You are on page 1of 6

65

มทช.(ท) 202-2545
มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ าแรงอัดในแนวขนานเสีย้ นของไม้
(COMPRESSION TEST OF WOOD PARALLEL TO GRAIN)
1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการทดสอบนี ้ ครอบคลุมถึงการหาคุณสมบัติทางกลของไม้ ด้วยอัตราแรงอัดในแนวขนานเสี ้ยน และดูพฤติกรรม
ของไม้ เมื่อถูกแรงกระทา ตลอดจนศึกษาลักษณะการแตกของไม้ (FAILURE) เมื่อถึงจุดวิบตั ิแล้ วและพิจารณาหาค่าที่ต้องการ
คือ
1.1 กาลังอัดของไม้ ณ ขีดปฏิภาค (ELASTIC STRENGTH AT PROPORTIONAL LIMIT)
1.2 กาลังอัดของไม้ ณ จุดคลากที่ 0.05% OFFSET (YIELDING STRENGTH AT 0.05% OFFSET)
1.3 กาลังอัดประลัยของไม้ (ULTIMATE STRENGTH)
1.4 โมดูลสั ยืดหยุน่ (MODULUS OF ELASTICITY)

2. นิยาม
ความหมายของคาที่ใช้ ในมาตรฐานการทดสอบไม้ นี ้ ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 421 ไม้ แปรรูป :
ข้ อกาหนดทัว่ ไป

3. ชัน้ คุณภาพและสัญลักษณ์
ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป

4. วิธีทา
4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
4.1.1 เครื่ องมือทดสอบไม้
4.1.2 เครื่ องมือวัดการหดตัวของไม้ ชนิดที่มีความยาวพิกดั 15 ซม. ( COMPRESSOMETER HAVING 15 CM.GAUGE
LENGTH ) ดังแสดงในรูปที่ 1
4.2 การเตรียมตัวอย่ างการทดสอบ เตรี ยมไม้ ตวั อย่างที่ไสเรี ยบ (DRESSED TIMBER) และเกลี ้ยง (CLEAR WOOD)ขนาด
5x5x20 ซม. ชนิดละ 3 ท่อน โดยไม้ ตวั อย่างที่จะนามาทดสอบต้ องมีคา่ ความชื ้น (MOISTURE CONTENT) อยูร่ ะหว่าง
ร้ อยละ 10 ถึงร้ อยละ 14
4.3 แบบฟอร์ ม
ใช้ แบบฟอร์ มที่ บฟ. มทช.(ท) 202.1-2545, 202.2-2545
66

แรงกด

ไมโครมิเตอร์ชนิดมี ไม้ ตวั อย่าง


หน้ าปัทม์

เครื่องมือวัดการหดตัวของไม้ ชนิดที่มคี วามยาวพิกดั 15 ซม.

