You are on page 1of 2

แบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้ที่ 6

1. หลักธรรมสำคัญที่พระพุทธเจ้ำทรงแสดงธรรมในวันมำฆบูชำ คือข้อใด
ก. อริยสัจ 4 ข. พระสยมภูวญำณ
ค. โอวำทปำฏิโมกข์ ง. สำมุกกังสิกำธรรม
2. หลักธรรมสำคัญในวันวิสำขบูชำ คือข้อใด
ก. วิมุตติ 5 ข. อริยสัจ 4
ค. อัปปมำทะ ง. โอวำทปำติโมกข์
3. หลักธรรมสำคัญที่เกี่ยวเนื่องกับวันอัฏฐมีบูชำ คืออะไร
ก. ควำมทุกข์ ข. ควำมกตัญญู
ค. ควำมซื่อสัตย์ ง. ควำมไม่ประมำท
4. พระพุทธเจ้ำทรงแสดงธรรมใดในวันอำสำฬหบูชำ
ก. ปำปณิกธรรม 3 ข. อปริหำนิยธรรม 7
ค. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ง. ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
5. วันใดที่มีพระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสงฆ์รัตนะ ครบเป็นพระรัตนตรัย
ก. วันมำฆบูชำ ข. วันวิสำขบูชำ
ค. วันเข้ำพรรษำ ง. วันอำสำฬหบูชำ
6. ในวันเข้ำพรรษำ พุทธศำสนิกชนนิยมทำกิจกรรมหลำยอย่ำง ยกเว้นข้อใด
ก. ตักบำตรเทโวโรหณะ ข. ฟังเทศน์ทุกวันตลอด 3 เดือน
ค. ถวำยผ้ำอำบนำฝนแด่พระสงฆ์ ง. อธิษฐำนรักษำอุโบสถศีลตลอด 3 เดือน
7. หลักธรรม “กำเลน ธมฺมสฺสวน” เกี่ยวเนื่องกับวันใด
ก. วันอัฏฐมีบูชำ ข. วันธรรมสวนะ
ค. วันเข้ำพรรษำ ง. วันออกพรรษำ
8. “วันปวำรณำ” หมำยถึงวันใด
ก. วันอัฏฐมีบูชำ ข. วันธรรมสวนะ
ค. วันเข้ำพรรษำ ง วันออกพรรษำ
9. กำรประกอบศำสนพิธี มีประโยชน์ต่อสังคมในด้ำนใดมำกที่สุด
ก. ทำให้รู้จักเสียสละ ข. ทำให้เกิดควำมสำมัคคี
ค. ทำให้จิตใจบริสุทธิ์ ไม่ฟุ้งซ่ำน ง. ทำให้สำมำรถแก้ปัญหำร่วมกันได้
10. พิธีกรรมทำงศำสนำ เปรียบเสมือนส่วนใดของต้นไม้
ก. รำก ข. แก่น
ค. ลำต้น ง. เปลือก
11. กำรที่พระอุปัชฌำย์นัดให้ผู้ขอบวชฝึกซ้อมกำรปฏิบัติตน และท่องคำขอบรรพชำอุปสมบท เรียกว่ำอะไร
ก. คำขอบวช ข. กำรขำนนำค
ค. กำรสวดมนต์ ง. กำรเตรียมตัวบวช
12. ก่อนกำรบวช ผู้บวชจะบอกลำบิดำมำรดำ ญำติ มิตร และผู้ที่เคำรพนับถือนัน เพื่อวัตถุประสงค์ใด
ก. เพื่อทำตำมประเพณีที่มีมำแต่โบรำณ
ข. เพื่อให้ทุกคนรับรู้และอนุโมทนำในส่วนบุญ
ค. เพื่อให้ท่ำนเหล่ำนันได้เตรียมตัวไปร่วมในพิธี อุปสมบทโดยทั่วถึงกัน
ง. เพื่อให้ท่ำนเหล่ำนันได้อนุโมทนำในกำรบวชและเพื่อขอขมำโทษที่เคยมีต่อกัน
13. “ญัตติจจุตถกรรม” เป็นพิธีกรรมในเรื่องใด
ก. กำรอุปสมบท ข. กำรตักบำตรเทโว
ค. กำรบวชธรรมจำริณี ง. กำรแสดงตนเป็นพุทธมำมกะ
14. วันพระธรรม หมำยถึงวันใด
ก. วันมำฆบูชำ ข. วันอัฏฐมีบูชำ
ค. วันวิสำขบูชำ ง. วันอำสำฬหบูชำ
15. ข้อใด คือ บทสวดบทนมัสกำร
ก. สวำกขำโต ภะคะวะตำ ธัมโม...
ข. นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต...
ค. ปำเจรำจริยำ โหนติ...
ง. อิติปิโส ภะคะวำ...

You might also like