You are on page 1of 56

1

บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมสำคัญและที่มำของปัญหำที่ทำกำรวิจัย
ปัจจุบันโรงงานอุตสาหกรรม ได้นาเอาไม้ยางพารามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการให้ความร้อนใน
กระบวนการต้ม บอยเลอร์ (Boiler) หรือหม้อต้มไอน้า ทาให้ได้เถ้าไม้ยางพาราจากโรงงานในปริมาณมากถึง
3000 ตันต่อเดือน โดยขี้เถ้าเหล่านี้ยังมีถ่านที่เหลือจากการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์อยู่ด้วย และจะถูกรวมนาไป
กาจัดหรือเก็บรอกาจัด ทาให้เกิดปัญหามลพิษเนื่องจากขี้เถ้ามีค่าความเป็นด่างสูงและต้องใช้พื้นที่ฝังกลบ
จานวนมาก หากทาการคัดแยกถ่านที่เหลือจากเผาไหม้ไม่สมบูรณ์นี้ ซึ่งมีอยู่ประมาณ ¼ ของปริมาณเถ้าไม้
ยางพาราทั้งหมดกลับมาใช้ จะช่วยลดปริมาณมลพิษและลดพื้นที่ฝังกลบได้เป็นจานวนมาก อีกทั้งพลังงาน
ทดแทนเป็ น สิ่ งที่ต้องการสู ง เมื่อพลั งงานที่ ใช้ในปั จจุบั นนั้น ลดลงอย่างต่อเนื่ อง และพลั งงานหลายชนิ ด
โดยเฉพาะอย่างยิ่งน้ามัน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ รวมทั้งไม้ฟืน ต้องใช้เวลานานเพื่อที่จะกลับมาใช้ได้อีกครั้ง
จึงเกิดความคิดที่จะร่อนแยกถ่านไม้ยางพารามาผ่านกระบวนการขึ้นรูป เพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ใหม่

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงงำนวิจัย
1.2.1. ศึก ษาความเป็ น ไปได้ ของการเพิ่ มค่ าความร้อ นให้ กั บ ถ่ านที่ เผาไหม้ไม่ ส มบู รณ์ จ ากเถ้ าไม้
ยางพาราและนามาขึ้นรูปเป็นถ่านอัดแท่ง

1.3 ทฤษฎี สมมติฐำน และกรอบแนวควำมคิดของโครงกำรวิจัย


ปัจจุบันโรงงานอุสาหกรรมที่ใช้ไม้ยางพาราในการต้มหม้อไอน้า มีของเสียเถ้าไม้ยางพาราที่
เกิดจากการเผาไหม้ซึ่งต้องทาการกาจัดในปริมาณมากถึง 3000 ตันต่อเดือน ซึ่งจัดเป็นของเสียที่โรงงานต้อง
ส่งไปกาจัดโดยวิธีที่นิยมคือการฝังกลบ แต่ขี้เถ้ามีค่าความเป็นด่างสูง มีค่า pH 9-11 เป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
และต้องการพื้น ที่ฝังกลบจานวนมาก แต่ในเถ้าไม้ที่ต้องส่ งกาจัดเหล่านี้ ยังมีถ่านที่ เกิดจากการเผาไหม้ไม่
สมบูรณ์ผสมอยู่ในสัดส่วนประมาณ 20-30 % หรือคิดเป็นน้าหนักระหว่าง 600-900 กิโลกรัมต่อเดือน แต่ถ้า
เราทาการคัดแยกถ่านที่ยังสามารถเผาไหม้ได้ ซึ่งมีอยู่ ¼ ของขี้เถ้ากลับมาใช้จะช่วยลดปริมาณมลพิษ และลด
พื้นที่ฝัง อีกทั้งการคัดแยกถ่านกลับมาใช้ใหม่โดยเพิ่มค่าความร้อนด้วยกากไขมัน จากบ่อดักไขมัน ซึ่งเป็นของ
เสียเช่นเดียวกัน ยังทาให้ช่วยลดปัญหามลพิษของโรงงานและชุมชนอีกด้วย
2

1.4 ขอบเขตของโครงกำรวิจัย
1.4.1. ศึกษาอัตราส่วนถ่านไม้ยางพาราที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ต่อขี้เถ้าที่ได้จากการใช้ไม้ฟืนยางพาราใน
กระบวนการต้มหม้อไอน้า
1.4.2. ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของกากไขมั นที่ผสมในถ่านไม้ยางพาราที่เหลือจากการเผาไหม้ไม่
สมบูรณ์เพื่อเพิ่มค่าความร้อนและสัดส่วนของกากน้าตาลเพื่อเพิ่มค่าความหนาแน่นให้กับถ่าน
1.4.3. ศึ ก ษาคุ ณ สมบั ติ ข องถ่ านอั ด แท่ งที่ ท ามาจากกากไขมั น และกากน้ าตาล ผสมเข้าถ่ านไม้
ยางพารา

1.5 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1.5.1. ทราบถึงประสิทธิภาพและอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมของถ่านอัดแท่งไม้ยางพาราที่เหลือจาก
การเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ผสมกากไขมันโดยมีกากน้าตาลเป็นตัวประสาน
1.5.2. เป็นแนวทางในการจัดการของเสียโดยนามาแปรรูปเพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิงอัดแท่งได้
1.5.3. เป็นแนวทางเลือกการนาถ่านไม้ยางพาราที่เหลือจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์มาสร้างคุณค่าให้
เกิดประโยชน์ได้
3

บทที่ 2
ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 ชีวมวล
คือ สารอินทรีย์ (พืช สัตว์) ได้แก่ เศษไม้ (Wood chip) ใบไม้ ส่วนต่างๆ ของไม้ที่เหลือใช้ รากต้นยาง
วัสดุ เหลือใช้ทางการเกษตร กาก-กะลา-ทะลายปาล์ม กาบ-กะลา-ทางมะพร้าว ซังข้าวโพด กากมัน แกลบ
ชานอ้อย ส่าเหล้า ขยะ น้าเสีย พืชผลทางการเกษตร ที่ปลูกขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรง เช่น พวก ไม้โต
เร็วต่างๆ หญ้าโตเร็ว เช่น หญ้าตระกูลเนเปียร์ (Napier Grass) หญ้ายักษ์ (Giant King Grass) หญ้าจักรพรรดิ
การ
2.1.1 กำรกระจำยตัวของแหล่งชีวมวล
1. อยู่รวมเป็นกลุ่ม คือ ชีวมวลจากกระบวนการแปรรูป ณ ที่ใดที่หนึ่ง และชีวมวลที่เกิดจาก
การปลูกขึ้นมาใช้เป็นวัตถุดิบโดยตรง เช่น
1.1 โรงสีข้าว
1.2 โรงงานผลิตน้าตาลทราย
1.3 โรงงานแป้งมันสาปะหลัง
1.4 โรงงานสกัดน้ามันปาล์ม
1.5 โรงงานแปรรูปไม้ยางพารา
1.6 ฟาร์ม-ไร่ ปลูกหญ้าโตเร็วหรือพืชโตเร็วขนาดใหญ่ ที่เพียงพอกับขนาดโรงไฟฟ้า
2. อยู่กระจัดกระจาย ตามพื้นที่เพาะปลูกหรือไม่มีการรวบรวม เช่น
2.1 การสีข้าวโพดโดยอาศัยอุปกรณ์สีข้าวโพดที่เคลื่อนที่ได้
2.2 เศษไม้-ปลายไม้จากสวนป่ายางพารา
2.3 ฟาร์ม-ไร่ ปลูกหญ้าโตเร็ว หรือพืชโตเร็วขนาดเล็ก
ส่วนการนาชีวมวลที่อยู่กระจัดกระจายมาเป็นเชื้อเพลิง จะมีข้อเสียเปรียบคือเสียค่าใช้จ่ายใน
การรวบรวมเพิ่มขึ้น
4

2.1.2 ขนำดของชีวมวล
ชีวมวลที่มีขนาดใหญ่ เช่น เศษไม้, ปลายไม้, ปีกไม้ จะต้องนามาตัดให้ เป็นชิ้นเล็กๆ ขนาดประมาณ
1 cm หรือไม่เกิน 2.5 cm จะทาให้ประสิทธิภาพการเผาไหม้ดีขึ้น แต่ก็มีค่าใช้จ่ายในการย่อยเพิ่มขึ้นด้วย
เช่นกัน
ชีวมวลที่มีขนาดเล็ก สามารถนามาใช้งานได้ทันที เช่น แกลบ ซึ่งจะเป็นการช่วยลดต้นทุนในเรื่อง
ของค่าใช้จ่ายใน การตัดหรือสับเป็นชิ้นเล็กๆ
2.1.3 ควำมชื้นของชีวมวล
ความชื้นหมายถึงปริมาณน้าที่มีอยู่ ชีวมวลส่วนมากจะมีความชื้นค่อนข้างสูง เพราะเป็นผลผลิตทาง
การเกษตร ถ้าต้องการนาชีวมวลเป็นพลังงานโดยการเผาไหม้ ความชื้นไม่ควรเกิน 50 %
กากมันสาปะหลังหรือส่าเหล้า ซึ่งมีความชื้นประมาณ 80-90 % ไม่เหมาะสมที่จะนามาใช้ ต้องนามา
ลดความชื้นก่อนนาไปเป็นเชื้อเพลิง
เศษไม้หรือวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร เช่น ฟางข้าว ตอซังข้าว ซังข้าวโพด มีความชื้นประมาณ 10-
60% ขึ้นอยู่กับชนิด ฤดูกาล หรือพื้นที่ โดยความชื้นสามารถลดลงได้เองโดยธรรมชาติ
พืชตระกูลหญ้าเนเปียร์ กรณีต้นสดมีความชื้นประมาณ 40-80 % ขึ้นอยู่กับพันธุ์ ฤดูกาลที่เก็บเกี่ยว
ความชื้นสามารถลดลงได้เองโดยธรรมชาติ หรือสามารถทาแห้งได้ง่ายอย่างรวดเร็ว
2.1.4 ค่ำควำมร้อนที่ได้จำกชีวมวล
ชีวมวลแต่ละชนิดเมื่อนาไปเผาไหม้จะให้ค่าความร้อนที่มากน้อยแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับค่าความชื้น
หรือปัจจัยอื่นๆ โดยสามารถใช้ค่าความร้อนนี้เป็นตัวประเมินศักยภาพของชีวมวลแต่ละชนิดได้ ค่าความร้อน
ของชีวมวลแต่ละชนิดแสดงในตารางที่ 2.1
2.1.5 ปริมำณขี้เถ้ำ
ปริมาณขี้เถ้าเป็นสิ่งที่เหลือหลังจากการเผาไหม้ โดยปริมาณขี้เถ้าในวัสดุชี วมวลมีผลต่อการเผาไหม้
ด้วยเช่ น กัน ยกตัว อย่ าง แกลบจะมี ป ริ มาณขี้เถ้า 12 % โดยน้าหนั ก ดังนั้ นในการออกแบบห้ อ งเผาไหม้
จะต้องพิจารณาถึงการรวบรวมขี้เถ้าออกจากห้องเผาไหม้อย่างมีประสิทธิภาพ ปริมาณขี้เถ้าในวัสดุชีวมวล
ประเภทต่างๆ แสดงในตารางที่ 2.1
5

ตำรำง 2.1 ตำรำงเปรียบเทียบคุณสมบัติของชีวมวลแต่ละชนิด


Proximate Analysis as Received ค่ำควำมร้อน
ชื่อตัวอย่ำง
ควำมชื้น เถ้ำ สำรระเหย คำร์บอนคง (kcal/kg)
(%) (%) (%) ตัว(%) (Dry basis)

ข้าวฟ่าง 4.31 8.63 68.3 18.23 4,051.48

ต้นข้าวโพด 13.32 6.20 64.58 15.90 4,313.90

ซังข้าวโพด 4.39 1.03 80.17 14.41 4,187.00

กะลามะพร้าว 11.79 0.85 64.03 23.33 4,860.48

กะลาปาล์ม 13.00 1.30 64.55 21.05 5,072.50

ฟางข้าว 2.86 11.24 65.64 20.26 3,503.51

แกลบ 7.27 14.07 60.87 17.79 4,009.40

มันสาปะหลัง 31.54 6.22 47.73 14.51 4,670.00

เหง้ามันสาปะหลัง 41.98 3.57 41.86 12.59 4,368.30

ไมยราบยักษ์ 9.25 4.15 64.38 22.22 4,556.10

ผักตบชวา 6.47 10.08 67.07 15.70 3,492.13

ไม้ยางพารา 3.94 4.54 16.00 73.52 6,934.02

ไม้ยูคาลิปตัส 4.30 1.51 79.10 15.09 4,436.00

ไม้กระถินยักษ์ 9.09 1.03 72.17 17.71 4,309.40

ที่มา : ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีพลังงาน ฝ่ายวิจัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง


ประเทศไทย

2.2 ถ่ำน
ถ่าน คือไม้ที่ได้จากการเผาไหม้ภายในสภาพแวดล้อมที่มีอากาศอยู่เบาบางขณะนั้น คือ ระหว่างที่ไม้
ถูกสลายตัวด้วยความร้อ น ภายในเนื้อไม้เกิดกระบวนการกาจัดน้า น้ามันดินและสารประกอบอื่นๆ ออกไป
คงเหลือถ่านที่มีคาร์บอนสูงกว่า 80 % และไม่มีความชื้นหลงเหลืออยู่ เป็นผลให้ถ่านสามารถให้พลังงานได้สูง
กว่าไม้แห้งถึงสองเท่า
6

โดยปริมาณผลผลิตถ่าน ที่ได้จากการเผาไม้มีเพียงประมาณ 25 % ส่วนที่เป็นของเหลวที่กลั่นตัวได้