รูปที่ 1 แสดงเครื่องมือและอุปกรณ์ การทดสอบหาค่าแรงอัดในแนวขนานเสี้ยนของไม้

4.4 การทดสอบ
4.4.1 ไม้ ตวั อย่างที่ทาการทดสอบ ต้ องทาเป็ นท่อนสีเ่ หลีย่ มมีเนื ้อที่หน้ าที่ตดั เท่ากันตลอดความยาว และในแนวเสี ้ยนไม้
ขนานกับแกนไม้ โดยมีแผ่นเหล็กรองรับท้ ายของไม้ ตวั อย่าง
4.4.2 วัดขนาดหน้ าตัดไม้ ตวั อย่างโดยยอมให้ ผิดพลาดได้ ไม่เกิน 0.2 ม.ม.วัดความยาวโดยยอมให้ ผิดพลาดได้ ไม่เกิน 0.5
ม.ม.. และชัง่ น ้าหนักอ่านค่าละเอียดได้ เป็ นกรัม พร้ อมทังแสดงรอยต
้ าหนิตา่ ง ๆ ของไม้ ที่ปรากฏให้ เห็น
4.4.3 ตรวจสอบเครื่ องมือวัดการหดตัวของไม้ ที่วดั ได้ ละเอียดถึง 0.001 ม.ม. และตรวจสอบความยาวพิกดั (GAUGE
LENGTH) ของเครื่ องมือวัดการหดตัวของไม้
4.4.4 ติดตังเครื
้ ่ องมือวัดการหดตัวของไม้ เข้ ากับไม้ ตวั อย่าง โดยวางไม้ ตวั อย่างให้ ได้ ศนู ย์กลาง กับเครื่ องมือทดสอบ พร้ อม
ทังปรั
้ บเครื่ องมือกดไม้ และเครื่ องมือวัดการหดตัวของไม้ ให้ อา่ นที่ขีดศูนย์
4.4.5 เพิ่มแรงกดบนไม้ ตวั อย่าง อย่างต่อเนื่องด้ วยความเร็ วประมาณ 0.6 ม.ม.ต่อนาที
4.4.6 บันทึกแรงที่กดและวัดการหดตัว (DEFORMATION) ของไม้ ตวั อย่างทุก ๆ 500 กก. ของแรงที่กด จนกระทัง่ เกินช่วง
ของขีดปฏิภาค หลังจากนันให้ ้ ถอดเครื่ องมือวัดการห ดตัวของไม้ ออก แล้ วกดไม้ ตวั อย่างไปจนถึงจุดวิบตั ิ พร้ อมทัง้
บันทึกค่าของแรงที่กดสูงสุด
4.4.7 บันทึกลักษณะการวิบตั ิ พร้ อมทังเขี
้ ยนภาพรอยแตกของไม้ ตวั อย่างแต่ละชิ ้น ซึง่ ตัวอย่างลักษณะการแตกของไม้ ดัง
แสดงในรูปที่ 2

รอยแตกแบบบดย่อย รอยแตกรูปลิม่ รอยแตกแบบแรงเฉือน


(Crushing) (Wedge Split) (Shearing)
67

รอยแตกแบบฉีกปลาย รอยแตกแบบแรงอัด และแรงเฉือนขนานเสี ้ยน รอยแตกแบบแยกปลาย


(Splitting) (Compression And Shearing Parallel To Grain) (Brooming Or End-Rolling)
รูปที่ 2 แสดงตัวอย่างลักษณะการวิบตั ิ

4.4.7.1 รอยแตกแบบบดย่อย เกิดขึ ้นเมื่อรอยแตกอยูใ่ นแนวขนานเสี ้ยน


4.4.7.2 รอยแตกรูปลิม่ เกิดขึ ้นเมื่อลักษณะการแตกคล้ ายรูปลิม่ โดยเส้ นที่ถกู ผ่าอาจเป็ นได้ ทงในแนวเส้
ั้ นวงปี หรื อแนว
เส้ นสัมผัสวงปี
4.4.7.3 รอยแตกแบบแรงเฉือน เกิดขึ ้นเมื่อรอยแตกทามุมมากกว่า 45 องศา กับด้ านบนของไม้ ตวั อย่าง
4.4.7.4 รอยแตกแบบฉีกปลาย เกิดขึ ้นเมื่อไม้ ตวั อย่างมีตาหนิภายในมาก่อน
4.4.7.5 รอยแตกแบบแรงอัด และรอยแตกแบบแรงเฉือนขนานเสี ้ยน เกิดขึ ้นเมื่อมีรอยแตกปรากฏในแนวขวางเสี ้ยน
4.4.7.6 รอยแตกแบบแยกปลาย เกิดขึ ้นเนื่องจากบริ เวณส่วนปลายของเนื ้อ ไม้ มีความชื ้นมากเกินไป หรื อเกิดจากการตัด
ไม้ ตวั อย่างมาไม่ดีพอ
4.4.8 เขียนกราฟ โดยกาหนดให้ แรงกด อยูบ่ นแกนตังและการหดตั ้ วของไม้ อยูบ่ นแกนนอนให้ แสดงค่ากาลังอัด ณ ขีด
ปฏิภาค และกาลัง ณ จุดคลาก (แสดงด้ วยเส้ นกราฟ O’-A’) บนกราฟด้ วย ถ้ าเส้ นกราฟไม่ผา่ นจุดเริ่ มต้ น ให้ ปรับแก้
ใหม่ โดยให้ ผา่ นจุดเริ่ มต้ น (แสดงด้ วยเส้ นกราฟ O-A) ดังแสดงในรูปที่ 3

รูปที่ 3 กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงกดและการหดตัวของไม้

5. การคานวณ
ให้ ดาเนินการคานวณตามวิธีที่กาหนดไว้ ในแบบฟอร์ ม ตามข้ อ 4.3
68

6. การรายงาน
ให้ รายงานตามแบบฟอร์ ม ในข้ อ 4.3

7. เกณฑ์ การตัดสินและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
เกณฑ์การตัดสินใช้ คา่ เฉลีย่ การทดสอบหาค่าแรงอัดในแนวขนานเสี ้ยนของไม้ แต่ละชนิด (ตามข้ อ 6,7,8 และ 9 ใน
แบบฟอร์ ม บฟ. มทช.(ท) 202.1-2545

8. หนังสืออ้ างอิง
8.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 421-2525 ไม้ แปรรูป : ข้ อกาหนดทัว่ ไป
8.2 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424-2530 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป
8.3 HARMER E. DAVIS, GEORGE EARL TROXELL AND CLEMENT T. WISKOCIL THE TESTING AND INSPECTION
OF ENGINEERING MATERIALS (THIRD EDITION)

**********
69

โครงการ……………………….. บฟ.มทช.(ท) 202.1-2545 ทะเบียนทดสอบ…………………


สถานที่ก่อสร้ าง….……………….
ผู้ทดสอบ
…………………………. (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ าง……………………….. ผู้ตรวจสอบ
มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ า
ผู้นาส่ง…………………………
แรงอัดในแนวขนานเสีย้ นของไม้
ชนิดตัวอย่าง.………..ทดสอบครัง้ ที่… ผู้อนุมัติ
ทดสอบวันที่…………………แผ่ นที่…… ชนิดไม้ ตัวอย่ าง
รายละเอียด ไม้ …..………… ไม้ ……………… ไม้ ………………
1 2 3 1 2 3 1 2 3
พืน้ ที่หน้ าตัดตัวอย่ าง, (ซม.2)
1.มิติของไม้ ตัวอย่ าง
ความยาวของไม้ , L (ซม.)

2.ความยาวพิกัด (ซม.)

3.น.น.ของไม้ ตัวอย่ าง (กก.)

4.แรงกด ณ จุดคลาก ที่ 0.05% OFFSET , Py (กก.)

5.แรงกด ณ จุดวิบัติ PMax (กก.)

6.ความเค้ นของไม้ ที่ P.L. (กก./ซม.2)


S = แรงกดที่ P.L. / A
7.กาลังอัดของไม้ ณ จุดคลากที่ 0.05% OFFSET (กก./
ซม.2)
Cy = Py / A
8.กาลังอัดประลัยของไม้ (กก./ซม.2)
CMax = PMax / A
9.โมดูลัสยืดหยุ่น (กก./ซม.2)
E = ความเค้ น ที่ P.L. / ความเครียด ที่ P.L.

หมายเหตุ

1. P.L. หมายถึง PROPORTIONAL LIMIT 4. Cy หมายถึง กาลังอัดของไม้ ณ จุดคลาก ที่ 0.05% OFFSET

2. Py หมายถึงแรงกด ณ จุดคลากที่ 0.05% OFFSET 5. C Max หมายถึง กาลังอัดประลัยของไม้

3. S หมายถึง ความเค้ นของไม้ ที่ P.L. 6. E หมายถึง โมดูลัสยืดหยุ่น


70

โครงการ……………….………. บฟ.มทช.(ท) 202.2-2545 ทะเบียนทดสอบ…………………


สถานที่ก่อสร้ าง….……………….
……………………………. ผู้ทดสอบ
(หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ าง………………………..
ผู้นาส่ง………………………. ผู้ตรวจสอบ
มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ า
ชนิดตัวอย่าง..……ทดสอบครัง้ ที่… แรงอัดในแนวขนานเสีย้ นของไม้ อนุมัติ
ทดสอบวันที่……………แผ่นที่…
ชนิดไม้ ตัวอย่ าง
ไม้ ……………………… ไม้ ……………………… ไม้ ……………………..
แรงกด P (กก.) การหดตัวของไม้ (มม.)
ความเค้ น (STRESS) กก./ซม.2 ความเครียด (STRAIN)
1 ช่ อง = …………… มม.
1 2 3 1 2 3 1 2 3

PMax (กก.)

ภาพรอยแตก

ชนิดการแตก

You might also like