองไดตอ สูร ว มกัน ไมมเี งินหรือของในนัน้
นานหลายเดือนจนนายเฮฮานับถือนายฮาเดสเหมือนพีน ่ อ ง แถมไมถงึ 1 ชัว่ โมง ก็เขา
คนสนิทคนหนึง่ จนมอบรหัสเพือ่ ทีจ่ ะฝากนายฮาเดสเลน ล็อกอินตัวละครไมได

นายเฮฮาจึงรีบแจงมายัง 1111 เพื่อ


ขอให กระทรวงไอซีทีชวย สรุปวา
มีการซื้อขายโดยใชเงินจริงและไดมี
การเปลี่ยนรหัสการใชงานของนาย
เฮฮา สุดทายนายเฮฮาไดของใน
เกมคืน แตสวนการซื้อขายของ
ในเกมนั้น ถือวาอยูนอกเหนือกติกา
ตั้งแตเริ่มสมัคร จึงตองแจง
ดำเนินคดีตอไป

เตือนสติ “คัดสรรและไตรตรอง ตัดสินใจใหรอบคอบในการคบเพื่อนและ


สรางกิจกรรมใดๆ รวมถึงสรางพฤติกรรมปองกันและปกปอง
2P 2F ระบบคอมพิวเตอรของเราอยางสม่ำเสมอ”
[28] 4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน

ภัย โดนปลนหรือโดนปลอม *ตัวละครในเรื่องเปนนามสมมุติ

FACEBOOK

โดนปลน

แตเหตุการณทไ่ี มคาดคิดก็เกิดขึน ้ เมือ่ แมนอ ง


เอไดรบ
ั อีเมลจากนองเอวา ใหโอนเงินมา 5,000
ปอนด เพราะถูกปลน ดวยความเปนหวง
คุณแมนอ งเอจงึ รีบโอนเงินไปให เมือ่ นองเอ
โทรมาในวันรุง ขึน
้ ก็รส
ู กึ งงกับเหตุการณ
ดังกลาง เพราะเธอไมไดสง อีเมลแตอยางใด
นองเอ เรียนอยูท ป
่ี ระเทศอังกฤษมักจะโทรหาทาง
บานไมบอ ยนัก แตจะสงอีเมลหรือขอความแทนเปน
ประจำและทองไปตามเว็บสังคมออนไลนตา งๆ
1111

หลังจากนัน้ 3 วัน เพือ่ นของนองเอไดโทรมาเลา


เหตุการณใหคณ ุ แมของนองเอฟง วาไดโอน
เงินไปใหนอ งเอเชนเดียวกัน ทำใหแม
นองเอ รีบโทรแจง 1111 เพือ่ ใหศน
ู ย
บริการขอมูลภาครัฐฯ ชวยเหลือทันที

ทราบผลวามีบางเว็บไซตขโมยรายชือ่ ผูต
 ด
ิ ตอ
ดังกลาว เพือ่ สงขอความไป
ขอยืมเงินบาง ขอความชวยเหลือบาง

เตือนสติ “คัดสรรและไตรตรอง ตัดสินใจใหรอบคอบในการรับ


2P 2F ขอความใดๆ จากเพื่อนตรวจสอบกอนตัดสินใจใดๆ ใหดี”
4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน [29]
ตัวอย่างร้านค้า

ขอดี รานคาออนไลน
โฆษณาผานสื่อสังคมออนไลน
ทำไมทุกวันนี้ พอคาแมคา จึงหันมา
ใชสอ่ื สังคมออนไลนเพือ่ การคา
มากขึน ้ เปนเพราะอะไรเรามาดูกนั

ตัวอย่างร้านค้า Liked Message


49,034 likes ・ 5,698 talking about this

Clothing
ตัวอย่างร้านค้า :: ทีอ
่ ยูร่ า้ นค้า
49,034 HOW TO ORDER

About Suggest an Edit


1 ไมตองมีหนาราน Photos Likes Notes

sold out
ตัวอย่างร้านค้า

2
September 28

จัดการงาย
กระเป๋าสะพายรูปเห็ด (8 photos)
กระเป๋าสะพายรูปเห็ด เหมาะกับคนวัยแซ่บ
ขนาด 15”x15” สายสะพายยืดได้ถงึ 1 ม.
sold out
sold out
3soldทำการขายได
out ทุกที่ ทุกเวลา sold out

4 ซื้อกันไดทั่วโลก
sold out

sold out
[30] 4 ตัวอยางภัยและขอดีของสื่อสังคมออนไลน

ขอดี ทำประโยชนเพื่อสาธารณะ
นัดกันทำความสะอาด

เกิดเหตุจราจลขึน
้ ทัว่ กรุงลอนดอน บาน ตึก
รถยนต และรถขยะถูกเผาไดรบ ั ความเสียหาย