(Distilled Liquids) ประมาณ 50 % และเป็นก๊าซที่กลั่นตัวไม่ได้ (Undistilled Gas) อีกประมาณ 25 %
ตารางที่ 2.2 แสดงค่าความร้อนและคุณสมบัติการเป็นเชื้อเพลิงของเชื้อเพลิงอัดแท่งชนิดต่างๆ
คาร์บอน ค่าความร้อน
ตัวอย่าง สารระเหย เถ้า กามะถัน
(%) เสถียร (%) (%) (kcal/kg)
(%)
1.ขี้เลื่อย 71.3 27.2 1.5 - 4,990
2.ขี้กบ 72.4 25.1 2.5 - 4,990
3.กากอ้อย 73.9 17.6 8.5 - 4,440
4.ชานอ้อย 71.8 23.4 4.8 - 4,510
5.แกลบ 62.7 17.4 20.0 - 3,860
6.ฟางข้าว 74.4 18.9 7.3 - 4,300
7.ต้นมันสาปะหลัง 76.2 19.1 4.7 1.30 4,300
8.เหง้ามันสาปะหลัง 75.0 17.0 8.0 0.28 4,050
9.ซังข้าวโพด 76.1 21.8 2.1 - 4,540
10.ขุยมะพร้าว 63.3 29.4 7.1 0.06 4,380
11.กะลามะพร้าว 73.7 25.5 0.7 0.03 4,830
12.ถ่าน
15.2 82.4 2.4 - 7,760
กะลามะพร้าว
13.ทางมะพร้าว 72.3 20.8 6.9 - 4,130
14.ต้นถั่วเหลือง 72.5 19.1 8.4 - 4,150
15.ผักตบชวา 58.9 15.3 25.8 - 3,010
16.เปลือกหวาย 70.5 23.7 5.7 - 4,480
17.ไมยราบยักษ์ 71.2 25.1 3.7 - 4,460
18.ทะลายปาล์ม 73.9 22.3 3.8 - 4,500
19.เส้นใยปาล์ม 71.5 23.1 5.4 - 4,820
20.ไม้ยางพารา 74.9 23.0 2.1 - 4,560
21.ถ่านไม้ยางพารา 17.5 79.1 3.4 - 7,650
22.น้ามันเตา* - - - 2.43 10,450
23.ถ่านหิน 42.8 49.5 7.7 1.73 5,860
24.ถ่านโค้ก 1.2 90.6 8.2 0.48 7,150
ที่มา : ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีพลังงาน ฝ่ายวิจัยพลังงานและสิ่งแวดล้อม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ประเทศไทย
7

2.2.1.หลักกำรเผำถ่ำน
การเผาถ่าน คือ กระบวนการเปลี่ ยนให้ ไม้ กลายเป็ น ถ่าน ซึ่ งจาแนกขั้น ตอนการเผาออกเป็ น 4
ขั้นตอนคือ
1. การไล่ความชื้น (Dehydration) อุณหภูมิ 20-270 ˚C โดยจะแบ่งออก 2 ช่วง คือ
ช่วงที่ 1 อุณหภูมิ 20-180 ˚C เป็นช่วงที่มีการให้ความร้อนเพื่อไล่ความชื้น ซึ่งก็คือน้าที่อยู่
ภายในเนื้อไม้
ช่วงที่ 2 อุณหภูมิ 180-270 ˚C เป็นช่วงที่มีการสลายตัวของเฮมิเซลลูโลส (Hemicellulose)
โดยจะสลายตัวจนหมดที่อุณหภูมิ 260 ˚C การจะทาให้ความร้อนใกล้เคียงกันทั่วทุกจุดของเตา ต้องพยายาม
รักษาอุณหภูมิให้อยู่ที่ 260 ˚C ให้ได้นาน ควันช่วงนี้จะมีสีเหลืองจาง
2. การเปลี่ยนจากไม้เป็นถ่าน (Carbonization) อุณหภูมิ 270-400 ˚C
3. การท าถ่ า นให้ บ ริ สุ ท ธิ์ (Refinement หรื อ Refining Technique) ถ่ า นจะสามารถใช้ เป็ น
เชื้อเพลิงได้เมื่อเผาเสร็จที่อุณหภูมิ 400 ˚C แล้ว แต่ยังมีน้ามันดิน (Tar) ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งอยู่รวมทั้งค่า
คาร์บอนเสถียรยังต่าอยู่ อุณหภูมิพื้นเตาประมาณ 500 ˚C ควันจะมีสีเริ่มใสจะต้องทาการปิดช่องอากาศเข้า
ความร้อนจะมีการถ่ายเทลงมาที่พื้นอุณหภูมิก็จะใกล้เคียงกันที่ 500 ˚C
4. การทาให้เย็น (Cooling) ก่อนจะนาถ่านไม้มาใช้งานต้องปิดปล่องเตาทุกปล่อง ปล่อยให้ถ่านเย็น
จนอุณหภูมิต่ากว่า 50 ˚C
2.2.2 เตำเผำถ่ำน
ในการผลิตถ่านให้ได้คุณภาพสูง มีคุณสมบัติที่สมบูรณ์ และปลอดจาก สารก่อมะเร็ง จะต้องเป็น
เตาเผาถ่านที่สามารถ เพิ่มอุณหภูมิได้สูงเกิน 1,000 ˚C โดยที่ตัวเตาต้องออกแบบมาให้สามารถทนต่อความ
ร้อนสูงที่เกิดขึ้นได้รวมทั้งมีระบบการหมุนเวียนความร้อนภายในที่ดี ซึ่งดั้งเดิมจะเป็นเตาที่เรียกว่า เตาอิวาเตะ
(Iwatae) ที่มีต้นกาเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น โดยสามารถผลิตถ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เตาเผาถ่านแบ่งได้หลายชนิด ดังนี้
1. เตาหลุมผีกรมป่าไม้
เตาหลุมผีหรือเตาหลุมหรือเตาผีเป็นเตาเผาถ่านที่มีมาแต่ครั้งโบราณและปัจจุบันยังคงมีการเผาถ่าน
ด้วยวิธีนี้กันอย่างแพร่หลายในทั่วทุกภาคของประเทศ ทั้งนี้เนื่องจากเป็นเตาเผาถ่านที่สามารถสร้างขึ้นเองได้
ง่ายและวิธีในการเผาถ่านตลอดจนการคัดเลือกไม้ที่นามาผลิตถ่านไม่ค่อยพิถีพิถันนัก เตาหลุมผีจะแตกต่างกัน
8

ไปตามรูปร่างลักษณะและวัสดุที่นามาใช้คลุมเตาเผาถ่าน เช่น เตาดินกลบ เตาแกลบกลบ เตาขี้เลื่อยกลบ


เป็นต้น

รูปที่ 2.1 เตาหลุมผี


(ที่มา: http://prengwa.blogspot.com/)

2. เตาถังคู่
เป็นการนาถังน้ามัน 200 ลิตร 2 ถังมาเจาะทะลุทั้ง 2 ด้านและเชื่อมติดกันเป็นลักษณะทรงสูงใน
แนวดิ่ง ทั้งนี้เพื่อให้สามารถจุไม้เผาถ่านได้มากขึ้น

รูปที่ 2.2 เตาถังคู่


(ที่มา: http://natee2007.thaiza.com/blog_view.php?blog_id=191395)
9

3. เตาทองก้า
เตาทองก้าเป็นเตาเผาถ่านที่มาจากต่างประเทศ สร้างจากถังน้ามัน 200 ลิตร ที่ปิดฝาทั้ง 2 ด้าน โดย
เจาะปล่ องควัน ขนาด 2.5 cm จ านวนด้านละ 3 ปล่ อง รวม 6 ปล่ อง และเจาะช่องส าหรับใส่ไม้เผาถ่าน
บริเวณกลางถังขนาดกว้าง 30 cm ยาว 73 cm

รูปที่ 2.3 เตาทองก้า


(ที่มา: https://www.google.co.th/search?q=เตาทองก้า )
4. เตาถังเดี่ยวแบบนอน
เป็นเตาเผาถ่านที่ดัดแปลงให้สามารถเก็บน้าส้มควันไม้ได้ ทาให้มีการพัฒ นาและส่งเสริมกันอย่าง
แพร่หลายทั้งหน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน และธนาคาร เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.)
เป็นต้น

รูปที่ 2.4 เตาถังเดี่ยวแบบนอน


(ที่มา: https://www.google.co.th/search?q=เตาถังเดี่ยวแบบนอน)
10

5. เตาดินเหนียวก่อ
เตาดินเหนียวก่อมีรูปลักษณะคล้ายจอมปลวก ตัวผนังเตาส่วนหนึ่งอยู่บนดิน อีกส่วนหนึ่งขุดลึกลงไป
ต่ากว่าระดับผิวดิน ทั้งนี้เพื่อลดปริมาณดินเหนียวที่ต้องนามาใช้ทาผนังเตาและเพิ่มความแข็งแรงของฐานเตา
เนื่องจากผนังฐานเตาอยู่ใต้ระดับผิวดิน เตาดินเหนียวก่อนี้สามารถพบได้ทั่วไปในชนบทของประเทศไทย ผนัง
เตาที่ใช้ก่อขึ้นมาเหนือพื้นดินนั้นก่อด้วยดินเหนียว แต่ไม่จาเป็นต้องใช้ดินเหนียวล้วน อาจใช้ดินลูกรัง หรือ
ทรายหยาบปนได้บ้างเล็กน้อย เพื่อป้องกันผนังเตาแตกร้าวในระหว่างการเผาถ่านในกรณีที่ใช้ดินเหนียวล้วนๆ

รูปที่ 2.5 เตาดินเหนียวก่อ


(ที่มา: https://www.google.co.th/search?q=เตาดินเหนียวก่อ)
6. เตาอิฐก่อ
เตาอิฐก่อขนาด 2 ลูกบาศก์เมตร มีรูปลักษณะเหมือนมะนาวผ่าซีก ซึ่งคล้ายเตาดินเหนียวก่อแต่จะ
เตี้ยกว่าเตาดินเหนียวก่อเล็กน้อย ผนังเตาทาด้วยอิฐมอญ โดยทั่วไปเตาอิฐก่อจะเผาถ่านเพื่อการค้าเสียเป็น
ส่วนมาก เช่น เตาเผาไม้โกงกาง หรือไม้ยูคาลิปตัส ตัวเตาอาจมีความจุมากถึง 20 ลูกบาศก์เมตร

รูปที่ 2.6 เตาอิฐก่อ


(ที่มา: http://www.pizzaoventhailand.com/references_pizza_oven_TH.htm)
11

2.3 ถ่ำนอัดแท่ง
ถ่ า นอั ด แท่ ง Charcoal Briquettes ค าว่ า Charcoal หมายถึ ง ถ่ า นหรื อ คาร์ บ อน ส่ ว นค า
ว่า Briquette หมายถึง วัสดุที่สามารถให้ความร้อนที่มีลักษณะเป็นก้อนหรือแท่ง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งถ่าน
อัดแท่งก็คือ ถ่านที่นามาขึ้นรูปเป็นแท่งหรือก้อน เพื่อนามาใช้เป็นแหล่งพลังงานความร้อน โดยมากแล้วจะใช้
สาหรับประกอบการทาอาหารปิ้ง ย่าง นั่นเอง
2.3.1 ส่วนประกอบถ่ำนอัดแท่ง

- ถ่านจากไม้ กะลา ฟางข้าว แกลบ เศษไม้ ขี้เลื่อย ถ่านหิน Biomass ฯลฯ ภาษาอังกฤษเรียกว่า
Mineral Charcoal ส่วนนี้ใช้สาหรับเป็นเชื้อเพลิง
- ผงแป้ง (Starch) ใช้เป็นตัวยึดผงถ่านให้ยึดติดกันดี
- โซเดียมไนเตรท (Sodium nitrate) ใช้เร่งให้ไฟแรง
- แวกซ์ (Wax) ใช้เป็นตัวยึดผงถ่าน เป็นตัวเร่งให้ไฟแรงขึ้น แถมยังช่วยให้ติดไฟได้ง่ายอีกด้วย
นอกจากนั้น อาจมีการเติม หินปูน (Limestone) บอแรกซ์ (Borax) หรือสารเคมีตัวอื่นๆ เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพหรือคุณสมบัติของถ่านให้ดีขึ้น
1) วัสดุที่ใช้ในการผลิตถ่านอัดแท่ง
วัตถุดิบในการผลิตถ่านอัดแท่ง มีหลากหลายชนิด เช่น ซังข้าวโพด กะลามะพร้าว แกลบ ขี้
เลื่อย ฟางข้าว ชานอ้อย ต้นมันสาปะหลัง เหง้ามันสาปะหลัง หญ้าคา หญ้าขจรจบ ไมยราบ ผักตบชวา ใบ
จามจุรี กะลาปาล์ม ต้นฝ้าย ต้นข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากทานตะวัน เปลือกทุเรียน เศษถ่านหุงต้มที่เหลือใช้
ฯลฯ (ข้อมูลจาก กรมพัฒนาและการส่งเสริมพลังงาน, 2535)
ส่วนผสมของถ่านอัดแท่ง
ผงถ่าน 10 kg
แป้งมัน 0.5 kg
น้า 3 L
(ปริมาณน้าสามารถปรับได้ ขึ้นอยู่กับความชื้นของวัสดุ)
2) ตัวประสานของถ่านอัดแท่ง
วัสดุประสานเป็นวัสดุที่ใช้ติดวัตถุชนิดเดียวกัน หรือวัตถุต่างชนิดกัน เข้าด้วยกันให้แน่น โดย
ผลิ ตจากวัส ดุธ รรมชาติ เช่น กาวยางไม้ หรือวัส ดุ สั งเคราะห์ ท างวิท ยาศาสตร์ เช่น อี พ อกซี ซึ่งเป็ น วัส ดุ
ประสานที่นาไปใช้ในงานการทาเครื่องเรือน อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมรถยนต์ เครื่องบิน เครื่อง
อุปกรณ์ไฟฟ้าอิเลคทรอนิกส์ ฯลฯ
12

2.1) วัสดุที่ใช้ประสานในถ่านอัดแท่ง
1.) กากไขมัน
ไขมันเป็นสารอินทรีย์ที่มีเสถียรภาพและมีโมเลกุลค่อนข้างซับซ้อนกว่าสารอินทรีย์อื่น
และย่อยสลายโดยจุลินทรีย์ได้ยาก แต่ไขมันมีคุณสมบัติด้านพลังงานที่น่าสนใจโดยเฉพาะไขมันที่มาจากขยะ
ประเภทเศษอาหาร ซึ่งมีการศึกษาองค์ประกอบของไขมัน พบว่า มีค่าความร้อนอยู่ระหว่าง 7,448 – 9,148
kcal/kg มีความชื้นร้อยละ 0 – 2.00 โดยน้าหนัก เถ้าร้อยละ 0 – 0.20 โดยน้าหนัก คาร์บอนเสถียรร้อยละ
2.36 – 2.50 โดยน้าหนัก ซัลเฟอร์ร้อยละ 0 – 0.07 โดยน้าหนักและสารระเหยร้อยละ 95.30 – 97.64 โดย
น้าหนัก (สุธีรา สุนทรารักษ์, 2557)
ไขมัน 1 g ให้พลังงาน 9 kcal (ที่มา : http://devshop.tripod.com/Lesson7.htm)

2.) กากน้าตาล
กากน้าตาล (Molasses) เป็นของเหลวที่เป็นผลพลอยได้จากการผลิตน้าตาลทราย
จากอ้ อ ยในกระบวนการผลิ ต ที่ แ ยกตั ว ออกมาเป็ น กากน้ าตาล ขี้ ต ะกอนและกากอ้ อ ย ประโยชน์ ข อง
กากน้าตาลมีมากมายหลายอย่างเนื่องจากมีน้าตาลและแร่ธาตุชนิดต่างๆ เป็นองค์ประกอบ ซึ่งน้าตาลเป็น
แหล่งอาหารพลังงานที่เหมาะสมจึงมีการนามาผสมอาหารสัตว์ได้หลายชนิด ใช้ผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ ยหมักและ
น้าหมักชีวภาพที่มีองค์ประกอบของธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ซึ่งเป็นสารอาหารที่สาคัญต่อ
พืช
กากน้าตาลเป็นผลพลอยได้จากอุตสาหกรรมน้าตาล มีน้าตาลเป็นองค์ประกอบหลัก
ซึ่ งจั ด เป็ น สารประเภทคาร์ โบไฮเดรต ดั งนั้ น จะให้ พ ลั ง งานความร้อ นไม่ เกิ น 4 kcal/g , 4,000 kcal/kg
(ที่มา: http://devshop.tripod.com/Lesson7.htm)
2.2) สัดส่วนตัวประสานที่ใช้ในถ่านอัดแท่ง
ตัว ประสานที่ใช้ในการอัดผงถ่านให้ เป็น แท่ ง โดยมากมักใช้แป้งมันผสมผงถ่านในสั ดส่ ว น
ประมาณ 10 % โดยน้ าหนั ก และใช้น้ าเป็ น ตัว ท าละลายให้ แป้งเกิดความเหนี ยวอีกประมาณ 8 % โดย
น้าหนักแป้งช่วยให้ง่ายต่อการยึดเกาะตัวของผงถ่านในการขึ้นรูป

2.3.2 กำรอัดแท่ง
หลักการผลิตถ่านอัดแท่งมี 2 วิธี
- การอัดร้อน เป็นการอัดวัสดุโดยที่วัสดุไม่จาเป็นต้องเป็นถ่านมาก่อนเมื่ออัด เป็นแท่งเสร็จ
แล้ว ค่อยนาเข้าเตาให้เป็นถ่านอีกครั้งหนึ่งวัสดุที่สามารถผลิตโดยวิธีการอัดร้อนขณะนี้มี 2 ชนิด คือ แกลบ
และขี้เลื้อยเพราะวัสดุทั้ง 2 ชนิดนี้ เมื่อโดนอัดด้วยความร้อนจะมีสารในเนื้อของวัสดุยึดตัวมันเองจึงทาให้
สามารถยึดเกาะเป็นแท่งได้โดยที่ไม่ต้องใช้ตั วประสานโดยที่เครื่องอัดต้องเป็นเครื่องอัดชนิดอัดร้อนซึ่งราคา
ค่อนข้าง สูง
13

- การอัดเย็นเป็นการอัดวัสดุที่เผาถ่านมาแล้ว แล้วนามาผสมกับแป้งมันหรือวัสดุประสานอื่นๆ
โดยทั่วไปจะเป็นแป้งมัน ถ้าวัสดุใดมีขนาดใหญ่ เช่น กะลามะพร้าวเมื่อผ่านการเผาแล้วต้องมีเครื่องบดให้
ละเอียดก่อน แล้วค่อยนามาผสมกับแป้งมันและน้าในอัตราส่วนตามที่ต้องการ เพื่อให้สามารถยืด เกาะกันและ
ขึ้นรูปเป็นแท่งได้ง่าย
2.3.3 เครื่องอัดแท่ง
เครื่องอัดแท่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. เครื่องอัดแท่งแบบลูกสูบ (Piston Press) ประกอบด้วยลูกลูบชัก (Reciprocating Piston)
เพื่อดันวัตถุดิบที่มาจากช่อง ป้อนเข้าไปในกระบอกอัดรูปเรียว(Tapered Die) หลักการทางานคือ ลูกสูบอัด
วัสดุเข้าไปในปลายท่อ (Barrel) หรือกระบอกอัด ซึ่งมีลักษณะเป็นตัวรีดรูปกรวย (Conical Chock) หรือรูป
เกลียวจะทาหน้ าที่ต้านการเคลื่ อนที่ของวั สดุ ผลจากการต้านนี้รวมทั้งการขัดสีวัส ดุกับผนังท่อ ทาให้เกิด
ความร้อนที่อุณหภูมิในช่วง 150-300 ˚C และได้ผลิตภัณฑ์ที่ถูกอัดแท่งออกมาเป็นรูปทรงกระบอก ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลาง 50-100 mm เครื่องอัดแบบนี้มีความสามารถในการผลิตได้ 40-1,000 kg/hr และมีปัญหา
ที่พบโดยทั่วไปคือ การสึกกร่อนจากการขัดสีของกระบอกอัดและการแตกของลูกสูบ

รูปที่ 2.7 เครื่องอัดแบบลูกสูบ (Piston Press) (ที่มา: จุฑามาศ, 2547)

2. เครื่องอัดแบบเกลียว (Screw Press) ในเครื่องอัดแบบเกลียว วัตถุดิบที่ใช้อัดจากช่องป้อน


(Feed Hopper) ถูกส่งผ่านและอัดด้วยเกลียว แบ่งเครื่องอัดแบบนี้ได้เป็น 3 ประเภท คือ
2.1 เครื่องอัดแบบเกลียวรูปกรวย (Conical Screw Press) มีหลักการทางานคือ เกลียวรูป
กรวยจะดันให้วัสดุเคลื่อนตัวไปข้างหน้า เมื่อพ้นเกลียวไปวัสดุถูกดันผ่านกระบอกอัดขนาด 25 mm การไหล
ผ่านของวัสดุเข้าไปในกระบอกอัดเพิ่ มขึ้นพร้อมกับแรงเสียดทานที่มากขึ้น ทาให้อุณหภูมิสูงขึ้นระหว่าง 100-
200 ˚C ส่งผลให้ลิกนินหลอมละลายทาหน้าที่เป็นตัวประสานหลังจากระบายความร้อนจะได้แท่งเชื้อเพลิงอัด
14

กาลังในการผลิตของเครื่องอัดแท่งแบบนี้อยู่ในช่วง 500-1,000 kg/hr อัตรากาลังของมอเตอร์ที่ใช้ขับ เคลื่อน


อัดอยู่ระหว่าง 35-75 kw วัสดุที่ใช้ทาการอัดควรมีลักษณะเป็นเม็ดละเอียดและมีความชื้นร้อยละ 8-10
2.2 เครื่องอัดแบบเกลียวพร้อมด้วยขดลวดความร้อนที่กระบอกอัด (Screw press with a
heated die) มีหลักการทางาน คือวัสดุถูกดันโดยเกลียวที่มีลักษณะเป็นทรงกระบอกหรื อรูปกรวยเล็กน้อย
ผ่านเข้าไปในท่อ (Barrel) หรือกระบอกอัดที่มีอุณหภูมิจากขดลวดความร้อนระหว่าง 200-350 ˚C ความ
ร้อนนี้ทาให้วัสดุที่สัมผัสกับท่อเกิดการเผาไหม้และได้ผลิตภัณฑ์ที่ถูกยึดตัวกันดี ลักษณะเป็นท่อทรงกระบอก
หกเหลี่ยมขนาดประมาณ 50 mm โดยเฉพาะการออกแบบของหั วเกลียวทาให้ได้เชื้อเพลิงอัดแท่งที่มีรูกลวง
ตรงกลางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20 mm เพื่อเป็นช่องให้ก๊าซหรือควันที่เกิดในระหว่างการอัดถ่ายเท
ออกมา กาลังในการผลิตของเครื่องอัดแบบนี้อยู่ในช่วง 50-500 kg/hr วัสดุที่ใช้มีลักษณะเม็ดละเอียดและมี
ปริมาณความชื้นในช่วงร้อยละ 8-12 ปัญหาใหญ่ของเครื่องอัดแบบนี้คือ การขัดสีของเกลียวและกระบอกอัด
2.3 เครื่องอัดแบบเกลี ย วคู่ (Twin-screw press) เครื่องอัดแบบนี้มีเกลียวอัด 2 อัน ต่อกับ
เพลาที่สวมเข้ากับชิ้นส่วนของเกลียว (Screw Parts) ที่เปลี่ยนความเร็วในการหมุนได้ เนื่องจากแรงอัดและ
แรงเสียดทานสูง ทาให้อุณหภูมิของวัตถุดิบสูงถึง 250 ˚C จึงต้องมีส่วนหล่อเย็นที่กระบอกอัด สาหรับวัตถุดิบ
ที่ใช้อัดควรมีขนาด 30-80 mm และวัตถุดิบที่มีปริมาณความชื้นร้อยละ 25 ขึ้นไป จึงจะสามารถ
ทาการอัดได้ โดยไม่ต้องทาให้แห้งเสียก่อน กาลังการผลิตของเครื่องนี้อยู่ในช่วง 2,800-3,600
kg/hr ขึ้นอยู่กับส่วนผสมของวัตถุดิบที่ใช้

รูปที่ 2.8 เครื่องอัดแบบเกลียว(Screw Presses) (ที่มา: จุฑามาศ, 2547)

3 เครื่องอัดแบบลูกกลิ้ง (Roll Press) เครื่องอัดแบบลูกกลิ้งนี้ มีการทางาน โดยจะเริ่มทางาน


อัดวัตถุดิบที่ตกลงมาในระหว่างลูกกลิ้งทั้งสองที่หมุนทิศทางตรงกันข้ามทา ให้วัตถุดิบถูกอัดแน่นเข้าไปในตัว
รองรับแท่นอัด (Pillow-shaped briquetted) การอัดแท่งแบบนี้ต้องการวัสดุที่มีขนาดเล็กกว่าการอัดแบบ
อื่น และแท่งอัดที่ได้มีความทนทานน้อยกว่าแท่งอัดที่ได้จากการอัดแบบอื่นเนื่องจากช่วงเวลาในการอัดสั้น ทา
ให้ยากต่อการสร้างสภาวะของอุณหภูมิแรงอัดในการหลอมละลายลิกนิน ได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นการอัดแท่งด้วย
วิธีนี้จะได้ผลสาเร็จดีจาเป็นต้องใช้ตัวประสานเข้าช่วย ที่ทาให้วัสดุเกาะติดกัน
15

4 เครื่องอัดเม็ดหรืออัดเป็นแท่งเล็ก ๆ (Pelletizing Press) เครื่องอัดแบบนี้ประกอบด้วย


แม่พิมพ์ (Matrix) และลูกกลิ้ง (Roller) ซึ่งแรงอัดระหว่างแม่พิมพ์กับ ลูกกลิ้งทาให้เกิดความร้อนจากแรง
เสียดสีและทาการอัดวัตถุดิบผ่านแม่พิมพ์ที่เจาะเป็นรูซึ่งมี 2 แบบ คือ เครื่องอัดแบบแม่พิมพ์แผ่นกลม (Disk
matrix press) และเครื่องอัดแม่พิมพ์วงแหวน (Ring matrix press) แท่งอัดเม็ดที่ถูกอัดออกมาแล้วจะถูกตัด
ด้วยใบมีดตามขนาดความยาวที่กาหนดให้ ซึ่งปกติจะมีความยาวน้อยกว่า 30 mm และมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-
15 mm ถ้าแท่งอัดมีขนาดใหญ่กว่านี้แล้วจะใช้การอัดเป็นลูกบาศก์ (Cubing) แทนการอัดเม็ด

รูปที่ 2.9 เครื่องอัดแบบเม็ด (Pellet Presses) (ที่มา: จุฑามาศ, 2547)

2.3.4 คุณสมบัติของถ่ำนและเชื้อเพลิงอัดแท่ง
โดยทั่วไปเชื้อเพลิงอัดแท่งมีคุณลักษณะคล้ายฟืน มีค่าความร้อนต่ากว่าถ่านมากเวลาจุดมีควัน
มาก การประเมินคุณภาพและคุณสมบัติของเชื้อเพลิงชีวมวลจะใช้องค์ประกอบสาคัญของเชื้อเพลิงซึ่งเป็น
หลักในการประเมินคุณภาพ คือ
1. ปริมาณความชื้น (Moisture Content) คือ ปริมาณความชื้นต่อปริมาณของเนื้อ เชื้อเพลิง
อัดแท่งอบแห้ง โดยน าเชื้อเพลิงไปอบหาค่าความชื้นที่อุณหภูมิ 105 ˚C นาน 1 hr ความชื้นมีผลทาให้ค่า
ความร้อนของเชื้อเพลิงอัดแท่งลดลง และทาให้เชื้อเพลิง อัดแท่งแตกกร่อนได้ง่าย
2. ปริมาณเถ้า (Ash Content) คือส่วนของสารอนินทรี ย์ที่เหลือจากสภาวะสันดาปภายใน
เตาเผาที่อุณหภูมิ 950 ˚C เป็นเวลา 30 min ซึ่งประกอบด้วยซิลิกาแคลเซียมออกไซด์ แมกนีเซียมออกไซด์
เป็นต้น
3. สารที่ระเหยได้ (Volatile Matters) ปริมาณสารระเหย คือ ส่วนของเนื้อเชื้อเพลิงอัดแท่ง
แห้งที่ระเหยได้เมื่อ นาไปอบที่อุณหภูมิ 750 ˚C นาน 1 hr ซึ่งเป็นสารประกอบที่มีคาร์บอนออกซิเจน และ
ไฮโดรเจน
16