FACEBOOK
50,000 views 100 likes 10 hours ago
write a comment send
"โครงการสาธิต มีผค
ู นติดตามขอมูลมากกวา
Social Network" 50,000 คน ภายใน 10 ชัว่ โมง

หลังจากเหตุจราจลสิน ้ สุด ชาวลอนดอนหลายพันคน


และผูส
 นับสนุนทัว่ โลก นัดรวมตัวกันผาน Social Networks
และ Twitter เพือ่ ชวยกันทำความสะอาดกรุงลอนดอน

NBC

การรวมพลังทีส ่ รางสรรคอยางรวดเร็วผาน Social Networks นี้


เปนขาวโดงดังไปทัว่ โลก และไดรบ
ั คำชืน
่ ชมเปนอยางมาก
ICT
หากเรารวมกันใชสื่อสังคมออนไลนไปในทางที่สรางสรรค
ก็จะชวยแกปญหาตางๆ ใหกับโลกใบนี้ไดอยางมากมาย
[31]
5 5.ภาภาคผนวก
[29]
คผนวก

มัลแวรคอมพิวเตอร สามา
รถแพรกระจายทางอินเท
สรางความเสียหายใหกับ อรเน็ต เขาสูคอมพิวเตอร
โปรแกรม ทำใหระบบปฏิบ 
โปรแกรมปองกันมัลแวร ัติการมีปญหา
จึงมีความสำคัญตอคอมพ
ิวเตอรทุกเครื่อง
ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus)
คือตัวกอกวนคอมพิวเตอร ชอบทำลายแฟมขอมู
ลสำคัญ
และทำใหคอมพิวเตอรชาลง ไวรัสมักจะซอนตัวอยู
ในแฟมขอมูลอื่นๆ
โดยที่เจาของไมรูตัว หากมีการสงตอแฟมขอมูลนั
้น จะทำใหไวรัส
แพรกระจายไปยังแฟมขอมูลในคอมพิวเตอรเครื่อ
งอื่นไดอีกดวย
หนอนคอมพิวเตอร (Worm)
ชอบทำลายระบบในคอมพิวเตอร และทำใหเครื่องคอมพิวเตอรชาลง
และสามารถแพรกระจายตัวเองจากเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องหนึ่ง
ไปยังอีกเครื่องหนึ่งโดยอาศัยระบบเน็ตเวิรก ซึ่งการแพรกระจาย
สามารถทำไดดวยตัวของมันเอง และแพรกระจายไดอยางรวดเร็ว
ทำความเสียหายรุนแรงกวาไวรัสมาก
ปกปองขอมูล
อมพิวเตอร ที่สำคัญดวยการ
หนอนคอมพิวเตอรตางจากไวรัสคอมพิวเตอร เนื่องจากหนอนค
น น
้ ั จะแพร กระจายไดเมื่อมีพาหะ
แพรกระจายโดยไมตองพึ่งพาหะ สวนไวรัสคอมพิวเตอร ติดตั้งโปรแกรม
ม ข อ มู ล และเครื่องคอมพิวเตอร
นำพาไปเทานั้น โดยไวรัสคอมพิวเตอรอาจฝงตัวอยูกับแฟ
จะติดไวรัสเมื่อมีการเรียกใชแฟมขอมูลนั้น
ปองกันมัลแวร

มาโทรจัน (Trojan) ง
rd และแฟมขอมูลของเจาของเครื่อ
ตัวรายสำคัญที่ชอบขโมย passwo
ด อีเมล และการดาวนโหลด
มาโทรจันจะถูกแพรมาจาก อีการ
กรมจำพวกนี้มาจากตำนาน
จากเว็บไซต โดยชื่อเรียกของโปรแ
ของมาไมแหงเมืองทรอยนั่นเอง
ICT
ามา
อ มันจะสามารถเข
มพ ว
ิ เต อร แ
 ละ หน อนคอมพิวเตอร คื อ
ื โป รแ กร มท ี่ให Mr. สมาย
มาโทรจันตางกับไว
รัสคอ
ถู ก แน บม าก บ
ั อี การด อีเมล หร
ที่เราไมรูตัว ซึ่งจะ
ในเครื่องของเราโดย
ไซตที่ไมนาเชื่อถือ
ดาวนโหลดตามเว็บ
[32] 5 ภาคผนวก
FAQ ถามจัง ตอบจริง!!

โซเชียล แกง
ถาม : เมื่อถูกละเมิดสิทธิ์ เชน การถูกโพสตรูปภาพ ขอความที่ไมเหมาะสม
บนเว็บไซต จะสามารถดำเนินการอะไรไดบาง?
Like Comment Share
อาจารย สมาย
ตอบ : รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวของ แจงความที่สถานีตำรวจ หรือ
รองเรียนที่สำนักปองกันและปราบปรามการกระทำความผิดทาง
เทคโนโลยีสารสนเทศ กระทรวงไอซีที หรือกองบังคับการปราบ-
ปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
(ปอท.)