4. ปริมาณคาร์บอนคงตัว (Fixed Carbon) คือ ปริมาณสารประกอบคาร์บอนซึ่งระเหยได้ยาก


โดยจะคงเหลื ออยู่ในของเสีย หาได้จาก ร้อยละคาร์บอนคงตัว = 100 – (ร้อยละของปริมาณความชื้น ) –
(ร้อยละของปริมาณสารระเหย) – (ร้อยละของปริมาณเถ้า) ของเสียที่มีปริมาณคาร์บอนคงตัวสูงจึงมีช่วงเวลา
ในการลุกไหม้นาน
5. กามะถันรวม (Total Sulfur) เมื่อกามะถันทาปฏิกิริยาสันดาปกับออกซิเจน จะกลายเป็น
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ดังนั้นหากของเสียที่มีกามะถันเป็นองค์ประกอบอยู่ในปริมาณมาก จึงไม่เหมาะจะเป็น
เชื้อเพลิงเนื่องจากจะเกิดมลสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์จากการเผาไหม้ในปริมาณมากด้วย
6.ค่าความร้ อน (Calorific value or Heating value) คื อ ปริม าณความร้อนที่ เกิ ดขึ้ น เมื่ อ
ของเสียถูกเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ หรือเรียกว่า ความร้อนของการเผาไหม้ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ค่าความ
ร้อนสูงและค่าความร้อนต่า มีหน่วยเป็นกิโลจูล (kJ) หรือ กิโลแคลอรีต่อกิโลกรัมของเสีย (kcal/kg)
ค่าความร้อนสู ง (High Heating Value, HHV) เป็นปริมาณความร้อนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการเผา
ไหม้ของเสีย ซึ่งรวมถึงปริมาณความร้อนแฝงที่ถูกปลดปล่อยออกมาเมื่อไอน้าที่เกิดจากการเผาไหม้น้าที่เป็น
องค์ประกอบของของเสียเกิดการควบแน่น
ค่าความร้อนต่า (Low Heating Value, LHV) เป็นค่าความร้อนจากการเผาไหม้ ของเสียที่ไม่รวมค่า
ความร้อนแฝง
ค่าความร้อนสูงและค่าความร้อนต่าที่ตรวจวัดได้ในของเสียชนิดหนึ่งจะแตกต่างกันเสมอ โดยค่า
ความแตกต่างขึ้นอยู่กับปริมาณน้าหรือความชื้นที่อยู่ในของเสีย ดังนั้น ในกรณีของเสียมีความชื้นมากๆ อาจ
ใช้วิธีการตากแดดหรือผึ่งลมเพื่อลดความชื้นในของเสีย แล้วตรวจวัดเฉพาะค่าความร้อนสูงก็ได้ เนื่องจากใน
ระหว่างการผลิตเชื้อเพลิงแท่งนั้น กระบวนการอัดและการตากแห้งแท่งเชื้อเพลิงก่อนนาไปใช้ จะทาให้น้าใน
ของเสียถูกกาจัดออกไปบางส่วน และคงเหลือในแท่งเชื้อเพลิงอีกบางส่วน
2.3.5 กำรหำคุณสมบัติของถ่ำน
1) กำรหำคุณสมบัติทำงเคมี
1.1) กำรหำปริมำณควำมชื้น (Moisture) ASTM D 3173
ก) เครื่องมือ
(1) เตาอบ (Moisture Over)
(2) ถ้วย (Crucible)
(3) โถดูดความชื้น (Desiccators)
17

ข) วิธีการทดลอง
(1) นาถ้วย (Crucible) ที่สะอาดไปอบ 30 min ที่อุณหภูมิ 105 ˚C แล้วนาไปทาให้เย็น
โดยใส่ในโถดูดความชื้น (Desiccators) 15 min จึงนาไปชั่งน้าหนัก
(2) ใส่ตัวอย่างประมาณ 1 g จากนั้นนาไปชั่งน้าหนัก (W1)
(3) น าไปอบในเตาอบที่ อุณ หภูมิ 105 ˚C นาน 1 hr แล้ ว ทาให้ เย็น ในโถดูด ความชื้ น
(Desiccators) 20 min จึงนาไปชั่งน้าหนัก (W2)
ค) สูตรการคานวณ
M = (W1 – W2) / W1 * 100 (2.1)
M = ร้อยละของปริมาณความชื้น
W1 = น้าหนักถ้วยและตัวอย่างก่อนอบ (g)
W2 = น้าหนักถ้วยและตัวอย่างหลังอบ (g)
1.2) กำรหำค่ำควำมร้อน (Heating Value) ASTM D 5865
ก) เครื่องมือ
(1) Oxygen Bomb Calorimeter
(2) บีกเกอร์
(3) บิวเรต
ข) สารเคมี
(1) Methyl Orange Indicator
(2) สารละลายโซเดียมคาร์บอเนต 0.0709 N
ค) วิธีการทดลอง
(1) ตัดลวด (Fuse wire) ยาวประมาณ 10 cm ผูกที่ปลายทั้งสองของแท่งเหล็กด้านล่าง
ของฝาบอมบ์
(2) ใส่ถ่านอัดแท่งที่ได้ประมาณ 1 g ลงไปในถ้วย
(3) วางถ้วยบนช่วงปลายเหล็กด้านฝาบอมบ์ จัดลวดให้สัมผัสตัวอย่างเติมน้ากลั่น 1 ml
ลงไปในตัวบอมบ์
(4) ประกอบฝาบอมบ์กับตัวบอมบ์ นาไปอัดออกซิเจนให้ได้ความดันประมาณ 3 bar ใส่
น้ากลั่นที่มีอุณหภูมิประมาณ 24 ˚C ปริมาณ 2L ลงในกระบอกสาหรับบอมบ์
(5) เปิ ด สวิ ต ช์ รอประมาณ 20 min อ่ า นค่ า ความร้ อ นที่ แ สดงบนโปรแกรมใน
คอมพิวเตอร์ ซึ่งค่าความร้อนที่ได้จะเป็น ค่าความร้อนสูง (High Heating Value, HHV)
(6) นาตัวบอมบ์ออก ปล่อยก๊าชออกจากตัวบอมบ์อย่างช้าๆ
(7) ล้างฝา ตัวบอมบ์และถ้วยที่บรรจุถ่านอัดแท่งด้วยน้ากลั่น
18

1.3) กำรหำปริมำณเถ้ำ (Ash) ASTM D 3174


ก) เครื่องมือ
(1) เตาอบ (Moisture Oven)
(2) ถ้วย (Crucible)
(3) โถดูดความชื้น (Desiccators
ข) วิธีการทดลอง
(1) นาถ้วย (Crucible) ที่สะอาดไปอบ 30 min ที่อุณหภูมิ 105 ˚C แล้วนาไปทาให้เย็น
โดยใส่ในโถดูดความชื้น (Desiccators) 15 min จึงนาไปชั่งน้าหนัก ใส่ตัวอย่างประมาณ 1 g จากนั้นนาไปชั่ง
น้าหนัก (W3)
(2) นาไปอบในเตาอบที่อุณหภูมิ 950 ˚C นาน 30 min แล้วทาให้เย็นในโถดูดความชื้น
(Desiccators) 20 min จึงนาไปชั่งน้าหนัก (W4)
ค) สูตรการคานวณ
M = (W4/W3) * 100 (2.2)
M = ร้อยละของปริมาณเถ้า
W3 = น้าหนักของเชื้อเพลิงก่อนอบ (g)
W4 = น้าหนักของเชื้อเพลิงหลังอบ (g)

1.4) หำปริมำณคำร์บอนคงตัว (Fixed Carbon) ASTM D3172


ทาการคานวณตามสมการต่อไปนี้
ร้อยละคาร์บอนคงตัว = 100 – (ร้อยละของปริมาณความชื้น ) – (ร้อยละของปริมาณสารระเหย) – (ร้อยละ
ของปริมาณเถ้า)

1.5) สำรระเหย (Volatile Matter) ASTM D 3175


ก) เผา Crucible พร้อมฝาที่อุณหภูมิ 950 ˚C ประมาณ 30 min แล้วนาไปทาให้เย็น
โดยนาไปใส่ในโถดูดความชื้น (Desiccators) เป็นเวลา 15 min จึงนาไปชั่งน้าหนักด้วย เครื่องชั่งทศนิยม 4
ตาแหน่ง (W5)
ข) ใส่ตัวอย่างประมาณ 1 g จากนัน้ นาไปชั่งน้าหนักด้วยเครื่องชั่งทศนิยม 4 ตาแหน่ง
ค) นาไปใส่ในเตา อบที่อุณหภูมิ 750 ˚C นาน 1 hr แล้วปล่อยไว้ในเตา 7 min
19

ง) น าออกจากเตาเผา ทิ้ งให้ เย็ น ในโถดู ด ความชื้ น ประมาณ 30 min แล้ ว น าไปชั่ ง
น้าหนัก (W6)
จากนั้นทาการคานวณตามสมการต่อไปนี้
V = (W5 - W6)/W5 x 100 – M (2.3)
V = ร้อยละของปริมาณสารระเหย
M = ร้อยละปริมาณความชื้น
W5 = น้าหนักอบแห้งของเชื้อเพลิงก่อนอบ (g)
W6 = น้าหนักอบแห้งของเชื้อเพลิงหลังอบ (g)

2) กำรหำคุณสมบัติควำมเป็นเชื้อเพลิงและควำมร้อน
เปลือกไม้ยางพาราจะให้ ถ่านร้อยละ 26.18 ของน้าหนักเปลือกไม้ยางพาราเมื่อศึกษา
ปริ มาณความร้ อนของถ่านจากเปลื อกไม้ย างพาราและถ่านที่ ซื้อจากท้องตลาด จะให้ ป ริม าณความร้อ น
2,333.33 และ 1,600 แคลอรีต่อถ่าน 5 กรัมเมื่อทดสอบระยะเวลาการเผาไหม้ พบว่าถ่านจากเปลือกไม้
ยางพาราใช้เวลาในการเผาไหม้จนหมดน้อยที่สุด คือ 32.33 min ถ่านกะลามะพร้าว 2.33 min และถ่านที่
ซื้อจากท้องตลาดใช้เวลานานที่สุด 45.67 min ถ่านจากเปลือกไม้ยางพารา ให้น้าหนักขี้เถ้า ร้อยละ 5.35 เมื่อ
ทาการทดสอบนาถ่านมาใช้ในการหุงต้ม คือต้มน้าและหุงข้าวเปรียบเทียบเวลาที่ทาให้น้าเดือด และหุงข้าวจน
สุก เปรียบเทียบกับถ่านที่ซื้อจากท้องตลาดถ่านจากเปลือกไม้ยางพารา ใช้เวลาเฉลี่ยในการต้มน้า 19.33 min
ถ่านจากท้องตลาดใช้เวลา 20.67 min และใช้เวลาในการหุงข้าวจนสุกใช้เวลาเท่ากัน คือ 26.33 min เมื่อ
ทดสอบความสิ้นเปลืองในการใช้งาน ถ่านเปลือ กไม้ยางพารา มีอัตราสิ้นเปลืองสูงกว่าถ่านจากท้องตลาดร้อย
ละ11.85 ดังนั้นถ่านจากเปลือกไม้ยางพาราจึงสามารถนามาเป็นเชื้อเพลิงทดแทนถ่านจากไม้ได้ในระดับหนึ่ง
(ที่มา : http://www.charcoal.snmcenter.com/charcoalthai/comparepara.php)
20

3) กำรหำคุณสมบัติเชิงกล
3.1) กำรทดสอบค่ำควำมหนำแน่น (Density)
จากสูตร
P = M/V
P = ความหนาแน่นของถ่านอัดแท่ง (g/cm3)
M = มวลของถ่านอัด (g)
V = ปริมาตรของถ่านอัดแท่ง (cm3)

3.2) กำรทดสอบค่ำกำรทนแรงกด (Compressive Strength)


1) ทดสอบแนวตั้ง การทดสอบทาโดยนาตัวอย่างถ่านอัดแท่งมาตัดด้วยเลื่อยไฟฟ้าเพื่อ
ท าให้ ป ลายทั้ ง สองของถ่ า นอั ด แท่ งเรี ย บเสมอกั น จากนั้ น น าไปวางแนวตั้ งในเครื่ อ ง UTM (Universal
Testing Machine) เพื่อทดสอบต่อไป ซึ่งค่าการทนแรงกดของถ่านอัดแท่งนั้นเป็นค่ าแรงเค้น (Stress) สูงสุด
ที่ถ่านอัดแท่งรับไดซึ่งหาได้จากความสัมพันธ์

 = F/A
= การทนแรงกดของถ่านอัดแท่ง (kg/cm2)
F = แรงกดที่กระทาตัวอย่างจนกระทั่งตัวอย่างแตก (kg)
A = พื้นที่หน้าตัดของถ่านอัดแท่ง (cm2)

2) ทดสอบแนวนอน ใช้ตัวอย่ างแบบเดียวกับแนวตั้ง เพื่อวัดขนาดของแรงสูงสุด (Peak


load) ที่ทาให้ถ่านอัดแท่งแตก แล้วเปรียบเทียบกับการทดสอบการทนแรงกดของถ่านอัดแท่งแนวตั้ง

3.3) กำรทดสอบดัชนีกำรแตกร่วน (Drop Shatter Test)


เพื่อหาความสามารถของถ่ านอัดแท่งที่จะมีความทนทานระหว่างการขนส่ ง การเก็บ
รักษาและการนามาใช้งาน วิธีทดสอบทาโดยนาถ่านอัดแท่งใสถุงพลาสติก 5 kg แล้วปล่อยจากที่สูง 2 m ลงสู่
พื้นคอนกรีตซ้าๆ กัน 3 ครั้งจากนั้นนาไปร่อนด้วยตะแกรงขนาด 20 mm นาส่วนของถ่านอัดแท่งที่เหลือจาก
การร่ อ นแล้ ว ไปชั่ งน้ าหนั ก ซึ่ งจะสามารถหาค่ าดั ช นี ก ารแตกร่ ว น (Friability index) หรือ ดั ช นี ก ารแตก
ละเอียด (Shatter index)
ได้จากสูตร
R = w/wf
R = ดัชนีการแตกร่วน
W = น้าหนักของถ่านอัดแท่งก่อนทดสอบ (kg)
wf = น้าหนักของถ่านอัดแท่งที่เหลือหลังทดสอบ (kg)
21

จากการศึกษาการทาถ่านอัดแท่งของ วิชิต ทองธิสาร สมจิตร คาษาวงค์ และสรายุทธ มะโรงวัง ในปี


2557 ใช้กากไขมัน แป้งมันสาปะหลัง และกากน้าตาลในสัดส่วนต่างๆ ตารางที่ 2.3 และ 2.4 เป็นตัวประสาน
ช่วยเพิ่มค่าความร้อนของถ่านอัดแท่งผักตบชวาได้สูงถึง 5,000-6,000 kcal/kg ซึ่งเดิมมีค่าความร้อนเพียง
2,000-3,000 kcal/kg

ตำรำง 2.3 อัตราส่วนผสมเชื้อเพลิงอัดแท่ง ถ่านผักตบชวา โดยใช้กากไขมันและแป้งมันเป็นตัวประสาน


อัตราส่วนผสม
ตัวอย่าง ค่าความร้อน
ถ่าน กากไขมัน แป้งมัน
(kcal/kg)
1 1 0.5 0.1 5,447.89
2 1 0.5 0.5 5,010.99
3 1 1 0.1 6,084.60
4 1 1 0.5 5,575.28
5 1 1.5 0.1 6,718.45
6 1 1.5 0.5 5,959.60
ที่มา: วิชิต ทองธิสาร สมจิตร คาษาวงค์ และสรายุทธ มะโรงวัง (2547).

ตำรำง 2.4 อัตราส่วนผสมเชื้อเพลิงอัดแท่ง ถ่านผักตบชวา โดยใช้กากไขมันและกากน้าตาลเป็นตัวประสาน


อัตราส่วนผสม
ตัวอย่าง ค่าความร้อน
ถ่าน กากไขมัน กากน้าตาล
(kcal/kg)
1 1 0.5 0.1 5,579.83
2 1 0.5 0.5 5,542.54
3 1 1 0.1 6,135.99
4 1 1 0.5 6,067.64
5 1 1.5 0.1 6,714.39
6 1 1.5 0.5 6,582.93

ที่มา: วิชิต ทองธิสาร สมจิตร คาษาวงค์ และสรายุทธ มะโรงวัง (2547).


22

บทที่ 3

วิธีดำเนินกำรศึกษำ

จากการทบทวนวรรณกรรมของวัสดุประสาน จึงได้ทาการออกแบบการทดลองอัตราส่วนผสมของ
ถ่านอัดแท่ง เพิ่มค่าความร้อน จานวน 2 ชุดการทดลอง ได้แก่
ชุดการทดลองที่ 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อหาอัตราส่วนผสมที่เหมาะสมระหว่างถ่านและกากไขมันเพื่อให้
ถ่านมีค่าความร้อนที่เพิ่มสูงขึ้นและยังสามารถคงรูปเป็นถ่านอัดแท่งอยู่ได้ เนื่องจากกากไขมันมีค่าพลังงานสูง
ถึง 9,000 kcal/kg โดยทาการทดลองอัดขึ้นรูปถ่านอัดแท่งที่แปรเปลี่ยนอัตราส่วนผสมต่างๆ ระหว่างถ่าน
และกากไขมัน และทาการคัดเลือกอัตราส่วนผสมที่สามารถอัดขึ้นรูปถ่านผงให้เป็นถ่านแท่งที่คงรูปได้ค่อนข้าง
ดีถึงดีมาก มาจานวน 3 อัตราส่วนผสม ได้แก่ 6.5:5, 7.5:5 และ 10:5 เพื่อนามาทาการทดสอบคุณสมบัติของ
การคงรูปเป็นถ่านอัดแท่ง และทาการคัดเลือกส่วนผสมที่สามารถขึ้นรูปถ่านอัดแท่งที่ดีที่สุด เพื่อนามาเพิ่ม
คุณสมบัติด้านความหนาแน่นโดยยังคงสามารถเพิ่มค่าความร้อนให้สูงขึ้นได้
ชุดการทดลองที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความหนาแน่นและความสามารถในการยึดเกาะตัวของ
ถ่านอัดแท่งให้มีความคงทนมากขึ้น โดยทาการคัดเลือกส่วนผสมที่สามารถขึ้นรูปถ่านอัดแท่งที่ดีที่สุดแล้ว
นามาทดสอบใส่กากน้าตาลซึ่งเป็นวัสดุ ประสานที่มีความเหนียว โดยมีสมมติฐานว่าสามารถช่วยเพิ่มค่าความ
หนาแน่นให้แก่ถ่านอัดแท่งได้ ซึ่งต้องปรับลดปริมาณกากไขมันลงเท่ากับปริมาณของกากน้าตาลที่ใส่เพิ่มใน
ถ่านอัดแท่ง ซึ่งจากการทดสอบเบื้องต้นพบว่าอัตราส่วนผสมระหว่างถ่านและกากไขมันที่สามารถอัดขึ้นรูปได้
เป็นแท่งที่ดีที่สุดคือที่อัตราส่วน 7.5 ต่อ 5 จึงได้นาอัตราส่วนนี้มาออกแบบเพิ่มปริมาณวัสดุประสานที่เป็น
กากน้าตาลจ านวน 3 อัตราส่ วนผสม คือ 7.5:4.7:0.3, 7.5:4:1 และ 7.5:0:5 (ถ่าน:กากไขมัน :กากน้าตาล)

3.1 วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือ
1) ถ่านขี้เถ้าไม้ยางพารา
2) เครื่องย่อย Hammer mill ขนาด 3 hp

รูปที่ 3.1 เครื่องย่อย Hammer mill ขนาด 3 hp


(ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
23

3) เครื่องผสม ขนาด 5 hp

รูปที่ 3.2 เครื่องผสม ขนาด 5 hp


(ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

4) เครื่องขึ้นรูปถ่านอัดแท่งแบบสกรู ขนาด 5 hp

รูปที่ 3.3 เครื่องขึ้นรูปถ่านอัดแท่งแบบสกรู ขนาด 5 hp


(ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

5) เตาอบอุณหภูมิ 1000 ˚C ยี่ห้อ CARBOLITE

รูปที่ 3.4 เตาอบอุณหภูมิ 1000 ˚C ยี่ห้อ CARBOLITE


(ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์-กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน)
24

6) เครื่อง Oxygen Bomb Colorimeter

รูปที่ 3.5 Oxygen Bomb Colorimeter


(ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน)

7) เครื่องชั่งทศนิยม 4 ตาแหน่ง

รูปที่ 3.6 เครือ่ งชั่งทศนิยม 4 ตาแหน่ง


(ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์-กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน)

8) หม้อต้มน้า
9) เตาเผา
10) ปรอทวัดอุณหภูมิ
11) ถ้วยสาหรับเผาที่อุณหภูมิสูง

รูปที่ 3.7 ถ้วยสาหรับเผาที่อุณหภูมิสูง


(ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์-กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน)
25

12) โถดูดความชื้น

รูปที่ 3.8 โถดูดความชื้น


(ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์-กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน)

13) เครื่องทดสอบแรงกด Universal Testing Machine ยี่ห้อ INSTRON รุ่น 5569

รูปที่ 3.9 เครื่องทดสอบแรงกด Universal Testing Machine ยี่ห้อ INSTRON รุ่น 5569
(ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กาแพงแสน ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน)

3.2 กำรเตรียมวัตถุดิบ
3.2.1. การเตรี ย มกากไขมั น โดยท าการตั ก ไขมั น จากโรงอาหารนนทรี ซึ่ ง มี ป ริ ม าณมาก
ประมาณ 50-100 กิโลกรัมต่อเดือน สาหรับตัวอย่างน้ามันและไขมันที่ได้นั้นจะเป็นน้ามันและไขมันซึ่งที่เป็น
ส่วนที่ลอยแยกตัวกันน้าเสียในถังดักไขมัน (Scum) และมีลักษณะเป็นของเหลวเหนียวข้น โดยนาจานวน 10
kg
3.2.2. การเตรีย มถ่านไม้ย างพารา โดยการน าขี้เถ้าไม้ ยางพาราที่ผ่ านการเผาไหม้แบบไม่
สมบูรณ์จากโรงงานซึ่งยังมีถ่านเป็นส่วนประกอบอยู่มาร่อนจานวน 200 kg เพื่อคัดแยกถ่าน, เศษไม้, ขี้เถ้า
และวัสดุเจือปน โดยการใช้ตะแกรงขนาด คือ 2.1 cm, 1.3 cm, 0.6 cm, 0.4 cm ในการร่อนแล้วชั่งน้าหนัก
ส่วนประกอบที่คัดแยกได้
26

รูปที่ 3.10 ขั้นตอนการร่อนถ่าน

3.3 ขั้นตอนและวิธีดำเนินงำน
1. นาถ่านที่แยกแล้วไปเข้าเครื่องบด (Hammer mill) เพื่อลดขนาด

รูปที่ 3.11 เครื่องบด Hammer mill

2. ออกแบบการทดลอง เพื่อนามาเปรียบเทียบค่าความร้อนของถ่านอัดแท่ง โดยจะเปรียบเทียบกับถ่าน


ที่อัดโดยไม่มีตัวประสานกับถ่านที่อัดโดยมีตัวประสาน
2.1 การทดลองชุดที่ 1 ใช้ไขมันเป็นตัวประสานเพื่อเพิ่มค่าความร้อนให้กับถ่าน และหาอัตราส่วนที่
สามารถขึ้นรูปและจับตัวเป็นก้อนได้ดีที่สุด ดังตาราง 3.1
27

ตำรำงที่ 3.1 แสดงอัตราส่วนการผสมที่ใช้ ไขมันเป็ นตัวประสาน

ถ่านไม้ยางพารา ตัวประสาน
ตัวอย่างที่ (kg) (kg)
กากไขมัน
1-Reference 7.5 -
2 7.5 3.7
3 7.5 5
4 7.5 5.7
หมายเหตุ กากไขมันเป็นกากไขมันที่ได้จากโรงอาหารนนทรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตกาแพงแสน ณ เดือนมีนาคม 2559

จากการทดลองชุดที่ 1 พบว่าที่อัตราส่วน 7.5:5 จะขึ้นรูปได้ดีที่สุด เพราะฉะนั้นจะใช้ตัวประสาน 5


kg ในการออกแบบอัตราส่วนต่อไป

2.2 การทดลองชุดที่ 2 ใช้ตัวประสาน 5 kg แต่เพิ่มกากน้าตาลเป็นตัวประสานด้วย เนื่องจาก


กากน้าตาลจะช่วยทาให้ถ่านยึดเกาะกันได้ดีมากขึ้น ดังตาราง 3.2

ตำรำง 3.2 แสดงอัตราส่วนการผสมที่ใช้ตัวประสานคือกากไขมันและกากน้าตาล

ถ่านไม้ยางพารา ตัวประสาน 5 kg. (kg)


ตัวอย่างที่
(kg) กากไขมัน กากน้าตาล
5 7.5 4.7 0.3
6 7.5 4 1
7 7.5 - 5

- ชั่งน้าหนักส่วนตามอัตราส่วนที่ออกแบบไว้
28

รูป 3.12 การชั่งน้าหนักเพื่อหาอัตราส่วนต่างๆ

- นาวัสดุที่ชั่งเตรียมไว้ลงในเครื่องผสมประมาณ 3 – 5 min เพื่อให้ส่วนผสมเข้ากัน

รูปที่ 3.13 ผสมถ่านและตัวประสานด้วยเครื่องผสม

3. นาถ่านที่ผสมแล้วไปอัดเพื่อขึ้นรูป โดยใช้เครื่องอัดแบบสกรู
- เมื่อถ่านไหลออกมาจะทาการตัดเป็นแท่งให้มีความยาวประมาณ 8 cm

รูปที่ 3.14 การขึ้นรูปถ่านอัดแท่ง


29

4. นาถ่านไปตากแดดเป็นเวลา 5 วันเพื่อลดความชื้น

รูปที่ 3.15 การตากถ่าน

รูปที่ 3.16 รูปของถ่านอัดแท่งที่อัตราส่วน ถ่าน : กากไขมัน 6.5:5 , 7.5:5 , 10:5


(หมายเหตุ : ปรับตัวเลขอัตราส่วน 6.5:5 = 7.5:5.7, 7.5:5, 10:5=7.5:3.7)

- หาความหนาแน่นของถ่านจากสูตร ความหนาแน่น = น้าหนักวัสดุ / ปริมาตร

5. การหาคุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและความร้อน โดยการนาถ่านไปเผาและจับเวลา เพื่อทาการ


เปรียบเทียบระยะเวลาการติดไฟ เวลาน้าเดือด และเวลาที่เผาไหม้จนเป็นเถ้าของถ่านแต่ลt
อัตราส่วน
- จะทาการจุดไฟให้ติดเพื่อจับเวลาจากนั้นจะนาหม้อมาวางเพื่อจับเวลาที่น้าเดือด

รูปที่ 3.17 เริ่มจุดไฟ


30

- การต้มน้าจะใช้ ถ่าน 0.5 kg ต่อน้า 2 L

รูปที่ 3.18 นาหม้อใส่น้าไปวางและจับเวลา

- เมื่อต้มจนน้าเดือดจะใช้ปรอทวัดอุณหภูมิขณะน้าเดือด และจดบันทึกเวลาตั้งแต่เมื่อถ่านเริ่ม
ติดไฟ ทั้งหมดทาตัวอย่างละ 3 ครั้ง