โซเชียล แกง
ถาม : หากไมมีขอมูลของผูกระทำผิดบนเว็บไซตที่เกี่ยวของเลย จะสามารถ
ดำเนินการอะไรตอไดบาง?
Like Comment Share
อาจารย สมาย
ตอบ : ใหรวบรวมขอมูลจาก พยานแวดลอม IP Adress หรือ
Email Header หรือ เบอรโทรศัพท เปนตน เพื่อแจงใหพนักงาน
และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ชวยตรวจสอบรายละเอียด

โซเชียล แกง
ถาม : รัฐบาลและกระทรวงไอซีทีมีนโยบายในการควบคุมการใชสื่อสังคม
ออนไลนอยางไร โดยเฉพาะประเด็นการใช LINE
Like Comment Share
อาจารย สมาย
ตอบ : รัฐบาลและกระทรวงไอซีทีสงเสริมการใชสื่อสังคมออนไลน
อยางสรางสรรค ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการแสดงออก โดยไม
กระทบตอบุคคลหรือบานเมืองในทางที่เสียหาย

ติดตอแจงภัยจาก
สื่อสังคมออนไลน โทร.1111
5 ภาคผนวก [33]

แหลงขอมูลศึกษาเพิ่มเติม
สายดวน ประชาชนสามารถติดตอเพื่อแจงเหตุ ประกอบดวยหมายเลขและหนวยงาน ดังนี้

หมายเลข แจงเหตุ หนวยงาน


1111 แจงเหตุเรื่องราวรองทุกขของประชาชน ศูนยบริการขอมูลภาครัฐเพื่อประชาชน
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1212 แจงเหตุผลกระทบทางเทคโนโลยี ศูนยปฏิบัติการความมั่นคงปลอดภัย


และสื่อสังคมออนไลน ทางไซเบอร / อินเทอรเน็ต
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1200 แจงเหตุคุมครองผูบริโภค ในกิจการ ศูนยขอมูลและรับเรื่องรองเรียน กสทช.


โทรคมนาคม สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง
กิจการโทรทัศนและกิจการโทรคมนาคม
แหงชาติ (กสทช.)

1323 ใหคำปรึกษาและบำบัดเด็กติดเกมและ กรมสุขภาพจิต


การพนันออนไลน

1765 ใหคำปรึกษาและแกไขปญหาเด็กติดเกม ศูนยบริการขอมูลประชาชน (Call Center)


กระทรวงวัฒนธรรม

192 รับแจงและเตือนภัยตางๆ ในประเทศ ศูนยเตือนภัยพิบัติแหงชาติ


กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ขอมูลเพิ่มเติม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร www.mict.go.th


[34] 5 ภาคผนวก

คณะกรรมการผูจัดทำ

นาวาอากาศเอก รศ.ดร. ประสงค ปราณีตพลกรัง ที่ปรึกษา


ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

นางนนทปภา ศรีนนท ประธาน


นางสาวบงจรรย กาญจนศาสตร รองประธาน
สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

รศ.ดร. กมลรัฐ อินทรทัศน กรรมการ


รศ. ปยฉัตร ลอมชวการ กรรมการ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

นายไชยเจริญ อติแพทย กรรมการ


บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

นางสมจิตต ธีระชุติกุล กรรมการ


นางสุดาภรณ วิมลเศรษฐ กรรมการ
บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน)

ดร.พีรเดช ณ นาน กรรมการ


บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)

นายกำพล ศรธนะรัตน กรรมการ


สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

ดร.ชัยชนะ มิตรพันธ กรรมการ


สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน)

นายฉัตรชัย คุณปติลักษณ กรรมการ


สำนักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหงชาติ (องคการมหาชน)

นางไอรดา เหลืองวิไล กรรมการ


สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส (องคการมหาชน)

นายมานะชัย บุญเอก กรรมการ


นายพงศธร วรรณสุคนธ กรรมการ
นายสถาพร สอนเสนา กรรมการ
นางปราณี สิทธิโรจน กรรมการและเลขานุการ
นางสาววรรณศิริ พัวศิริ กรรมการและผูชวยเลขานุการ
นางสาวปยะนาถ คลองดี กรรมการและผูชวยเลขานุการ
นายณัฐ พยงคศรี กรรมการและผูชวยเลขานุการ
สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานปลัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
120 หมู 3 ชั้น 6-9 อาคารรัฐประศาสนภักดี
ศูนยราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา
ถนนแจงวัฒนะ แขวงทุงสองหอง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210
โทรศัพท : 02-141-6747 แฟกซ : 02-143-8019
เว็บไซต : www.mict.go.th

ออกแบบโดย

www.infographicthailand.com

You might also like