รูปที่ 3.19 การวัดอุณหภูมิ


31

รูปที่ 3.20 ถ่านเผาไหม้จนเป็นเถ้า

- จากการทดลองคานวณได้ว่า ต้องใช้ 4000 kcal จึงจะทาให้น้า 2L เพิ่มขึ้น 100 ˚C

6. การหาคุณสมบัติเชิงกลโดยการใช้เครื่องทดสอบแรงกด Universal Testing Machine

รูปที่ 3.21 เครื่องทดสอบแรงกด


32

- นาตัวอย่างถ่านมาที่ความยาวประมาณ 6 cm แล้วทาปลายทั้งสองข้างให้เรียบ นาไปวางตรง


กลางของเครื่องเพื่อทดสอบ

รูปที่ 3.22 การทดสอบแรงกด

- เมื่อกดจนถ่านแตกหัก ทาการจดบันทึกค่าแรงกดที่ได้ ทั้งหมดทาตัวอย่างละ 3 ครั้ง

รูปที่ 3.23 การแตกของถ่านหลังจากได้รับแรงกด

7. การหาคุณสมบัติทางเคมีได้แก่ ความชื้น สารระเหย ปริมาณเถ้า และ คาร์บอนคงตัว


- นาถ้วยเปล่าไปอบที่อุณหภูมิ 950 ˚C นาน 30 min แล้วนามาชั่งน้าหนัก
33

- จากนั้นเอาถ่านที่บดละเอียดใส่ 1 g แล้วชั่งน้าหนัก จะได้ค่าน้าหนัก ถ้วย+ถ่าน ก่อนอบ


(W1)
- นาถ่านไปอบที่อุณหภูมิ 105 ˚C 1 hr แล้วเอาออกมาใส่โถดูดความชื้นประมาณ 15 min
จากนั้นชั่งน้าหนัก จะได้ ค่า ถ่าน+ถ้วย หลังอบ (W2) นาไปหาค่าความชื้นจากสูตร

ปริมำณควำมชื้น = (W1 – W2) / W1 * 100

รูป 3.24 นาถ่านเข้าตู้อบ

- นาถ่านไปอบอีกรอบที่อุณหภูมิ 750 ˚C 1 hr ทาซ้าแบบเดิม และชั่งน้าหนัก (W4)


หาสารระเหยจากสูตร สำรระเหย = (W3 – W4)/W3 x 100 – ควำมชื้น

รูปที่ 3.25 นาถ่านที่อบแล้วไปใส่ในโถดูดความชื้นเพื่อทาให้เย็น

- จากนั้นนาไปอบต่ออีก ที่ 950 ˚C 30 min ทาซ้าแบบเดิมแล้วชั่งน้าหนัก (W6)


34

- หาปริมาณเถ้าจากสูตร ปริมำณเถ้ำ = (W6/W5) * 100

รูปที่ 3.26 เปิดฝาตู้อบหลังจากอบที่ความร้อน 950 ˚C

รูปที่ 3.27 ถ่านหลังจากผ่านการอบ 3 ครั้ง

- หาค่าคาร์บอนคงตัวจากสูตร
ร้อยละคำร์บอนคงตัว = 100 – (ร้อยละของปริมำณควำมชื้น) – (ร้อยละของปริมำณสำร
ระเหย) – (ร้อยละของปริมำณเถ้ำ)
- จดค่าน้าหนัก และวิเคราะห์ผลการทดลอง ทั้งหมดทาตัวอย่างละ 3 ครั้ง
35

8. หาค่าความร้อนโดยใช้เครื่อง Oxygen Bomb Colorimeter

รูปที่ 3.28 อุปกรณ์สาหรับทาการ Bomb

- นาถ่านบดละเอียด 1 g ใส่ในถ้วย
- นาลวดขึงให้ตึงทั้งสองข้าง
- เอาเชือกผูกที่ลวดและเอามาแตะที่ตัวอย่างเพื่อเป็นชนวน

รูปที่ 3.29 การเตรียมตัวอย่างเพื่อเข้าเครื่อง Bomb


36

- นากระบอกที่ใส่ตัวอย่างไปอัด Oxygen ด้วยความดันที่ 3 bar

รูปที่ 3.30 อัด Oxygen ทีค่ วามดัน 3 bar

- นาตัวอย่างเข้าเครื่อง Bomb และรอประมาณ 20 min จะแสดงผลการทดสอบที่หน้าจอ


ค่าที่แสดงจะมีหน่วยเป็น MJ/Kg

รูปที่ 3.31 ตัวอย่างผลที่แสดงทางหน้าจอ

- บันทึกผลการทดลองและวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบคุณสมบัติของถ่านแต่ละอัตราส่วน
- สรุปผลการทดลอง
37

3.4 ระยะเวลำทำกำรวิจัยและแผนกำรดำเนินงำนตลอดโครงกำรวิจัย

ระยะเวลาท าการวิ จั ย 1 ปี เริ่ ม วั น ที่ 1 สิ งหาคม 2558 สิ้ น สุ ด วั น ที่ 31 พฤษภาคม 2559 แบ่ ง
ระยะเวลาตามแผนงานวิจัยดังตาราง

ตำรำงที่ 3.3 แผนการดาเนินงานตลอดโครงการวิจัย

แผนกำรดำเนินงำนตลอดโครงกำรวิจัย ปีที่ 1
เดือน
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
1.การเตรียมถ่านไม้ยางพารา
-นาถ่านที่ได้จากโรงงานไปตาก
-ร่อนเพื่อคัดแยกถ่านและขี้เถ้า
-คิด%ของถ่านและขี้เถ้า
2.การเตรียมการอัดแท่ง
-เตรียมตัวประสาน
-อัดแท่ง
3.การหาค่าคุณสมบัติต่างๆ
-หาคุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและ
ความร้อน
-หาการหาคุณสมบัติเชิงกล
-นาตัวอย่างไปหาค่าความชื้น
-นาตัวอย่างไปหาสารระเหย
-นาตัวอย่างไปหาขี้เถ้า
-นาตัวอย่างไปหาปริมาณคาร์บอนคงตัว
-นาตัวอย่างไปหาค่าความร้อน
4.สรุปผลและทาเล่มรายงาน
38

บทที่ 4

ผลกำรทดสอบและวิเครำะห์ผล
4.1 ผลกำรร่อนแยกถ่ำนและขี้เถ้ำ จำกถ่ำนขี้เถ้ำไม้ยำงพำรำ

จากการเตรียมถ่านไม้ยางพารา โดยการนาขี้เถ้าไม้ยางพาราที่ผ่านการเผาไหม้แบบไม่สมบูรณ์จาก
โรงงานซึ่งยังมีถ่านเป็นส่วนประกอบอยู่มาร่อนเพื่อคัดแยกถ่าน, เศษไม้, ขี้เถ้า และวัสดุเจือปน โดยการใช้
ตะแกรง 4 ขนาด คือ 2.1 cm, 1.3 cm, 0.6 cm และ 0.4 cm โดยทาการร่อนแล้วชั่งน้าหนักส่วนประกอบที่
คัดแยกได้จานวน 8 ครั้ง ได้ผลดังตาราง 4.1

ตำรำง 4.1 ผลการร่อนแยกถ่านออกจากขี้เถ้าไม้ยางพารา 10 kg ที่ขนาดตระแกรงต่างๆ

ขนาดตระแกรง
ครั้งที่ น้าหนักขี้เถ้าไม้ยางพารา (kg)
2.1 cm. 1.3 cm. 0.6 cm. 0.4 cm. ขี้เถ้า % ถ่าน %ขี้เถ้า
1 10 0.5 0.4 0.7 0.6 7.4 22.91 77.08
2 10 0.4 0.4 0.6 0.6 7.7 20.61 79.38
3 10 0.6 0.4 0.65 0.65 6.95 24.86 75.13
4 10 0.6 0.4 0.7 0.65 7.6 23.61 76.38
5 10 0.5 0.4 0.65 0.7 7.7 22.61 77.38
6 10 0.55 0.3 0.65 0.7 7.6 22.44 77.55
7 10 0.65 0.4 0.65 0.7 7.7 23.76 76.23
8 10 0.8 0.35 0.6 0.75 7.1 26.04 73.95
เฉลี่ย 23.36 76.63

จากตาราง 4.1 จะเห็นได้ว่าปริมาณ ถ่านจะมีประมาณ 23 % และ ขี้เถ้าจะมีประมาณ 77 % ของ


ถ่านขี้เถ้ายางพาราเพราะฉะนั้นในวัสดุ 10 kg จะได้ถ่านที่นาไปใช้ 2.3 kg
39

จากการทดลองชุดที่ 1 ได้ผลจากการหาความหนาแน่นดังตาราง 4.2

ตำรำง 4.2 ผลการหาความหนาแน่นของการทดลองชุดที่ 1

ถ่านไม้ยางพารา ตัวประสาน ความ


ตัวอย่างที่ (kg) (kg) หนาแน่น
กากไขมัน (kg/m3)
1 7.5 - 441.63
2 7.5 3.7 505.86
3 7.5 5.0 518.91
4 7.5 5.7 528.95

จากตางาราง 4.2 พบว่า อัตราส่วนที่มีความหนาแน่นพอดี ไม่แข็งหรือไม่อ่อนเกินไปมีผิวเรียบ


สามารถขึ้นรูปได้ดีคือ อัตราส่วน 7.5:5.0

จากการทดลองชุดที่ 2 คือการใช้กากไขมัน และกากน้าตาลเป็นตัวประสานสาหรับการอัดแท่ง

ตำรำง 4.3 ผลการทดลองการเพิ่มกากน้าตาลมาเป็นตัวประสาน

ถ่านไม้ ตัวประสาน 5 kg. (kg) ความ


ตัวอย่างที่ ยางพารา กากไขมัน กากน้าตาล หนาแน่น
(kg) (kg/m3)
5 7.5 4.7 0.3 521.92
6 7.5 4 1 479.77
7 7.5 - 5 737.72
จากตาราง 4.3 จะเห็นได้ว่าที่อัตราส่วน 7.5:0:5 มีความหนาแน่นมากที่สุดเนื่องจากตัวประสานที่ใช้
คือกากน้าตาลอย่างเดียว
40

4.2 ผลกำรทดสอบหำคุณสมบัติของถ่ำนอัดแท่ง

จากการนาถ่านที่อัดแท่งไปอัดตามอัตราส่วนต่างๆแล้ว หาคุณสมบัติของถ่าน คือ การหาคุณสมบัติ


ทางเคมี การหาคุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและความร้อน การหาคุณสมบัติเชิงกล โดยทาตัวอย่าง 3 ครั้ง
จะได้ค่าเฉลี่ยนของผลการทดสอบตามตาราง 4.4 ตาราง 4.5

ตำรำง 4.4 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหาคุณสมบัติเชิงกลของการทดลองชุดที่ 1

ถ่านไม้ ตัว จน.ก้อน/ ความ ความ


ตัวอย่าง ยางพารา ประสาน กก. หนาแน่น เปราะ
ความแข็ง แรงกด (N)
ที่ (kg) (kg) (kg/m3)
กากไขมัน
1 7.5 - 4.91 441.63 น้อย มาก ไม่สามารถ
หาได้
2 7.5 3.7 5.93 505.86 ปานกลาง ปานกลาง 339.77
3 7.5 5 6.45 518.91 ปานกลาง ปานกลาง 363.68
4 7.5 5.7 4.78 528.95 น้อย มาก 471.84
หมายเหตุ - ตัวอย่างที่ 1 มีความเปราะมาก จึงไม่สามารถนาไปทดสอบหาแรงกดได้
- ทาตัวอย่างละ 3 ซ้า ดูได้จากภาคผนวก ก

จากตารางที่ 4.4 จะเห็นได้ว่ากากไขมันมีส่วนช่วยให้ถ่านมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น แต่จะไม่ยึดเกาะ


ค่าแรงกดจึงน้อย
ตำรำง 4.5 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหาคุณสมบัติเชิงกลของการทดลองชุดที่ 2

ถ่านไม้ ตัวประสาน 5 kg (kg) จน.ก้อน/ ความ ความ แรงกด (N)


ตัวอย่าง
ยางพารา กากไขมัน กากน้าตาล กก. หนาแน่น ความแข็ง เปราะ
ที่
(kg) (kg/m3)
5 7.5 4.7 0.3 6.00 521.92 มาก น้อย 794.39
6 7.5 4 1 5.63 479.77 มาก น้อย 1194.97
7 7.5 - 5 4.16 737.72 น้อย ปานกลาง 269.77
(ถ่านอ่อน)
หมายเหตุ ทาตัวอย่างละ 3 ซ้า ดูได้จากภาคผนวก ก
41

จากตารางที่ 4.5 อัตราส่วนที่มีความหนาแน่นมากที่สุดคือ อัตราส่วน 7.5:0:5 เพราะเป็นอัตราส่วน


ที่ใช้กากน้าตาลเป็นตัวประสานพียงอย่างเดียว

จะเห็นได้ว่าตารางที่ 4.5 ที่อัตราส่วน 7.5:4:1 และ 7.5:4.7:0.3 มีค่าแรงกดมากเมื่อเทียบกับ


ตาราง 4.4 เนื่องจากการเพิ่มกากน้าตาลมาเป็นตัวประสานทาให้ถ่านยึดเกาะกันได้ดีขึ้น ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า
กากน้าตาลมีความหนาแน่นมากช่วยให้ถ่านยึดเกาะกันได้ดี

การทดสอบหา คุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและความร้อน และคุณสมบัติทางเคมี เราจะนาถ่าน


กะลามะพร้าวมาทดสอบด้วย เพื่อที่จะนามาเปรียบเทียบกัน ดังตาราง 4.6 4.7 4.8 และ 4.9

ตำรำงที่ 4.6 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหาคุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและความร้อนของการทดลองชุดที่ 1


ถ่านไม้ ตัว เวลาเผา
ระยะเวลาการ เวลาน้า
ตัวอย่าง ยางพารา ประสาน ไหม้จนเป็น
การจุดติดไฟ ติดไฟ เดือด
ที่ (kg) (kg) (min) (min)
เถ้า
กากไขมัน (min)
1 7.5 - ช้า 4 ไม่เดือด 169
2 7.5 3.7 ปานกลาง 3 12 130
3 7.5 5 ปานกลาง 3 12 116
4 7.5 5.7 เร็ว 2 11 123
หมายเหตุ - ตัวอย่างที่ 1 ไม่สามารถต้มน้าให้เดือดได้เนืองจากถ่านไม่ลุกติดไฟ
- ทาตัวอย่างละ 3 ซ้า ดูได้จากภาคผนวก ก

จากตารางที่ 4.6 ถ่านที่ใช้ไขมันเป็นตัวประสานจะติดไฟได้ดี ติดไฟเร็ว แต่เวลาการเผาไหม้จนเป็น


เถ้าจะน้อย เพราะกากไขมันช่วยเพิ่มความหนาแน่นและเพิ่มค่าความร้อนให้ถ่าน แต่การยึดเกาะจะไม่ดีนักจึง
ทาให้เป็นเถ้าเร็ว
42

ตำรำงที่ 4.7 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหาคุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและความร้อนของการทดลองชุดที่ 2

ถ่านไม้ ตัวประสาน (kg) เวลาเผา


ระยะเวลาการ เวลาน้า
ตัวอย่าง ยางพารา กาก กากน้าตาล การจุดติด ไหม้จน
ติดไฟ เดือด
ที่ ไฟ เป็นเถ้า
(kg) ไขมัน (min) (min)
(min)
5 7.5 4.7 0.3 เร็ว 2 11 139
6 7.5 4 1 ปานกลาง 2 11 153
7 7.5 - 5 เร็ว 4 ไม่เดือด 188
8 ถ่านกะลามะพร้าว ช้า 3 41 277
หมายเหตุ - ตัวอย่างที่ 1 และ 7 ไม่สามารถต้มน้าให้เดือดได้เนืองจากถ่านไม่ลุกติดไฟ
- ทาตัวอย่างละ 3 ซ้า ดูได้จากภาคผนวก ก

จากตาราง 4.7 ถ่านที่เพิ่มกากน้าตาลเป็นตัวประสานจะเห็นได้ว่า ติดไฟได้ดีและถ่านอยู่ได้นานขึ้น


เนื่องจากกากน้าตาลจะช่วยในการยึดเกาะทาให้ถ่านแน่นและเวลาเผาไหม้จนเป็นเถ้ามาก
เมื่อทาการเทียบกับถ่านกะลามะพร้าวจะเห็นได้ว่าถ่านกะลามะพร้าวใช้เวลาในการทาให้น้าเดือด
นานกว่าถ่านไม้ยางพารา และเวลาเผาไหม้จนเป็นเถ้าจะนานกว่า

ตำรำงที่ 4.8 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหาคุณสมบัติทางเคมีของถ่านของการทดลองชุดที่ 1

ถ่านไม้ ตัว
สาร คาร์บอน ค่าความ
ตัวอย่าง ยางพารา ประสาน ความชื้น ปริมาณ
ระเหย คงตัว ร้อน
ที่ (kg) (kg) (%) เถ้า (%)
(%) (%) (kcal/kg)
กากไขมัน
1 7.5 - 4.73 44.64 43.62 7.01 2178
2 7.5 3.7 4.50 64.47 30.08 0.96 4383
3 7.5 5 5.29 61.14 32.16 1.41 4715
4 7.5 5.7 6.07 62.34 29.81 1.78 4837
หมายเหตุ - กากไขมันทีได้อาจมีเศษอาหารปนอยู่ ทาให้ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน ค่าการทดสอบอาจมี
ความคลาดเคลื่อนได้
- ทาตัวอย่างละ 3 ซ้า ดูได้จากภาคผนวก ก
43

จากตาราง 4.8 ค่าคาร์บอนคงตัวที่ตัวอย่างที่ 1 มีมากที่สุดเนื่องจากเป็นอัตราส่วนที่มีปริมาณถ่าน


มากที่สุดแต่ค่าความร้อนกลับน้อยที่สุดเพราะไม่มีกากไขมัน และจะเห็นได้ว่าตัวอย่างที่มีกากไขมันจะมีค่า
ความร้อนที่เรียงกันตามลาดับ ทั้งนี้ทั้งนั้น ค่าความร้อนที่ได้ก็ขึ้นอยู่กับความชื้นด้วยเช่นกัน ยิ่งมีความชื้นมาก
ค่าความร้อนก็จะน้อย

ตำรำงที่ 4.9 ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบหาคุณสมบัติทางเคมีของถ่านของการทดลองชุดที่ 2

ถ่านไม้ ตัวประสาน (kg) สาร คาร์บอน ค่าความ


ตัวอย่าง ความชื้น ปริมาณ
ยางพารา กาก กากน้าตาล ระเหย คงตัว ร้อน
ที่ (%) เถ้า (%)
(kg) ไขมัน (%) (%) (kcal/kg)
5 7.5 4.7 0.3 3.83 65.64 30.33 0.20 4749
6 7.5 4 1 6.30 62.36 31.01 0.33 4255
7 7.5 - 5 9.92 59.25 29.54 1.28 2776
8 ถ่านกะลามะพร้าว 7.19 47.99 20.60 24.22 5404
หมายเหตุ - กากไขมันทีได้อาจมีเศษอาหารปนอยู่ ทาให้ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน ค่าการทดสอบอาจมี
ความคลาดเคลื่อนได้
- ทาตัวอย่างละ 3 ซ้า ดูได้จากภาคผนวก ก
- ค่าความร้อนที่ได้เป็น ค่าความร้อนสูง (High Heating Value, HHV)

จากตาราง 4.9 ที่อัตราส่วน 7.5:4.7:0.3 จะได้ค่าความร้อนที่มากที่สุดเมื่อเทียบกับที่อัตราส่วน


7.5:4:1 เพราะมีกากไขมันมากกว่า จึงกล่าวได้ว่า กากไขมันช่วยเพิ่มค่าความร้อนได้แต่ในทางกลับกัน
ตัวอย่างที่มีกากน้าตาลมากจะทาให้ค่าความร้อนน้อยลง
แต่เมื่อเทียบกับถ่านกะลามะพร้าวแล้วค่าความร้อนมีค่าน้อยกว่า จึงต้องหาอัตราส่วนที่ดีและ
เหมาะสมที่สุดต่อไป

ปริมาณคาร์บอนคงตัวที่ได้มีค่าน้อยมากทาให้ถ่านติดไฟได้ไม่นาน และสารระเหยมีค่ามากเนื่องจาก
ถ่านยังมีปริมาณน้าอยู่มาก
44

รูปที่4.1 กราฟแสดงการเปรียบเทียบค่าความร้อนที่ทดสอบได้ของการทดลองที่ 1

รูปที่4.2 กราฟแสดงการเปรียบเทียบค่าความร้อนที่ทดสอบได้ของการทดลองที่ 2
45

ตำรำง 4.10 มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

มาตรฐาน คุณสมบัติ
ผลิตภัณฑ์ชุมชน ความชื้น (%) ค่าความร้อน เถ้า (%) สาระเหย (%)
(Kcal/Kg)
ถ่านไม้ปิ้งย่าง ≤8 ≥7,000 ≤3 ≤8
มผช.658/2547
ถ่านไม้หุงต้ม ≤10 ≥6,000 ≤8 ≤25
มผช.657/2547
ถ่านอัดแท่ง ≤8 ≥5,000 - -
มผช.638/2547

เมื่อนาถ่านที่ได้มาเปรียบเทียบกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนพบว่ามีค่าความชื้นอยู่ในเกณฑ์ตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนคือน้อยกว่า 8 % แต่ค่าความร้อนมีค่าต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐานเล็กน้อย จาก
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนต้องมีค่าความร้อนมากกว่า 5000 kcal/kg แต่ถ่านที่ทดสอบมีค่าความร้อนสูงสุด
อยู่ที่ 4,749 kcal/kg
46

บทที่ 5

สรุปผลกำรทดสอบและข้อเสนอแนะ
1. อัตราส่วนถ่านที่เผาไหม้ไม่สมบูรณ์ต่อขี้เถ้าที่ได้จากการใช้ไม้ฟืนในกระบวนการต้มหม้อไอน้า ใน 100 % มี
ถ่าน 23 % และมีขี้เถ้า 77 %

2. อัตราส่วนที่ให้ค่าความร้อนมากที่สุดคือ 10 : 5 มีค่าความร้อน 4837kcal/kg ที่ความชื้น 4.50 % จากการ


ทดสอบหาค่าความร้อนที่อัตราส่ว นต่างๆ เมื่อเทียบกับ ถ่านที่ ไม่มีตัว ประสานได้ค่าความร้อนอยู่ที่ 2178
kcal/kg จะเห็นได้ว่าเมื่อใช้กากไขมันเป็นตัวประสานจะมีค่าความร้อนเพิ่มขึ้นประมาณ 2600 kcal/kg

3. การใช้กากน้าตาลเป็นตัวประสานทาให้ถ่านมีความหนาแน่นสูงแต่จะไม่แข็งเมื่อเปรียบเทียบกับกากไขมัน
กากไขมันจะทาให้มีความแข็งมากกว่าแต่จะมีความหนาแน่นน้อยกว่า ส่วนอัตราส่วนที่ทนแรงกดได้มากที่สุด
คื อ 7.5 : 4 : 1 และ 7.5 : 4.7 : 0.3 เพราะมี ก ารผสมของตั ว ประสานทั้ ง สองชนิ ด คื อ กากไขมั น และ
กากน้าตาล เพราะฉะนั้นอัตราส่วนที่เหมาะสมในการขึ้นรูป ถ่านอัดแท่งคือ 7.5 : 4 : 1 และ 7.5 : 4.7 : 0.3
เพราะฉะนั้นเมื่อนากากน้าตาลซึ่งเป็นตัวประสานที่มีความหนืดสูงมาผสมลงในถ่านในสัดส่วนที่เหมาะสมจะ
ช่วยให้ค่าความหนาแน่นของถ่านเพิ่มมากขึ้นได้

4. การทดสอบหาคุณสมบัติความเป็นเชื้อเพลิงและความร้อนพบว่า ไขมันช่วยทาให้ค่าความร้อนเพิ่มขึ้นเมื่อมี
อัตราส่วนที่เหมาะสม แต่กากน้าตาลเมื่อใส่มากจะทาให้ค่าความร้อนลดลง และค่าความชื้นก็ยังมีผลต่อค่า
ความร้อนโดยจะแปรผกผันกัน ถ่านที่มีส่วนผสมของกากไขมันจะติดไฟเร็วและทาให้น้าเดือดได้เร็ว แต่ถ่านที่
มีส่วนผสมของกากน้าตาลจะทาให้ยึดเกาะกันได้ดีถ่านจะอยู่ได้นาน เพราะฉะนั้นถ่านควรมีส่วนผสมของกาก
ไขมันและกากน้าตาลรวมกัน
47

เอกสำรอ้ำงอิง

การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุทางการเกษตร
http://www.siweb.dss.go.th/bct/fulltext/report/otop13.pdf; วันที่เข้าถึงข้อมูล,12 สค.
2558
การอัดแท่ง
http://www.clinictech.most.go.th/online/pages/techlist_display.asp?tid=384;
วันที่เข้าถึงข้อมูล,20 สค. 2558
http://www.charcoal.snmcenter.com/charcoalthai/comparepara.php ;
วันที่เข้าถึงข้อมูล, 12 มค. 2559
ค่าความร้อนคาร์โบไฮเดรต
สุธีรา สุนทรารักษ์ (2557). การใช้ประโยชน์กากไขมันของระบบบ่อดักไขมันอย่างง่ายจาก
ร้านอาหาร ร่วมกับเศษกระดาษและเศษใบไม้เพื่อการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง. วารสารวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี ปี ที่ 30 ฉบับที่ 1 มหาวิทยาลัยราชัฎบุรีรัมย์.
http://science.bru.ac.th/download/journal/v30_1.pdf
http://devshop.tripod.com/Lesson7.htm ; วันที่เข้าถึงข้อมูล 15 มค. 2559
ข้อมูลทั่วไปของถ่านไม้
https://poptaewall.wordpress.com ; วันที่เข้าถึงข้อมูล 15 มค. 2559
วิชิต ทองธิสาร , สมจิตร คาษาวงค์ และสรายุทธ มะโรงวัง. (2557). การทาถ่านอัดแท่งผักตบชวา.
โดย สาขาวิศวกรรมการจัดการ แขนงการจัดการสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม
ศิวพงษ์ กาญจนวิภาพร ,ไพโรจน์ ธนานุภาพพันุธ์ และ พงศ์คณิต พงษ์พิทักษ์. (2546). เชื้อเพลิงอัดแท่งจาก
ถ่านกะลามะพร้าว.
ลักษมี สุทธิวิไลรัตน์ ,ประภัสสร ภาคอรรถ และ ขวัญรพี สิทตรีสอาด. (2557). การเพิ่มมูลค่าเศษเหลือจาก
โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์โดยการทาเชื้อเพลิงอัดแท่ง.
สุธีรา สุนทรารักษ์. (2557). การใช้ประโยชน์กากไขมันของระบบบ่อดักไขมันอย่างง่ายจากร้านอาหาร ร่วมกับ
เศษกระดาษและเศษใบไม้เพื่อการผลิตเชื้อเพลิงอัดแท่ง.
48

ภำคผนวก ก
ตำรำงแสดงผลกำรทดสอบหำคุณสมบัติของถ่ำน
ที่อัตรำส่วนต่ำงๆ
49

ตำรำง การหาค่าความหนาแน่น

น้าหนักภาชนะ น้าหนักรวม น้าหนักวัสดุ ปริมาตร ความหนาแน่น


ตัวอย่าง
(kg) (kg) (kg) (m3) (kg/m3)
1.1 0.2 1.7 1.5 0.00332 451.66
7.5:0:0 1.2 0.2 1.7 1.5 0.00332 451.66
1.3 0.2 1.6 1.4 0.00332 421.55
2.1 0.2 1.92 1.72 0.00332 517.91
7.5:5.7:0 2.2 0.2 2 1.8 0.00332 542.00
2.3 0.2 1.95 1.75 0.00332 526.94
3.1 0.2 1.92 1.72 0.00332 517.91
7.5:5:0 3.2 0.2 1.9 1.7 0.00332 511.88
3.3 0.2 1.95 1.75 0.00332 526.94
4.1 0.2 1.89 1.69 0.00332 508.87
7.5:3.7:0 4.2 0.2 1.9 1.7 0.00332 511.88
4.3 0.2 1.85 1.65 0.00332 496.83
5.1 0.2 1.7 1.5 0.00332 451.66
7.5:4:1 5.2 0.2 1.83 1.63 0.00332 490.81
5.3 0.2 1.75 1.55 0.00332 466.72
6.1 0.2 1.9 1.7 0.00332 511.88
7.5:4.7:0.3 6.2 0.2 2 1.8 0.00332 542.00
6.3 0.2 2.1 1.9 0.00332 572.11
7.1 0.2 2.5 2.3 0.00332 692.55
7.5:0:5 7.2 0.2 2.65 2.45 0.00332 737.72
7.3 0.2 2.7 2.5 0.00332 752.77
50

ตำรำง ผลการทดสอบหาคุณสมบัติเชิงกล

ตัวอย่าง จน.ก้อน/kg ความแข็ง ความเปราะ แรงกด (N)


1.1 -
7.5:0:0 1.2 4.91 น้อย มาก -
1.3 -
2.1 510.44
7.5:5.7:0 2.2 4.78 น้อย มาก 426.77
2.3 478.32
3.1 349.2
7.5:5:0 3.2 6.45 ปานกลาง ปานกลาง 360.49
3.3 381.35
4.1 372.06
7.5:3.7:0 4.2 5.93 ปานกลาง ปานกลาง 327.57
4.3 319.68
5.1 1125.56
7.5:4:1 5.2 5.63 มาก น้อย 1300.93
5.3 1158.44
6.1 844.22
7.5:4.7:0.3 6.2 6 มาก น้อย 782.16
6.3 756.8
7.1 242.61
7.5:0:5 7.2 4.16 น้อย ปานกลาง 273.94
7.3 292.77
หมายเหตุ ตัวอย่างที่ 1 มีความเปราะมาก จึงไม่สามารถนาไปทดสอบหาแรงกดได้
51

ตำรำง ผลการทดสอบหาค่าความชื้น

หลังอบ ความชื้น
ตัวอย่าง ก่อนอบ ถ้วย หลังอบ ความชื้นเฉลี่ย (%)
รวม (%)
1.1 1.06 1.72 0.73 0.99 6.604
7.5:0:0 1.2 1.07 1.69 0.67 1.02 4.673 4.730
1.3 1.03 1.90 0.90 1.00 2.913
2.1 1.04 1.73 0.77 0.96 7.692
7.5:5.7:0 2.2 1.03 2.00 1.02 0.98 4.854 6.069
2.3 1.06 1.74 0.74 1.00 5.660
3.1 1.07 1.84 0.85 0.99 7.477
7.5:5:0 3.2 1.07 1.71 0.70 1.01 5.607 5.287
3.3 1.08 1.80 0.75 1.05 2.778
4.1 1.02 1.75 0.77 0.98 3.922
7.5:3.7:0 4.2 1.05 1.65 0.65 1.00 4.762 4.497
4.3 1.04 1.71 0.72 0.99 4.808
5.1 1.05 1.72 0.71 1.01 3.810
7.5:4:1 5.2 1.08 1.69 0.71 0.98 9.259 6.298
5.3 1.03 1.64 0.67 0.97 5.825
6.1 1.05 1.75 0.75 1.00 4.762
7.5:4.7:0.3 6.2 1.04 1.74 0.73 1.01 2.885 3.831
6.3 1.04 1.61 0.61 1.00 3.846
7.1 1.04 1.62 0.68 0.94 9.615
7.5:0:5 7.2 1.08 1.60 0.62 0.98 9.259 9.922
7.3 1.01 1.59 0.69 0.90 10.891
52

ตำรำง ผลการทดสอบหาคุณสมบัติทางเคมี

สารระเหย ปริมาณเถ้า คาร์บอนคงตัว


ตัวอย่าง a b c ถ้วย A B C ความชื้น (%)
(%) (%) (%)
1.1 32.6146 31.6124 31.4161 30.4906 2.124 1.1218 0.9255 6.6038 40.5808 43.5734 9.2420
7.5:0:0 1.2 36.2747 35.4238 35.3042 34.547 1.7277 0.8768 0.7572 4.6729 44.5776 43.8271 6.9225
1.3 31.6803 30.9067 30.8339 30.1832 1.4971 0.7235 0.6507 2.9126 48.7606 43.4640 4.8627
2.1 38.1976 37.3148 37.2901 36.9018 1.2958 0.413 0.3883 7.6923 60.4355 29.9660 1.9062
7.5:5.7:0 2.2 30.9796 30.2726 30.255 29.9812 0.9984 0.2914 0.2738 4.8544 65.9589 27.4239 1.7628
2.3 37.8392 37.0058 36.9849 36.582 1.2572 0.4238 0.4029 5.6604 60.6298 32.0474 1.6624
3.1 37.9047 37.2152 37.2003 36.892 1.0127 0.3232 0.3083 7.4766 60.6087 30.4434 1.4713
7.5:5:0 3.2 35.7516 35.0187 35.0036 34.5389 1.2127 0.4798 0.4647 5.6075 54.8279 38.3195 1.2452
3.3 37.6122 36.8783 36.8625 36.5751 1.0371 0.3032 0.2874 2.7778 67.9869 27.7119 1.5235
4.1 55.0346 54.3115 54.3014 53.951 1.0836 0.3605 0.3504 3.9216 62.8097 32.3367 0.9321
7.5:3.7:0 4.2 51.9438 51.2456 51.235 50.9526 0.9912 0.293 0.2824 4.7619 65.6780 28.4907 1.0694
4.3 51.1062 50.3487 50.3392 50.0198 1.0864 0.3289 0.3194 4.8077 64.9180 29.3999 0.8744
5.1 51.8034 51.2248 51.2221 50.9693 0.8341 0.2555 0.2528 3.8095 65.5587 30.3081 0.3237
7.5:4:1 5.2 55.0348 54.2917 54.289 53.9671 1.0677 0.3246 0.3219 9.2593 60.3389 30.1489 0.2529
5.3 54.1018 53.3856 53.3812 53.033 1.0688 0.3526 0.3482 5.8252 61.1845 32.5786 0.4117
6.1 30.8636 30.2322 30.231 29.9783 0.8853 0.2539 0.2527 4.7619 66.5586 28.5440 0.1355
7.5:4.7:0.3 6.2 31.1555 30.4915 30.4901 30.1763 0.9792 0.3152 0.3138 2.8846 64.9258 32.0466 0.1430
6.3 37.9346 37.2246 37.2212 36.9096 1.025 0.315 0.3116 3.8462 65.4221 30.4000 0.3317
7.1 51.1545 50.3596 50.3476 50.0295 1.125 0.3301 0.3181 9.6154 61.0424 28.2756 1.0667
7.5:0:5 7.2 50.9501 50.1724 50.1522 49.8514 1.0987 0.321 0.3008 9.2593 61.5244 27.3778 1.8385
7.3 54.2832 53.4608 53.4492 53.0388 1.2444 0.422 0.4104 10.8911 55.1970 32.9797 0.9322
8.1 35.6824 35.0576 34.7605 34.554 1.1284 0.5036 0.2065 7.6190 47.7514 18.3002 26.3293
ถ่านกะลา 8.2 37.5171 36.9859 36.734 36.5878 0.9293 0.3981 0.1462 6.4815 50.6798 15.7323 27.1064
8.3 38.1016 37.4746 37.2471 36.9187 1.1829 0.5559 0.3284 7.4766 45.5287 27.7623 19.2324
53

ภำคผนวก ข
มำตรฐำนผลิตภัณฑ์ชุมชนถ่ำนอัดแท่ง
54

มผช.๒๓๘/๒๕๔๗

มำตรฐำนผลิตภัณฑ์ชุมชน
ถ่ำนอัดแท่ง
๑. ขอบข่ำย
๑.๑ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ครอบคลุมเฉพาะถ่านอัดแท่งที่ทาจากถ่านผงหรือถ่านเม็ดมาอัดเป็นแท่ง
หรือ
ทาจากวัสดุธรรมชาติมาอัดเป็นแท่งแล้วเผาจนเป็นถ่าน
๒. บทนิยำม
ความหมายของคาที่ใช้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้ มีดังต่อไปนี้
๒.๑ ถ่านอัดแท่ง หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนาวัตถุดิบธรรมชาติ เช่น กะลามะพร้าว กะลาปาล์ม ซัง
ข้าวโพด
มาเผาจนเป็นถ่าน อาจนามาบดเป็นผงหรือเม็ดแล้วอัดเป็นแท่งตามรูปทรงที่ต้องการ หรือนาวัตถุดิบ
ธรรมชาติ เช่น แกลบ ขี้เลื่อย มาอัดเป็นแท่งตามรูปทรงที่ต้องการแล้วจึงนามาเผาเป็นถ่าน
๒.๒ ค่าความร้อน หมายถึง พลังงานความร้อนที่ได้จากการเผาถ่านหนัก ๑ กรัม มีหน่วยเป็นแคลอรีต่อกรัม
๓. คุณลักษณะที่ต้องกำร
๓.๑ ลักษณะทั่วไป
ในภาชนะบรรจุเดียวกันต้องมีรูปทรงเดียวกัน ขนาดใกล้เคียงกัน มีสีดาสม่าเสมอ ไม่เปราะ อาจแตกหักได้บ้าง
๓.๒ การใช้งาน
เมื่อติดไฟต้องไม่มีสะเก็ดไฟกระเด็น ไม่มีควันและกลิ่น
๓.๓ ความชื้น
ต้องไม่เกินร้อยละ ๘ โดยน้าหนัก
๓.๔ ค่าความร้อน
ต้องไม่น้อยกว่า ๕ ๐๐๐ แคลอรีต่อกรัม
๔. กำรบรรจุ
๔.๑ หากมีการบรรจุ ให้บรรจุถ่านอัดแท่งในภาชนะบรรจุที่สะอาด แห้ง และสามารถป้องกันความเสียหาย
ที่อาจเกิดขึ้นกับถ่านอัดแท่งได้
๔.๒ น้าหนักสุทธิของถ่านอัดแท่งในแต่ละภาชนะบรรจุ ต้องไม่น้อยกว่าที่ระบุไว้ที่ฉลาก
55

มผช.๒๓๘/๒๕๔๗

๕. เครื่องหมำยและฉลำก
๕.๑ ที่ฉลากหรือภาชนะบรรจุถ่านอัดแท่งทุกหน่วย อย่างน้อยต้องมีเลข อักษร หรือเครื่องหมายแจ้ง
รายละเอียด
ต่อไปนี้ให้เห็นได้ง่าย ชัดเจน
(๑) ชื่อผลิตภัณฑ์
(๒) ชนิดของวัสดุที่ใช้ทา
(๓) น้าหนักสุทธิ
(๔) เดือน ปีที่ทา
(๕) ข้อแนะนาในการใช้
(๖) ชื่อผู้ทา หรือสถานที่ทา พร้อมสถานที่ตั้ง หรือเครื่องหมายการค้าที่จดทะเบียน
ในกรณีที่ใช้ภาษาต่างประเทศ ต้องมีความหมายตรงกับภาษาไทยที่กาหนดไว้ข้างต้น
๖. กำรชักตัวอย่ำงและเกณฑ์ตัดสิน
๖.๑ รุ่น ในที่นี้ หมายถึง ถ่านอัดแท่งที่ทาโดยกรรมวิธีเดียวกัน ที่ทาหรือส่งมอบหรือซื้อขายในระยะเวลา
เดียวกัน
๖.๒ การชักตัวอย่างและการยอมรับ ให้เป็นไปตามแผนการชักตัวอย่างที่กาหนดต่อไปนี้
๖.๒.๑ การชักตัวอย่างและการยอมรับ สาหรับการทดสอบลักษณะทั่วไป การบรรจุ และเครื่องหมายและ
ฉลาก
ให้ชักตัวอย่างโดยวิธีสุ่มจากรุ่นเดียวกัน จานวนไม่น้อยกว่า ๓ กิโลกรัม เมื่อตรวจสอบแล้วทุกตัวอย่าง
ต้องเป็นไปตามข้อ ๓.๑ ข้อ ๔. และข้อ ๕. จึงจะถือว่าถ่านอัดแท่งรุ่นนั้นเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด
๖.๒.๒ การชักตัวอย่างและการยอมรับ สาหรับการทดสอบการใช้งาน ความชื้น และค่าความร้อน ให้ใช้ตัว
อย่างที่ผ่านการทดสอบตามข้อ ๖.๒.๑ แล้ว จานวนไม่น้อยกว่า ๓ กิโลกรัม เมื่อตรวจสอบแล้วตัวอย่าง
ต้องเป็นไปตามข้อ ๓.๒ ถึงข้อ ๓.๔ จึงจะถือว่าถ่านอัดแท่งรุ่นนั้นเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด
๖.๓ เกณฑ์ตัดสิน
ตัวอย่างถ่านอัดแท่งต้องเป็นไปตามข้อ ๖.๒.๑ และข้อ ๖.๒.๒ ทุกข้อ จึงจะถือว่าถ่านอัดแท่งรุ่นนั้นเป็นไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนนี้
๗. กำรทดสอบ
๗.๑ การทดสอบลักษณะทั่วไป ภาชนะบรรจุ และเครื่องหมายและฉลาก
ให้ตรวจพินิจ
56

๗.๒ การทดสอบการใช้งาน
ให้ทดสอบโดยการจุดตัวอย่างถ่านอัดแท่ง แล้วตรวจพินิจ
๗.๓ การทดสอบความชื้น ให้ใช้วิธีทดสอบตาม ASTM D 3173
มผช.๒๓๘/๒๕๔๗
๗.๔ การทดสอบค่าความร้อน
ให้ใช้วิธีทดสอบตาม ASTM D 5865
๗.๕ การทดสอบน้าหนักสุทธิ
ให้ใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม

You might also like